ข่าวสารการอนุรักษ์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม 2558

Page 1

ขาวสารการอนุรกั ษ ปที่ 3 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม 2558 เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ ในปพุทธศักราช 2558 ขาวสารการอนุรักษกาวเขาสูปที่ 3 ในปนี้ขอมูลขาวสารจะเขมขนและหลากหลายมาก ขึ้น เพื่อตอบสนองตอความตองการของเครือขายพิพิธภัณฑและนําเสนอเกร็ดความรูใหมๆเกี่ยวกับวัตถุพิพิธภัณฑและ การอนุรักษ หวังเปนอยางยิ่งวาทางเครือขายพิพิธภัณฑจะไดรบั ประโยชน และสามารถนําไปปรับใชในการอนุรักษวัตถุ พิพิธภัณฑ หากท านมีขอสงสัยเกี่ยวกั บป ญหาที่ พ บในพิ พิ ธภั ณฑข องทาน หรื อตองการความร วมมือดานงานการ อนุรักษวัตถุพิพิธภัณฑ สามารถติดตอมาทางที่อยูดานทายครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ การบรรยายทางวิชาการ

1) ซายบน ดร.เพ็ญสุภา สุขคตะ บรรยายเรื่อง ความสัมพันธ ระหวางเครื่องเขินเชียงใหมกับเชียงตุง 31 ตุลาคม 2557 2) ขวาบน อ.บุหลง ศรีกนก บรรยายเรื่อง วัฒนธรรมการไวจุก ของเด็กอาเซียน 28 พฤศจิกายน 2557 3) ซายลาง คุณปฏิพัฒน พุมพงษแพทย บรรยายเรื่อง หลักฐานคนไทยในอมรปุระ 26 ธันวาคม 2557


กิจกรรม

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การทําความสะอาดวัตถุพิพิธภัณฑ” ใหกับชุมชนวัด บัวโรยและชุมชนใกลเคียง ณ พิพิธภัณฑวัดบัวโรย จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อวันที่ 14-15 ตุลาคม 2557

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติรวมกับศูนยการเรียนรูว ัฒนธรรมอันดามัน จ.กระบี่ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรือ่ ง “การดูแลรักษาวัตถุพิพิธภัณฑ” ใหกับบุคคลากรพิพิธภัณฑในจังหวัดกระบี่ เมื่อวันที่ 17-18 พฤศจิกายน 2557

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การดูแลรักษาวัตถุพิพิธภัณฑ” ใหกับบุคลากร พิพิธภัณฑและผูสนใจในจังหวัดเชียงใหม ณ คริสตจักรที่หนึ่ง อําเภอเมืองเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม เมื่อวันที่ 16-17 ธันวาคม 2557


กระดาษไรกรด กระดาษเปนวัสดุที่จําเปนมากในการเก็บรักษาและจัดแสดงวัตถุ พิพิธภัณฑ เพื่อใชในการหอหุม คลุม คั่น บุ ปู รองรับน้ําหนัก ทํากลอง ซอง แฟม ทําวัสดุกันกระแทก และใชในการเมาทรูป ควร เลือกใชกระดาษไรกรด (acid-free paper) หรือในบางกรณีอาจตองใช กระดาษที่มีฤทธิ์เปนดางเล็กนอย (buffered paper) เพื่อใหสะเทินกรดที่อาจ แทรกซึมเขามา กระดาษไรกรดเกิดจากกระบวนการผลิตหลายขั้นตอน เริ่มตั้งแตการ คัดเลือกวัตถุดิบ การขจัดสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ ออกไป ใหเหลือเสนใยเซลลูโลสที่ บริสุทธิ์ขึ้น แลวเติมสารเติมแตงเพื่อปรับปรุงคุณภาพของกระดาษใหเหมาะสมตอการ ใชงาน กระดาษหลายชนิดผานกระบวนการผลิตอยางระมัดระวัง ไมใชสารเคมีที่เปน กรดหรือทําใหเกิดกรด และผานกระบวนการที่ทําใหกรดที่หลงเหลืออยูหมดไป กระดาษเหลานี้เรียกวากระดาษไรกรด ซึ่งเหมาะสมตอการจัดเก็บและจัดแสดงวัตถุ พิพิธภัณฑ กระดาษบางชนิด นอกจากจะทําใหกรดที่มีอยูหมดไปแลว ยังเติม สารเคมีบางอยางลงไปในเนื้อกระดาษเพื่อใหกระดาษมีฤทธิ์เปนดางเล็กนอย เชน เติมผงหินปูน กระดาษชนิดนี้เรียกวา buffered paper ดางที่เติมลงไปจะชวยสะเทินกรดที่มาจากสภาพแวดลอมหรือมาจากวัสดุเอง ปจจุบันนี้มีผลิตภัณฑ กระดาษที่มีคุณสมบัติเชนนี้จําหนาย แตคอนขางหายากในประเทศไทยและมีราคาแพงมาก เนื่องจากตองนําเขาจาก ตางประเทศ กระดาษที่มีราคาถูก เชน กระดาษหนังสือพิมพ กระดาษหอของ กระดาษสีน้ําตาล ฯลฯ เกิดจาก กระบวนการผลิตที่ตองการลดตนทุน จึงใชเศษไมมาตัดสับและบดยอยเปนเยื่อกระดาษหรือใชกระดาษเกานํามาเวียนใช ใหม โดยไมผานการแยกองคประกอบอื่น ๆ ของไม เชน ลิกนิน (lignin) เฮมิเซลลูโลส (hemicellulose) ยางไม น้ํามัน ฯลฯ โดยเฉพาะอยางยิ่ง กระดาษหนังสือพิมพสลายตัวแลวใหกรดอินทรียหลายชนิด เชน กรดฟอรมิก กรดแลคติก กรดซัคซินิก กลองกระดาษลูกฟูกสีน้ําตาลที่มีกลิ่นกรด มักพบกรดน้ําสม กรดฟอรมิก และฟอรมาลดีไฮด ฯลฯ กระดาษราคาถูกเหลานี้มีฤทธิ์เปนกรด และมักเปลี่ยนสี จึงไมควรใหกระดาษเหลานี้สัมผัสกับวัตถุพิพิธภัณฑ โดยตรง อยางไรก็ตาม กระดาษที่ผลิตในประเทศหรือกระดาษบางชนิดที่หาซื้อไดงายในประเทศอาจเปนกระดาษที่ไม เปนกรด เนื่องจากเลือกใชวัตถุดิบที่ไมเปนกรด และใชกระบวนการผลิตที่ไมมีกรด ควรตรวจสอบความเปนกรดเปนดาง ของกระดาษกอนนํามาใชงานและศึกษากระบวนการผลิตควบคูกันไป กระดาษที่หาซื้อไดงายและไมเปนกรด ไดแก กระดาษทิชชู (สีขาว) กระดาษสา กระดาษแข็งสําหรับวาดภาพ กระดาษเมาทรูป (photoboard) กระดาษแกว (บางผลิตภัณฑอาจเปนกรด) กระดาษซับ(สีขาว) กระดาษกรอง กระดาษพิมพหรือกระดาษถายเอกสารบางยี่หอ กระดาษที่ผลิตดวยมือในประเทศไทย เชน กระดาษสา กระดาษขอย เปนกระดาษที่ไมเปนกรด ไมมีชันสน และไมมีลิกนิน เนื่องจากผลิตจากเปลือกของตนปอสาหรือตนขอย ซึ่งมีเซลลูโลสเปนสวนใหญ ไมมีลิกนินผสมอยู เมื่อนําเปลือกของตนปอสาหรือตนขอยมาแชน้ําและตมหรือนึ่งดวยดาง (ขี้เถาหรือโซดาไฟ) จะไดเสนใยเซลลูโลสที่ คอนขางบริสุทธิ์ เมื่อทําเปนแผน กระดาษดังกลาวจึงไมมีฤทธิ์เปนกรด จึงนิยมใชในการจัดเก็บวัตถุพิพิธภัณฑ แทน การสั่งซื้อกระดาษไรกรดจากตางประเทศ อยางไรก็ตาม เมื่อใชงานไปนานๆ กระดาษไรกรดจะดูดซับกาซในอากาศ และมีความเปนกรดเพิ่มขึ้นทีละ นอย จึงตองเปลี่ยนกระดาษเมื่อตรวจสอบพบวากระดาษเริ่มเปนกรด ระยะเวลาในการเปลี่ยนแปลงไมแนนอน ขึ้นอยู กับสภาพแวดลอม


อันตรายจากไมอัด ไมอัด (plywood)คือ แผนไมที่เกิดจากการนําไมชิ้นบางๆ มาผนึกเขาดวยกัน เปนแผนหนา โดยการทา กาว ระหวางแผนไมบางๆ นั้น แลวอัดดวยความรอนและความดัน การเรียงแผนไม จะวางใหลายไมตั้งฉากกับชั้น ติดกัน เพื่อปองกันไมใหไมบิด ลดการหดตัว และทําใหมีความแข็งแรงเกือบเทากันทุกดาน ไมที่ใชในการทําไมอัดมี หลายชนิ ด เชน ไมสัก ไมยาง ไมมะปน ไม เมเปล ฯลฯ ไมอัดสําหรับใชง านภายใน ราคาถูกกว าไมอัด ที่ใชงาน ภายนอก หรือที่เรียกวาไมอัดกันน้ํา ไมอัดที่ใชงานภายในใชกาว urea-formaldehyde resin ซึ่งไมอยูตัว ใหไอระเหยของฟอรมาลดีไฮด ออกมาทําปฏิกิริยากับวัตถุที่อยูใกล เชน ทําใหโมเลกุลของโปรตีนและเซลลูโลสเปลี่ยนสภาพ ทําใหสีของรงควัตถุ เปลี่ยน ทํ าปฏิกิ ริยากั บโลหะทําใหเกิด สนิมเปนเกลือฟอรเมต ตะกั่วและโลหะผสมของตะกั่วกั บทองแดงทํ า ปฏิกิริยากับฟอรมาลดีไฮดไดเร็วที่สุด รองลงมาคือ สําริด ทองเหลือง และทองแดงตามลําดับ ซึ่งหากวัตถุทํา ดวยตะกั่ว สารประกอบฟอรเมตเกิดขึ้นจะเปนพิษตอคน ฟอรมาลดีไฮดยังทําปฏิกิริยากับแกวหรือกระจกทําให เกิดสารประกอบฟอรเมต ทําใหภาพเขียนและภาพถายเปลี่ยนสี ฯลฯ จึงไมเหมาะสมตอการทําครุภัณฑสําหรับ เก็บรักษาและจัดแสดงวัตถุพิพิธภัณฑ ไมอัดที่ใชสําหรับภายนอกหรือไมอัดกันน้ํา ใชกาว phenol-formaldehyde resin ซึ่งเปนกาวที่เสถียร พอสมควร จะใหไอระเหยของฟอรมาลดีไฮดเล็กนอย จึงเหมาะสมกวาไมอัดภายใน ในการทําครุภัณฑในการเก็บ รักษาและจัดแสดงวัตถุพิพิธภัณฑ

นอกจากนี้ผลิตภัณฑไมอื่น ๆ ก็มีขอเสียที่ควรระมัดระวัง เชน ไมอัดแผนเรียบ (hardboard) แผนผงไมอัด (particle board) แผนใยไมอัดความหนาแนนปานกลาง (medium density fiberboard) หรือไม MDF แผนชิ้นไมอัด (chipboard) แผนใยไมอัด (fiberboard)

ในกรณีที่มีครุภัณฑที่ทําจากไมอัดและผลิตภัณฑไมอยูแลว ควรนํามาเคลือบผิวดวยยูเรเทน 2-3 ชั้น แลว ผึ่งใหแหงและหมดกลิ่นกอนใชงาน ไมควรวางวัตถุบนไมอัดและผลิตภัณฑไมโดยตรง (รวมทั้งไมจริง) ควรปูหรือรองดวย ผาเนื้อหนา หรือพลาสติก ตูหรือลิ้นชักที่เก็บรักษาวัตถุพิพิธภัณฑควรใชซิลิกาเจล หรือถานกัมมันต ชวยดูดซับไอ ระเหย หรือเก็บวัตถุในกลองหรือถุงพลาสติกที่ปดไดสนิท รวมทั้งปรับปรุงระบบระบายอากาศในหองใหไอระเหยสามารถ ออกไปได


แลกเปลี่ยนความรู คุณพิพัฒน จิราภรณ

คุณนารี จิราภรณ

ขอทราบวิธีหอภาพเขียนกอนการเคลื่อนยายระยะใกลๆ ควรหอภาพเขียนดวยกระดาษไรกรดหรือกระดาษเคลือบซิลิโคน แลวหอดวยพลาสติก อีกชั้นหนึ่ง ซึ่งอาจใชพลาสติกกันกระแทกหรือพอลีเอทิลนิ ไมควรใชเทปกาวมาก เกินไป หากภาพเขียนหรือกรอบบอบบาง หลังจากหอดวยกระดาษไรกรด ควรใช กระดาษแข็งขนาดใหญกวาภาพเขียนและกรอบเล็กนอยประกบทั้งดานหนาและ ดานหลัง กอนหอดวยพลาสติก หากใชพลาสติกกันกระแทกที่มีฟองอากาศ ใหเอา ดานเรียบไวดานใน ภาพเขียนที่สียังไมแหง ควรเสริมกรอบใหหนาขึ้น โดยใช กระดาษแข็งหรือกระดาษลูกฟูกตัดเปนแถบกวาง 2-3 นิ้ว ติดรอบกรอบในแนวตั้ง ฉากกับผิวภาพ ยื่นออกมาดานหนาของภาพ เพื่อปองกันมิใหผิวหนาของภาพสัมผัสกับ กระดาษที่ใชหอ กระเปาและรองเทาหนังมักมีเชื้อราขึ้นเปนสีขาว บางทีสีเขียวอมเทา ควรเก็บอยางไร เมื่อพบวาเครื่องหนังมีเชื้อราเกิดขึ้นแสดงวาอากาศรอบ ๆ เครื่องหนังนั้น ๆ มีความชื้นสูง และกลองหรือตูหรือลิ้นชักที่จัดเก็บไมมีชองระบายอากาศ ทําใหความชื้นสะสม กอน อื่นควรนํามาผึ่งใหความชื้นระเหยออกไปในที่รมที่มี แสงแดดออน ๆและมีอากาศถายเท ไดดี เชน ระเบียง หรือ ริมหนาตาง ๒-๓ ชั่วโมง ใชสําลีแตะแอลกอฮอลเล็กนอย พอชื้น ๆ เช็ดคราบเชื้อราออกจนหมด เปลี่ยนสําลีบอย ๆ วางผึ่งตออีก ๒-๓ วัน จากนั้นหอดวยกระดาษไรกรด แลวใสในถุงซิป หรือ กลองกระดาษ ปรับปรุงตู หรือลิ้นชักใหสามารถระบายอากาศได เชน เจาะรู หลาย ๆ รู ดานหลังตู หรือดานขาง ตูและลิ้นชักที่เหมาะสมควรมีประตู บานเกล็ด เพื่อใหอากาศ ถายเทได

คุณพรพิมล เครื่องจักสานที่ทําจากไมไผ และกก มีรู ขนาดเล็ก ๆ บนผิวและมีผงสีเหลืองรวงออกมา ควรทําอยางไรคะ จิราภรณ ผงสีเหลืองดังกลาวคือมูลของมอดที่กินไมเปนอาหาร ที่พบบนไมไผและไมเนื้อออน ๆ มักเปนมอดไมไผ วิธีฆามอดในเครื่องจักสานที่สะดวกที่สุดคือนําเครื่องจักสานใส ถุงพลาสติกหรือกลองพลาสติก ปดใหแนน แลวนําไปแชแข็งที่อุณหภูมิประมาณ – 20 ถึง- 30 องศาเซลเซียสเปนเวลา 3-7 วัน แลวนําออกมาทิ้งไวที่อุณหภูมิหองเปนเวลา 4-8 ชั่วโมง เพื่อใหปรับตัวสูอุณหภูมิหอง จึงนําออกจากถุงพลาสติก ทําความสะอาดดวย แปรงขนออน ๆ และเครือ่ งดูดฝุน ทั้งนี้ควรสํารวจเสนทางที่มอดเขามาวางไข แลวปด กั้นเสนทางเหลานั้นใหหมด เพื่อปองกันไมใหมอดกลุมใหมเขามากัดกิน ผูจัดทํา นางจิราภรณ นายศุภกร นางสาวศิรดา นางสาววรรณวิษา นายคุณาพจน

อรัณยะนาค ปุญญฤทธิ์ เฑียรเดช วรวาท แกวกิ่ง

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระ นคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 022252777 ตอ 109 fax 022251881-2 e-mail : Sirada@ndmi.or.th , Wanvisa@ndmi.or.th www.facebook.com/museumsiamfan


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.