ข่าวสารการอนุรักษ์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เมษายน 2557

Page 1

ขาวสารการอนุรกั ษ ปที่ 2 ฉบับที่ 1 เมษายน 2557

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ ขาวสารการอนุรักษฉบับนี้เปนฉบับแรกของป 2557 และนับเปนปที่ 2 ของการจัดทําขาวสารดานการอนุรักษ ของทางสถาบันฯ ในฉบับนี้มีเรื่องราวที่นาสนใจสําหรับผูที่เคยประสบปญหาเกี่ยวกับภาพพระบฏและสมุดไทยเกิดการชํารุด เสียหายหรือทะลุเปนรู โดยเฉพาะบริเวณภาพวาดที่ระบายดวยสีเขียว ซึ่งหลายทานอาจสงสัยวาเกิดจากสาเหตุใด บทความ เรื่อง “สีเขียวที่ทําอันตรายตอจิตรกรรมไทยประเพณี” สามารถไขขอของใจของทานได อีกทั้งเรื่องกลิ่นฉุนในตูเก็บของก็เปน อีกปญหาหนึ่งที่เปนเรื่องใกลตัว ทั้งตูเก็บโบราณวัตถุในพิพิธภัณฑและตามบานเรือน ซึ่งเกิดจากสาเหตุหลายประการดวยกัน และกลิ่นฉุนจากตูเก็บของนั้นในหลายกรณีมีสวนทําใหเกิดอันตรายตอโบราณวัตถุ การเขาใจสาเหตุการเกิดกลิ่น สามารถทํา ใหผูปฏิบัติงานดานพิพิธภัณฑมีความระมัดระวังในการเลือกวัสดุที่ทํามาใชและไมกอใหเกิดอันตรายกับโบราณวัตถุได และ หากทานใดมีขอสงสัย หรือตองการความชวยเหลือดานการอนุรักษ การดูแลรักษาโบราณวัตถุ สามารถติดตอเขามายัง สถาบันฯ ตามที่อยูดานทายจดหมายขาวครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

กิจกรรม

เจาหนาที่สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ กําลังติดตั้งผา โบราณเพื่อนําไปใชจัดแสดงในนิทรรศการ “มองใหมดายไหม”

เจาหนาที่สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติกําลังศึกษา เชื้อราทีไ่ ดจากตูเก็บโบราณวัตถุ


สีเขียวที่ทําอันตรายตอจิตรกรรมไทยประเพณี จิตรกรรมไทยประเพณีใชสีฝุนผสมกาวระบายบนพื้นผิวที่ทําจากวัสดุตางๆ เชน ผนังปูนฉาบ ไม ผาและกระดาษ ระยะแรกๆ สีในที่ใชสวนใหญเปนสีที่ไดจากแรที่มีอยูตามธรรมชาติ เชน ดินแดง ดินขาว ดินเหลือง สีเหลืองจากหรดาน สีแดงชาด บางสวนไดมาจากพืชและสัตว เชน สีฟา-น้ําเงิน ไดจากคราม สีดําไดจากถานหรือเขมา สีขาวจากหินปูนหรือจาก การเผาเปลือกหอย สีแดงจากครั่ง สีเหลืองจากรง เปนตน ตอมามีสีสันสดใสที่ผลิตในตางประเทศและนําเขามาขายในไทย สีเขียวบนจิตรกรรมไทยระยะแรกๆ ไดจากการผสมสีน้ําเงินจากครามกับสีเหลืองจากรง ตอมามีสีเขียวจากจีน เขามาขายเรียกวาสีเขียวตั้งแช ซึ่งเปนสีที่ทํามาจากเกลือของทองแดง คําวา “ตั้ง” หรือ “ตั๊ง”แปลวาทองแดง สวนคําวา “แช” แปลวาสีเขียว ภาษาจีนกวางตุง เรียกวา “ถงเชง” สีเขียวจากทองแดงมีหลายชนิด ที่มีคุณภาพดีไดมาจากแรมาลาไคต ที่มีในธรรมชาติซึ่งเปนทองแดงคารบอเนต (ซึ่งมีสีเขียว) มาบดใหเปนผงละเอียด ภาษาจีนกลางเรียก lü chhing แตแรชนิด นี้คอนขางหายาก จีนจึงผลิตสีเขียวที่ไดจากการสังเคราะหคือทองแดงอะซีเตท (อาจมีทองแดงคลอไรดปะปนบาง) ผลิตโดย แชแผนทองแดงในกรดน้ําสม หุมดวยแกลบแลวรมควันดวยไฟออนๆ จะเกิดผลึกสีเขียวอมน้ําเงินซึ่งมีกลิ่นกรดน้ําสมติดมา เล็กนอย จัดเปนสารสีอีกชนิดหนึ่งที่ผลิตดวยวิธีเคมีที่เกาแกที่สุดในจีน ชาวยุโรปเรียกวา Verdigris ภาษาจีนกลางเรียก thung chhing สีเขียวชนิดนี้เปลี่ยนสีจากสีน้ําเงินอมเขียวเปนสีเขียวจากปฏิกิริยาเคมี และทําใหจิตรกรรมเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอยางยิ่งจิตรกรรมที่เขียนบนผาและกระดาษ เมื่อเวลาผานไปนานๆ สวนที่ระบายดวยสีเขียวที่ทําจากทองแดงอะซี เตท จะทําใหผาและกระดาษเปนรอยไหมสีน้ําตาลหรือกัดกินเนื้อผาและกระดาษใหขาดทะลุเปนรู เนื่องจากเกิดกรดน้ําสม เพิ่มขึ้น ในระยะยาวสารสีเขียวชนิดนี้มักมีสีเขมขึ้นเนื่องจากทําปฏิกิริยากับสารประกอบกํามะถันไดทองแดงซัลไฟดซึ่งมีสีเขม ปรากฏการณนี้พบบอยบนภาพพระบฏและสมุดไทยสมัยรัตนโกสินทรตอนตน เนื่องจากเรือสินคาจากจีนนํา สีเขียวตั้งแชเขามาจําหนาย ชางไทยจึงนํามาใชอยางแพรหลายแตที่ไมเกิดการเปลี่ยนแปลงมากนักบนจิตรกรรมฝาผนัง เนื่องจากฝาผนังทําจากปูนฉาบเมื่อแข็งตัวกลายเปนแคลเซียมคารบอเนตหรือหินปูน กรดน้ําสมที่เกิดขึ้นจะถูกแคลเซียม คารบอเนตสะเทินไป จึงไมกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงมากนัก แตภาพพระบฏและสมุดไทยทําจากผาและกระดาษ กรดน้ําสม สามารถกัดใหเสนใยขาดหายไปเปนรูได


กลิ่นฉุนในตูเก็บของ

ตูเก็บของทําจากวัสดุหลายชนิด เชน ไม ไมอัด กระจก บางสวนทําจากโลหะ ตูเก็บของมักมีกลิ่นจากไม กาว สารยาแนว สีหรือแลคเกอร สิ่งของที่เก็บรักษาไวในตูรวมทั้งกลิ่นจากเชื้อราและแมลง หากตูปดสนิทมิดชิดไมมชี องทางให กลิ่นระเหยผานออกมา กลิ่นตางๆ เหลานี้จะถูกกักเก็บอยูภายในตู วัสดุหลายชนิดมีกลิ่น เชน ไมและไมอัดมีกลิ่นเพราะไอระเหยที่เนื้อไมปลดปลอยออกมา ไมหลายชนิดใหไอระเหย ของกรดอินทรีย ไมอัดใหไอระเหยเปนฟอรมัลดีไฮด ซึ่งเมื่อรวมตัวกับไอน้ําหรือความชื้นไดกรดฟอรมิคหรือกรดมด กระดาษ แข็งและกระดาษลูกฟูกสีน้ําตาลที่ใชทํากลองใหไอระเหยของกรดอินทรียหลายชนิด กาวและสารยาแนวที่ใชในการตอเชื่อมชิ้น ไมหรืออุดรูก็สงกลิ่น เชน กาวที่ทําจากหนังสัตวหรือกระดูกสัตวมีโปรตีนเปนองคประกอบ มักสลายตัวใหสารประกอบของ กํามะถัน ซิลิโคนใหไอระเหยของกรดน้ําสม กาวสังเคราะหมกั มีกลิ่นสารเคมีคอนขางรุนแรง ตูมักถูกเคลือบผิวเพื่อความ สวยงามและทนทานตอการใชงาน สารเคลือบผิวหลายชนิดสงกลิ่นเปนเวลานาน เชน สีทาบานบางยี่หอ ใหไอระเหยของกรด น้ําสม สีน้ํามันมีกลิ่นของตัวทําละลายหลงเหลืออยูเปนเวลานาน สิ่งของที่เก็บรักษาในตูบางชนิดสงกลิ่นฉุน เนื่องจากวัสดุทุกชนิดมีการเสื่อมสภาพหรือสลายตัวตามกาลเวลา เชนฟลมภาพยนตรและฟลมเนกะทีฟที่ฐานฟลมทําจากเซลลูโลสอะซีเตทหรือเซลลูโลสไดอะซีเตท ซึ่งทําจากเซลลูโลสและ กรดน้ําสม เมื่อกาลเวลาผานไปกรดน้ําสมแยกตัวออกมา ทําใหไดกลิ่นเปรี้ยวๆ กลองพลาสติกหรือถุงพลาสติกหรืออัลบัมภาพ หรืออัลบัมเหรียญกษาปณที่ใชในการจัดเก็บมักทําจากโพลีไวนิลคลอไรด (PVC) ซึ่งปลดปลอยกรดเกลือหากไดรับความรอน ภูมิภาคที่มีอากาศรอนชื้นตลอดปอาจพบแมลงหลายชนิดอยูในตู แมลงสาบบางชนิดมีกลิ่นฉุนจัด บางครั้งอาจได กลิ่นเนาของซากสัตวขนาดเล็กที่ตายในตูดวย จึงมักมีผูใสลูกเหม็น การบูร กอนดับกลิ่นหรือฉีดพนสารเคมีอื่นๆ ในตู เพื่อไล แมลง สารเคมีเหลานี้จะสงกลิ่นตอเนื่องเปนเวลานาน ในชวงฤดูฝน อากาศที่มีความชื้นสูงจะแทรกซึมเขาไปในตูและถูกวัสดุบางชนิดดูดซับไวจนวัสดุนั้น ๆ ชื้นพอที่ เชื้อราจะเจริญได บางครั้งอากาศที่มีความชื้นสูงและมีอุณหภูมิลดลง เกิดการควบแนนกลั่นตัวเปนหยดน้ําเกาะอยูบนกระจกตู แลวเกิดเชื้อราบนกระจก เมื่อเปดตูจะไดกลิ่นอับ และกลิ่นเฉพาะตัวของเชื้อรา


แลกเปลี่ยนความรู คุณวัชระ:

ภาพถายขนาดใหญที่ใสกรอบ ดูบวม ๆ ยนเปนคลื่น เปนเพราะอะไร

จิราภรณ:

กระดาษที่ใชอัดรูปดูดและคายความชื้นไดดี หากใสกรอบโดยใหกรอบรูปมีขนาดเทากับรูป เมื่อความชื้นสูง กระดาษอัดรูปดูดความชื้นแลวขยายตัว แตไมมีพื้นที่ใหขยายตัว จึงโกงงอหรือบวมแลดูเปนคลื่น แตถาใช กรอบที่มีขนาดใหญกวารูปประมาณ 1-2 นิ้ว โดยรอบ นํารูปภาพติดบนกระดาษแข็ง ดวยมุมสามเหลี่ยม ที่มุมทั้งสี่ เวนที่ใหกระดาษขยายตัวไดบาง เมื่อกระดาษดูดความชื้นจะขยายตัวอยางอิสระ จึงไมบวม หรือเปนคลื่น

คุณสมพร: ขอทราบวิธที ําความสะอาดเครื่องเรือนประดับมุก จิราภรณ:

เครื่องเรือนประดับมุก มุกมีจุดเดนตรงทีฝ่ งประดับดวยเปลือกหอยมุก ซึ่งมีสารที่ลักษณะเปนมันแวววาว เคลือบอยูบนดานในของเปลือกหอย บางทีมีสีเหลือบประกายรุงสวยงาม เวลาทําความสะอาดจึงตอง ระมัดระวังสวนที่เปนเปลือกหอยมุกมากที่สุด อยาใหมีรอยขูดขีด ควรใชสําลีชุบน้ําผสมอัลกอฮอล กลิ้ง เบาๆ บนผิวมุก เพื่อขจัดสิ่งสกปรกออกเทานั้น ไมควรใชผาเช็ดถู เพราะผาอาจเกี่ยวมุกสวนที่เผยออยูให หลุดออกและหามใชสบูและสารเคมี ใดๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งของเหลวที่มีฤทธิ์เปนกรด เพราะจะทํา อันตรายตอเครื่องมุก แมแตน้ําก็ไมควรใชเพราะน้ําอาจทําใหชิ้นมุกที่ฝงประดับอยูในยางรักหลุดออก

คุณวิบูลย: เอกสารเกาที่ตัวอักษรเลอะเลือนจากความชื้น ทําอยางไรใหอานได จิราภรณ: สองดวยโคมไฟที่ใหรังสีอัลตราไวโอเล็ท ความยาวคลื่น ๓๘๐ นาโนเมตร จะชวยใหอานตัวอักษรได

ผูจัดทํา นางจิราภรณ อรัณยะนาค ที่ปรึกษาดานงานอนุรักษ นายศุภกร ปุญญฤทธิ์ นางวัชนี สินธุวงศานนท นางสาวพัชรลดา จุลเพชร นายคุณาพจน แกวกิ่ง นายพรพิชิต พรรัตน

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถ.สนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 022252777 ตอ 109 fax 022251881-2 e-mail : pacharalada@ndmi.ro.th http://www.ndmi.or.th/home.php http://www.facebook.com/museumsiamfan


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.