{ข่าวสารการอนุรักษ์} ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2561

Page 1

ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ปี 2561

จดหมายข่าวงานอนุรก ั ษ์และพิพิธภัณฑ์ สถาบันพิพธิ ภัณฑ์การเรียนรูแ้ ห่งชาติ (สพร.)

สารจากผูอ้ ำ� นวยการ จดหมายข่าวงานอนุรกั ษ์และพิพธิ ภัณฑ์ ฉบับที่ 1 นีถ้ อื เป็นฉบับปฐมฤกษ์ประจ�ำปี 2561 นับตัง้ แต่ฉบับนีเ้ ป็นต้นไป ทางห้องคลังโบราณวัตถุฯ จะเน้นเรือ่ งราวประวัตพิ นื้ ทีข่ องมิวเซียมสยาม โดยเล่มแรกนีข้ อกล่าวถึงหลักฐานของป้อมสมัยอยุธยาทีพ่ บจากการขุดค้นทางโบราณคดี นอกจากนี้ ยังมีบทความทีบ่ อกเล่าเรือ่ งราวของประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ ลพบุรผี า่ นผ้าซิน่ มัดหมี่ และการเล่าเรือ่ งจากท้องถิน่ ผ่านงานพิพธิ ภัณฑ์ บทความแนะน�ำ หนังสือเล่มใหม่ของห้องคลังโบราณวัตถุฯ ในเรื่องผ้ายก และข้อมูลจากงานวิจัยเรื่องการอนุรักษ์เกือกม้าโลหะ ซึ่งเป็นวัตถุที่ขุดพบภายในพื้นที่ มิวเซียมสยามแห่งนี้ ทัง้ นีห้ ากท่านมีขอ้ สงสัยเกีย่ วกับอนุรกั ษ์วตั ถุพพิ ธิ ภัณฑ์หรืองานคลังโบราณวัตถุ สามารถติดต่อได้ที่ ndmi.collectionstorage@gmail.com หรือจดหมายมาทีห่ อ้ งคลังโบราณวัตถุฯ ตามทีอ่ ยูใ่ นหน้าสุดท้ายนะครับ นายราเมศ พรหมเย็น รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ และผูอ้ ำ� นวยการสถาบันพิพธิ ภัณฑ์การเรียนรูแ้ ห่งชาติ

แนะน�ำหนังสือ “ผ้ายก”

#BookReview

ผ้ายก เป็นผ้าที่มีลักษณะเด่นจากการ สร้างลวดลาย ผ่านการทอเสริมเส้นด้ายพุ่งพิเศษ ทั้ ง เสริ ม ยาวต่ อ เนื่ อ งตลอดหน้ า ผ้ า หรื อ เสริ ม เป็นช่วงๆ โดยใช้วิธีเก็บตะกอลอยช่วยจัดกลุ่ม เส้นด้ายยืน ให้เปิดอ้า หรือยกและข่มเป็นจังหวะ

ปัฐยารัช ธรรมวงษา เพื่อทอสอดเสริมเส้นด้ายพุ่งพิเศษตามลวดลาย ที่ต้องการ เกิดเป็นผืนผ้าที่มีลายนูนสูงกว่าผืนผ้า ผ้ า ยกถู ก น� ำ มาใช้ ส อยในสั ง คมไทยมายาวนาน มีความสัมพันธ์กับสังคมและวัฒนธรรมไทยอย่าง ชัดเจน ถือเป็นสิ่งที่สะท้อนพัฒนาการของสังคม ไทยได้อย่างดี เมือ่ พ.ศ. 2560 สพร. ได้จดั พิมพ์หนังสือ เรือ่ ง “ผ้ายก Brocade Textile” ขึน้ โดยมีผเู้ ขียน คือ อาจารย์ธรี พันธุ์ จันทร์เจริญ จากมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครศรีธรรมราช ผู้เชี่ยวชาญด้านผ้าไทย พืน้ เมือง หนังสือ “ผ้ายก” ได้กล่าวถึงภูมหิ ลังของ ผ้ายกในประเทศไทยตัง้ แต่ยคุ ก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ จนถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ โดยมีหลักฐานทั้งจาก ภาคเอกสาร ภาพถ่ายเก่า ภาพจิตรกรรม ตลอดจน ตัวอย่างผ้ายกผืนส�ำคัญต่างๆ ในหนังสือยังได้กล่าว ถึงความส�ำคัญและบทบาทของผ้ายกในฐานะสื่อ สะท้อนพัฒนาการของสังคมไทย ทั้งด้านหน้าที่ ใช้ ส อยในรู ป แบบต่ า งๆ เช่ น ผ้ า นุ ่ ง ผ้ า ห่ ม ผ้ า คาดเอว ผ้าเช็ดปาก ฯลฯ การจัดวางองค์ประกอบ ของลวดลายทั้ ง แบบมี ก รอบมี เ ชิ ง และแบบมี

เชิงไม่มีกรอบ รายละเอียดและความหมายของ ลวดลายตามบริบทของสังคมไทย ทีม่ ที งั้ ลายสามัญ ลวดลายชั้นสูง และลายต้องห้าม ลักษณะสีของ ผ้าที่สัมพันธ์กับความเชื่อ และการก�ำหนดฐานะ ของบุคคลในสังคม เช่น การเลือกใช้เครื่องนุ่งห่ม สี ต ามวั น และการใช้ สี ผ ้ า ตามธรรมเนี ย มไทย แหล่งผลิตผ้ายกภายในพระราชอาณาจักร ทั้ง ประวัตคิ วามเป็นมา ลักษณะพิเศษหรือเอกลักษณ์ ของผ้ายกภาคใต้ทคี่ รอบคลุมเรือ่ งวัตถุดบิ ลักษณะ เนื้อผ้า ลวดลาย และกระบวนการทอ บทสุดท้าย ของเล่มได้นำ� เสนอการอนุรกั ษ์และดูแลรักษาผ้ายก เบื้องต้น ทั้งการท�ำความสะอาดและการจัดเก็บ ซึ่งสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ได้ง่าย และเหมาะกับ การจัดเก็บรักษาผ้าให้มอี ายุยาวนานยิง่ ขึน้ หนังสือ “ผ้ายก” นับเป็นหนังสือทีเ่ หมาะกับ ผูศ้ กึ ษาทางด้านผ้า ทีต่ อ้ งการศึกษาในรายละเอียด ต่างๆ ของผ้า ทั้งทางด้านประวัติศาสตร์ หน้าที่ ใช้สอย รูปแบบและลวดลายต่างๆ วัตถุดิบและ วิธีการทอ ทั้งยังมีข้อมูลด้านการอนุรักษ์และดูแล รักษาซึง่ เป็นประโยชน์กบั ผูส้ ะสมผ้าอีกด้วย  ฉบับที่ 1

1


เรือ่ งเล่าจากท้องถิน่

ผ่านงานพิพธิ ภัณฑ์ #MuseumAndPublic

ตัวอย่างของการน�ำเนือ้ หาเรือ่ งเล่าท้องถิน่ มาสือ่ ความหมาย ผ่านภาพถ่ายสถานทีแ่ ละบุคคลส�ำคัญในอดีตของเมืองระยอง พิพธิ ภัณฑ์เมืองระยอง

ศิรดา เฑียรเดช

การน� ำ เสนอ เนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ

ความเป็นมาของท้องถิ่น เป็นงานที่พิพิธภัณฑ์ หรือแหล่งเรียนรู้นิยมน�ำมาใช้สื่อสารเพื่อบอกเล่า เรื่ อ งราวไปยั ง ผู ้ เ ข้ า ชม เนื่ อ งจากเป็ น ข้ อ มู ล ที่ สามารถแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง พั ฒ นาการด้ า นอดี ต ปัจจุบนั และแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงของท้องถิน่ ในเรือ่ งต่างๆ เช่น สภาพภูมศิ าสตร์ สภาพแวดล้อม สภาพสังคม เศรษฐกิจ การปกครอง การตัง้ ถิน่ ฐาน ประเพณี พิธกี รรม ความเชือ่ ศิลปวัฒนธรรม และ วิถชี วี ติ ผูค้ น โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและศึกษา ค้นคว้าจากเอกสาร หลักฐาน บันทึก เรือ่ งเล่า นิทาน พืน้ บ้าน เพลง กลอน จิตรกรรมฝาผนัง โบราณวัตถุ เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ รวมไปถึงการบอกเล่าผ่านความ ทรงจ�ำของผูร้ หู้ รือคนในท้องถิน่ ฯลฯ เมือ่ ได้ขอ้ มูลตามเนือ้ หาทีต่ อ้ งการครบถ้วน แล้วจึงน�ำมาจัดการสือ่ ความหมาย (interpretation principles) เพือ่ สร้างการรับรูแ้ ละความเข้าใจไปยัง ผูเ้ ข้าชม ทัง้ นี้ กระบวนการสือ่ ความหมายทีด่ คี วร เริ่มต้นจากการก�ำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน การ จัดท�ำแผนการสื่อความหมาย เทคนิคและวิธีการ เล่าเรื่อง รูปแบบและเครื่องมือในการน�ำมาสื่อ ความหมาย ซึง่ อาจผ่านตัวบุคคล เช่น ภัณฑารักษ์ เจ้าหน้าที่น�ำชม ยุวมัคคุเทศก์ อาสาสมัคร หรือ จากสือ่ อืน่ ๆ เช่น สิง่ พิมพ์ นิทรรศการ สือ่ โสตทัศน์ เพือ่ ให้เกิดความสอดคล้องและเหมาะสมกับเนือ้ หา ทีต่ อ้ งการน�ำเสนอ การน�ำเรื่องเล่าจากท้องถิ่นมาจัดท�ำเป็น เนื้อหาเพื่อสื่อสารไปยังผู้เข้าชมนั้น นอกจากจะ ท�ำให้ผู้เข้าชมได้ศึกษาเรียนรู้ ท�ำความรู้จักและ เกิดความเข้าใจท้องถิ่นนั้นๆ อย่างดีขึ้นแล้ว ยัง เป็นเครื่องมือในการฟื้นฟูอัตลักษณ์ท้องถิ่นได้เป็น อย่างดี เนื่องจากท�ำให้คนในท้องถิ่นเกิดความ ภาคภูมิใจ เกิดส�ำนึกการเป็นเจ้าของร่วมกันจน

น� ำ ไปสู ่ ก ารพั ฒ นาสร้ า งความเจริ ญ และความ น่าอยู่ให้กับท้องถิ่น อีกทั้งจะเป็นแรงผลักดันให้ คนในท้องถิน่ ซึง่ เป็นเจ้าบ้านหรือเจ้าของวัฒนธรรม ได้ปกป้องรักษาทรัพยากรวัตถุ ทรัพยากรนามธรรม ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มที่ มี อ ยู ่ ใ น ท้องถิ่นให้คงอยู่สมบูรณ์ต่อไป ดังนั้นการให้ความ ส�ำคัญโดยการหวนกลับมามองและท�ำความเข้าใจ ท้องถิ่นเพื่อค้นหา “คุณค่าเดิม” หรือ “ทุนเดิม” ที่เป็น “ทุนของท้องถิ่น” ที่มีอยู่โดยการสื่อสาร ผ่านงานพิพิธภัณฑ์ ซึ่งคนท�ำงานพิพิธภัณฑ์หรือ แหล่งเรียนรู้ต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ความ เข้าใจ และความคิดสร้างสรรค์ ในการผลิตงาน โดยการมีส่วนร่วมกับคนในท้องถิ่นซึ่งเป็นเจ้าของ วัฒนธรรม เพือ่ ให้เกิดการจัดการร่วมกันและน�ำไป สู่เป้าหมายความส�ำเร็จคือการจัดการความรู้ไปสู่ สาธารณชนผูเ้ ข้าชมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวอย่างของการน�ำเสนอเรื่องเล่าจากท้องถิ่นมาสื่อความหมาย ผ่านพืน้ ทีก่ ารเรียนรูข้ องชุมชนอิสลามล�ำไทร เขตหนองจอก กรุงเทพฯ

ผ้าซิน่ มัดหมี ่ : ผูส้ ะท้อนการเปลีย่ นแปลงของผูค้ น #ObjectTellsStories

ตอนที่ 1  ธนพล ประกอบกิจ

เมือ่ กล่าวถึง ประวัตศิ าสตร์ไทยยุคเปลีย่ นแปลงการปกครองจนถึงยุคสงครามโลกครัง้ ที่ 2

ผ้าซิ่นที่ต่อส่วนบนด้วยผ้าหัวซิ่นสีแดงลายริ้ว และชายผ้าซิน่ ทีไ่ ม่มกี ารต่อด้วยผ้าตีนซิน่

2

ฉบับที่ 1

เมืองส�ำคัญแห่งหนึง่ ทีจ่ ะต้องถูกกล่าวถึงด้วยคือ จังหวัดลพบุรี ในฐานะทีล่ พบุรยี งั คงมีหลักฐานร่วมสมัย กับเหตุการณ์เหลืออยู่ เช่น การวางผังเมือง รูปแบบสถาปัตยกรรมยุคคณะราษฎร์ หรือแม้แต่หลักฐาน มุขปาฐะอย่างเพลงร�ำโทน นอกจากนีย้ งั มีผา้ มัดหมีส่ นิ ค้าขึน้ ชือ่ ของจังหวัด ทีเ่ ป็นหลักฐานส�ำคัญบอกเล่า ถึงผลจากเหตุการณ์ และนโยบายรัฐทีม่ ตี อ่ วิถชี วี ติ ประชาชน ซึง่ เอกสารประวัตศิ าสตร์ไม่ได้บนั ทึกไว้ ผ้ามัดหมีเ่ ป็นหลักฐานส�ำคัญทีม่ สี ว่ นบอกเล่าเรือ่ งราวของจังหวัดลพบุรี ผ้ามัดหมีเ่ ป็นผ้านุง่ สตรี ชาวลาวทีอ่ พยพเข้ามาแต่ครัง้ ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ซึง่ มีอยูห่ ลายชุมชนในจังหวัดลพบุรี ผ้าทีก่ ล่าวถึงใน บทความนี้ เป็นผ้าซิน่ มัดหมีไ่ ทยพวนจากต�ำบลถนนใหญ่ อ�ำเภอเมืองลพบุรี ลักษณะเป็นผ้าฝ้ายแกมไหม


ก่อนเป็นมิวเซียมสยาม ตอนที่ 1  #MuseumSiamStory

ปัฐยารัช ธรรมวงษา

ภาพทีต่ งั้ ของป้อมบางกอกในสมัยพระนารายณ์ จากจดหมายเหตุลาลูแบร์ พ.ศ. 2236 (ทีม่ า: https://commons.wikimedia.org/wiki/File: La_Loubere_map_of_Bangkok_(English).jpg)

จดหมายข่ า ว ฉบั บ นี้ แ ละถั ด ไป

ขอบอกเล่าประวัติศาสตร์ของพื้นที่ เรื่องราวของ อาคารและโบราณวัตถุต่างๆ ที่พบในพื้นที่นี้ เป็น การเชือ่ มโยงอดีตถึงปัจจุบนั และขยายองค์ความรู้ เกีย่ วกับพืน้ ทีม่ วิ เซียมสยามให้กบั ผูท้ สี่ นใจ ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ แห่งกรุงศรี อยุ ธ ยา ได้ โ ปรดเกล้ า ฯ ให้ ช าวฝรั่ ง เศสสร้ า ง ป้อมปราการบริเวณ 2 ฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา มีชื่อ ว่ า “ป้ อ มบางกอก” และ “ป้ อ มเมื อ งธนบุ รี ” หรือเรียกกันว่า “ป้อมวิไชยเยนทร์” ในครั้งนั้นมี

ออกญาวิชาเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) และ ออกญาพระศักดิสงคราม (เชวาลิเอร์ เดอ ฟอร์บงั ) เป็นผู้ควบคุมการสร้าง มีนายเอ็ม เดอ ลามาร์ สถาปนิกและวิศวกรชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ออกแบบ ดูแลการก่อสร้าง มีลกั ษณะตามแบบสถาปัตยกรรม ยุโรป มีแผนผังรูปดาว (Star Fortress) มีแฉก ปลายแหลม (ภาพที่ 1) ลักษณะของป้อมคล้าย กับป้อมทุ่งเศรษฐี ที่จังหวัดก�ำแพงเพชร ซึ่งสร้าง ในสมัยเดียวกัน (ภาพที่ 2) ในสมั ย ธนบุ รี ยั ง ปรากฏหลั ก ฐานการ ซ่อมแซมตัวป้อมฝั่งทิศตะวันตก และตัง้ ชือ่ ใหม่ว่า “ป้อมวิไชยประสิทธิ”์ อยูใ่ นพืน้ ทีข่ องกองบัญชาการ กองทัพเรือปัจจุบนั ในขณะทีป่ อ้ มฝัง่ ทิศตะวันออก ไม่มีการซ่อมแซมใดๆ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 ได้มีการรื้อซากป้อมฝั่งทิศตะวันออก หรือป้อม ฝั่งพระนคร รวมถึงก�ำแพงเมืองออก และมีการ ตัดถนนทับพืน้ ทีป่ อ้ มดังกล่าว จากการขุดค้น ขุดแต่งทางโบราณคดีใน พืน้ ทีก่ ระทรวงพาณิชย์ (เดิม) หรือมิวเซียมสยาม ในปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2550 ได้พบร่องรอยของ สิ่งก่อสร้างที่แปลกกว่าอาคารในบริเวณเดียวกัน และอยู่ในระดับที่ลึกกว่าอาคารอื่น โดยพบเป็น ฐานรากก่ อ ด้ ว ยอิ ฐ ขนาดใหญ่ อิ ฐ มี ค วามหนา และกว้าง (ภาพที่ 3) แต่เนื่องจากสิ่งก่อสร้างนี้ โดนรบกวน หรือโดนท�ำลายจากการก่อสร้างใน ยุคต่อมา จึงไม่สามารถหาขอบเขตแนวของผังได้ อย่ า งไรก็ ต าม โบราณวั ต ถุ ที่ พ บในระดั บ ชั้ น ดิ น

เดียวกันนี้ เป็นโบราณวัตถุทมี่ อี ายุอยูใ่ นสมัยอยุธยา บางชิน้ เป็นโบราณวัตถุในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ จึงได้มกี ารสันนิษฐานว่าสิง่ ก่อสร้างนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของป้อมบางกอก โดยพิจารณาจากทีต่ งั้ ลักษณะ ฐานราก ขนาดของอิฐ รวมถึงโบราณวัตถุที่พบ ทัง้ นีล้ กั ษณะของอิฐ การก่ออิฐ โครงสร้าง รวมทัง้ การวางตัวของฐานราก มีลักษณะคล้ายคลึงกับ ป้อมวิไชยประสิทธิท์ ถี่ กู สร้างในคราวเดียวกัน

ภาพป้อมทุง่ เศรษฐี จังหวัดก�ำแพงเพชร (ทีม่ า: www.finearts.go.th/kamphaengphethistoricalpark/ images/809/15.jpg)

ภาพฐานรากสิง่ ก่อสร้าง ซึง่ สันนิษฐานว่าเป็นส่วนหนึง่ ของป้อมบางกอก

อ้างอิง: - คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดงานฉลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ 50 ปี. ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครุ สุ ภา, 2542. - ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษา ขุดค้น และขุดแต่งทางโบราณคดี ภายในพืน้ ทีก่ ระทรวงพาณิชย์ (เดิม) ถนนสนามไชย, เอกสารเย็บเล่ม, 2550. - สถาบันพิพธิ ภัณฑ์การเรียนรูแ้ ห่งชาติ. หิน ดิน อิฐ ฟืน้ ชีวติ สูพ่ พิ ธิ ภัณฑ์. กรุงเทพฯ: บริษทั บานาน่า สตูดโิ อ จ�ำกัด, 2552.

ลายเอือ้ เป็ดน้อย ประกอบด้วยลายหมีห่ ม่าจับกับลายหมีป่ ล้องอ้อย โดยแต่ละลายจะคัน่ ด้วย แถบคัน่ ต่อหัวด้วยผ้าหัวซิน่ สีแดงลายริว้ ตัวซิน่ มีขนาดสัน้ กว่าผ้าซิน่ ปัจจุบนั ผ้าผืนนีท้ อขึน้ เมื่อประมาณ พ.ศ. 2505 โดยทอแบบโบราณ ตั้งแต่กระบวนการผลิต และรูปแบบ คือทอ เป็นผ้าหน้าแคบ ซึง่ จะต้องต่อผ้าให้ครบสามส่วน คือส่วนหัวเป็นผ้าสีแดงลายริว้ ตัวซิน่ ทีเ่ ป็น ผ้ามัดหมี่ และตีนซิน่ ซึง่ มีลกั ษณะเป็นแถบผ้า กว้างประมาณ 5 ซม. ทาบยาวตลอดชายผ้าซิน่ สาเหตุทใี่ ช้วธิ กี ารทออย่างโบราณ เพราะต้องการจะใช้ประกอบกับผ้าหัวซิน่ ของเก่าทีย่ งั เหลือ อยูส่ องผืนสุดท้ายให้หมด นอกจากนี้ ในอ�ำเภอบ้านหมี่ยังพบผ้าซิ่นที่มีลักษณะใกล้เคียงกันอีกสองผืน และยัง ทอขึน้ ในช่วงเวลาใกล้เคียงกันอีกด้วย ต่อมาได้ทราบข้อมูลว่า หลังเปลีย่ นแปลงการปกครอง รัฐบาลจอมพล ป. พิบลู สงคราม ได้มนี โยบายรณรงค์เรือ่ งการแต่งกายให้เป็นสากล มีการพัฒนา เศรษฐกิจให้ประเทศไทยเป็นประเทศอุตสาหกรรม ส่งเสริมให้ใช้กกี่ ระตุกทอผ้าเพือ่ ลดเวลาการ ผลิต เพิ่มปริมาณผลผลิตเพื่อพัฒนาให้เป็นสินค้าสร้างรายได้ ส่งผลให้รูปแบบผ้าซิ่นมัดหมี่ และวิถชี วี ติ ชาวไทยพวนเปลีย่ นไปด้วย

อ้างอิง : สิมมา ศรีสนุ ทร. สัมภาษณ์, วันที่ 30 กรกฎาคม 2560. วนิดา รักพรม. สัมภาษณ์, วันที่ 13 มกราคม 2561.

ฉบับที่ 1

3


รักษ์โบราณวัตถุ

วรรณวิษา วรวาท

#PreventiveConservation

สถาบั น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ก ารเรี ย นรู ้

ภาพที่ 1

ภาพที่ 2

แห่ ง ชาติ ไ ด้ ท� ำ การศึ ก ษาวิ จั ย ร่ ว มกั บ คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในการ หาสาเหตุการเสือ่ มสภาพโบราณวัตถุประเภท โลหะเหล็ก ที่ได้จากการขุดค้นทางโบราณคดี ในพื้นที่สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ หรือมิวเซียมสยาม ซึ่งวัตถุประเภทโลหะที่ ได้จากการขุดค้นส่วนใหญ่มักเกิดสนิม ปัจจัย การเกิดสนิมเหล็กประกอบด้วย 1) ความชืน้ 2) ออกซิ เ จน 3) ความเป็ น กรด - เบส 4) ปริมาณคลอไรด์ (เกลือ) จากการศึกษาวิจัยด้วยวิธีการทดลอง พบว่าปริมาณคลอไรด์เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อ การเกิดสนิมเหล็กมากที่สุด ในการทดลอง ผูว้ จิ ยั ได้นำ� แผ่นเหล็กขนาด 2.5 x 4.0 x 0.15 เซนติเมตร มาแช่ในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ทีม่ คี วามเข้มข้นปริมาตร 40 cm3 โดยควบคุม อุ ณ หภู มิ ที่ 26 องศาเซลเซี ย ส หลั ง จาก เวลาผ่ า นไป 30 นาที พบว่ า แผ่ น เหล็ ก ใน สารละลายโซเดียมคลอไรด์เริม่ เกิดสนิมเหล็ก (ภาพ 1) โดยสังเกตจากสีของสารละลายที่ เริ่มเปลี่ยนเป็นสีน�้ำตาล เมื่อทิ้งไว้เป็นเวลา 34 วัน พบว่าอัตราการเกิดสนิมเหล็กของ แผ่นเหล็กในสารละลายโซเดียมคลอไรด์ที่มี ความเข้มข้น 3.5 % (น�ำ้ หนัก/ปริมาตร) มีคา่ สูงสุด (ภาพ 2) ซึง่ ความเข้มข้นนีม้ คี า่ เท่ากับ

ความเข้มข้นรวมของเกลือในน�้ำทะเล สรุปได้ ว่ า ปริ ม าณคลอไรด์ จ ะส่ ง ผลต่ อ การเกิ ด สนิมเหล็กมากทีส่ ดุ วัตถุที่ท�ำจากเหล็กส่วนใหญ่มักเสื่อม สภาพจากการเกิดสนิมบนพืน้ ผิว บางครัง้ เกิด การเปราะหลุดร่อน โดยทั่วไปการก�ำจัดสนิม เหล็กออกจากพืน้ ผิว มักใช้วธิ กี ารขูดสนิมเหล็ก ออกโดยใช้เครื่องมือที่มีความคมและแข็ง ซึ่ง วิธกี ารขูดด้วยเครือ่ งมือนีจ้ ะต้องท�ำด้วยความ ระมัดระวัง ต้องไม่ท�ำลายผิวหน้าของวัตถุ ทั้งนี้ในการศึกษาวิจัยของสถาบันพิพิธภัณฑ์ การเรียนรู้แห่งชาติร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้มีการทดลองก�ำจัด สนิ ม เหล็ ก ออกจากพื้ น ผิ ว วั ต ถุ ด ้ ว ยกระแส ไฟฟ้า (Electrolysis) พบว่าสามารถก�ำจัด สนิมได้ดีโดยไม่ท�ำลายพื้นผิวโลหะ (หากท่าน ต้องการทราบรายละเอียดสามารถสอบถาม เพิม่ เติมได้ที่ wanvisa@ndmi.or.th) เมื่อด�ำเนินการอนุรักษ์วัตถุเรียบร้อย แล้ว แต่ไม่ควบคุมอุณหภูมแิ ละความชืน้ จะเกิด สนิมอีกครั้ง ดังนั้นควรจัดเก็บวัตถุในกล่องที่ ปิดสนิทด้านในโดยใส่กระดาษบางขาว (Acid free tissue paper) เพื่อลดผลกระทบของ ความชืน้ สัมพัทธ์ตอ่ วัตถุภายในกล่อง และควร ควบคุมอุณหภูมภิ ายในห้องจัดเก็บที่ 18 - 25 องศาเซลเซียส และความชืน้ สัมพัทธ์ 45%

อ้างอิง : Heritage collection council. Caring for cultural material 2. Canberra: Heritage collection council, 1998.

ห้องคลังโบราณวัตถุและห้องปฏิบตั กิ าร สถาบันพิพธิ ภัณฑ์การเรียนรูแ้ ห่งชาติ (สพร.) เลขที่ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์: 0-2225-2777 ต่อ 101 โทรสาร: 0-2225-2775

e-mail: ndmi.collectionstorage@gmail.com Website: www.museumsiam.org, www.ndmi.or.th Facebook.com/museumsiamfan


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.