ข่าวสารการอนุรักษ ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 2557

Page 1

ขาวสารการอนุรกั ษ ปที่ 2 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 2557

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ ขาวสารการอนุรักษฉบับนี้เปนเรื่องราวที่เกี่ยวกับการบันทึกความทรงจํานั่นก็คือภาพถาย เมื่อเก็บภาพถายไวนาน วันสีจะจางลง เกิดการโคงงอ หลายทานอาจสงสัยทําอยางไรรักษาความทรงจําไวไดนานขึ้น ขาวสารการอนุรักษฉบับนี้ สามารถตอบปญหานี้ได ทั้งนี้ยังมีเรื่องของการดูแลรักษาตุกตาโบราณซึ่งเปนความทรงจําในวัยเด็กของหลายๆทาน และ นอกจากนี้ ทางสถาบัน พิพิธภัณฑก ารเรียนรูแหง ชาติไดรับสมาชิ กใหม เข ามา 2 คน คื อ นางสาวศิ รดา เฑี ยรเดช และ นางสาววรรณวิษา วรวาท ฝายเครือขายพิพิธภัณฑ ปฏิบัติงานดานการอนุรักษของหองคลังโบราณวัตถุแทน นางสาว พัช รลดา จุล เพชร ซึ่ ง ได ล าออกไป สุ ด ท า ยหากทา นใดมี ขอ สงสั ย หรื อต องการความช ว ยเหลื อด านงานอนุรั ก ษ การดูแลรักษาวัตถุ สามารถติดตอมายังสถาบันฯ ตามที่อยูดานทายจดหมาย ทางสถาบันฯยินดีใหความชวยเหลือครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

กิจกรรม

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติรวมกับพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หริภุญไชย จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การทําความสะอาดวัตถุ พิพิธภัณฑ” ใหกับบุคคลากรพิพิธภัณฑในจังหวัดลําพูนและจังหวัดใกลเคียง เมือ่ วันที่ 19-20 กรกฎาคม 2557


การบรรยายทางวิชาการ ฝายเครือขายพิพิธภัณฑ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ ไดจัดกิจกรรมการบรรยายทางวิชาการ เปนการ ตอยอดองคความรูจากการจัดสัมมนาวิชาการเรื่อง การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมบนเสนทางการคาทางทะเล เมื่อวันที่ 7-8 พฤษภาคม 2557 ในการบรรยายทางวิ ช าการทางสถาบั น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ก ารเรี ย นรู แ ห ง ชาติ เ รี ย นเชิ ญ วิ ท ยากร ผูทรงคุณวุฒิในสาขาตางๆมาบรรยายใหความรูแกผูสนใจ ณ หองประชุม ชั้น 3 อาคารสํานักงาน สถาบันพิพิธภัณฑการ เรียนรูแหงชาติ ทุกวันศุกรสุดทายของเดือน หัวขอการบรรยายทางวิชาการ ครั้งที่ 1 เรื่อง “คริสตศิลปในถิ่นสยาม” โดยอาจารยปติสร เพ็ญสุต อาจารยประจําคณะศิลปศาสตร สถาบันการ จัดการปญญาภิวัฒน วันศุกรที่ 27 มิถุนายน 2557 ครั้งที่ 2 เรื่อง “พลิกโฉมประวัติศาสตรเครื่องเบญจรงคของอาณาจักรสยามสูมุมมองใหมและความเปนจริง” โดย ดร.ปริ ว รรต ธรรมาปรี ช ากร ผู อํ า นวยการพิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานเครื่ อ งถ ว ยเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วันศุกรที่ 25 กรกฎาคม 2557 ครั้งที่ 3 เรื่อง “เลาเรื่องเบื้องหลังเสนการคาทางทะเลสมัยโบราณ” โดย ดร.อมรา ศรีสุชาติ ภัณฑารักษเชี่ยวชาญ/ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ กรมศิลปากร วันศุกรที่ 29 สิงหาคม 2557 ทั้งนี้ไมเสียคาใชจายใดในการรับฟงการบรรยายทางวิชาการ สมาชิกเครือขายสามารถติดตามไดทางเว็บไซตและ แฟนเพจ หรือโทรศัพท 022252777 ตอ 109 และหากสมาชิกเครือขายพิพิธภัณฑสนใจในหัวขอใดสามารถเสนอแนะ ตามที่อยูทางดานทายจดหมาย


ปญหาที่มักพบบนอัลบั้มและสมุดภาพ อัลบั้มและสมุดภาพมีคุณคาดานจิตใจเปนอยางสูง เพราะมีความทรงจํามากมายแฝงอยูภายใน แตอัลบั้ม และสมุดภาพทําจากวัสดุหลายชนิดอยูดวยกัน แตละชนิดไมทนทานตอสภาพแวดลอม วัสดุบางชนิดเสื่อมสภาพรวดเร็ว จากสาเหตุภายใน เชน อัลบั้มสมัยกอนนิยมใชกระดาษสีดํารองรับภาพ กระดาษสีดํามีฤทธิ์เปนกรดสูง เนื่องจากผลิต จากเยื่อที่ไดจากการบดยอยเนื้อไม โดยไมแยกสิ่งเจือปน สีดําที่ใชในการทํากระดาษสีดํา มีสวนทําใหกระดาษกรอบเปราะ มากยิ่งขึ้น และมักใชกาวยึดติดภาพ โปสการด แสตมป ฯลฯ ลงบนกระดาษสีดํา กาวทําใหเกิดคราบเปอนเปนรอยดาง บนดานหนาของภาพ อัลบั้มระยะหลัง ๆ ใชแผนพลาสติก ทากาวบาง ๆ ทาบลงบนภาพ ที่เรียกวา Magnetic album เปนสาเหตุที่ทําใหภาพมีรอยดางเร็วขึ้น และพลาสติกมักติดแนนบนภาพจนดึงออกลําบาก สมุดภาพหรือสมุดบันทึกนอกจากจะมีปญหาจากวัสดุที่ใชในการผลิตแลว ยังมีปญหาจากหนังสือพิมพ หรื อ สิ่ ง พิ ม พ ต าง ๆ ที่ ตั ด มาติ ด แปะ หรื อคั่ น กระดาษเหล า นี้ เป น กระดาษคุ ณภาพต่ํา มี ค วามเปน กรดสู ง จะ เปลี่ยนเปนสีเหลือง –น้ําตาลอยางรวดเร็ว กรดและสารเคมีจากกระดาษสามารถแพรไปสูกระดาษแผนอื่น ๆ ที่อยูใกลกัน บางครั้งมีการใชคลิปหนีบกระดาษ ลวดเย็บ เข็มหมุด เทปกาวเปนตัวยึด วัสดุที่ทําจากเหล็กเปนสนิมรวดเร็ว ทําให เกิดคราบเปอน บางครั้งกัด กระดาษจนทะลุ เทปกาวทําใหเกิด คราบเปอนสีเหลือง-น้ําตาลที่ขจัด ไมออก บอยครั้ง เจาของสมุดภาพนําดอกไมหรือใบไมมาทับไวในสมุดภาพ ดอกไมและใบไมทําใหเกิดรอยดาง และเปนตัวดึงดูดราและแมลง หากพบปญหาเชนนี้ ควรลดอัตราการเสื่อมสภาพลงโดยควบคุมสภาพแวดลอมและระมัดระวังในการหยิบ จับ วางเรียงในแนวตั้งบนชั้น หากสันหนาและบอบบางควรวางในแนวนอนบนเบาะหรือแทนที่ออกแบบเปนพิเศษใหชวย รองรับน้ําหนักและปกปองสัน ไมควรวางในแนวนอนซอนกันหลายชั้น สมุดภาพและอัลบั้มที่มีคุณคาสูงควรเก็บรักษาใน กลอง ภาพ ขอความ แสตมป และอื่น ๆ ที่ไมอยูในเลม ควรเก็บในซองกระดาษไรกรดแยกจากกัน หากภาพถูกทากาวติดแนนบนกระดาษ ควรใชกระดาษไรกรดหรือแผนโพลีเอสเทอร( หรือไมลาร) คั่นทั้ง ดานหน าและด านหลั ง หากทํ าให อัลบั้ ม หนาขึ้ น ไมค วรออกแรงกดปด อัลบั้ม เพราะจะทําใหสันของอัลบั้ม ปริแ ตก สําหรับสมุดภาพหรือสมุดบันทึกที่มีกระดาษที่เสื่อมสภาพติดแปะ ใหพยายามแยกออกมา(หากทําได) และนําไปถาย เอกสาร นําสํ าเนาไปติดแปะไวที่เดิม สวนกระดาษดั้งเดิม นําไปเก็บรักษาไวในซองที่ทําจากกระดาษไรก รด หากไม สามารถแยกกระดาษที่กําลังเสื่อมสภาพออกมาได ควรปรึกษานักอนุรักษ หรือใชกระดาษไรกรดหรือไมลารคั่นทั้งดานหนา และดานหลัง หากมีคลิปหนีบกระดาษ ลวดเย็บ เข็มหมุด ควรใชปากคีบดึงออกอยางระมัดระวัง โดยใชแผนไมลาร สอดเขาไปคั่นมิใหปลายของปากคีบ คลิป และลวดเย็บ ครูดถูขัดสีกระดาษที่อยูขางใต ถามีงบประมาณเพียงพอ ควรจัดหาอัลบั้มและสมุดภาพใหมที่ผลิตจากวัสดุที่ไรกรดและสารเคมีที่สราง ปญหาในระยะยาว มาใชแทนสมุดภาพและอัลบั้มเกาที่สรางปญหาใหกับภาพและขอความแหงความทรงจํา


การดูแลรักษาตุกตาโบราณ สงครามโลกครั้ ง ที่ 1 ( กลางพุ ท ธศตวรรษที่ 25 ) ตุ ก ตาส วนใหญทํ า จากดิ น เผา กระเบื้ อง ผา ไม ยางพารา และเซลลูลอยด แตยางพาราและเซลลูลอยดมีปญหาเนื่องจากเสื่อมสภาพงาย โดยเฉพาะอยางยิ่งเซลลูลอยด ติดไฟงาย ตอมาจึงนิยมใชวัสดุผสมหลายชนิดในการทําตุกตา เชน ใชกาวผสมขี้เลื่อยหรือเยื่อกระดาษขึ้นรูปโดยการใช แมพิมพแลวพนสี เสนผมทําจากผมมนุษย หรือขนสัตว แตงกายดวยวัสดุหลายชนิด หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ( ปลาย พุทธศตวรรษที่ 25 ) ตุกตาที่ทําจากพลาสติกเขามาแทนที่ พลาสติกที่นิยมทําตุกตาไดแก พีวีซี( PVC ) และโพลีเอทธีลีน ( PE ) ลําตัวและแขนขาสามารถบิดงอ และหันไปมาได หลับตา ลืมตาและกลอกตาไปมาได เสนผมทําจากเสนใย สังเคราะห ซึ่งชวยใหสามารถตกแตงทรงผมได เครื่องแตงกายทําจากวัสดุหลากหลายกวาเดิม นอกจากนี้ยังตุกตา กระดาษที่สามารถเปลี่ยนเครื่องแตงกายได วัสดุตางๆเหลานี้ชํารุดเสื่อมสภาพดวยสาเหตุตางๆมากมาย ควรดูแลรักษาอยางระมัดระวัง กอนอื่นควร สํารวจดูวาวัสดุใดเสี่ยงตอการชํารุดเสื่อมสภาพมากที่สุด แลวหาทางปกปองสวนนั้นมากเปนพิเศษ เชน ตุกตาพลาสติก ไมทนตอความรอน แสงสวาง มลพิษ ความชื้นและฝุนละออง ตุกตาที่มีบางสวนทําจากสีผึ้ง ควรลดอุณหภูมิ และแตะ ตองสัม ผัสใหน อยที่ สุด ตุก ตาที่ ทํ าจากกาวผสมขี้ เลื่อย หรือเยื่อกระดาษมั กจะมีร อยแตกรานบนผิว ถาอุ ณหภูมิแ ละ ความชื้นสูงเกินไปและไมคงที่ บางครั้งผิวหนาวัตถุจะหลุดลอกหรือตกสะเก็ด ผมและเครื่องแตงกายทําจากเสนใยธรรมชาติ และเสนใยสังเคราะห ซึ่งไมทนตอแสงสวาง ความรอน มลพิษ ความชื้นและฝุนละออง โลหะมักเกิดสนิม พลาสติกบางชนิด เชน เซลลูลอยด และพีวีซี(เชน ตุกตาบารบี้) ปลดปลอยไอระเหยที่เปนอันตรายตอวัสดุอื่นๆที่อยูใกลๆ จึงควรแยกเก็บ ตางหาก โดยใส ในกลองโปรงๆที่อากาศเขาออกได หอหรือคลุมดวยกระดาษไรกรดเพื่อกันฝุน ตุกตาพลาสติกที่กําลัง เสื่อมสภาพ จะมีกลิ่นที่คลายน้ําสมสายชูหรือการบูร ผิวเยิ้มเหนียว ผิวปนเปนผง สีเขมขึ้น มีรอยราว ควรเก็บแยกกัน และควรตรวจสอบสภาพสม่ําเสมอ ตุกตาที่แลดูสกปรก หากจําเปนควรทําความสะอาดดวยการปดฝุนดวยแปรงขนออนๆอยางเบาๆ แลว เก็บรักษาในกลองที่มีขนาดพอเหมาะ บุและหนุนดวยกระดาษไรกรดเพื่อรักษารูปทรงและเสื้อผา ตุกตาบางตัวอาจตอง วางคว่ําหนาลง เพื่อปองกันไมใหคอและหัวบิดเบี้ยว และชวยรักษาตาที่เคลื่อนที่ไดใหอยูกับที่ ควรจัดทําแทนฐานที่ชวย พยุงและรองรับน้ําหนักไดทุกสวน


แลกเปลี่ยนความรู คุณศรีสมร:

ขอทราบวิธีเก็บเหรียญตราที่มีแพรแถบ

จิราภรณ:

เหรียญตรามักทําจากเงิน ทองแดง และโลหะผสมของทองแดง จึงมักมีสนิม แตก็แข็งแรงทนทานกวา แพรแถบ กอนอื่นควรสวมถุงมือเสมอเวลาแตะตองสัมผัส ทําความสะอาดเหรียญดวยสําลีชุบอัลกอ ฮอล ใชแปรงนุม ๆ ปดฝุนบนแพรแถบ แลวเก็บรักษาในกลองกระดาษที่ทึบแสง ตัดโฟมใหไดขนาด เทากับกลอง แลวสลักโฟมเปนแองตามรูปรางของเหรียญพรอมแพรแถบ หุมหอโฟมดวยผาฝายเนื้อ บาง หรือกระดาษไรกรดโดยไมใชกาว วางเหรียญตราลงในแอง จัดใหแพรแถบเรียบ ไมมีรอยยน แลว ปดฝากลอง ไมควรนํามาจัดแสดงถาวร เพราะแสงสวางจะทําใหแพรแถบสีซีดและเปอยขาดไดรวดเร็ว ควรจัดแสดงเปนระยะสั้น ๆ เทานั้น ระหวางจัดแสดงไมควรใหน้ําหนักเหรียญตราดึงแพรแถบลงมา ควรรองรั บน้ํ าหนั กเหรี ยญด วยตะปู( ที่หุม ดวยพลาสติก ) หรือปุม อะครีลิค ทางที่ดีควรจัด แสดงใน แนวนอน

คุณพิณทิพ:

พระพิมพชินมีสนิมตะปุมตะปา เปนเพราะอะไรคะ

จิราภรณ:

พระพิมพชินทําจากตะกั่วกับดีบุกหลอมรวมกันในอัตราสวนตาง ๆ กัน หากมีดีบุกมากจะมีสีเหมือนเงิน และไมคอยเปนสนิม หากมีตะกั่วมากจะมีสีเทาเขม และมีสนิมมาก สนิมนั้นเกิดจากตะกั่วทําปฏิกิริยา กับกาซและสารเคมีในสภาพแวดลอม โดยเฉพาะอยางยิ่งหากมีไอระเหยของกรดอยูในสภาพแวดลอม จะเขาทําปฏิกิริยากับตะกั่ว เกิดเปนสารประกอบของตะกั่วปูดโปนตะปุมตะปาขึ้นมา ไอระเหยของกรด มักมาจากไม ไมอัด กาวที่ใชในการทําตูหรือลิ้นชัก เพราะฉะนั้นพระพิมพชินควรเก็บรักษาตูโลหะ หรือตูกระจก หรือในกลองกระดาษไรกรด หรือในกลองพลาสติก หากจําเปนตองจัดแสดงในตูจัดแสดง ที่ทําดวยไม ควรใชถานกัมมันตชวยดุดกาซและไอระเหยภายในตู

ผูจัดทํา นางจิราภรณ อรัณยะนาค ที่ปรึกษาดานงานอนุรักษ นายศุภกร ปุญญฤทธิ์ นางสาวศิรดา เฑียรเดช นางสาววรรณวิษา วรวาท นายคุณาพจน แกวกิ่ง

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถ.สนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระ นคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 022252777 ตอ 109 fax 022251881-2 e-mail : sirada@ndmi.or.th wanvisa@ndmi.or.th http://www.ndmi.or.th/home.php http://www.facebook.com/museumsiamfan


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.