ข่าวสารการอนุรักษ์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน 2558

Page 1

ขาวสารการอนุรกั ษ ปที่ 3 ฉบับที่ 2 เดือนเมษายน 2558

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ หลังจากที่มีพระราชบัญญัติงาชาง พุทธศักราช 2558 ทําใหผูมีงาชางในครอบครองตองขึ้นทะเบียนและมี ใบอนุญาตครอบครองอยางถูกตอง จดหมายขาวสารการอนุรักษฉบับนี้จึงขอนําเสนอวิธีการดูแลรักษางาชางอยาง ถูก ต องตามหลั ก การอนุ รั ก ษ เพื่ อป องกั น วั ต ถุ ที่ มีคุณคา เสื่อมสภาพ สุ ด ท ายหากท านมี ข อสงสั ยและต องการ คําปรึกษาดานงานอนุรักษวัตถุพิพิธภัณฑ สามารถติดตอมาตามที่อยูดานทายครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

กิจกรรม สถาบั น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ก ารเรี ย นรู แหงชาติ ใหคําแนะนําดานการจัด แสดงและเก็บรักษาวัตถุพิพิธภัณฑ ศู น ย วั ฒ นธรรมอี ส านใต สํ า นั ก ศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัย ราชภัฏบุรีรัมย วันที่ 8-9 ธันวาคม 2557

เจาหนาที่หองคลังโบราณวัตถุฯ ฝายเครือขายพิพิธภัณฑ กําลังทําความสะอาดและซอมแซมวัตถุจัดแสดงในนิทรรศการหมุนเวียน “หลงรัก:วัฒนธรรม ประสานอาเซียน” ซึ่งเปดเขาชมตั้งแตวันที่ 3 มีนาคม ถึง 28 มิถุนายน 2558 ณ มิวเซียมสยาม (ทาเตียน)


การบรรยายทางวิชาการ

วันศุกรที่ 30 มกราคม 2558 ดร.ธันยกานต วงษออน ผูอํานวยการศูนยอนุรักษเครื่องปนดินเผาโรงเรียน ถนอมบุตร บรรยายเรื่อง การกําหนดอายุและพัฒนาการของเครื่องปนดินเผาสุโขทัย

วันศุกรที่ 27 กุมภาพันธ 2558 ดร.อชิรัชญ ไชยพจนพานิช อาจารยประจําคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรบรรยายเรื่อง มองคนจีนผานงานศิลปกรรมในสมัยรัตนโกสินทร

วันศุกรท่ี 27 มีนาคม 2558 คุณณายิบ อาแวบือซา บรรยายเรื่อง ชาวจีนในสังคมมลายูปาตานี


การดูแลรักษางาชาง งาชาง(ivory) คื อชื่ อที่ ใช เรี ยกงา ฟ น หรื อเขี้ ยวของสั ต ว เลี้ ยงลู ก ด วยนมขนาดใหญ เช น ชา ง สิงโตทะเล ฮิปโปโปเตมัส ชางน้ํา หมูปา ฯลฯ เนื่องจากมีองคประกอบหลักเหมือนกันคือ เดนทีน(dentine) ซึ่ง เปนสวนประกอบของฟน แตไมมีเคลือบฟน ประกอบดวยสวนที่เปนสารอินทรียและสารอนินทรีย โดยสารอินทรีย ทําหนาที่ในการเจริญเติบโตและซอมแซมสวนที่สึกหรอ สารอนินทรียเสริมสรางความแข็งแรง ลักษณะของงาชาง คลายกระดูกแตจะขาวกวา แข็งกวา เนื้อแนนกวา และหนักกวากระดูก เดนทีนมีการเพิ่มขนาดเปนชั้น ๆ ซอน ๆ กัน ดังจะเห็นไดจากภาคตัดขวางของงาชาง ในบางพิพิธภัณฑอาจมีงาชางเทียม ซึ่งทําจากพลาสติก เชน เซลลูโลส ไนรเตรต มักเรียกกันวา French ivory หรือ India ivory วิธีตรวจพิสูจนใหดูจากเดนทีนและโครงสรางที่แสดงให เห็นการเจริญเติบโตเปนชั้น ๆ งาชางแทมีลวดลายเล็กๆ ลักษณะเปนเสนโคงตัดกันไปมาอยูภายในเนื้อคลายตาขาย ซึ่งเลียนแบบยาก งาชางเกิดการเปลี่ยนแปลงไดงายเมื่ออยูในสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม เชนแสงสวางทําใหงาชางสีซีด ความชื้นต่ําเกินไป งาชางจะหดตัว แหงกรอบ และแตกราว ความชื้นสูงเกินไปงาชางจะบวมพอง และบิดเบี้ยว และโกงงอ อุณหภูมิและความชื้นแปรเปลี่ยนสูงต่ําสลับกันไปมา ทําใหงาชางแตกราวหรือแยกจากกันเปนกาบ ๆ จากการขยายตัวและหดตัวสลับกัน ปญหาดังกลาวจะยิ่งทวีความรุนแรงหากวัตถุนั้น ๆ ทําจากงาชางแผนบาง ๆ งาชางเกามักมีสีเขมขึ้น เพราะการเปลี่ยนแปลงของสารอินทรียที่เปนองคประกอบของงาชาง นอกจากนี้ งาชางมักมีคราบเปอน เนื่องจากผิวของงาชางมีลักษณะพรุน จึงดูดซับสารเคมีจากสิ่งแวดลอมไดดี เชน คราบน้ํามัน คราบเหงื่อไคล คราบอาหาร สนิมของโลหะ ฯลฯ การดูแลรักษางาชางจึงควรระมัดระวังในการจับตองเคลื่อนยาย โดยสวมถุงมือสะอาด ไมทําความสะอาด ดวยน้ําและสารเคมีใด ๆ ไมควรขัดดวยยาสีฟน ระวังอยาใหงาชางสัมผัสกับยาง หรือผาหรือพลาสติกที่มีสีสด ๆ เพราะจะทําใหเกิดรอยดาง การจัดเก็บและจัดแสดงงาชางควรควบคุมอุณหภูมิใหคงที่อยูระหวาง 45-55% และ อุณหภูมิ 22 องศาเซลเซียส หางไกลจากแหลงกําเนิดแสงทุกชนิด ทั้งแสงแดดและแสงไฟฟา ไมควรติดตั้งหลอด ไฟฟาในตูจัดแสดง ตูหรือลิ้นชักที่ปดไดสนิทจะชวยปองกันฝุนละออง สิ่งสกปรก และชวยลดการเปลี่ยนแปลงที่จะ เกิดขึ้นเมื่ออุณหภูมิและความชื้นเปลี่ยนแปลงกะทันหัน ในกรณีที่จัดเก็บในคลัง ควรเก็บในที่มืดภายในตูหรือลิ้นชัก หรือกลอง ซึ่งบุดวยวัสดุนุม ๆ เชน กระดาษสา กระดาษไรกรด กระดาษทิชชู ผาฝายเนื้อบาง ๆ สีขาว พอลิ เอทีลีนโฟม พอลิโพรพีลีนโฟม ฯลฯ ตูหรือลิ้นชักที่ใชจัดแสดงหรือจัดเก็บงาชางควรปดสนิทไมใหแมลงเขาไปกัด กิน งาชางเทียมที่ทําจากเซลลูโลสไนเตรต ไวไฟ ควรเก็บรักษาหรือจัดแสดงหางไกลจากแหลงความรอนวัสดุไวไฟ เชนไมควรจัดแสดงในตูที่มีหลอดไฟอยูในตู หรือใชหลอดไฟที่มีแสงจา สองตรงไปยังวัตถุ


กระดาษที่ทําจากไมไผ หลายคนเคยตั้งคําถามวาภาพเขียนบนกระดาษของจีนทําจากกระดาษชนิดใด กระดาษจากวัตถุดิบหลายชนิดมาเปนเวลายาวนาน ที่สําคัญไดแก ปอสา (paper mulberry) ไมไผ ปานกัญชา ฟางขาว และ เปลือกไมอื่น ๆ ในโอกาสนี้ขอกลาวถึงกระดาษที่ทําจากไมไผกอน เปนอันดับแรก

ความจริงแลวจีนผลิต

กระดาษที่ทําจากไมไผ ( bamboo paper) เปน กระดาษที่มีคุณภาพดีเปนที่รูจักกันทั่วโลก กระดาษไมไผเริ่มผลิตใน สมัยราชวงศถัง(พ.ศ. 1161-1450 ) เริ่มมีชื่อเสียงในสมัย ราชวงศหมิง(พ.ศ. 1911-2187 ) และเปนที่นิยมชมชอบมากที่สุดในสมัยราชวงศชิง(พ.ศ. 2187-2454 ) แหลงผลิตกระดาษไมไผที่สําคัญ คือมณฑลเสฉวนและมณฑลเจอเจียง ซึ่งมีสภาพแวดลอมเหมาะสม ตอการปลูกไมไผ เสนใยที่ไดจากไมไผนุม เรียบสม่ําเสมอ ยืดหยุนดี และแบน กระดาษไมไผมีสีขาว นุม ดูดซึม หมึกและสี ไดดี ไมเลอะเลือน กระดาษไมไผจึงนิยมใชเขียนภาพ และเขียนอักษรวิจิตร กระบวนการผลิตกระดาษไมไผมีมากมายถึง 72 ขั้นตอน เริ่มจากการคัดเลือกวัตถุดิบ เตรียมเยื่อ จนถึงการชอนเยื่อและตากแหง ทุกขั้นตอนทําดวยมือ ผูผลิตตองมีความชํานาญจึงจะไดกระดาษที่มีคุณภาพดี แมแตในขั้นตอนการชอนเยื่อซึ่งคนทั่วไปเห็นวาเปนขั้นตอนธรรมดา แตชางทํากระดาษไมไผจะพิถีพิถันในการ จัดเรียงเสนใย ควบคุมความหนา ระยะเวลาในการจุม เพื่อใหไดกระดาษที่มีคุณภาพตามที่กําหนด เมืองฝูหยางในมณฑลเจอเจียงเปนแหลงผลิตที่สําคัญ เริ่มผลิตมาตั้งแตสมัยราชวงศซง (พ.ศ.15031822 ) สืบทอดมาเปนเวลากวาพันป เทคนิคการผลิตกระดาษไมไผที่นั่นไมเหมือนที่ใด กลาวกันวาในขั้นตอน การหมักเยื่อมีการใชปสสาวะดวย แหลงผลิตอีกแหงหนึ่งคือมณฑลเจียงสี เรียกวา Qianshan Liansi paper ซึ่งผลิตมาตั้งแตสมัยตน ราชวงศหมิง ผูผลิตจะคัดเลือกไมไผที่มีคุณสมบัติเหมาะสม แลวตากแดดตากฝนเปนเวลาหลายเดือน เพื่อใหสีซีด จางลง คุณภาพน้ําที่ใชในการผลิตทุกขั้นตอนมีบทบาทสําคัญ ตองมีสิ่งเจือปนที่ตองการ ในการผลิตจะใชน้ําที่ได จากน้ําพุธรรมชาติ กระบวนการผลิตใชเวลา 1 ป จึงจะไดกระดาษมีสีขาวเหมือนหยก ความหนาเทากัน สม่ําเสมอ สีไมซีดจาง ทนแมลง ทนความรอน สีและ หมึกติดดี และแหงงาย ไดภาพหรือตัวอักษรคมชัด อานงายสบายตา กลาวกันวากระดาษชนิดนี้มีความคงทนสูง สามารถอยูไดนับพันป ชาวเขาเผาเยาที่อพยพจากภาคตะวันออกเฉียงใตของจีน ลงมา อยู ท างตอนเหนื อ ของลาวแถวพงสาลี อุ ด มชัย หลวงน้ํ าทา บ อ แก ว ยั ง คงผลิ ต กระดาษจากไม ไ ผ ไ ว ใ ช เ อง โดยใช เ ทคนิ ค ดั้ ง เดิ ม ซึ่ ง ประกอบดวย การลอกไมไผออก หมักในภาชนะที่ใสปูนขาวนานเกือบ 2 เดือน นําออกมาลางเมื่อเสนใยนุม โขลกในครกจนกลายเปนเยื่อ ผสมสาร เมือกจากไมไผจากเปลือกไมชนิดหนึ่ง ใหมีความเขมหนืดพอเหมาะ เทเยื่อ ไมไผผสมสารเมือกลงบนผาที่ขึงตัวบนกรอบไมไผ ตากใหแหงแลวลอกออก


แลกเปลี่ยนความรู คุณ อวยพร

ขอทราบวิธีเก็บเงินตราโลหะและเหรียญกษาปณคะ

จิราภรณ

เงินตราโลหะและเหรียญกษาปณสวนใหญทําจากทองแดง สําริด ทองเหลือง เงิน ทอง โลหะ เหลานี้เกิดสนิมงาย(ยกเวนทอง)หากเก็บ ไวในที่ที่มีความชื้นสูง มีฝุนละอองและกาซมลพิษทั้ง จากบรรยากาศ และจากวัสดุต าง ๆ ที่ อยู ใกล ๆ วิ ธีเก็บ รัก ษาที่ง ายที่สุดและประหยัด ที่สุดคื อ ควรทําความสะอาดกอน เพื่อขจัดรอยนิ้วมือและสิ่งสกปรกที่สะสมบนเงินตราและเหรียญกษาปณ ออกไป โดยใสถุงมือ (ยางหรือผา) แลวใชสําลีจุมเอทิลแอลกอฮอลซับและเช็ดเบา ๆ วางทิ้งให แหงบนทิชชู แลวเก็บในกลองพลาสติกขนาดเล็กที่มีฝาปดหรือซองพลาสติกที่มีซิปล็อค (ถุงซิป) หรือซองกระดาษ กลอง/ซองละ 1 ชิ้น จากนั้นจัดหมวดหมูแลวเก็บในกลองพลาสติกที่มี ขนาด ใหญขึ้น ควรใชกลองที่มีฝาปดไดสนิท เพื่อปองกันความชื้น ฝุนละออง กาซและไอระเหยตาง ๆ เมื่อทําความสะอาดแลว หามใชมือหยิบจับแตะตองโดยไมสวมถุงมือ ไมควรเก็บรวมกันไวโดย ไมใสซองหรือกลอง เพราะจะเกิดรอยขูดขีดจากการครูดถูขัดสีกัน อัลบั้มสําหรับนักสะสมเหรียญ ส วนใหญ ใ ช พ ลาสติ ก ราคาถู ก ซึ่ ง เสื่ อมสภาพและปลดปล อยสารเคมี ที่ เป น อั น ตรายต อโลหะ ภายใน 2-3 ป จึงไมควรใช หากจําเปนตองใชก็ตองเปลี่ยนอัลบั้มทุก ๆ 2-3 ป หรือหาก มีงบประมาณเพียงพอก็สั่งซื้ออัลบั้มที่ผลิตจากพลาสติกที่มีคุณภาพดีจากตางประเทศ

คุณอรรถ

เทปบันทึกภาพและเทปบันทึกเสียงเปยกน้ํา จะทําอยางไรครับ

จิราภรณ

แถบบันทึกภาพและแถบบันทึกเสียงที่มีแมเหล็กทั้งหลาย เสื่อมสภาพไดงาย ฟนฟู ยากหากเปยก น้ํา เพราะฉะนั้น แนะนําใหทําสําเนา แลวจัดเก็บไวคนละแหง ในที่ที่ไมเสี่ยงตอการเปยกน้ําจะ ดีกวาเมื่อเปยกน้ําควรทําใหแหงภายใน 72 ชั่วโมง โดยใสถุงมือขณะจับตองเคลื่อนยาย หามใชวัสดุ อุปกรณที่คุณสมบัติแมเหล็ก เชน กรรไกรที่เปนเหล็ก เครื่องดูดฝุน เพราะจะทําใหภาพ/เสียง เปลี่ยนไป ถากลองเปยกหรือฉีกขาด รีบแยกกลองออก หากสกปรก ลางในน้ําอุนวางในแนวตั้ง บนผาหรือกระดาษซับ หมั่นเปลี่ยนผาหรือกระดาษซับบอยๆ แลวทําใหแหง ในหองที่มีอากาศ ไหลเวียนถายเทไดดี หรือ ใชเครื่องดูดความชื้นเพื่อควบคุมความชื้นสัมพัทธใหอยูที่หรือต่ํากวา 50 %

ผูจัดทํา นางจิราภรณ นายศุภกร นางสาวศิรดา นางสาววรรณวิษา นายคุณาพจน

อรัณยะนาค ปุญญฤทธิ์ เฑียรเดช วรวาท แกวกิ่ง

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระ นคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 022252777 ตอ 101 fax 022251881-2 e-mail : Sirada@ndmi.or.th , Wanvisa@ndmi.or.th www.facebook.com/museumsiamfan


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.