ข่าวสารการอนุรักษ์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 เดือนธันวาคม 2559

Page 1

ขาวสารการอนุรกั ษ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๑ เดือนธันวาคม ๒๕๕๘

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ สวั สดี ค รับ เครื อข า ยพิ พิ ธภั ณฑ ทุ ก ท าน ข าวสารการอนุรัก ษฉบับ นี้ เป น ฉบั บ แรกของป ที่ 4 เนื้ อหายั ง คง เกี่ยวกับเกร็ดความรูดานการอนุรักษวัตถุพิพิธภัณฑ ซึ่งสามารถนําไปประยุกตใชกับพิพิธภัณฑของทาน สพร. จะ สรรหาขอมูลใหมๆที่มีประโยชนสําหรับการดูแลรักษาและจัดแสดงวัตถุพิพิธภัณฑ มาเลาสูกันฟงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ หากทานตองการแลกเปลี่ยนขอมูลหรือมีขอสงสัย สามารถติดตอมาตามที่อยูดานทายครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

ประมวลภาพกิจกรรม

วันที่ 9 ธันวาคม 2559 พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี และทีมงานจากชอง 7 สี ไดมาเยี่ยม ชมพิพิธภัณฑและหองคลังโบราณวัตถุและหองปฏิบัติงาน พรอมทั้งถายทํารายการ "เดินหนาประเทศไทย" ซึ่งเทปนี้ จะออกอากาศในวันที่ 14 มกราคม 2559


เมื่ อ วั น ที่ 25-27 พฤศจิ ก ายน 2558 สพร. ไดเขารวมการประชุม วิ ช าการระดั บ นานาชาติ ค รั้ ง ที่ 4 “Embracing Cultural Materials Conservation in the Tropics” จัด โดย Asia Pacific Tropical Climate Conservation Art Research Network - APTCCARN ณ Conservation Center, Cheng Shiu University เมืองเกาสง ประเทศไตหวัน มีผูเขารวมเสนอผลงานวิชาการ 51 ทานจากยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย และเอเชีย

อาจารย จิ ราภรณ อรัณยะนาค ผู เชี่ยวชาญ ดานการอนุรักษ จากสพร. นําเสนอผลงาน หัวขอ “Current Situations on Collection Environment in Thailand” และ “Salt Weathering of Mural Painting Located on Floodplain in the Lower Chao Phraya River Basin”

หองปฏิบัติการดานงานอนุรักษ Conservation Center, Cheng Shiu Unversity ประเทศไตหวัน แบงออกเปนแผนกอนุรักษโลหะ แผนกอนุรักษกระดาษและภาพเขียน


การเสื่อมสภาพของแผนซีดีและดีวีดี แผนซีดีและดีวีดีทําจากพลาสติก ประกอบดวยชั้นตาง ๆ หลายชั้น ชั้นที่เก็บขอมูลทําดวยพอลี คารบอเนต ชั้นถัดมาคืออะลูมิเนียมหรือทอง ทําหนาที่ปกปองชั้นที่เก็บขอมูล และสะทอนแสงเลเซอรจาก หัวอ า น ชั้ น ที่ สะท อนแสงเลเซอร อยู ใต แ ลคเคอร บ าง ๆ เพื่ อชวยปกปอ งผิวหนา อะลู มิ เนี ยมสามารถทํ า ปฏิกิริยากับสารเคมีอื่น ๆ เชน ออกซิเจน กํามะถัน และอนุมูลตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่ออะลูมิเนียมทํา ปฏิกิริยากับออกซิเจน จะเกิดอะลูมิเนียมออกไซดเร็วมาก และชวยปกปองอะลูมิเนียมจากสารมลพิษ แตชั้น ของอะลูมิเนียมออกไซดบางมาก จนไมสามารถปองกันอะลูมิเนียมไดนานพอ แผนซีดีและดีวีดีบางชนิด เชน CD-R DVD-R DVD+R เคลือบผิวพอลีคารบอเนตดวยทอง หรือเงิน หรือโลหะผสมของเงิน เพื่อให เปนชั้นที่สะทอนแสงเลเซอร สารเคลือบผิวที่ทําดวยทอง ทนทานแตราคาแพง สารเคลือบผิวที่ทําดวยเงิน สะทอนแสงเลเซอรไดดี ราคาถูกกวาทองแตเกิดสนิมงาย โลหะผสมของเงินเกิดสนิมไดนอยลง ชั้นบนสุดของ แผนซีดีและดีวีดีมักเปนขอความหรือภาพที่พิมพลงไป การเสื่อมสภาพเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและทางเคมี เชน ชั้นที่สะทอนแสงเลเซอร เปนสนิม การขูดขีดบนผิวหนาและที่ขอบ รังสีอัลตราไวโอเล็ท ปฏิกิริยาจากสารมลพิษ การสูญเสียแรงยึด เหนีย่ วของกาวที่ใชในการยึดเหนีย่ วชั้นตางๆ เขาดวยกัน สภาพแวดลอมทําใหชั้นที่บรรจุขอมูลเสื่อมสภาพไปเร็ว ทําใหอานขอมูลไมได บางครั้งพอลีคารเนตอาจบิดงอ โคง แอน หากเก็บรักษาในสภาพที่ไมเหมาะสม แผนซีดี ที่เสื่อมสภาพมักมีสีเปลี่ยนไปจากเดิม ออกซิ เ จนและความชื้ น สามารถแทรกซึ ม ผ า นรอยขู ด ขี ด รอยร า ว หรื อ บริ เ วณที่ มี ก ารแยกชั้ น ออกซิเจนและความชื้นเขาทําปฏิกิริยากับอะลูมิเนียม ทําใหพื้นผิวสะทอนแสงเลเซอรไดนอยลง อุณหภูมิสูง เปนตัวเรงปฏิกิริยา น้ําหมึก ตัวทําละลาย สารมลพิษ ทําใหเกิดสนิม สีเปลี่ยน บิดเบี้ยว ทําใหหัวอานเกิด ป ญ หาอย า งถาวร นอกจากนี้ แ ผ น ซี ดี บ างกลุ ม เสื่ อ มสภาพจากความผิ ด พลาดในการผลิ ต ลั ก ษณะการ เสื่อมสภาพเชนนี้เรียกวา CD Bronzing เมื่อใชงาน หัวอานที่ใชแสงเลเซอรจะอานจากดานลางของแผนแลวสะทอนกลับสูเครื่องรับสัญญาณ ซึ่งจะเปลี่ยนสัญญาณไปเปนขอมูลอิเลคทรอนิค คนทั่วไปมักเขาใจวาดานลางของแผนบอบบาง แตความจริง แลวดานบนของแผนบอบบางกวา รอยขูดขีดเพียงเล็กนอยก็อาจทะลุลงไปถึงชั้นอะลูมิเนียมได บางครั้งแรงกด ของปากกาที่ใชเขียนขอความก็ทําใหแผนซีดีนั้นใชงานไมได อีกจุดหนึ่งที่ตองระวังคือสวนขอบ ขอบของซีดี มัก ไมมี แ ลคเคอร ออกซิ เจนและสารมลพิ ษ สามารถแทรกซึมทะลุสารเคลือบผิวเขาไปได งาย เพื่ อยื ด อายุ ก ารใช ง าน ควรหยิ บ จับอยางระมัดระวัง อยาใหเกิดการโคงงอและ รอยขูดขีด อยาวางซอน ๆ กันโดยไมมีอะไรคั่น ไมควรเขียนขอความบนแผนซีดีโดยใชปากกา ที่ใช หมึ กที่ ผสมตัวทํ าละลาย เก็ บ รั ก ษา แผน ซีดี และดี วีดีในที่ที่ มีอากาศเย็น สะอาด และแห ง ควรถ า ยทอดข อ มู ล ลงในซี ดี แ ผ น ใหมเปนระยะ ๆ


สนิมเหล็ก เหล็กเปนโลหะที่เกิดสนิมไดเร็วในพื้นที่ที่มีความชื้นสูง สนิมเกิดจากเหล็กทําปฏิกิริยากับสารเคมีตาง ๆ ที่ มีอยูในสภาพแวดลอม เชน น้ํา ออกซิเจน ซัลเฟอรไดออกไซดและกาซอื่น ๆ เกลือ กรด ดาง ฯลฯ ผลของ ปฏิกิริยาเปนสารประกอบของเหล็กชนิดตาง ๆ เชน เหล็กออกไซด เหล็กไฮดรอกไซด เหล็กคลอไรด เหล็กซัลเฟต ฯลฯ สารประกอบเหลานี้ เรียกสั้น ๆ วา สนิม ในภาษาอังกฤษใชคําวา rust สําหรับสนิมเหล็ก ตามปกติเหล็กมีสีคลายเงินหรือสีเทา เหล็กมีหลาย ชนิด แตละชนิดมีโอกาสที่จะเกิดสนิมไมเทากัน เชน เหล็กกลา (steel) ประกอบดวยเหล็กและคารบอน 0.2-2 % เหล็กกลา ไรสนิม (stainless steel) ประกอบดวยเหล็กกับโครเมียม และนิกเกิล เหล็กเหนียว (wrought iron)ซึ่งมักพบในแหลง โบราณคดี เปนเหล็กเกือบบริสุทธิ์ มีคารบอนผสมอยูต่ํากวา 0.1 % เหล็กหลอ(cast iron) ประกอบดวยเหล็กและ คารบอน 2-4 % เมื่อเหล็กเปนสนิมจะมีสีเปลี่ยนไป สนิมเหล็กมีหลายสีหลายลักษณะ ที่พบบอยคือสีแดง หรือสีแดงอม น้ําตาล เปนแผนแหงๆ ปกคลุมบนผิวเหล็ก สนิมชนิดนี้เปนเหล็กออกไซดซึ่งไมคอยเปนอันตราย เกิดจากการที่เหล็ก เคยสัมผัสกับความชื้นสูงชั่วระยะเวลาหนึ่ง หากทําใหความชื้นลดต่ําลง สนิมชนิดนี้จะหยุดและไมลุกลามตอไป เหล็กที่ไดรับความชื้นสูงตลอดเวลา เหล็กเปลี่ยนเปนสนิมมากขึ้นเรื่อย ๆ จนผิวของสนิมและสารเคลือบ ผิวหลุดลอนออกเปนสะเก็ดหรือเปนแผน เหล็กที่แชน้ําจะมีสนิมสีสมสด น้ําเปนปจจัยสําคัญในการเกิดสนิม เพราะ สามารถแทรกซึมเขาไปในชองวางหรือรอยแตกรอยราวเล็ก ๆ ในเนื้อเหล็ก เหล็กที่เคยฝงอยูในดินเปนเวลานาน เชน เครื่องมือเหล็กจากแหลงโบราณคดี มักหลุดลอนเปนแผน ๆ เนื่องจากมีเกลือหลายชนิดจากน้ําและดินเขามารวมทํา ปฏิกิริยา ทําใหเกิดสนิมหลายชนิด หากในสภาพแวดลอมมีแคลเซียมคารบอเนต อยูดวย จะเกิดตะกอนแข็ง ๆ ที่ทํา ใหสนิมมีลักษณะเปนคราบหรือเปลือกแข็ง ๆ สนิ ม ที่ เ ป น อั น ตรายสู ง สุ ด คื อ สนิ ม ที่ มี ลั ก ษณะเป น หยดน้ํ า เกาะอยู บ นผิ ว เหล็ ก เกิ ด จากการที่ ใ น สภาพแวดลอมมีเกลือคลอไรด เชน อยูใกลทะเลหรืออยูในดินเค็มหรือนําขึ้นมาจากทะเล เมื่อเกลือคลอไรดทําปฏิกิริยา กับเหล็กแลวเกิดเหล็กคลอไรด ซึ่งดึงดูดน้ําไดดี จึงมีสภาพเปนหยดน้ํา ผิวของหยดน้ําจะมีสนิมสีน้ําตาลอมสมเคลือบ อยู สนิมชนิดนี้เมื่อเกิดขึ้นแลวจะลุกลามไปที่อื่น ๆ ได และทําใหเนื้อเหล็กถูกกัดกรอนไปเรื่อย ๆ ตราบใดที่ความชื้น สูงพอ เมื่อความชื้นลดลง อาจจะไมเห็นหยดน้ําเกาะอยู แตสนิมจะเปลี่ยนสภาพเปนลูกกลมกลวง ๆ บางครั้งเหล็กมีสนิมเกิดขึ้นเปนจุด ๆหรือเปนดวง เกิดจากการที่มีนํ้าหรือความชื้นสะสมเปนบางจุด หรือ อาจเกิดจากมีฝุนละอองหรือสิ่งสกปรกสะสมเปนจุดๆ บางครั้งสนิมเหล็กเกิดขึ้นบริเวณที่มีคนจับตองมาก ๆ สารเคมี จากเหงื่ อและสิ่ ง ปนเป อนจากมื อทํ าใหเกิ ด สนิ ม เป น หย อม ๆ วิธีปองกัน ไมใหเหล็ก เปน สนิม คือ เก็บ รัก ษาในที่ที่มี ความชื้นสัมพัทธต่ํากวา 50 %


แลกเปลี่ยนความรู ดวงเดือน

สะสมอําพันไวจํานวนหนึ่ง ควรเก็บรักษาอยางไร

จิราภรณ

อําพัน เปนวัสดุที่คอนขางออน เกิดรอยขูดขีดไดงาย ควรหอดวยทิชชูนุม ๆ แลวเก็บ ในกลองหรือถุง กลอง/ถุงละหนึ่งชิ้น เพื่อไมใหเกิดการขัดสีกัน เก็บในที่มืดจะดีที่สุด หากมีคราบสกปรก ใช cotton bud จุมในน้ําอุนเล็กนอย ซับและเช็ดคราบสกปรกออก แลวรีบซับดวยสําลีแหง ๆ หรือผาแหงโดยเร็ว วางผึ่งบนผาแหง ๆ แลวจึงเก็บเขากลอง ไมควรใชสารเคมีใดๆ ในการทําความสะอาดหรือเคลือบผิว

ศักดิ์ชัย

หมอดินเผาที่ซอมดวยกาวลาเท็กซ ปจจุบันสวนที่ซอมแยกหลุดออกจากกัน ควรทําอยางไร

จิราภรณ

กาวลาเท็กซ เปนกาวที่ละลายน้ําได ควรใชสําลีจุมน้ําอุน ๆ แปะบนสวนที่เปนกาว ทิ้งไว ประมาณ 10-15 นาที กาวลาเท็กซจะบวมและมีสีขาว

จากนั้นใชปากคีบคีบออก หรือ

ใชแปรงปดออก ทําความสะอาดโดยใชแปรงปดสิ่งสกปรกออก วางทิ้งใหแหงในที่รม หากหมอดินเผามีเนื้อแข็งแกรง ควรตอชิ้นสวนเขาดวยกันโดยใชกาวอะครีลิค (พาราลอยด บี- 72) ที่ละลายในอะซีโตนอยางเขมขนจนมีลักษณะเหนียวหนืด

แตถาเนื้อดินมีลักษณะ

ออนคอนขางยุย ตองทําใหแข็งแกรงขึ้นกอน โดยใชพูกันจุมสารละลายพาราลอยด บี -72 เจือจาง ประมาณ 1-3 % ทาลงบนพื้นผิวดินเผาตรงรอยแตกหลาย ๆ ครั้งซ้ํา ๆกัน เพื่อให สารละลายพาราลอยดแทรกซึมเขาไปในเนื้อดินสวนนั้นใหมากที่สุด

จากนั้นวางทิ้งให

กาวแหง แลวจึงตอชิ้นสวนเขาดวยกันดวยกาวพาราลอยด บี -72 เขมขน

ผูจัดทํา นางจิราภรณ นางสาวศิรดา นางสาววรรณวิษา นายคุณาพจน

อรัณยะนาค เฑียรเดช วรวาท แกวกิ่ง

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 02 225 2777 ตอ 101 fax 02 225 1881-2 e-mail : Sirada@ndmi.or.th , Wanvisa@ndmi.or.th www.facebook.com/museumsiamfan


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.