ข่าวสารการอนุรักษ์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 เดือนกันยายน 2559

Page 1

ขาวสารการอนุรกั ษ ปที่ ๔ ฉบับที่ ๔ เดือนกันยายน ๒๕๕๙

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ สวัสดีครับเครือขายพิพิธภัณฑทุกทาน หากพูดถึงเรื่อง งาชาง หลายทานอาจจะแยกไมออกระหวาง งาชางแทและงาชางทียม เพราะเทคโนโลยีในปจจุบันกาวหนาจนทําของเทียมคลายของแทอยางมาก ขาวสาร การอนุรักษฉบับนี้จึงไดนําเสนอบทความเกี่ยวกับเรื่องของ งาเทียม เพื่อใหเปนประโยชนกับการดูแลรักษา เขียนปายคําบรรยายและการศึกษาคนควาวิจัยตอไปครับ สุดทายหากทานตองการแลกเปลี่ยนและสอบถาม ข อ มู ล สามารถติ ด ต อ มาตามที่ อ ยู ด า นท า ยและขอขอบพระคุ ณ ทุ ก ท า นที่ ติ ด ตามข า วสารการอนุ รั ก ษ ม า ตลอด 4 ปครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

ประมวลภาพกิจกรรม

สพร. รวมกับกองประวัติศาสตร กรมยุทธศึกษาทหารเรือ จัดโครงการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การดูแลรักษาและการจัดแสดงวัตถุพิพิธภัณฑ” ใหแกบุคลากรและเครือขายพิพิธภัณฑ สพร. เมื่อวันที่ 1-2 กันยายน 2559 ณ หองคลังโบราณวัตถุและหองปฏิบัติการ สพร.


ผาไหมเพิ่มน้ําหนัก ผ า ไหมเพิ่ ม น้ํ า หนั ก เป น ผ า ไหมที่ ผ ลิ ต ในยุ โ รประหว า งปลายคริ ส ต ศ ตวรรษที่ 19 ถึ ง ต น คริ ส ต ศ ตวรรษที่ 20 มี ก ารเพิ่ ม สารเคมี เ พื่ อ ทดแทนน้ํ า หนั ก ที่ สู ญ เสี ย ไประหว า งการฟอกกาว ทํ า ให ไ ด ผ า ไหมที่ มี น้ํ า หนั ก สู ง ขึ้ น และมี เ นื้ อ หนาขึ้ น เหมาะกั บ การจั บ จี บ ได ม ากกว า ผ า ไหมทั่ ว ไป เนื่ องจากการซื้อขายผ าไหมในห วงเวลานั้ น คิด ราคาตามน้ํ าหนั ก ผูผลิ ตจึ ง ชอบที่ จะเติ มสารเคมี มาก ๆ เพื่อใหไดกําไรมากขึ้น แตสารเคมีที่ใชในการเพิ่มน้ําหนักสงผลกระทบอยางใหญหลวงตอผาไหมเหลานั้น ทํา ให เ ส น ใยไหมอ อนแอ มี อายุ ก ารใช ง านสั้ น ลง เสื่ อมสภาพจากป จ จั ยอื่ น ๆ เช น กรด ด าง ความร อ น แสงสวาง ไดมากขึ้น ผาไหมเพิ่มน้ําหนักที่หลงเหลือมาจนถึงปจจุบันจึงอยูในสภาพมีรอยขาด รอยแยกตาม ความยาว เสนใยหักตรงรอยพับ และมีสภาพเปอยกรอบ บางชิ้นไมสามารถหยิบยกได โดยเฉพาะอยาง ยิ่งผาไหมเพิ่มน้ําหนักที่ผลิตระหวางค.ศ. 1890-1939 มีสภาพกรอบเปราะมากที่สุด สารเคมี ที่ ใ ช ใ นการเพิ่ ม น้ํ า หนั ก เส น ไหมมี ม ากมายหลายชนิ ด ในต น คริ ส ต ศ ตวรรษที่ 20 นิยมใชเกลือของโลหะ เชน เกลือของดีบุก (อาจเปนดีบุกคลอไรดผสมกับดีบุกฟอสเฟตหรือดีบุกซิลิเกต) เปนสวนใหญ ผูผลิตบางรายใชเกลือของเหล็ก อะลูมิเนียม โครเมียม ทองแดง แบเรียม และสารหนู โดยมักเติมสารเคมีนี้ในขั้นตอนการยอมสี มีผูศึกษาสาเหตุการเสื่อมสภาพของผาไหมเพิ่มน้ําหนักในป 1938 จากนั้นจึงมีกฎวาผาไหมเพิ่มน้ําหนักตองมีปายแสดงปริมาณของสารเคมีที่ใชในการเพิ่มน้ําหนักที่สูงเกิน 10% ผ า ไหมที่ ใ ช ใ นราชสํ า นั ก บางส ว นเป น ผ า ไหมเพิ่ ม น้ํ า หนั ก รวมทั้ ง ผ า ไหมที่ ใ ช ใ นการทํ า ธงชัยเฉลิมพลพัดยศ ผากราบ หมอนอิง เบาะ ผาปก และผาอื่น ๆ ที่ใชในพระราชพิธี ในขณะเดียวกันผูผลิตฟอกสีเสนไหมโดยใชไอของกํามะถัน ทําใหเกิดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ซึ่ง เปลี่ยนตอมาเมื่อทําปฏิกิริยากับความชื้นกลายเปนกรดซัลฟุรัส ทําหนาที่เปนสารฟอกสี กระบวนการนี้สวน สําคัญที่ทําใหผาไหมผุเปอย


งาเทียม งา กระดองเตา เขาสัตว เปนที่นิยมนํามาทําเปนเครื่องประดับ ของใชและงานศิลปะมาแต โบราณ นับวันความตองการใชงานเพิ่มสูงขึ้นมาก แตมีปริมาณจํากัด ชางตองใชเวลายาวนานนับสิบ ๆ ป จึงจะมีงาที่ใหญและยาวพอที่นํามาใชงาน ชางถูกลาเพื่อเอางามาใชงานจนแทบสูญพันธุ จึงมีผูผลิตงาเทียม ขึ้นมาจําหนายอยางแพรหลาย โดยบางสวนทําจากกระดูกสัตว

เนื้อในของผลปาลมบางชนิดที่พบมากในเอกัวดอร เปรู โบลิเวีย บราซิล และโคลัมเบีย เมื่อ มองเผิน ๆ มีลักษณะคลายงา คือมีเนื้อสีขาวเนียน คลายหินออน สามารถยอมสีได องคประกอบหลักคือ เซลลูโลส จึงมีผูนํามาใชแทนงาในการทํากระดุม เครื่องประดับ และแกะสลักเปนวัตถุชิ้นเล็ก ๆ เรียกวา vegetable ivory หรือ tagua

งาเทียมที่ผลิตในชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 19 ถึงตนคริสตศตวรรษที่ 20 ทําจากเซลลูโลส ไนเตรต หรื อเซลลู ลอยด เป น ส วนใหญ เริ่ ม ต น จากการพยายามผลิ ต ลู ก บิ ลเลี ยดและคี ยเป ยโนด วยสาร สังเคราะห เพื่อทดแทนการผลิตจากงาชาง ตอมาเมื่อมีการคนพบพลาสติกชนิดใหม ๆ งาชางเทียมจึงมี องคประกอบหลากหลายขึ้น เซลลูลอยดเริ่มเปนที่รูจัก หลังป ค.ศ. 1866 ผลิตจากเซลลูโลส กรดดินประสิว(กรดไนตริก) และกรดกํามะถัน(กรดซัลฟุริก) การบูร และสารเติมแตงอื่น ๆ โดยมีกระบวนการผลิตที่ซับซอน ปริมาณ ของกรดที่ใชในปฏิกิริยามีผลตอคุณสมบัติของเซลลูลอยดในระยะยาว กระบวนการผลิตงาเทียมซับซอนกวา การผลิตวัตถุอื่น ๆ เนื่องจากตองทําใหมีลวดลายคดโคงคลายคลื่นอยูภายในใหเหมือนลวดลายบนงาแท ใน การผลิตจะใชเซลลูลอยด 2 สวนที่มีสีเดียวกัน สวนหนึ่งทึบแสง อีกสวนหนึ่งโปรงใส นําเซลลูลอยดที่ทึบแสง มาวางเรียงสลับกับเซลลูลอยดที่โปรงใส แลวนําไปผานความรอนและความดัน ใหมีรูปรางเปนแทง นําไป ฝานเปนแผนบาง ๆ แลวนําแผนบาง ๆ นี้ไปกดทับกับเซลลูลอยดที่มาจากอีกแทงหนึ่ง เมื่อนําไปแปรรูปเปน สิ่งของเครื่องประดับหรืองานศิลปะ จะมีลักษณะคลายงา


แต เ มื่ อ ตรวจสอบด ว ยแว น ขยาย อาจเห็ น ความแตกต า งอย า งชั ด เจน ลวดลายบนงาเที ย ม เหลานั้นมีลักษณะเปนเสนขนานคอนขางสม่ําเสมอ ตางจากลวดลายบนงาชางแทที่มีลักษณะเปนรางแหตัดกัน อย า งไม ส ม่ํ า เสมอ ลวดลายดั ง กล า วเกิ ด จากท อ ขนาดเล็ ก มาก ๆ เรี ย งกั น จะเห็ น ได ชั ด บนส ว นที่ ตั ด ใน แนวตั้ง ฉาก เชนบนฐาน ส วนงาเทียมที่ทําจากกระดูกสัตว หรือนําผงงาแทมาอัดกับ กาวจะไมมีลวดลาย ดังกลาว งาเทียมที่ผลิตในฝรั่งเศสชวงแรก มีชื่อการคา ivorine หรือ ivorine de Paris หรือ ivorette หรือ French ivory มีน้ําหนักเบากวางาแท เมื่อขัดถูวัตถุที่ทําจากเซลลูลอยดดวยผานุม ๆ จะไดกลิ่นการบูร หากเผาไฟ จะลุกไหมรวดเร็ว ใหเปลวไฟสีเหลือง ควรระวังขณะเผาไฟ เพราะอาจระเบิดได เมื่อระเบิดจะไดกลิ่นการบูร ในการทดสอบจึงใช เข็มลนไฟใหรอนแดง แลวจิ้มลงบนเนื้อวัตถุ(ในจุดที่อยูดานหลังและไมมีการประดับตกแตง) งาเทียมที่ทําจาก พลาสติกเมื่อถูกความรอนจะออนตัวจนสามารถดันเข็มเขาไปได และจะไดกลิ่นฉุนพรอมทั้งมีควัน สวนงาแทไม ออนตัว เมื่อเอาเข็มออกจะเห็นจุดสีดําเล็ก ๆ อาจไดกลิ่นคลายเล็บไหมจาง ๆ งาแท เมื่อเผาไฟจะไดขี้เถาสีขาว หากเผาในภาชนะที่ปดไดมิดชิดจะเกิดเขมาสีดํา ใชในการเขียนภาพได เรียกวา ivory black การตรวจสอบ อีกวิธีหนึ่งทําไดโดยใชวิธีเคมีเพื่อตรวจหาไนโตรเจน หรือทดสอบความสามารถในการละลาย เซลลูลอยด สามารถละลายไดในอะซีโตน สวนงาแทไมละลาย เนื่องจากองคประกอบหลักของงาแทสวนมากเปนแร เชน แคลเซียมฟอสเฟต แคลเซียมคารบอเนต แคลเซียมฟลูออไรด และแมกนีเซียมฟอสเฟต โดยมีโปรตีนและน้ํา เปนองคประกอบรอง วิธีทดสอบงาย ๆ อีกวิธีหนึ่ง คือสองดวยรังสีอัลตราไวโอเลตในหองมืด งาแทจะเรือง แสงสีขาวหรือสีออน ๆ ในขณะที่พลาสติกเรืองแสงสีเขม งาเทียมบางชิ้นผานกระบวนการที่ทําใหเกาโดยการ แชในมูลสัตวหรือไขมันสัตว จะเรืองแสงสีสดใส งาเทียมที่ทําจากกระดูก หรือนําผงงามาอัดกับกาว และผล ปาลมจะเรืองแสงเหมือนงาแท วิธีทดสอบงาเทียมที่ทําจากผลปาลมคือ หยดกรดซัลฟุริกลงบนผิว 1 หยดเล็ก ๆ ทิ้งไว 10-12 นาที หากเปนผลปาลมจะเกิดคราบสีชมพู แตไมควรใชวิธีนี้โดยไมจําเปน เพราะคราบสีชมพูที่เกิดขึ้นจะคง อยูอยางถาวร งาเทียมที่ผลิตจากเซลลูลอยดมักเสื่อมสภาพแตกตางจากงาแท เซลลูลอยดที่มีความทึบแสง หรือโปรงใส หรือมีสีแตกตางกัน เมื่อนํามากดบีบใหอยูติดกัน จะขยายตัวและหดตัวแตกตางกัน จึงมักโคงงอ หรือแยกชั้นกัน หากมีสวนที่เปนโลหะ หรือสิ่งประดับตกแตงอื่น ๆ อยูดวย จะมีปฏิกิริยาแปลก ๆ เกิดขึ้น การเสื่อมสภาพของงาเทียมตามกาลเวลา เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเซลลูลอยดเปนสวนใหญ ไมวาจะเก็บรักษาอยางระมัดระวังเพียงใด วัตถุดิบที่ใชในการผลิตทําใหเซลลูลอยดมีสภาพ เปราะ กรอบ มี รอยราว หดตัว โคงงอ ปนรวนเปนผง เปลี่ยนสี เกิดผลึก หรือผุพัง หากสภาพแวดลอมไมเหมาะสม เชน ความชื้นสูง อุณหภูมิสูง แสงสวาง มีมลพิษในอากาศ เซลลูลอยดจะยิ่งเสื่อมสภาพมากยิ่งขึ้นและเร็วขึ้น บางครั้งบวมพอง เปลี่ยนเปนวัสดุนุม ๆ บนผิวมักมีหยดของเหลวหรือเคลือบดวยเกลือไนเตรตและกรดหลาย ชนิด หากมีวัสดุอื่น ๆ อยูใกลหรือสัมผัส กรดเหลานี้จะเขาทําปฏิกิริยาและทําใหวัสดุเหลานั้นเสื่อมสภาพ เพราะฉะนั้น เมื่อตรวจสอบพบวาวัตถุชิ้นใดทําจากงาเทียมที่ทําจากเซลลูลอยด ควรรีบแยกออก จากวัตถุอื่น ๆ แลวทําการตรวจสอบสภาพอยางละเอียด บันทึกขอมูลและภาพไว เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลง ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หากมีหยดของเหลวเกิดขึ้นบนผิว แสดงวานั่นคือกรด ควรใชกานสําลีจุมน้ํากลั่นเพียง เล็กนอยซับและเช็ดทีละนอย แลวซับตามดวยสําลีแหง ๆ โดยเร็ว ระวังอยาใหผิววัตถุเปยกน้ํา เพราะจะทําให เซลลูลอยดเสื่อมสภาพมากขึ้น ควรเก็บรักษาในที่ที่มีความชื้นและอุณหภูมิต่ํา


แลกเปลี่ยนความรู คุณอารี

กลองถายรูปที่สะสมไวขึ้นรา ควรทําอยางไรดีคะ

จิราภรณ กลองถายรูปที่ขึ้นรา แสดงวาความชื้นรอบ ๆ กลองถายรูปนั้น ๆ สูง และอากาศไมไหลเวียนถายเท ควรทําความสะอาดดวยลูกยางเปาลมกอน เพื่อเปาใหฝุนและสิ่งสกปรกที่เกาะอยูหลวม ๆ หลุดออกไป จากนั้นใชผาไมโครไฟเบอรเนื้อละเอียดมาก ๆ จะชวยขจัดฝุนสิ่งสกปรก รอยนิ้วมือ และเชื้อราออกได หากยังเช็ดไมออก แตะแอลกอฮอลเล็กนอยพอชื้น เช็ดคราบราหายไปเปลี่ยนกานสําลีบอยๆ ควรเช็ดทุกสวนใหสะอาดและแหง วางผึ่งในที่แหง 3-4 ชั่วโมงแลวหอดวยผาฝาย หรือกระดาษไรกรด หรือกระดาษสาหลาย ๆ ชั้น ใสในถุงหรือกลองพลาสติกที่ปดไดมิดชิด ภายในถุงหรือกลองควรมีสารดูด ความชื้น เชน ซิลิกาเจล และหมั่นเปลี่ยนซิลิกาเจลในฤดูฝน ควรเก็บในบริเวณที่มีอากาศ ไหลเวียนถายเทไดดี คุณวราห Tyvek คืออะไร ใชประโยชนอยางไรไดบาง จิราภรณ Tyvek คือชื่อการคาของพลาสติกชนิดหนึ่ง มีลักษณะคลายผาและกระดาษ ทําจากเสนใยพอลีเอทธีลีนชนิดที่มีความหนาแนนสูง (HDPE) ที่ถูกบีบออกมาเปนเสนแลวรีดเปนแผนโดยไมผานการทอ Tyvek มีคุณสมบัติพิเศษคือ น้ําหนักเบา แข็งแรง เหนียว ทนตอการฉีกขาดทนน้ํา ทนความชื้น ทนสารเคมี ทนแมลง และรา ดานที่เรียบจะปองกันมิใหน้ําเขา จึงควรหอหรือคุลมวัตถุพิพิธภัณฑโดย หันดานที่เรียบออกจากวัตถุแตยอมใหความชื้น(ในรูปของไอน้ํา)ผานไดทั้งสองดาน จึงเหมาะที่จะใช งานเหมือนกระดาษไรกรด เชน ใชทําซอง ทําแฟม หอหุม ปู รอง คลุม คั่น วัตถุพิพิธภัณฑ หนังสือ และเอกสารไดดี

ผูจัดทํา นางจิราภรณ นางสาวศิรดา นางสาววรรณวิษา นายคุณาพจน

อรัณยะนาค เฑียรเดช วรวาท แกวกิ่ง

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 02 225 2777 ตอ 101 fax 02 225 1881-2 e-mail : Sirada@ndmi.or.th , Wanvisa@ndmi.or.th www.facebook.com/museumsiamfan


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.