ข่าวสารการอนุรักษ์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 เดือนมีนาคม 2559

Page 1

ขาวสารการอนุรกั ษ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๒ เดือนมีนาคม ๒๕๕๙

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ สวัสดีครับเครือขายพิพิธภัณฑทุกทาน ขาวสารการอนุรักษฉบับนี้นําเสนอเกี่ยวกับเรื่องของจุดออนเทป บันทึกเสียงและดินก็ฆาแมลงได และประมวลภาพกิจกรรมบรรยายทางวิชาการซึ่งเปนอีกหนึ่งกิจกรรมของสพร. ที่นาสนใจ ทุกทานสามารถรับชมยอนหลังผานทางYoutube สุดทายหากทานตองการติดตามขาวสาร กิจกรรม และแลกเปลี่ยนขอมูลตางๆ สามารถติดตอตามที่อยูทางดานทายครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

ประมวลภาพกิจกรรมบรรยายทางวิชาการ

กิจกรรมบรรยายวิชาการเดือนมกราคม 2559 หัวขอ “ผูชายไทลื้อสิบสองปนนากับวัฒนธรรมการสักขาลายเกล็ดนาค” ผูบรรยาย คุณลักษมณ บุญเรือง ภัณฑารักษชํานาญการ กรมศิลปากร

กิจกรรมบรรยายวิชาการเดือนมีนาคม 2559 หัวขอ “ศิลปะอิสลามในมาเลเซีย” ผูบรรยาย รองศาสตราจารย ดร. เชษฐ ติงสัญชลี อาจารยประจําภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร


โครงการพัฒนาศักยภาพพิพิธภัณฑในเครือขายและพิพิธภัณฑทองถิ่น

วันที่ 20-21 ธันวาคม 2558 สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ ไดใหคําแนะนะเกี่ยวกับการจัดแสดงและ และวางแผนการพัฒนาพิพิธภัณฑ พิพิธภัณฑตําบลเจียด จังหวัดอุบลราชธานี

วันที่ 31 มีนาคม 2559 สพร. ไดใหคําแนะนําเกี่ยวกับการจัดแสดงและการจัดเก็บโบราณวัตถุ เพื่อจัดนิทรรศการชุด นายพลเรือโท พระนาชลยุทธโยธินทร ณ พิพิธภัณฑทหารเรือ ภายใตกรมยุทธศึกษาทหารเรือ


จุดออนของเทปบันทึกเสียง เทปบั น ทึ ก เสี ย งเริ่ ม มี ใช ป ระมาณป ค.ศ.1930 เป น ต น มา และเป น ที่ นิ ย มอย างแพร หลาย ป จ จุ บั น มี อุ ป กรณ อ ย า งอื่ น ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ดี ก ว า มาแทนที่ เทปบั น ทึ ก เสี ย งจึ ง ไม เ ป น ที่ นิ ย มอี ก เทปบันทึกเสียงมีจุดออนหลายประการจึงไมทนทานตอการใชงานและสภาพแวดลอม กลไกสําคัญในการบันทึกเสียงขึ้นอยูกับวัสดุที่มีคุณสมบัติแมเหล็ก เชนเหล็กออกไซด ที่เคลือบอยู บนแผนฟลมพลาสติกแคบ ๆ ยาว ๆ ทําหนาที่เปนชั้นรองรับ ซึ่งทําจากเซลลูโลสอะซีเตท หรือพอลีไวนิล คลอไรด (PVC) หรือ พอลีเอทีลีน เทเรพทัลเลต (PET) โดยมีสารยึด (binder) คือพอลียูเรเทน ทํา หนาที่ยึดเหนี่ยววัสดุที่มีคุณสมบัติแมเหล็กเขาดวยกันและยึดใหติดกับชั้นรองรับ นอกจากนี้ยังทําหนาที่ เปนสารหลอลื่นเพื่อลดการเสียดสีระหวางเทปและอุปกรณในการอานหรือกรอเทป องคประกอบอื่น ๆ ที่ ปรากฏอยูในเทปบันทึกเสียง อาจเปนสารเคมีที่ใสลงไปเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของเทป เชน ทําใหเทป แข็งแรง มีแรงยึดเหนี่ยวดี มีความยืดหยุน ชวยใหองคประกอบตาง ๆ อยูตัว ชวยลดการออกซิเดชั่น ชวยลดการเกิดไฟฟาสถิตย ชวยเติมเต็ม เปนตน สารเคมีเหลานี้ลวนมีผลตอการเสื่อมสภาพของเทป บันทึกเสียงทั้งโดยทางตรงและโดยทางออม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเทปบันทึกเสียงที่เปนที่รูจักดี ไดแก การเปลี่ยนแปลงของพอลียูเรเทน เมื่ออยูในที่ที่มีความชื้นสูง พอลียูเรเทนจะทําปฏิกิริยากับน้ํา ผลที่เกิดจากปฏิกิริยาทําใหเทป บันทึกเสียงมีลักษณะเหนียวเหนอะหนะ และไมสามารถยึดเหนี่ยวอนุภาคของเหล็กออกไซดไวได ทําให เหล็กออกไซดกระจัดกระจายออกมาเกาะติดสวนตาง ๆ ของอุปกรณที่ใชเลนหรือกรอเทป อาการดังกลาว เปนที่รูจักกันวา sticky-shed-syndrome จุดออนที่สําคัญอีกอยางหนึ่งของเทปบันทึกเสียงคือ vinegar syndrome เกิดจากผูผลิตใชเทปที่ทําจากเซลลูโลสอะซีเตท ซึ่งสลายตัวใหกรดน้ําสมออกมาบางสวน ตัว เทปเองจะกรอบและเปราะ กรดน้ําสมที่ปลดปลอยออกมาจะกระจายไปทําอันตรายตอเทปมวนอื่น ๆ และ วัสดุอื่น ๆ ที่อยูใกลเคียง เทปบันทึกเสียงจึงตองการการดูแลรักษาเปนพิเศษ เพื่อรักษาสัญญาณเสียงเอาไวใหยาวนานที่สุด เชนหลีกเลี่ ยงการแตะตองผิวหน าและขอบของเทป เก็บรั กษาในที่ที่ มีอุณหภูมิประมาณ 18-21 องศา เซลเซี ย ส และความชื้ น สั ม พั ท ธ ร ะหว า ง 40-50 % โดยจะต อ งรั ก ษาอุ ณ หภู มิ แ ละความชื้ น ให ค งที่ ตลอดเวลา อากาศตองสะอาดปราศจากฝุนละอองและมลพิษ เนื่องจากฝุนละอองทําใหเกิดแรงเสียดทานระหวางเทปและหัวอาน และทําใหเกิดรอยขีดขวนบน ผิวหนาเทป ควรเก็บรักษาเทปบันทึกเสียงในกลองที่ทําจากกระดาษไรกรดหรือพลาสติก และระวังอยาวางไว ใกลอุปกรณที่มีสนามแมเหล็ก เชน โทรทัศน คอมพิวเตอร สายไฟฟาแรงสูง เครื่องยนตตางๆ หากวางบน ชั้นหรือในลิ้นชักที่ทําจากโลหะ ควรตอสายดินไวดวย


ดินก็ฆาแมลงได หลายทานคงเคยไดยินวาดินบางชนิดมีคุณสมบัติพิเศษ ใชฆาแมลงได ดินดังกลาวเปนดินที่ได จากฟอสซิลของสาหรายกลุมหนึ่ง มีชื่อเรียกทั่วไปวา ไดอะตอม (diatom) สาหรายดังกลาวมีขนาดเล็ก โครงสรางของรางกายเปนเปลือกแข็ง มีสองฝาประกบกัน เมื่อไดอะตอมตายไป ซากของไดอะตอมจะสะสม ทับถมอยูตามริมแมน้ํา แหลงน้ํา ทะเล หรือมหาสมุทร เปนเวลาหลายสิบลานป กลายเปนดิน เรียกวา ดินเบา หรือ diatomaceous earth ซึ่งมีซิลิกาหรือซิลิกอนไดออกไซดที่ไมมีโครงสรางเปนผลึก (หรือ เรียกวา อสัณฐาน) เปนองคประกอบสําคัญ อาจมีซิลิกาที่มีรูปผลึกปนอยูดวย เมื่อมองดูดวยกลอง จุลทรรศน จะเห็นดินเบามีลักษณะคลายเศษแกวเล็ก ๆ เมื่อบี้จะแตกเปนผงละเอียด

ลักษณะของไดอะตอมเมือ่ มองผานกลองจุลทรรศน

ดินเบาถูกนําไปใชประโยชนมากมาย เชน บํารุงผิวหนัง ยาสีฟน อาหาร เครื่องดื่ม ยา ยาง สี กรองน้ํา ผงขัด สารเพิ่มเนื้อในพลาสติกและยาง ฉนวนกันความรอน เปนตน ประโยชนอีกอยางหนึ่งคือใช ฆาแมลงจําพวกคลานไดดี เมื่อแมลงคลานผานบริเวณที่มีผงดินเบาโรยอยู ผงดินเบาจะเกาะติดตัวแมลง ไป แลวดูดไขมันและน้ํามันจากผิวที่หอหุมตัวแมลง ตามปกติไขมันและน้ํามันที่หอหุมตัวแมลงจะชวย ปองกันมิใหความชื้นระเหยออกไปจากภายในรางกาย เหลี่ยมมุมของอนุภาคของดินเบาจะทิ่มแทงเขาไปใน รางกายและขอตอตางๆ ของแมลง ยิ่งแมลงมีการเคลื่อนไหวมาก จะถูกทิ่มแทงมากขึ้น บาดแผลเหลานี้ ทําใหแมลงสูญเสียความชื้นและถึงตายได วิธีนี้จึงเปนที่นิยมใชในการกําจัดเรือด ไร เห็บ หมัด แมลงสาบ แมลงสามงาม มอดขนสัตว และ แมลงที่คลานไปมาตามพื้นหรืออาศัยในวัสดุตาง ๆ และสัตวเลี้ยง ไดดี โดยไมตองเสี่ยงอันตรายจากสารเคมี โดยการโรยดินเบาในพื้นที่ที่มีแมลงคลานผานไปมา เชน หลังตู ใตตู ฯลฯ แตควรระวังอยาใหเขาตาและ จมูก เพราะหากไดรับจํานวนมาก อาจทําใหเนื้อเยื่อระคายเคือง ดินเบาที่ควรนํามาใชฆาแมลงควรเปนดิน เบาที่ ใชในอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งซิลิกามีโครงสรางเปนอสัณฐานเปนสวนใหญ สวนดินเบาที่ใชกรองน้ําใน สระ มีซิลิกาที่มีโครงสรางเปนผลึกมากถึง 70 % อาจกอมะเร็งได


แลกเปลี่ยนความรู คุณเฟองฟา

จะเก็บรักษางาชางอยางไร

จิราภรณ

งาชางเกิดการขยายตัวหดตัวไดงายถาอุณหภูมิและความชื้นไมคงที่ ทําใหเกิดรอยแตกราว หากเก็บรักษาในคลัง ควรหอดวยกระดาษไรกรดหลาย ๆ ชั้น แลวใสในกลองพลาสติกหรือ ถุงพลาสติก ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นใหคงที่ นอกจากนี้งาชางมักเกิดคราบเปอนและ เปลี่ยนสีงาย จึงไมควรใหงาชางสัมผัสกับโฟมที่ทําจากยาง ผาขนสัตว และพอลียูเรเทน เพราะสารประกอบกํามะถันจากยางจะทําใหงาชางเปลี่ยนเปนสีเหลืองหรือสีสม มากขึ้น

คุณทวีศักดิ์

อยากทราบวิธีลอกกาวสองหนาออกจากหินแกะสลัก

จิราภรณ

ควรเริ่มดวยการใชลมรอนปานกลางจากที่เปาผม ทําใหสวนมุมและสวนขอบของเทปกาว ออนตัวสักสอง-สามนาที ปดเครื่องเปาผมแลวใชนิ้วมือหรือปากคีบคอยๆ ดึงเทปกาวออก หากยังไมออก เปาลมรอนอีก ทําเชนนี้ซ้ํา ๆ จนเทปกาวหลุดออก

หากมีกาวเหนียว

หลงเหลืออยู ใชผาชุบน้ําอุนแตะและซับ ๆ เช็ด ๆ จนกาวหลุดออก คุณนารี

ฟอสซิลบางสวนที่สะสมไว เริ่มมีสีแดงและผุรวน ควรทําอยางไร

จิราภรณ

ฟอสซิลที่มีอาการดังกลาว นาจะเปนฟอสซิลที่มีแรไพไรต ซึ่งเปนสารประกอบเหล็กซัลไฟด ซึ่งจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีไปเปนกรดกํามะถัน แลวทําใหฟอสซิลผุกรอน การเปลี่ยนแปลงนี้ เมื่อเริ่มตนเกิดขึ้นจะตอเนื่องลุกลามไปเรื่อยๆ วิธีลดความรุนแรงของปญหาคือ เก็บรักษาในภาชนะที่ ปดไดสนิท เชน ขวดแกว กลองพลาสติก ภายในใสสารดูดความชื้นไวตลอดเวลา

ผูจัดทํา นางจิราภรณ นางสาวศิรดา นางสาววรรณวิษา นายคุณาพจน

อรัณยะนาค เฑียรเดช วรวาท แกวกิ่ง

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 02 225 2777 ตอ 101 fax 02 225 1881-2 e-mail : Sirada@ndmi.or.th , Wanvisa@ndmi.or.th www.facebook.com/museumsiamfan Website : http://www.museumsiam.org/Home Youtube : www.youtube.com/user/museumsiam


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.