ข่าวสารการอนุรักษ์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 เดือนมิถุนายน 2559

Page 1

ขาวสารการอนุรกั ษ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๓ เดือนมิถุนายน ๒๕๕๙

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ สวัสดีครับเครือขายพิพิธภัณฑทุกทาน ขาวสารการอนุรักษฉบับนี้ไดนําเสนอเกี่ยวกับผลเสียและการ แกไขปญหาจากตูไมที่ใชจัดแสดงวัตถุพิพิธภัณฑ อีกหนึ่งหัวขอที่นาสนใจก็คือหลายคนที่สงสัยเรื่อง กระดอง เต า ที่ นํ า มาเป น เครื่ อ งประดั บ เครื่ อ งใช ที่ เรี ย กว า กระ กระแท แ ละกระเที ยมมี ค วามแตกต า งกั น อย า งไร จดหมายขาวสารการอนุรักษฉบับนี้มีคําตอบใหทุกทาน หากทานใดตองการสอบถามและแลกเปลี่ยนขอมูล สามารถติดตอมาตามที่อยูดานทายครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

ประมวลภาพกิจกรรม กิจกรรมบรรยายวิชาการเดือนเมษายน 2559 “อาเซียน:การจัดการมรดกวัฒนธรรมที่จับ ตองไมได” ผูบรรยาย ดร.เกรียงไกร วัฒนาสวัสดิ์ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

กิจกรรมบรรยายวิชาการเดือนกรกฎาคม 2559 “มอญลุมน้ําแมกลอง” ผูบรรยาย รศ.สุภาภรณ จินดามณีโรจน หมวดวิชาประวัติศาสตร คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร


สพร. รวมกับสถาบันทักษิณคดี จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การดูแลรักษา วัตถุพิพิธภัณฑ” แกเครือขายพิพิธภัณฑ เมื่อวันที่ 15-17 มิถุนายน 2559 ณ สถาบันทักษิณคดี จังหวัดสงขลา

ภาพบรรยากาศงานจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การดูแลรักษาวัตถุพิพิธภัณฑ” แกเครือขายพิพิธภัณฑภาคตะวันออก และผูสนใจเมื่อวันที่ 22-23 มิถุนายน 2559 ณ อุทยานการเรียนรูตราด จังหวัดตราด


ขอควรระวังในการจัดทําตูจัดแสดงและจัดเก็บวัตถุพิพิธภัณฑ หลายทานคิดวา เมื่อวัตถุพิพิธภัณฑอยูในตู ชั้น หรือลิ้นชัก ที่มั่นคงแข็งแรงและสวยงามแลว จะปลอดภัยจากอันตรายทั้งปวง แตตามความเปนจริงพบวาวัตถุพิพิธภัณฑบางสวนเกิดการเปลี่ยนแปลงไดอีก หลากหลายรูปแบบภายในตู ชั้น และลิ้นชักเหลานั้น การเปลี่ยนแปลงบางอยางเปนการเปลี่ยนแปลงอยางถาวร ที่ทําใหวัตถุพิพิธภัณฑเสื่อมคุณคาหรือมีความงามนอยลงไปอยางนาเสียดาย ปญหาที่พบบอยไดแก โลหะที่เก็บรักษาในตู หรือลิ้นชัก หรือกลองที่ทําดวยไม ไมอัด และ ผลิตภัณฑไมตาง ๆ มักมีการเปลี่ยนแปลงที่ผิว เชน ผิวฝามัว แลดูดาน (ไมมัน) มีคราบสีขาวปกคลุมมี ตุมปมเกิดขึ้น เนื้อโลหะเปลี่ยนเปนผง ผิวเปนหลุม ฯลฯ เกิดจากไมปลดปลอยไอระเหยที่เปนกรดออกมาทํา ปฏิกิริยากับโลหะไมและไมอัดสวนใหญปลดปลอยกรดน้ําสม (กรดอะซีติก) และกรดมด(กรดฟอรมิก) และฟอร มัลดีไฮด ออกมาจากเนื้อไม โดยเฉพาะอยางยิ่งตะกั่ว เกิดการเปลี่ยนแปลงอยางเห็นไดชัด เปลือกหอยและ วัตถุที่มีแคลเซียมคารบอเนตเปนองคประกอบ ก็เกิดการเปลี่ยนแปลงคลายคลึงกัน วัตถุอื่นๆก็อาจกรอบเปราะ เปลี่ยนสี หรือกลายเปนผง มีผูวิเคราะหพบวาปริมาณฟอรมัลดีไฮดในตูไมมีคาสูงกวาในบรรยากาศรอบๆ ถึง 20 เทา สีและสารเคลือบผิวอื่นๆที่ทาตูไม ก็ปลดปลอยกรดออกมาเชนกัน ตูและลิ้นชักที่ปดทึบ ไมมีรู ระบายอากาศ จะกักเก็บกรดเอาไว กรดจึงมีโอกาสทําปฏิกิริยากับวัตถุไดนาน หากมีฝุนละอองเล็ดลอดเขาไป สะสมดวย จะยิ่งทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงรุนแรงขึ้นและหลากหลายรูปแบบ บางกรณีพบวาวัตถุพิพิธภัณฑ ตางชนิดกันที่วางอยูใกลชิดกันทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ไมพึงประสงค เชน เครื่องประดับที่ทําจากเงินผสม ทองแดง เปลี่ยนสีเปนสีเขียวเมื่อสัมผัสกับลูกปดงาชางเทียมที่ทําจากเซลลูโลสไนเตรต กรดไนตริกที่งาชาง เทียมปลดปลอยออกมา ทําปฏิกิริยากับทองแดงกลายเปนทองแดงไนเตรตซึ่งมีสีเขียว เพราะฉะนั้ น จึ ง ควรป อ งกั น การเปลี่ ย นแปลงของวั ต ถุ พิพิธภัณฑที่อยูในตูหรือลิ้นชัก โดยเลือกใชวัสดุที่ไมปลดปลอยสารเคมีที่ทํา อันตรายตอวัตถุพิพิธภัณฑ วัสดุที่ใชทําตูและลิ้น ชักควรเปนกระจก และ โลหะ หากจําเปนตองใชไม ควรหลีกเลี่ยงไมอัด และควรทําตู ลิ้นชักที่มีรู ระบายอากาศ เพื่อใหไอระเหยตาง ๆ หาทางออกไปไดบาง แตควรปองกัน ฝุนละอองและมลพิษจากภายนอกโดยใชแผนกรองและตาขายปองกันแมลง วิธีนี้ยังชวยปองกันเชื้อราไดอีกดวย นอกจากนี้ไมควรวางวัตถุพิพิธภัณฑให สัมผัสกับไมโดยตรง ควรปูหรือรองดวยแผนพลาสติกเสมอ วัตถุพิพิธภัณฑ ที่อยูในคลังควรหุมหอดวยกระดาษไรกรดหรือแผนพลาสติก แลวจัดเก็บใน กลองกระดาษแข็งหรือกลองพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง หากมีตูลิ้นชักทึบ ๆ ที่ไม สามารถแกไขได ควรใสถานกัมมันตไวในตูเปนปริมาณมากพอ และคอยเปลี่ยนใหมเปนระยะ ๆ เพื่อใหชวยดูด ซับกาซและไอระเหยตางๆ ตูจัดแสดงที่เปนของใหม ไมใชเครื่องเรือน


กระแท หรือ กระเทียม กระ หรือ กระดองเตา เปนวัสดุที่เปนที่นิยมใชทําเครื่องประดับและสิ่งของเครื่องใชหรูหรามาแตโบราณ กระดองเตาคือสวนแข็ง ๆ ที่คลุมตัวเตา มีลักษณะเปนวัสดุโปรงแสง วาวแบบขี้ผึ้ง มีสีน้ําตาล ดํา สม เหลืองเปน ลวดลายที่เปนลักษณะเฉพาะตัวของเตาแตละสายพันธุ เมื่อทําใหรอน โดยการตมหรือใชไอน้ํา จะสามารถดัด ใหมีรูปรางตามตองการ สามารถฝงประดับดวยโลหะมีคา เชน ทองและเงิน ได หากไดรับความรอนสูงขึ้น กระดองเตาจะหลอมตัว ทําใหสามารถนําชิ้นสวนตาง ๆ มาตอกันเปนรูปรางตามตองการไดโดยไมตองใชกาว เมื่อกระดองเตาเปนที่นิยมใชกันมาก จึงมีผูคิดทํากระดองเตาเทียมขึ้นมาจําหนาย กระดองเตาเทียม ระยะแรก ๆ ทําจากเขาสัตวยอมสี ตอมาทําจากพลาสติก เชน Galalith (พลาสติกยุคแรก ๆทําจากคาเซอีน) เซลลูลอยด และพลาสติกชนิดอื่น ๆ กระดองเตาเทียมที่ทําจากเขาสัตวมีลักษณะใกลเคียงกระดองเตาแทมาก การตรวจพิสูจนจึงตองใชกลองจุลทรรศนและวิธีเคมี เขาสัตวมีองคประกอบทางเคมีใกลเคียงกับกระดองเตามาก คือมีเคราติน (keratin) ซึ่งเปนโปรตีนที่ไมละลายน้ําและตัวทําละลายตาง ๆ

แตจะบวมแลวละลายในดางเขมขน

เมื่อเผาจะไดกลิ่นเหมือนผมไหม เมื่อมองดูดวยกลองจุลทรรศน กระดองเตาแทมีโครงสรางเปนชั้นบาง ๆ หลาย ๆ ชั้น เซลลแตละเซลลมี ขนาดเล็กและบางเปนแผน ๆ หนา ประมาณ 1/200 ถึง 1/100 มม สวนที่มีสีเขมมีเม็ดสีอยูมากกวาสวนที่ มีสีออน โครงสรางแสดงถึงการเจริญเติบโตเปนชั้น ๆ และมีสีตาง ๆ กัน ทําใหเกิดลวดลายที่มีสีสันออนแกเปน หยอม ๆ ดวง ๆ ไมเปนระเบียบบนพื้นที่มีสีออนและโปรงแสง ซึ่งเปนลักษณะเฉพาะตัวของกระดองเตาแตละ สายพันธุ โครงสรางดังกลาวมีลักษณะสามมิติ ยากตอการทําเทียม ชั้นบางๆ บางสวนอาจแยกตัวหลุดลอนออกจาก ผิวหนา อากาศเขาไปแทรกตัวระหวางชั้นเหลานั้น ทําใหกระดองเตาบางสวนแลดูดานและทึบแสง

เมื่อสองดวย

รังสีอัลตราไวโอเลตในที่มืด กระดองเตาจะเรืองแสงใหสีเหลืองน้ําตาล สวนกระดองเตาเทียมที่ทําจากเขาสัตว เมื่อมองดูดวยกลองจุลทรรศน จะเห็นโครงสรางภายในของเขาสัตว ไมแนนเทากระดองเตา เซลลที่มีลักษณะเปนแผนอยูรวมกับเซลลที่มีลักษณะเหมือนทอ เขาของวัวและควายจะ เห็นลักษณะเปนชั้น ๆ เปนวง ๆ ที่มีความสัมพันธกับอายุของวัวและควายนั้น ๆ เขาสัตวมีคุณสมบัติใกลเคียง กระดองเตามาก แตกระดองเตาจะเบากวาเขาสัตว แตหากดูใหละเอียดจะพบวา สีสันในเขาสัตวที่นํามาทํา กระดองเตาเทียมเกิดจากการทาสี ลวดลายจึงมักมีเสนสายคมกวาของแท สวนกระดองเตาเทียมที่ทําจาก พลาสติก สวนใหญใชวิธีหลอ ทําสีและลวดลายใหคลายกระดองเตา แตมักหนากวา เบากวา ยืดหยุนกวา และแตกตางจากกระดองเตาแท หากสังเกตใหละเอียด จะเห็นความแตกตางไดงาย

<< กระดองเตาแท

<< กระดองเตาเทียม


แลกเปลี่ยนความรู คุณฤดีรัตน ไดยินวาน้ําลายใชทําความสะอาดภาพเขียนได จริงหรือไม จิราภรณ

จริงคะ ในยุโรปใชน้ําลายทําความสะอาดภาพเขียนมาแตโบราณ เพื่อเช็ดซับคราบสกปรก บนผิวหนาภาพเขียน และยังคงใชอยูจนถึงปจจุบัน เนื่องจากน้ําลายคอนขางเปนกลาง คือไมเปนกรดหรือดาง มีองคประกอบหลักคือน้ํา โปรตีน เอนไซม และอื่น ๆ มีคุณสมบัติ ชวยลดแรงตึงผิวระหวางน้ํากับน้ํามัน สารเมือกในน้าํ ลายชวยทําใหลื่นและชวยทําใหสิ่งสกปรก แขวนลอยอยูได น้ําลายจึงสามารถขจัดสิ่งสกปรกบนภาพเขียนได แตตองใชในปริมาณนอย และซับเช็ดดวยน้ําสะอาด

คุณองอาจ

ดินน้ํามันทําจากอะไรครับ ผมวางเงินพดดวงบนดินน้ํามัน ทําไมกลายเปนสีดําหมด

จิราภรณ

ดินน้ํามันทําจากผงแคลเซียมคารบอเนตผสมกับปโตรเลียมเจลลี่และกรดอินทรียที่มีโมเลกุล เปนสายโซยาว เชน กรดสเตียริก จากนั้นผสมผงสี ดินน้ํามันจะไมแหงเมื่อทิ้งไว สิ่งที่ทํา ใหเงินพดดวงเปลี่ยนเปนสีดําคือปโตรเลียมเจลลี่ ซึ่งไดจากการกลั่นปโตรเลียม เปนของผสม ของสารไฮโดรคารบอนหลายชนิดที่มีคารบอนมากกวา 25 อะตอมในหนึ่งโมเลกุล และมักมี กํามะถันติดมาดวย กํามะถันจะทําปฏิกิริยากับเงินไดเงินซัลไฟด ซึ่งมีสีดํา

สวนดินสําหรับ

ปนที่ทําจําหนายใหเด็กเลน ทําจากแปง เกลือ น้ํา และสารมีสี(ซึ่งมักเปนสีผสมอาหาร) ดินชนิดนี้ไมทําใหเงินเปนสีดํา แตอาจหมองหรือแลดูดาน เพราะเกลือทําปฏิกิริยากับเงินไดเงิน คลอไรด

ผูจัดทํา นางจิราภรณ นางสาวศิรดา นางสาววรรณวิษา นายคุณาพจน

อรัณยะนาค เฑียรเดช วรวาท แกวกิ่ง

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 02 225 2777 ตอ 101 fax 02 225 1881-2 e-mail : Sirada@ndmi.or.th , Wanvisa@ndmi.or.th www.facebook.com/museumsiamfan


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.