ข่าวสารการอนุรักษ์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 เดือนมิถุนายน 2558

Page 1

ขาวสารการอนุรกั ษ ปที่ ๓ ฉบับที่ ๓ เดือนมิถุนายน ๒๕๕๘

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ สวัสดีค รับเครื อข ายพิ พิธภัณฑ สพร. ยั งคงจัด ทําขาวสารการอนุรั กษ อยูอยางต อเนื่อง ป ละ ๔ ฉบั บ ผมยินดีที่ไดรับทราบวาขอมูลที่นํามาเผยแพรมีประโยชนสําหรับสมาชิกเครือขายพิพิธภัณฑ หากทานใดมีคําถาม หรือประสงคจะแบงปนขอมูล หรือประสบการณ สามารถติดตอตามที่อยูขางทายครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

ประมวลภาพกิจกรรม บรรยายทางวิชาการ

๑.

๒.

๓.

๔.

   

๑. รศ.ปยะแสง จันทรวงศไพศาล มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต บรรยายเรื่อง เจิ้งเหอ:สมุทรยาตราอุษาคเนย ๒. คุณนวรัตน เลขะกุล อดีตผูอํานวยการพิพิธภัณฑธนาคารแหงประเทศไทย บรรยายเรื่อง เหรียญกษาปณอาณาจักรลพบุรี ๓. ผศ.ดร.ประภัสสร ชูวิเชียร มหาวิทยาลัยศิลปากร บรรยายเรื่อง ศิลปะไท-ลาว สองฝงโขง ๔. ดร.ปริวรรต ธรรมาปรีชากร ผอ.พิพิธภัณฑสถานเครื่องถวยเอเชียตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ บรรยายเรื่อง สังคโลกกับแรงบันดาลใจ องคความรูใหมสําหรับการเขียนประวัติศาสตรไทย


⇐ วันที่ ๑๔-๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ สถาบัน พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ก ารเรี ย นรู แ ห ง ชาติ (สพร.) ร ว มกั บ พิพิธภัณฑสถานเครื่องถวยเอเชียตะวันออกเฉียงใต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลา รามราชวรมหาวิหาร จัดโครงการถวายความรูแดพระ สังฆาธิการ ๓๓ รูป และบุคคลทั่วไป ๖๙ ทาน โดยมี ก ารบรรยายประวั ติ ศ าสตร ค วามเป น มาและ คุณคาของเครื่องปนดินเผาโบราณที่ถูกผลิตจากกลุม เตาในประเทศไทยและตางประเทศ

อาจารยจิราภรณ อรัณยะนาค ผูเชี่ยวชาญดานการอนุรักษ สพร. ใหคําแนะนําเกี่ยวกับแนวทางการจัดเก็บวัตถุ รวมถึงการจัดแสดงวัตถุ แกรานบํารุงชาติสาสนายาไทย (บานหมอหวาน) บานหมอหวาน เปนอาคารเกาแกสไตลโคโลเนียล ยานเสาชิงชา เปนมรดกจาก นายหวาน รอดมวง แพทยแผนโบราณ โดยภายในบานหมอหวาน เลาเรื่องราวความเปนมาในอดีตผานทางวัตถุที่ เกี่ยวของกับเทคโนโลยีแพทยแผนโบราณ ตลอดจน ยาหอมโบราณ กวารอยปทั้ง ๔ ตํารับของหมอหวาน


แอลกอฮอลที่ใชมากในงานอนุรักษ แอลกอฮอลเปนของเหลวที่ใชมากในการอนุรักษวัตถุพิพิธภัณฑ เชนใชทําความสะอาด ใชเปนตัวทํา ละลาย ฆ า เชื้ อ โรค ใช ทํ า ให วั ต ถุ แ ห ง ดู ด น้ํ า ฯลฯ แอลกอฮอล ที่ ใ ช ม ากในงานอนุ รั ก ษ ได แ ก เอทิลแอลกอฮอล(ethyl alcohol หรือ ethanol) เมทิลแอลกอฮอล (methyl alcohol หรือ methanol) โพรพิลแอลกอฮอล (propyl alcohol หรือ propanol) ไอโซ-โพรพิลแอลกอฮอล (isopropyl alcohol หรือ isopropanol) บิวทิลแอลกอฮอล (butyl alcohol หรือ butanol) ฯลฯ แอลกอฮอลเหลานี้ระเหยเร็ว และไวไฟ อาจรวมตัวกับอากาศแลวระเบิดได แอลกอฮอลบางชนิด ละลายเรซินธรรมชาติไดดี ใชทําวารนิชได เรียกวา alcohol varnish และใชในการละลายวารนิชออกจาก ภาพเขียนหรือวัสดุพิพิธภัณฑอื่นๆ ที่เสื่อมสภาพ แอลกอฮอลที่มีโมเลกุลเล็ก ชวยใหชั้นสีที่แหงแลวพองตัว ขึ้นและสามารถเช็ดออกไปได เอทิลแอลกอฮอล เปนแอลกอฮอลที่ดื่มได บางครั้งเรียกวา spirits ทําจากการหมักพืชจําพวก ขาวโพด ออย หญา ฯลฯ แลวกลั่น เอทิลแอลกอฮอลมีจุดเดือด ๗๘.๕ องศาเซลเซียส รวมตัวไดดีกับ น้ํา ใชเปนตัวทําละลายในการผลิตน้ําหอม เครื่องสําอาง สี และยา เอทิลแอลกอฮอล ๗๐-๘๕ % ใชฆา เชื้อแบคทีเรีย รา และไวรัสบางชนิดได แตไมสามารถฆาสปอรของแบคทีเรีย ใชมากในการทําความสะอาด วัตถุพิพิธภัณฑหลายชนิดที่ไมเกิดการเปลี่ยนแปลงคือ ใชเอทิลแอลกอฮอล ในบางกรณีอาจผสมน้ําหรือตัวทํา ละลายอื่นๆ แอลกอฮอลอีก ชนิด หนึ่ งที่ หางายตามร านขายยา มี ชื่อเรี ยกว า methylated spirits เป น เอทิ ลแอลกอฮอล ผสมกั บ สารเคมี อื่ น เพื่ อไม ให ดื่ ม ได เช น ทํ า ให มี ร สขม กลิ่ น เหม็ น หรื อทํ า ให เ วี ย นหั ว สารเคมีที่ใชเติมมักเปน เมทิลแอลกอฮอล ประมาณ ๑๐ % หรือ ไอโซ-โพรพิลแอลกอฮอล หรืออะซีโตน หรื อ เมทิ ล เอทิ ล คี โ ตน บางผลิ ต ภั ณ ฑ ใ ส สี ย อ มให มี สี ฟ า หรื อ สี ม ว ง เพื่ อ ให เ ห็ น ความแตกต า ง โดยที่ เอทิลแอลกอฮอลยังมีคุณสมบัติเหมือนเดิม หากนําไปใชงานในพิพิธภัณฑควรระวังเพราะสียอมที่ผสมอาจเกิด รอยดางบนวัตถุได แอลกอฮอลที่มีจําหนายตามรานขายยาทั่วไปอีกชนิดหนึ่งคือ rubbing alcohol ซึ่งประกอบดวย เอทิลแอลกอฮอล หรือ ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล ประมาณ ๗๐ % ขึ้นไป ที่เหลือเปนน้ําและสารเคมีอื่น ๆ แอลกอฮอลชนิดนี้ระเหยเร็ว ไวไฟ มีรสขม และมีกลิ่นเฉพาะตั ว อาจเติมสารมีสีหรื อไมเติม ไอโซ-โพรพิ ล แอลกอฮอลเขากันไดดีกับน้ํา แอลกอฮอลอื่น ๆ อีเทอร คลอโรฟอรม ใชเช็ดทําความสะอาดและฆาเชื้อโรค สามารถละลายเอทิลเซลลูโลส พอลิไวนิลบิวทีรอล น้ํามันหลายชนิด กาว เรซินธรรมชาติ สารประกอบ ที่ไมมีขั้วไฟฟา ฯลฯ นิยมใชเปนตัวทําละลายในสารเคลือบผิว ควรเลือกใชชนิดที่ไมผสมสี ส ว นเมทิ ล แอลกอฮอล เดิ ม ได จ ากการกลั่ น ไม ป จ จุ บั น ผลิ ต จากกระบวนการทางเคมี เมทิลแอลกอฮอลมีความเปนพิษสูงมาก หากรับประทานจะทําใหตาบอด ใชฆาแมลงได ใชละลายเรซินบาง ชนิดได เชน เชลแลค ควรใชอยางระมัดระวัง


ปญหาที่เกิดกับระติมากรรมที่อยูกลางแจง ประติ ม ากรรมที่ อยูก ลางแจ ง ส วนใหญเปน อนุสาวรียข องบุค คลที่มีชื่อเสียงที่ทํ าคุ ณประโยชน ตอ ประเทศชาติ ห รื อ ต อสั ง คม หรื อ เป น ที่ รั ก ใคร บู ช า หรื อบางส วนเปน ประติม ากรรมที่ เป น สัญ ลัก ษณข อง หนวยงาน หรือเปนผลงานศิลปะของศิลปนระดับชาติ ซึ่งมักตั้งอยูกลางแจง อยูบริเวณหนาอาคาร ในสวน ริมระเบียง บางแหงอยูในสระที่มีน้ําลอมรอบ หรือมีน้ําพุประดับ ฯลฯ ประติมากรรมเหลานี้ลวนมีคุณคา ทางดานศิลปะ ประวัติศาสตร และมีคุณคาทางจิตใจ แตเมื่อเวลาผานไป สวนใหญอยูในสภาพสกปรกและ ชํารุดเสื่อมสภาพจากสาเหตุหลายประการ ทั้งจากตัววัสดุเองและสภาพแวดลอม ปจจัยที่สําคัญที่สุดคือ การทอดทิ้ง ปลอยปละละเลย ขาดการดูแลรักษา ภาพที่มักเห็นอยูเสมอ ไดแก ประติมากรรมที่ทําดวย หินผุเปอย โลหะขึ้นสนิมและผุกรอน ไมแตกราวและเนาเปอยผุพัง สีและสารเคลือบผิวเปลี่ยนสี แตก รานหลุดลอก โปงพอง และแตกปนเปนผง มีคราบสกปรกจากเขมา ควัน ฝุนละออง มูลนก ตะไคร เชื้อรา ไลเคน แบคทีเรีย และพืชชั้นต่ํา น้ําฝนและแสงแดดเปนปจจัยหลักที่ทําใหประติมากรรมที่อยูกลางแจง ชํารุดเสื่อมสภาพรวดเร็ว ประติมากรรมขนาดใหญยังอาจประสบปญหาจากฟาผา การถูกพนสีหรือขีดเขียน และ สลักขอความ การเคลื่อนตัวของดินที่ฐานราก ความชื้นและเกลือที่แทรกซึมเขามาตามแทนฐาน แรงดันจาก รากไมที่อยูใกลเคียง การผุพังของวัสดุที่ใชทําแทน นอกจากนี้ ประติมากรรมที่มีขนาดใหญมากยังตรวจสอบ ยาก บางครั้งตรวจไมพบการชํารุดในระยะเริ่มแรก แตมาตรวจพบเมื่อเกิดความเสียหายรุนแรงแลว ขั้นตอนที่จําเปนที่สุดในการปองกันการเสื่อมสภาพของประติมากรรมที่อยูกลางแจงคือการดูแลทํานุ บํารุงรักษาอยางถูกตองและตอเนื่อง สภาวะแวดลอมที่อยูกลางแจงเปนสภาวะแวดลอมที่รุนแรง ยากตอการ หยุดยั้งหรือควบคุม อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพและทางเคมีจนยากที่จะทําใหกลับสูสภาพเดิมได จึงตองการความเขาใจในคุณสมบัติของวัสดุ สาเหตุ และผลของการเสื่อมสภาพ แลวพิ จารณาหาทางลด ปญหา ปจจุบันนี้ในหลายประเทศดําเนินการเคลื่อนยายประติมากรรมชิ้นสําคัญเขามาเก็บรักษา หรือจัด แสดงภายในอาคาร เพื่อหยุดอัตราการชํารุดเสื่อมสภาพ แลวทําประติมากรรมชิ้นใหมเลียนแบบของเดิมไปจัด วางไวกลางแจงแทน หากไมสามารถเคลื่อนยายไดดวยเหตุผลใด ๆ ก็ตาม วิธีการที่นิยมใชกันทั่วไป ไดแก การ ปกปองผิวดวยสารเคลือบผิวที่เหมาะสม ซึ่งเปนที่ยอมรับในวงการอนุรักษระดับสากล และทํานุบํารุงดูแลรักษา อยางตอเนื่อง อาจตองเคลือบผิวประติมากรรมซ้ําทันทีที่สารเคลือบผิวเริ่มเกิดการเปลี่ยนแปลง และที่สําคัญ ตองทําการศึกษาวิจัยวาสารเคลือบผิวแตละชนิดเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางไรในสภาพแวดลอมนั้น ๆ สําหรับประติมากรรมใหม ๆ ศิลปนควรทําความเขาใจเกี่ยวกับคุณสมบัติเฉพาะตัวของวัสดุชนิดตางๆ และเลือกใชวัสดุที่สามารถทนทานตอสภาพแวดลอมกลางแจงได ตลอดจนวางแผนในการดูแลรักษา จะชวย ลดปญหาที่จะเกิดกับประติมากรรมทีอ่ ยูกลางแจงลงได


แลกเปลี่ยนความรู คุณปทมา

ขอทราบขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อหนังสือจํานวนมากเปยกน้ํา

จิราภรณ

จับตองเคลื่อนยายอยางระมัดระวัง ทําใหอาคารแหง ไมอับชื้น โดยเปดหนาตาง พัดลม เครื่องดูด ความชื้น เคลื่อนยายวัสดุที่เปยกน้ํา เชน พรม ผามาน ฯลฯ ออกไปจากอาคาร มองหาจุดที่มีน้ํา สะสมแลวซับหรือสูบออกใหแหง ซับน้ําออกจากหนังสือออกใหมากที่สุด แลวแทรกดวยกระดาษซับ ผึ่งใหแหงภายใน ๒๔ ชั่วโมง ใหวางสันลง หนังสือที่เคลือบผิวมัน ใชกระดาษไขคั่น การคั่นอยา สอดลึกถึงสัน เพราะจะทําใหสันหนังสือแตก/บวม/ชํารุด วางบนชั้นวางของที่มีลักษณะเปนตะแกรงโปรง อยาวางซอนกันเปนตั้ง ๆ หนังสือที่เปอนโคลนใหลางออกโดยใชน้ําเย็นไหลผานและใชฟองน้ําซับเบา ๆ อยาขัด/เช็ดไปมา เพราะจะทําใหเปนขุยมากขึ้น หนังสือสวนที่ไมสามารถทําใหแหงทันเวลา ใหแชแข็ง อาจหาบริษทั ที่ใหเชาตูคอนเทนเนอรสําหรับแชแข็งอาหาร โดยบรรจุลงกลองพลาสติก หนังสือที่พิมพ/เย็บเลมดวยหนังสัตว/หนังแกะ/แพะ/ลูกวัว เวลาเปยกน้ําจะบิดเบี้ยว และ แตกสลายงาย ควรแยกออกจากหนังสือประเภทอื่น บรรจุลง กลอง แลวนําไปแชแข็ง ภายใต คําแนะนําของผูเชี่ยวชาญดานการอนุรักษอยางใกลชิด

คุณดวงตา

ฟลมถายรูปรุนเกามีกลิ่นเปรี้ยว ควรทําอยางไร

จิราภรณ

ฟลมถายรูปที่ผลิตในตนคริสตศตวรรษที่ ๒๐ ประมาณ ค.ศ. ๑๙๐๑ ถึง ๒๐๐๐ ฐานฟลมทําจาก เซลลูโลสอะซีเตต ซึ่งสลายตัวใหกรดน้ําสมหากเก็บรักษาในที่ที่มีความรอนและความชื้นสูง อาการดังกลาวเรียกวา โรคกรดน้ําสม (vinegar syndrome) ถาไดกลิ่นเปรี้ยว ๆ แสดงวาฟลมดังกลาว เสื่อมสภาพไปมากแลว หากทิ้งไวเชนนี้ ฟลมจะหดตัว เปนคลื่น โคงงอ และกรอบเปราะ สิ่งที่ควรทํา คือรีบทําสําเนาบนฐานฟลมใหม หรือสแกนภาพเก็บไว แลวลดอัตราการเกิดปฏิกิริยาใหชาลง โดยควบคุมอุณหภูมิ ใหต่ํากวา ๒๐ องศาเซลเซียส และความชื้นสัมพัทธ ๔๐ % ตลอดเวลา และเก็บรักษาในกลองกระดาษ ภายในใสซิลิกาเจล และถานกัมมันต เพื่อใหชวยดูดซับไอกรดที่เกิดขึ้น ไมควรเก็บรักษาในซองพลาสติก เพราะไอกรดจะถูกเก็บกักไวภายใน และทําอันตรายตอไปไมสิ้นสุด อยางไรก็ตามไมสามารถทําใหกลับสูสภาพเดิมได

ผูจัดทํา นางจิราภรณ นายศุภกร นางสาวศิรดา นางสาววรรณวิษา นายคุณาพจน

อรัณยะนาค ปุญญฤทธิ์ เฑียรเดช วรวาท แกวกิ่ง

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระ นคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 022252777 ตอ 101 fax 022251881-2 e-mail : Sirada@ndmi.or.th , Wanvisa@ndmi.or.th www.facebook.com/museumsiamfan


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.