ข่าวสารการอนุรักษ์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 เดือนกันยายน 2558

Page 1

ขาวสารการอนุรกั ษ ปที่ ๓ ฉบับที่ ๔ เดือนกันยายน ๒๕๕๘

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ สวัสดีครับเครือขายพิพิธภัณฑ จดหมายขาสารการอนุรักษจัดทําขึ้นปละ ๔ ฉบับ ผลิตขึ้นเพื่อเผยแพรความรู ดานการอนุรักษ และรวบรวมขอมูลขาวสารใหมๆ ที่เกี่ยวของกับงานอนุรักษวัตถุพิพิธภัณฑทั้งในประเทศและ ตางประเทศใหกับเครือขายพิพิธภัณฑ สุดทายหากทานมีขอสงสัย หรือตองการแลกเปลี่ยนขอมูล สามารถติดตอ มาตามที่อยูดานทายครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

ประมวลภาพกิจกรรม

อบรมเชิงปฏิบัติการเครือขายพิพิธภัณฑ เรื่อง การเคลื่อนยายวัตถุพิพิธภัณฑ เพื่อเตรียมความพรอมเครือขายกอนเริ่ม เทศกาลพิพิธภัณฑทองถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ขอนแกน จังหวัดขอนแกน

เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ฝายชางภาพสวนพระองค กองงานสวนพระองค เขาศึกษาดูงาน ณ หองคลังโบราณวัตถุและหองปฏิบัติการ เพื่อปรึกษาเกี่ยวกับการจัดเก็บวัตถุประเภทภาพถาย


อบรมเครือขายพิพิธภัณฑ สวนหนึ่งในงานมหกรรม เทศกาลพิพิธภัณฑทองถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อวันที่ ๑๖-๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ มหาวิทยาลัยขอนแกน จังหวัดขอนแกน หัวขอ DIY เทคนิคจัดแสดงจากวัสดุเหลือใช โดย อาจารยจิราภรณ อรัณยะนาค ผูบรรยาย

……………………………………………………………………………………………………

ภาพจาก พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา หลังจากที่มีการอบรมเครือขายพิพิธภัณฑ ในงานมหกรรมเทศกาลพิพิธภัณฑทองถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หัวขอ DIY เทคนิคจัดแสดงจากวัสดุเหลือใช


ภาพถายขาว – ดํา ที่ทําจากไขขาว ภาพถายที่ผลิตในตนพุทธศตวรรษที่ ๒๕ ทําจากวัสดุหลากหลายชนิด ทั้งที่ใชทําชั้นรองรับภาพและ เยื่อไวแสง และผานกระบวนการลางและอัดแตกตางกัน เนื่องจากเปนหวงเวลาที่มีการคนพบเทคนิคและ กระบวนการใหม ๆ อยูเรื่อย ๆ ภาพถายเหลานั้นจึงเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมายหลายรูปแบบ ยากตอการ อนุรักษ ปญหาหนึ่งที่อาจพบในพิพิธภัณฑบางแหงคือภาพถายขาว-ดํา ที่มีมากใน สมั ยรั ชกาลที่ ๕ ที่อัด ภาพบนกระดาษบางๆ ภาพมัก ซีด จาง สวนที่เ ปน สีออ น เปลี่ยนเปนสีเหลือง รายละเอียดบนภาพเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล รายละเอียดบนภาพ เลือนหายไป กระดาษกรอบเปราะ ฯลฯ ภาพถายกลุมนี้จึงหลงเหลือมาถึงปจจุบัน ในสภาพเดิ ม ไม ม ากนั ก ผลิ ต มากใน ค.ศ. ๑๘๔๘ - ๑๘๘๕ และผลิ ต ต อเนื่ อ ง มาจนถึ ง ป ค.ศ.๑๘๙๕ เลิ ก ผลิ ต ในป ค.ศ.๑๙๒๐ เรี ยกว า Albumen prints เยื่อไวแสงทําจากไขขาวและเกลือเงิน ไขขาวทําหนาที่ยึดเหนี่ยวเกลือเงินใหติดบนผิว กระดาษ ชั้นรองรับภาพเปนกระดาษบาง ๆ ที่ไมไดเคลือบ จึงมักนํามาติดกาวลง บนกระดาษแข็งที่ตกแตงสวยงาม จัดเปนภาพถายที่เสื่อมสภาพเร็วกวาภาพถาย ขาว-ดํากลุมอื่น ๆ ทั้งนี้เปนเพราะไขขาวไมทนทานตอสภาพแวดลอมที่รอน ชื้น แสงจ า และมลพิษ ภาพบางสวนอาจเสื่ อมสภาพเร็วยิ่ งขึ้น เพราะสารเคมีและ กระบวนการที่ ใ ช ใ นการอั ด ล า ง หรื อ เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงทางเคมี ข อง สารประกอบของเงินซึ่งเปนองคประกอบที่สําคัญของภาพ เงินมีการเปลี่ยนสภาพ ไปเปนเกลือเงินซัลไฟด สวนที่มีสีออน ๆ เกิดการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด สีน้ําตาล เปลี่ยนเปนสีน้ําตาลอมเหลือง - เหลืองมากขึ้น บางกรณีภาพเลือนหายไปอยาง สิ้นเชิง โดยเฉพาะอยางยิ่งหากเก็บรักษาในที่ที่มีความชื้นสูงเกิน ๖๐ % ซึ่งเปน ระดับความชื้นเฉลี่ยเกือบตลอดปในไทย หรือหากเก็บรักษาในที่ที่อุณหภูมิและ ความชื้ น ไม ค งที่ ผิ ว หน า ของภาพมั ก แตกราน เนื่ อ งจากไข ข าวยื ด และหดตั ว แตกตางจากกระดาษที่เปนชั้นรองรับภาพ บางภาพอาจโคงงอ หรือมวนเขาหากัน เนื่องจากกระดาษที่ใชอัดภาพเปนกระดาษบางมาก ควรนํามาวางราบแลวคลี่ออก ชาๆ ทาบดวยกระดาษไรกรดแลวใชวัตถุที่มีน้ําหนักวางทับดานบน การยื ด อายุ ข องภาพถ ายขาว-ดําประเภทนี้ ควรเริ่ มด วยการควบคุม ความชื้ น ให อยูร ะหวาง ๓๐๔๐ % แตทั้งนี้ควรคอย ๆ ปรับความชื้นใหลดลงอยางชา ๆ การลดความชื้นอยางกะทันหันอาจทําใหภาพ เสื่ อมสภาพมากขึ้ น และค อ ย ๆ ลดอุ ณ หภู มิ ลงให เหลื อ ๑๘ องศาเซลเซี ยส รั ก ษาระดับ อุณหภู มิแ ละ ความชื้น ให คงที่ต ลอดเวลา และควรเก็ บในที่ มืด ตลอดเวลาในกลองที่ ทําจากกระดาษไร กรดหรือพลาสติก กระดาษที่ ใ ช ใ นการทํ า กรอบหรื อ ทํ า ซองหรื อ แฟ ม ต อ งเป น กระดาษไร ก รดและไร ด า ง หรื อ ใช ซ องไมลาร หากตองการจัดแสดงใหเลือกมุมที่มีแสงสลัวที่สุด หางไกลจากหนาตางและหลอดไฟฟา นําภาพใสกรอบที่ทํา จากวัสดุที่เปนกลาง เชนกรอบโลหะ ไมควรใชกรอบไม ซึ่งมักปลอยไอระเหยที่เปนอันตรายตอภาพ ใชแผน กรองรังสีอัลตราไวโอเลตปดดานหนาภาพ ดานหลังภาพควรใชกระดาษแข็งไรกรดตามดวยแผนซิลิกาเจล และแผนปดหลังภาพ(กระดาษแข็งไรกรดหรือแผนพลาสติก) เพื่อชวยลดความชื้น ไมควรจัดแสดงอยางถาวร


กระดาษซวนจื่อ กระดาษที่ศิลปนจีนใชเขียนภาพมีหลายชนิด ดังไดกลาวแลวในขาวสารการ อนุรักษฉบับกอน และไดเลาเรื่องกระดาษที่ทําจากไมไผไปแลว กระดาษสําหรับเขียน ภาพที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของจีนอีกชนิดหนึ่ง คือ กระดาษซวนจื่อ (xuangzhi) ซึ่งทํา จากเปลือกของตนไมที่คนจีนเรียกวา Chhing than ชื่อพฤกษศาสตรคือ Pteroceltis tartarinowii Maxim ชื่อสามัญคือ Blue sandalwood หรือ tara wingceltis ตนไมชนิดนี้เปนพืชพื้นเมืองของจีน ลําตนสูงถึง ๒๐ เมตร เมล็ดใชทํา น้ํามัน เนื้อไมใชประโยชนไดหลายอยาง เปลือกใชทํากระดาษ ผลิตมากที่เมืองซวนโจว (จึงเรียกวากระดาษ ซวนจื่อ ตามแหลงผลิต) ใกลจังหวัดอันฮุย ตั้งแตสมัยราชวงศถัง ตอมาในสมัยราชวงศสุงผลิตมากที่เมือง ฮุยโจว จิโจว หลังจากนั้นยายไปผลิตมากที่ Jing County จังหวัดอันฮุย และพัฒนาเทคนิคการผลิตและ คุณภาพไดสูงสุดในสมัยราชวงศหมิง ผลิตไดจํานวนมากในสมัยราชวงศชิง เหตุที่แถบนี้ผลิตกระดาษซวนจือได ดีที่สุดเพราะมีวัตถุดบิ มากมาย และน้ําในแมน้ํามีความเปนดางเล็กนอย เหมาะในกระบวนการผลิต กระดาษซวนจื่อมีชื่อเรียกหลายชื่อ บางคนเรียกวา Rice paper เนื่องจากมีการผสมฟางขาวลงไป ดวยในอัตราสวนตาง ๆ ตอมาในสมัยราชวงศเยวี๋ยน และราชวงศสุง มีการผสมเยื่อจากปอสา และไมไผอีกดวย อยางไรก็ตาม คําวา Rice paper เปนชื่อที่ใชเรียกกระดาษหลายชนิดไมเฉพาะแตกระดาษซวนจื่อ คุณสมบัติของ กระดาษซวนจื่อมีหลากหลาย ขึ้นอยูกับคุณสมบัติของวัตถุดิบที่ใชในการผลิตและกระบวนการผลิต กระดาษ ซวนจื่ อ ที่ มี คุ ณ ภาพดี ที่ สุ ด ทํ า จากเปลื อ กไม ดั ง กล า ว ๑๐๐ % ขั้ น ตอนในการผลิ ต มี ถึ ง ๑๐๐ ขั้ น ตอน ลวนแลวแตผลิตดวยมือ ใชเวลา ๑-๒ ปในการเตรียมวัตถุดิบ จนถึงผลิตออกมาเปนแผนกระดาษ กระดาษซวนจื่อมีสีขาว นุม แข็งแรง ผิวเรียบ ทนทาน ทนยับ แมลงไมกิน ทนตอเชื้อรา เหมาะใน การใชเขียนภาพและตัวอักษร เนื่องจากดูดซับน้ําหมึกไดดี หมึกไมแพรกระจายออกไปรอบเสน คุณภาพในการ ดูดซึมน้ําของกระดาษซวนจื่อยังขึ้นอยูกับกระบวนการผลิตดวย กระดาษซวนจื่อที่ไมเติมแตงดวยสารกันซึมจะ ดูดซับน้ําไดดี น้ําหมึกทะลุผานได เนื้อนุมและหยาบ เหมาะกับการเขียนภาพดวยพูกันเปนเสนหนาและเขียน อยางรวดเร็ว ซึ่งผูเขียนจะตองมีทักษะสูงมาก เมื่อหมึกหรือสีแทรกซึมลงไปในเนื้อกระดาษจะเปลงประกายมา จากขางใน สวนกระดาษซวนจื่อที่เติมแตงดวยเจลาตินและสารสมจะดูดซึมน้ําไดนอยลง เนื้อกระดาษแข็งขึ้น เมื่อเขียนภาพสีหรือหมึกจะติดอยูบนผิวเทานั้น สีมักไมสดใส เพราะสารสมทําใหสีออนลง กระดาษพวกนี้เหมาะ กับการเขียนภาพที่มีรายละเอียดมาก ใชเวลานานในการเขียน และเหมาะกับการเขียนหนังสือตัวเล็ก ๆ


แลกเปลี่ยนความรู อรรถ

เอกสารเกาควรเคลือบพลาสติกหรือไม

จิราภรณ การเคลือบพลาสติกหรือลามิเนตดวยเซลลูโลสอะซีเตตเริ่มใชเมื่อประมาณ ๖๐ ปที่แลว มีทั้งที่เคลือบดวยความรอนและเคลือบดวยการใชสารเคมี เพื่อทําใหพลาสติกติดแนนกับ เอกสารที่อยูตรงกลาง วิธีการนี้เปนวิธีที่ไมเหมาะสมในการเก็บเอกสารที่มีความสําคัญ เนื่องจากในระยะยาวเซลลูโลสอะซีเตตสลายตัวใหกรดน้ําสม ซึ่งทําอันตรายตอเอกสาร ในขณะเดียวกันตัวมันเองหดตัว และโคงงอ เปนคลื่น และหากเอกสารมีความเปนกรดอยูแลว พลาสติกจะกักเก็บความเปนกรดอยูภายในกระดาษ ทําใหกระดาษนั้น ๆ กรอบเปราะมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้เอกสารจะเสียหายเมื่อพลาสติกเสื่อมสภาพ หรือเมื่อตองการลอกพลาสติกออก วิธีที่ดีกวาคือควรเก็บเอกสารสําคัญในซองหรือแฟมที่ทําดวยกระดาษไรกรดหรือกระดาษ ความเปนดางเล็กนอย โดยไมเคลือบสารเคมีใดๆ แลวควรคุมสภาพแวดลอมไมใหรอนชื้น และปองกันแมลงอยางเขมงวด สุนทรี

ซองพลาสติกที่ใสภาพสีมาจากรานถายรูป ใชในระยะยาวไดไหม

จิราภรณ ซองพลาสติกจากรานถายรูปสวนใหญเปนพลาสติกราคาถูก คือพีวีซี (PVC) ซึ่งเติมสารเคมี บางอยางลงไปเพื่อใหไดพลาสติกที่ยืดหยุนมากขึ้น

เมื่อใชงานได ๒-๓ ป สารเคมีที่เติม

จะแยกตัวออกมา มีลักษณะเหนียวเหนอะหนะบนพลาสติก ซึ่งดึงดูดฝุน เมื่อสารเคมีนี้ ทําปฏิกิริยากับความชื้นจะกลายเปนกรด เมื่อเวลาผานไปพีวีซีจะหดตัว แลวมีลักษณะเปนคลื่น หรือโคงงอ หากเก็บรักษาในที่ที่มีอุณหภูมิสูง พีวีซีจะสลายตัวใหกรดเกลือ เพราะฉะนั้นซองพลาสติก ดังกลาวไมควรใชกับภาพสําคัญที่ตองการเก็บรักษาระยะยาว อัลบัมราคาถูกก็ทําจากพีวีซีเชนกัน หากจําเปนตองใช ควรเปลี่ยนใหมทุก ๓ ป ทางที่ดคี วรเก็บรักษาภาพในซองที่ทําจากกระดาษไรกรด หรือไมลาร หรือพอลิเอทีลีน หรือไทเวค

ผูจัดทํา นางจิราภรณ นายศุภกร นางสาวศิรดา นางสาววรรณวิษา นายคุณาพจน

อรัณยะนาค ปุญญฤทธิ์ เฑียรเดช วรวาท แกวกิ่ง

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 02 225 2777 ตอ 101 fax 02 225 1881-2 e-mail : Sirada@ndmi.or.th , Wanvisa@ndmi.or.th www.facebook.com/museumsiamfan


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.