{ข่าวสารการอนุรักษ์} ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ปี 2561

Page 1

ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ปี 2561

จดหมายข่าวงานอนุรก ั ษ์และพิพิธภัณฑ์ สถาบันพิพธิ ภัณฑ์การเรียนรูแ้ ห่งชาติ (สพร.)

สารจากผูอ้ ำ� นวยการ จดหมายข่าวงานอนุรักษ์และพิพิธภัณฑ์ ฉบับที่ 2 ประจ�ำปี 2561 ขอแนะน�ำเอกสารประกอบการอบรมที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ผ้าโบราณของ กรมศิลปากร ถัดไปเป็นเรือ่ งราวประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ ลพบุรผี า่ นผ้าซิน่ มัดหมี่ ตอนที่ 2 และเรือ่ งราวของพืน้ ทีม่ วิ เซียมสยามในฐานะของวังท้ายวัดพระเชตุพน ในช่วงรัชกาลที่ 3 - รัชกาลที่ 5 ส่วนท้ายเล่มห้องคลังโบราณวัตถุฯ ขอแนะน�ำสารประโยชน์และวิธกี ารใช้หน้ากากอนามัยทีถ่ กู ต้องและปลอดภัย ทั้งนี้หากท่านมีข้อสงสัยเกี่ยวกับอนุรักษ์วัตถุพิพิธภัณฑ์หรืองานคลังโบราณวัตถุ สามารถติดต่อได้ที่ ndmi.collectionstorage@gmail.com หรือจดหมายมาทีห่ อ้ งคลังโบราณวัตถุฯ ตามทีอ่ ยูใ่ นหน้าสุดท้ายนะครับ นายราเมศ พรหมเย็น รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ และผูอ้ ำ� นวยการสถาบันพิพธิ ภัณฑ์การเรียนรูแ้ ห่งชาติ

แนะน�ำ “เอกสารประกอบการอบรม การอนุรกั ษ์โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ : ผ้าโบราณ”

ปัฐยารัช ธรรมวงษา

#BookReview

กลุ่มวิทยาศาสตร์เพื่อการอนุรักษ์ ส�ำนักพิพิธภัณฑสถาน

แห่งชาติ ได้จัดการอบรม “การอนุรักษ์โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ : ผ้าโบราณ” ขึ้ น ในวั น ที่ 28 - 30 มิ ถุ น ายน 2553 ณ ห้ อ งประชุ ม ด� ำ รงราชานุ ภ าพ พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ พระนคร มี ก ารจั ด ท� ำ เอกสารประกอบการ อบรมที่ให้ความรู้เกี่ยวกับผ้า ทั้งผ้าไทยโบราณซึ่งพบหลักฐานตั้งแต่สมัย ก่อนประวัติศาสตร์ ไล่เลียงมาตามยุคสมัยต่างๆ โดยเน้นสมัยอยุธยากับ สมัยรัตนโกสินทร์ รวมถึงลักษณะผ้าโบราณของไทย เช่น ผ้ากะแสง ผ้าขิด ผ้าโขมพัสตร์ ผ้ายก ผ้าสมปัก ฯลฯ นอกจากนีย้ งั ได้กล่าวถึงชนิดและคุณสมบัติ ของเส้นใยของผ้าไทยโบราณ ซึ่งส่วนใหญ่จะทักถอมาจากเส้นใยธรรมชาติ โดยอาจมีการใช้วสั ดุอนื่ ๆ ประกอบการทอ หรือตกแต่งเพือ่ เพิม่ ความสวยงาม และคุณค่า ซึง่ จะมีผลกระทบต่อเส้นใยผ้าในระยะยาว บทถัดมาได้กล่าวถึงการดูแลรักษาผ้าโบราณ โดยระบุถึงสาเหตุของ การช�ำรุดเสื่อมสภาพของผ้าโบราณที่มาจากมนุษย์ เช่น จากการซ่อมแซม การท�ำความสะอาด การจัดแสดง การหยิบยกเคลื่อนย้าย และการน�ำมา สวมใส่ สาเหตุของการช�ำรุดเสื่อมสภาพที่เกิดจากสภาพแวดล้อม ทั้งจาก การเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางเคมีของเส้นใยจากปัจจัยกระตุ้น การ เปลีย่ นแปลงกระบวนการทางเคมีของผ้า และการเปลีย่ นแปลงจากสิง่ มีชวี ติ

ประเภทเชื้อรา แมลงหรือสัตว์ฟันแทะ เมื่อเกิดปัญหาต่างๆ จึงน�ำมาซึ่งการ ควบคุมสภาพแวดล้อม โดยต้องพิจารณาถึงอุณหภูมิ ความชืน้ และแสงสว่าง ที่เหมาะสม การควบคุมสภาพแวดล้อมสามารถท�ำได้หลายวิธี ทั้งการใช้ เครือ่ งมือซึง่ มีให้เลือกใช้ตามความเหมาะสม การเลือกพืน้ ทีใ่ นการจัดเก็บหรือ จัดแสดงผ้าที่เหมาะสม รวมถึงการตรวจสอบและท�ำความสะอาดพื้นที่จัด เก็บผ้าอย่างสม�ำ่ เสมอ นอกจากนีย้ งั มีเรือ่ งการหยิบยก เคลือ่ นย้ายผ้าโบราณ ซึง่ จ�ำเป็นต้องมีขอ้ ควรปฏิบตั ทิ รี่ ดั กุม มีการวางแผนทีด่ ี ใช้วสั ดุอปุ กรณ์หยิบจับ อุ ป กรณ์ ร องรั บ และห่ อ หุ ้ ม ผ้ า ที่ เ หมาะสม และไม่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ ผ้ า ในการจัดแสดงผ้าโบราณ และการจัดเก็บผ้าโบราณจ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงสภาพ แวดล้อมที่เหมาะสม วิธีการจัดเก็บที่ถูกต้องและปลอดภัยตามหลักอนุรักษ์ เพื่อรักษาสภาพของผ้าโบราณ ชะลอการเสื่อมสภาพ และยืดอายุของผ้าให้ ยาวนาน ในบทสุดท้ายได้กล่าวถึงปัญหาและข้อเสนอแนะไว้ ประมวลจากผลการ ส�ำรวจโดยแบบสอบถามจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจ�ำนวน 21 แห่ง ได้น�ำเสนอแนวทางการแก้ไขที่สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ได้ เอกสารประกอบ การอบรมฉบับนีจ้ งึ นับเป็นเอกสารทีม่ ปี ระโยชน์เป็นอย่างมาก ส�ำหรับผูส้ ะสม ผ้าโบราณ ทัง้ สะสมส่วนตัว หรือจัดแสดงในพิพธิ ภัณฑ์

เอกสารการอบรมฉบับนี้ สามารถอ่านจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ www.finearts.go.th     เลือกเมนูดา้ นบน คลังวิชาการ     เลือกเมนู ความรูท้ วั่ ไป     เลือก โบราณวัตถุ - ศิลปวัตถุ     เลือกหัวข้อ “องค์ความรูก้ ารอนุรกั ษ์โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ : ผ้าโบราณ(องค์ความรูป้ ี 2553)” หรือสามารถดาวน์โหลดได้ที่ http://www.finearts.go.th/olddata/files/p1-82.pdf  ฉบับที่ 2

1


ผ้าซิน่ มัดหมี ่ : ผูส้ ะท้อนการเปลีย่ นแปลงของผูค้ น ตอนที่ 2  #ObjectTellsStories

ธนพล ประกอบกิจ

การเกิดขึน้ ของนโยบายรัฐนิยม โดยรัฐบาลจอมพล ป.พิบลู สงคราม ประกอบกับการพัฒนา

ทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้ประชาชนต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ซึ่งสะท้อนให้เห็นในลวดลายของผ้าซิ่นมัดหมี่ ที่ถูกปรับรูปแบบและขนาด ในช่วง พ.ศ. 2500 นับเป็นช่วงเวลาเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญอีกครั้งหนึ่ง ของประเทศไทย ซึ่งมีผลโดยตรงต่อประชาชน ร่องรอยยังปรากฏอยู่ในผ้าซิ่นมัดหมี่ ผ้าซึ่งถูกจัดให้เป็น สินค้าประจ�ำจังหวัดลพบุรี หน่ ว ยงานปกครองท้อ งถิ่น ได้ก�ำหนดให้ผ้ามัด หมี่เป็น สินค้าที่เป็นเอกลักษณ์ที่ส�ำคัญของ จังหวัดลพบุรี ยิง่ ไปกว่านัน้ ผ้ามัดหมีย่ งั เป็นสิง่ สะท้อนวิถชี วี ติ ของชาวจังหวัดลพบุรี ซึง่ ปรับตัวตามระบบ เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง ใน พ.ศ. 2500 รัฐบาลได้ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 หน่วยงานภาครัฐได้ส่งเสริมให้การทอผ้ากลายเป็นอาชีพส�ำหรับแม่บ้าน มีการสนับสนุนด้าน องค์ความรู้และวัสดุอุปกรณ์ในการทอผ้า มีการส่งเสริมให้ใช้เส้นใยสังเคราะห์ ตัดทอนรายละเอียด ของผ้า จากลายหมี่ปล้องอ้อยที่ขนาบด้วยแถบคั่น ซึ่งเป็นแนวคั่นระหว่างลายหมี่หลักกับลายหมี่รอง ได้ถูกแทนที่ด้วยด้ายสีต่างๆ พัฒนาให้ผ้ามีสีสันที่หลากหลาย รวมไปถึงความละเอียดของลายผ้า คือ ลายผ้ายุคหลังจะมีขนาดใหญ่ขึ้น อาจเนื่องมาจากความต้องการลดเวลาการผลิต หรืออาจเป็นผล มาจากสมรรถภาพที่ลดลงเนื่องจากอายุที่มากขึ้นของช่างทอผ้า ซึ่งอาจสะท้อนให้เห็นว่า งานทอผ้า กลายเป็นงานของผู้สูงอายุ เพราะคนรุ่นหลังเลือกที่จะออกไปท�ำงานนอกบ้านเพราะผลตอบแทนที่ มากกว่าการท�ำการเกษตรและการทอผ้า ลายเล็กๆ ในผ้าหนึ่งผืน สามารถตีความการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้ หรืออย่างน้อยอาจเป็น กุญแจส�ำคัญที่น�ำไปสู่ข้อมูลที่สามารถน�ำมาอธิบายผู้คนและชุมชน การอธิบายนั้นอาจน�ำไปใช้เป็น เครือ่ งมือในการศึกษาท้องถิน่ เพือ่ น�ำไปสูก่ ารพัฒนาทีย่ งั่ ยืน

ผ้าซิน่ มัดหมีร่ ปู แบบโบราณ จากภาพจะเห็นลักษณะของผ้าซิน่ มัดหมีห่ ลังจากได้รบั การพัฒนาโดยหน่วยงานภาครัฐ ทีท่ อด้วยเส้นใยสังเคราะห์ มีสสี ดใสและจ�ำนวนสีเพิม่ มากขึน้

ผ้าซิน่ มัดหมีห่ ลังยุคนโยบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ลักษณะของแถบคั่นในผ้าซิ่นผืนล่างที่ตรงกลางเป็นด้ายสีเขียว แทนที่หมี่ปล้องอ้อย และขนาบด้วยแถบคัน่ ขนาดเล็ก โดยสังเกตจากด้ายสีเหลืองทีม่ เี พียงสองเส้น ซึง่ คัน่ แบบโบราณ จะมีจำ� นวนเส้นด้ายมากกว่าท�ำให้แถบคัน่ มีขนาดใหญ่กว่าปัจจุบนั

2

ฉบับที่ 2

อ้างอิง: - ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม. เข้าถึงเมือ่ 15 กุมภาพันธ์ 2560. เข้าถึงได้จาก http://www.nesdb.go.th/main.php?filename=develop_issue - สิมมา ศรีสนุ ทร. สัมภาษณ์, วันที่ 30 กรกฎาคม 2560. - วนิดา รักพรม. สัมภาษณ์, วันที่ 13 มกราคม 2561.


ก่อนเป็นมิวเซียมสยาม ตอนที่ 2  #MuseumSiamStory

ปัฐยารัช ธรรมวงษา

วังที่ 1

วังที่ 2

วังที่ 4

วังที่ 3

ภาพแผนผังวังทัง้ 4 วังในบริเวณพืน้ ทีม่ วิ เซียมสยาม

ภาพฐานรากอาคารเป็นท่อนไม้วางเรียงเพือ่ รองรับอาคาร

ในช่ ว ง ต้ น รั ต นโกสิ น ทร์ พื้ น ที่ ข อง

มิวเซียมสยาม หรือ กระทรวงพาณิชย์ (เดิม) เป็นที่ ตัง้ ของวังเจ้านายจ�ำนวน 4 วัง และอีก 1 วังตัง้ อยู่ บริเวณสถานีตำ� รวจนครบาลพระราชวังในปัจจุบนั รวมเรียกว่า “วังท้ายวัดพระเชตุพน” จากการขุดค้น ทางโบราณคดี ใ นพื้ น กระทรวงพาณิ ช ย์ (เดิ ม ) ได้พบหลักฐานส�ำคัญที่บอกเล่าเรื่องราวของพื้นที่ ได้อย่างชัดเจน รวมถึงจากเอกสารโบราณได้ปรากฏ การผลัดเปลีย่ นของเจ้าของวังทัง้ 4 ดังนี้ วังที่ 1 มีเจ้านายที่ประทับตามล�ำดับ คือ กรมหมื่นเชษฐาธิเบนทร์ หรือพระองค์เจ้าโกเมน (ต้นราชสกุลโกเมน ณ อยุธยา) เป็นพระราชโอรส ในรัชกาลที่ 3 ต่อมาในรัชกาลที่ 4 ทรงสถาปนา เป็นกรมหมื่นเชษฐาธิเบนทร์ก�ำกับกรมช่างมุก

จนถึ ง รั ช กาลที่ 5 วั ง นี้ จึ ง ว่ า งลง รั ช กาลที่ 5 ได้พระราชทานวังนีแ้ ก่กรมหมืน่ อดิศรอุดมเดช หรือ พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช (ต้นราชสกุลสุขสวัสดิ์) ทรงรั บ ราชการเป็ น จเรสั ต ว์ พ าหนะทหารบก และการทหารม้า และด�ำรงต�ำแหน่งนี้จนตลอด พระชนมายุ วังที่ 2 มีเจ้านายที่ประทับตามล�ำดับคือ กรมหมื่นอมเรนทรบดินทร์ หรือพระองค์เจ้าชาย คเนจร (ต้นราชสกุลคเนจร) เป็นพระราชโอรสใน รัชกาลที่ 3 ทรงก�ำกับกรมช่างมุก เจ้านายทีป่ ระทับ ที่วังนี้ต่อมาคือ พระองค์เจ้าล�ำยอง (ต้นราชสกุล ล�ำยอง ณ อยุธยา) เป็นพระราชโอรสในรัชกาลที่ 3 เจ้ า นายองค์ สุ ด ท้ า ยที่ ค รองวั ง นี้ คื อ กรมหมื่ น ทิวากรวงศ์ประวัติ หรือพระองค์เจ้าศรีศุภโยค (ต้นราชสกุลเกษมศรี) พระองค์ได้รบั พระราชทาน วั ง นี้ จ ากรั ช กาลที่ 5 เพราะวั ง นี้ ยั ง ว่ า งอยู ่ แต่พระองค์เลือกประทับอยูท่ วี่ งั ที่ 1 ของกรมหลวง อดิ ศ รอุ ด มเดช เนื่ อ งจากเป็ น พระเชษฐาร่ ว ม เจ้าจอมมารดาเดียวกัน วั ง ที่ 3 มี เ จ้ า นายประทั บ ตามล� ำ ดั บ คื อ พระองค์ เ จ้ า งอนรถ (ต้ น ราชสกุ ล งอนรถ ณ อยุ ธ ยา) ประทั บ ที่ วั ง นี้ ตั้ ง แต่ รั ช กาลที่ 3 จนกระทัง่ สิน้ พระชนม์ รัชกาลที่ 3 ได้พระราชทาน พระองค์ เ จ้ า เปี ย ก หรื อ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า ชายเปี ย ก (ต้ น ราชสกุ ล ปิ ย ากร

ณ อยุ ธ ยา) ในสมั ย รั ช กาลที่ 5 พระราชทาน วังนี้แก่กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ทีฆชนม์ เชษฐประยู ร (ต้ น ราชสกุ ล สิ ง หรา ณ อยุ ธ ยา) ประทับที่วังนี้จนสิ้นพระชนม์ เมื่อครั้งรัชกาลที่ 5 ทรงปฏิสังขรณ์วัดราชาธิวาส มีพระราชด�ำริว่า ท้องพระโรงของกรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ เป็นพระโรงทีง่ ดงามซึง่ เจ้าของวังได้เสียชีวติ ไปแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รื้อไปปลูกไว้เป็น หอสวดมนต์ทวี่ ดั ราชาธิวาส วังที่ 4 มีเจ้านายประทับเพียงพระองค์เดียว คื อ กรมหมื่ น ภู มิ น ทร์ ภั ก ดี หรื อ พระองค์ เ จ้ า ชายลดาวัลย์ (ต้นราชสกุลลดาวัลย์ ณ อยุธยา) เป็นพระราชโอรสในรัชกาลที่ 3 ต่อมาในรัชกาลที่ 4 ทรงได้ รั บ สถาปนาเป็ น กรมหมื่ น ภู มิ น ทร์ ภั ก ดี โปรดเกล้าฯ ให้ทรงก�ำกับกรมช่างสิบหมู่ ใน พ.ศ. 2548 พื้ น ที่ ข องวั ง ท้ า ย วัดพระเชตุพนฯ รัชกาลที่ 6 ได้โปรดฯ ให้ซื้อที่ ทั้งหมด และได้ถูกรื้อท�ำเป็นสถานที่ราชการต่อไป ส่วนพื้นที่วังทั้ง 4 วังได้สร้างเป็นที่ตั้งของอาคาร กระทรวงพาณิชย์ (เดิม) จากการขุ ด ค้ น ขุ ด แต่ ง ทางโบราณคดี ในพื้ น ที่ เ มื่ อ พ.ศ. 2550 ได้ พ บหลั ก ฐานทาง โบราณคดี ห ลายประเภทในพื้ น ที่ แ ห่ ง นี้ เช่ น แนวก�ำแพง แนวฐานรากอาคารเป็นท่อนไม้วางเรียง เพื่อรองรับอาคาร แนวพื้นอาคาร เศษกระเบื้อง มุงหลังคา มีกลุ่มชิ้นส่วนหอยมุกที่กระจายตัว หนาแน่นในบริเวณวังที่ 1 มีซากกระดูกสัตว์ เช่น กระดูกม้า กระดูกวัว ยังมีการพบหลักฐานที่เป็น โบราณวัตถุ เช่น ชิน้ ส่วนภาชนะดินเผาทัง้ ประเภท เนือ้ ดิน ประเภทเครือ่ งเคลือบซึง่ น�ำเข้ามาจากต่าง ประเทศ เช่น จีน ญีป่ นุ่ และยุโรป เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ ต่างๆ เช่น เตาหุงต้ม กาน�้ำ มีด ช้อนส้อม กลอน กุญแจ เหรียญกษาปณ์ เกือกม้า ขวดแก้วรูปทรง ต่างๆ เช่น ขวดน�ำ้ หอมจากฝรัง่ เศส ขวดก้นลึกคล้าย ขวดไวน์ ฯลฯ วัตถุเหล่านี้เป็นหลักฐานที่แสดงถึง วิถชี วี ติ ของผูค้ นทีอ่ ยูอ่ าศัยในพืน้ ทีว่ งั ทัง้ 4 แห่งได้ อย่างดี โดยเฉพาะชิ้นส่วนเปลือกหอยมุกจ�ำนวน มากทีเ่ ชือ่ มโยงกับประวัตขิ องเจ้าของวังที่ 1 เป็นต้น

อ้างอิง: - ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษา ขุดค้น และขุดแต่งทางโบราณคดี ภายในพืน้ ทีก่ ระทรวงพาณิชย์ (เดิม) ถนนสนามไชย, เอกสารเย็บเล่ม, 2550. - สถาบันพิพธิ ภัณฑ์การเรียนรูแ้ ห่งชาติ. หิน ดิน อิฐ ฟืน้ ชีวติ สูพ่ พิ ธิ ภัณฑ์. กรุงเทพฯ: บริษทั บานาน่า สตูดโิ อ จ�ำกัด, 2552.

ฉบับที่ 2

3


ภาพที่ 2

ภาพที่ 1

รักษ์โบราณวัตถุ #PreventiveConservation

วรรณวิษา วรวาท

การใช้ ห น้ า กาก เพื่ อ ปกป้ อ ง

ร่างกายของคนท�ำงานด้านอนุรักษ์จากฝุ่นละออง เชื้ อ รา เชื้ อ โรค เป็ น เรื่ อ งที่ ส� ำ คั ญ ที่ ค วรค� ำ นึ ง หน้ากากอนามัยที่มีขายทั่วไปสามารถเลือกใช้ได้ อย่างเหมาะสมกับการท�ำงานประเภทต่างๆ หน้ากากอนามัยแบบเยื่อกระดาษ 3 ชั้น (ภาพ 1) เป็นหน้ากากทีใ่ ช้ปอ้ งกันการแพร่กระจาย เชื้อโรคจากการไอหรือจาม มีประสิทธิภาพในการ กรองฝุน่ ละอองได้ดี ซึง่ หน้ากากอนามัยประเภทนี้ สามารถป้ อ งกั น ผู ้ ส วมใส่ จ ากเชื้ อ โรคจ� ำ พวก เชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อรา แต่หากเป็นเชื้อราที่มี

ขนาดเล็กมากในระดับไมครอน อาจจะไม่สามารถ ป้องกันได้ เมือ่ ใช้เสร็จแล้วควรเปลีย่ นหน้ากากใหม่ ทุกวัน และไม่ควรมีการน�ำมาใช้ซ�้ำ ในการสวมใส่ ให้ใส่โดยการหันด้านที่มีสีออกด้านนอก โดยด้าน ทีม่ ลี วดบีบจมูกไว้ดา้ นบน หน้ากากอนามัยผ้าฝ้าย (ภาพ 2) ใช้สำ� หรับ ป้องกันฝุน่ ละออง แต่อาจไม่สามารถกรองเชือ้ โรค ที่ มี ข นาดเล็ ก ได้ เ ช่ น เดี ย วกั บ หน้ า กากอนามั ย กระดาษ หน้ากากอนามัยประเภทนี้ สามารถซัก ท�ำความสะอาดด้วยผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรคแล้วน�ำ กลับมาใช้ใหม่ได้

ห้องคลังโบราณวัตถุและห้องปฏิบตั กิ าร สถาบันพิพธิ ภัณฑ์การเรียนรูแ้ ห่งชาติ (สพร.) เลขที่ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์: 0-2225-2777 ต่อ 101 โทรสาร: 0-2225-2775

e-mail: ndmi.collectionstorage@gmail.com Website: www.museumsiam.org, www.ndmi.or.th Facebook.com/museumsiamfan

ภาพที่ 3

หน้ากากอนามัยชนิด N95 (ภาพ 3) เป็น หน้ากากอนามัยทีส่ ามารถป้องกันเชือ้ โรคได้ดที สี่ ดุ เพราะป้องกันได้ทงั้ ฝุน่ ละอองและเชือ้ โรคทีม่ ขี นาด เล็กถึง 0.3 ไมครอน มีอายุการใช้งานนานประมาณ 3 สัปดาห์ แต่ถา้ จะให้ดคี วรจะเปลีย่ นใหม่ทกุ วัน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.