ข่าวสารการอนุรักษ์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม 2557

Page 1

ขาวสารการอนุรกั ษ ปที่ 2 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม 2557 เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ ขาวสารการอนุรักษฉบับนี้ถือไดวามีอายุครบ 2 ป หวังเปนอยางยิ่งวาเครือขายพิพิธภัณฑจะ ไดรับประโยชนจากเกร็ดความรูเรื่องการอนุรักษที่ทางสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูไดนําเสนอมาอยางตอเนื่อง กิจกรรม ใหม ที่ เ พิ่ ม มาคื อ การบรรยายทางวิ ช าการได รั บ การตอบรั บ จากผู ส นใจเข า ร ว มรั บ ฟ ง การบรรยายเพิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ยๆ ในปตอไปทางสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ จะเชิญวิทยากรผูทรงคุณวุฒิในสาขาตาง ๆ มาบรรยาย เพื่อสราง เสริมองคความรูที่เปนประโยชนสูสาธารณชน หากเครือขายพิพิธภัณฑสนใจในหัวขอใดสามารถเขาฟงโดยไมตองเสีย คาใชจาย สุดทายหากตองการความรวมมือดานงานการอนุรักษวัตถุพิพิธภัณฑ สามารถติดตอมาทางที่อยูดานทายครับ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

กิจกรรม

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติรวมกับสํานักศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรือ่ ง “การทําความสะอาดวัตถุพิพิธภัณฑ” ใหกับบุคคลากรพิพิธภัณฑในจังหวัดนครราชสีมาและ จังหวัดใกลเคียง เมื่อวันที่ 1-2 กันยายน 2557


การบรรยายทางวิชาการ ฝายเครือขายพิพิธภัณฑ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ จัดการบรรยายทางวิชาการครั้งที่ 3 ในหัวขอ เรื่อง “เลาเรื่องเบื้องหลังเสนการคาทางทะเลสมัยโบราณ” โดยดร.อมรา ศรีสุชาติ ภัณฑารักษเชี่ยวชาญ/ผูเชี่ยวชาญ เฉพาะดานโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ กรมศิลปากร เมื่อวันศุกรที่ 29 สิงหาคม 2557และวันศุกรที่ 26 กันยายน 2557 หัวขอเรื่อง “ถอดรหัสจิตรกรรมจีน” โดย รศ.ปยะแสง จันทรวงศไพศาล อาจารยประจําคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มีผูสนใจเขารวมรับฟงการบรรยายทางวิชาการครั้งนี้เปนจํานวนมาก ครั้งตอไปวันศุกรที่ 31 ตุลาคม 2557 ดร.เพ็ญสุภา สุขตะ จะบรรยายทางวิชาการเรื่อง “ความสัมพันธ ระหวางเครื่องเขินเชียงใหมกับเชียงตุง” และวันศุกรที่ 28 พฤศจิกายน 2557 หัวขอเรื่อง “วัฒนธรรมการไวจุกของ เด็กอาเซียน” ติดตามขาวสารไดทางเว็บไซด และแฟนเพจ Facebook

บรรยายกาศการบรรยายทางวิชาการวันศุกรที่ 29 สิงหาคม 2557 โดย ดร.อมรา ศรีสุชาติ

บรรยายกาศการบรรยายทางวิชาการวันศุกรที่ 26 กันยายน 2557 โดย รศ.ปยะแสง จันทรวงศไพศาล


พลาสติกในพิพิธภัณฑ พลาสติกเริ่มผลิตในคริสตศตวรรษที่ 19 จึงเปนสวนหนึ่งของของสะสมและวัตถุพิพิธภัณฑ พลาสติกที่พบบอยในพิพิธภัณฑ(ไมรวมถึงพลาสติกใหมที่ใชในการจัดเก็บหรือจัดแสดง) ไดแก เซลลู ลอยด หรื อเซลลู โลสไนเตรท เริ่ม ผลิต ในกลางคริส ตศ ตวรรษที่ 19 ใชทํา ตุ ก ตา เครื่องประดับ กลอง ลูกปงปอง ดามปากกา ดามมีด ดามชอน ดามสอม เครื่องใชในครัว กรอบรูป กระดุม หัวเข็มขัด วัตถุเลียนแบบงาชาง กระดองเตา และเขาสัตว ฯลฯ ในปค.ศ.1879 มีการนําเซลลูลอยดมาทํา ฟลมภาพยนต และพัฒนาจนไดฟลมถายรูปที่มีความยืดหยุนสูงในป ค.ศ.1889 แตตอมาในกลางคริสตศตวรรษที่ 20 เลิกผลิตเพราะเปนวัสดุไวไฟ และเสื่อมสภาพงาย เซลลูโลสอะซีเตท ใชเปนฐานฟลมภาพยนตรในชวง ค.ศ. 1910-1960 และทํากรอบแวนตา โมเดลเครื่องบินและยานพาหนะ ตัวตอเลโก งาชางเทียม กระดองเตาเทียม และของใชตาง ๆ โพลีไวนิลคลอไรด หรือ PVC หรือเรียกกันทั่วไปวาไวนิล ใชมากในกลางคริสตศตวรรษที่ 20 เพื่อแทนที่เซลลูลอยดที่มีจุ ดดอยมากมาย เชน ทําตุกตา(ตุกตาบารบี้และตุกตาอื่ นๆที่มีผิวนุมคลายหนังคน) ของเลน เครื่องแตงกาย เสื้อกันฝน ของใชในครัว กลองใสอาหาร เครื่องใชไฟฟา เครื่องเรือน ผามานใน หองน้ํา ทอน้ํา/ทอประปา วงกบและกรอบประตู หนาตาง กระเบื้องปูพื้น(กระเบื้องยาง) เสื่อน้ํามัน หนัง เทียม รูปหลอ เคลือบผิวผา ฯลฯ ไนลอน หรือ Polyamide เริ่มผลิตเมื่อ ค.ศ. 1930 ใชทําเสื้อผา ถุงเทา ถุงนอง ขน แปรงสีฟน หลอดและทอตาง ๆ อุปกรณตกปลา สวนประกอบของเครื่องมือเครื่องจักรที่ไมตองการความแข็งแรง ผ า ใยสั ง เคราะห รุ น แรก ๆ เรี ย กว า ผ า ไหมเที ย ม เริ่ ม ผลิ ต ในประเทศฝรั่ ง เศสเมื่ อ ปลาย คริสตศตวรรษที่ 19 ทําจากเซลลูโลส เรียกวาเรยอน บางคนเรียกวาวิสโคส หรือวิสโคสเรยอน สวนอาซีเตท ทําจากเสนใยเซลลูโลสอาซีเตท เริ่มผลิตเมื่อ ตนคริสตศตวรรษที่ 20 ตอจากนั้นมีผาใยสังเคราะหหลายชนิด เชน ผาแอสลอน ผาแพรฟูจี ผาแกว ผากํามะหยี่ ฯลฯ ยางแข็ง(vulcanized rubber) เริ่มผลิตเมื่อค.ศ. 1839 ใชทํายางรถยนต เปนหลัก สวนยาง สังเคราะห เริ่มผลิตหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ใชผลิตสิ่งของเครื่องใชตาง ๆ มากมาย นอกจากนี้ยังมีพลาสติกอื่นๆอีก เชน โพลีเอทธิลีน โพลีสไตรีน โพลียูเรเทน ฯลฯ พลาสติก สวนใหญเสื่อมสภาพภายในเวลาไมนานหลังจากผลิตเมื่อเทียบกับวัตถุพิพิธภัณฑอื่นๆ พลาสติกที่เสื่อมสภาพมักมีสี เปลี่ยน กรอบเปราะ ผุเปนผง บิดงอ แตกราว เยิ้มเหนียว มีกลิ่นแปลกๆ เพราะฉะนั้นผูทําหนาที่ดูแลรักษาควร ศึ ก ษาหาข อ มู ล และพิ จ ารณาหาทางลดอั ต ราการเสื่ อ มสภาพของพลาสติ ก เพราะนอกจากตั ว พลาสติ ก เองจะ เสื่อมสภาพแลวสารเคมีที่เกิดขึ้นในระหวางการเสื่อมสภาพยังสงผลกระทบตอวัตถุอื่นๆที่อยูรอบขางรวมทั้งชีวิตและ ทรั พ ย สิ น เช น เซลลู โ ลสอะซิ เ ตทสลายตั ว ให ก รดน้ํ า ส ม ไวนิ ล ที่ ไ ด รั บ ความร อ นจะสลายตั ว ให ก รดเกลื อ พลาสติกบางชนิดกอใหเกิดอัคคีภัยได เชน เซลลูลอยด เพราะฉะนั้นควรเก็บรักษาวัสดุที่ทําจากพลาสติกแยกจากกัน และควบคุมอุณหภูมิ (ประมาณ 20°เซลเซียส) ความชื้น (ประมาณ 50%) หางไกลจากแสงแดดและฝุนละออง หากเก็บในกลองควรใสถานกัมมันตเพื่อชวยดูดซับสารเคมีที่สลายตัวออกมาจากพลาสติก


การเสื่อมสภาพของวิดีโอเทป วิดีโอเทปบันทึกภาพเคลื่อนไหวและเสียงไวพรอม ๆ กัน จึงบันทึกเหตุการณสําคัญ ๆ ไวมากมาย แต วิดี โอเทปเสื่ อมสภาพง า ย ไม ส ามารถเก็ บ รั ก ษาไว ในระยะยาวได แมว าจะเก็ บ รั ก ษาในสภาพแวดล อ มที่ เหมาะสมแลวก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับภาพถายขาว-ดํา วิดีโอเทปบอบบางกวามาก ปจจุบันวิดีโอเทป จึงถูกแทนที่ดวยแผนซีดี ซึ่งเก็บรักษาไวไดนานกวา(อาจถึง 100 ป) วิดีโอเทปทําจากแถบพลาสติกบาง ๆ ซึ่งทําจากโพลีเอสเทอร มีโพลีเอสเทอรยูเรเทนทําหนาที่เปน สารยึดผงอนุภาคแมเหล็กเขาดวยกัน โดยผงอานุภาพแมเหล็กทําหนาที่บันทึกและเก็บขอมูล องคประกอบทั้งสาม สวนนี้ไมทนตอสภาพแวดลอมที่มีความชื้นสูง อุณหภูมิสูง และมลพิษในอากาศ นอกจากนี้การจับตอง ใชงาน อยางไมระวัง และการจัดเก็บในสภาวะแวดลอมที่ไมเหมาะสม เปนสาเหตุที่ทําใหวิดีโอเทปเสื่อมสภาพเร็วยิ่งขึ้น อุณหภูมิสูงทํ าให ภาพเสียหาย เห็ น เป นเสน ๆ หรื อจุ ดวาบ ๆ หากได รับ แสงแดดกลองที่ บรรจุ เทปจะบิด งอ ความชื้นสูงทําใหเทปเหนียวเหนอะหนะและเกิดเชื้อรา นอกจากนี้ความชื้นสูงทําใหโพลีเอสเทอรยูเรเทนเสื่อมสภาพ ฝุนละอองและมลพิษทําใหสูญเสียสัญญาณภาพและเสียง วิธีแกปญหา เริ่มดวยการทําสําเนาหรือบันทึกลงในแผนซีดี ทุก ๆ 10-15 ป ควรทําสําเนาอยาง นอยสองชุด เพื่อเก็บไวหนึ่งชุด และใชงานหนึ่งชุด เก็บรักษาในที่ที่ไมมีฝุนละออง อุณหภูมิต่ํา และความชื้นต่ํา หามเก็บในตูหรือลิ้นชักที่ทําดวยไม และควรเก็บรักษาหางจากอุปกรณไฟฟาและอุปกรณที่มีสนามแมเหล็กทั้งหลาย รวมทั้งตัวล็อคตูหรือลิ้นชักที่ทําจากแมเหล็ก โคมไฟบางชนิดก็ผลิตสนามแมเหล็ก ไมควรวางไวบนเครื่องกรอเทป หรือเครื่องเลนเทป อยาใหเทปสัมผัสกับคลิปหนีบกระดาษ หนังสติ๊ก เวลาใชงานพยายามหลีกเลี่ยงการแตะตอง หรือสัมผัสผิวหนาเทป ควรวางมวนเทปในแนวตั้งในกลองพลาสติกที่ปดไดมิดชิด ระวังอยาใหขอบเทปมวนหรือยับ ยน เทปที่ เป น ต น ฉบับ ซึ่ ง ต องการเก็บ รัก ษาในระยะยาว ควรเก็ บ รั ก ษาในที่ ที่ อุ ณหภู มิ ต่ําประมาณ 5° เซลเซียส ความชื้นสัมพัทธต่ํากวา 25% โดยใสในถุงซิปที่ปดไดสนิท แตกอนใสถุงควรทําใหเทปแหงกอนโดยวาง ผึ่งลมในวันที่มีอากาศแหง หรือเปดเครื่องดูดความชื้น แตทั้งนี้ตองรักษาอุณหภูมิและความชื้นใหคงที่ตลอดเวลา สวนเทปที่ ใ ช ง านไม จํ าเป น ต องเก็ บ ในที่ที่ อุณหภู มิต่ํ ามากนั ก ประมาณ 22 ° เซลเซี ยส ความชื้น สัมพัทธประมาณ 50 %

นอกจากนี้ควรดูแลเครื่องเลนเทป ใหอยูในสภาพดีตลอดเวลา เพราะหากเครื่องเลนเทปชํารุด หรือ ทํางานผิดปกติ จะทําลายขอมูลในเทป ในขณะเดียวกันเทปที่ชํารุด ไมควรนําไปเลน เพราะจะทําใหเครื่องเลนเทป ชํารุดไปดวย


แลกเปลี่ยนความรู คุณวีระ

ขอทราบวิธีเขียนหมายเลขทะเบียนบนเหรียญกษาปณและเงินตราโลหะ

จิราภรณ

เหรียญกษาปณและเงินตราโลหะมีขนาดเล็ก ควรเขียนหมายเลขทะเบียนลงบนซองหรือ เขียนบนกระดาษใส ในซองพลาสติกหรือกลองที่ใชในการจัดเก็บ โดยจัดเก็บแยกกันซอง หรือกลองละ 1 ชิ้น บางคนเกรงวา หากไมเขียนบนเหรียญ เวลาจัดแสดงอาจเกิดการสับสน ในกรณีนี้ควรบันทึกรายละเอียดทุกอยางพรอม ภาพถายและบันทึกตําแหนงที่จัดวาง พรอมทั้งเขียนหมายเลขทะเบียนลงบนพื้นตู หรือแทนที่จัดแสดง หากทําหลุม หรือแองสําหรับวางเหรียญแตละอัน จะชวยปองกันการลื่นไหลไปปะปนกันได

คุณจริยา

Terra-cotta ตางจาก Earthenware อยางไรคะ

จิราภรณ

ทั้งสองอยางนี้เปนเครื่องปนดินเผาชนิดที่มีเนื้อพรุน ไมละลายน้ํา อาจมีสีน้ําตาล แดง เทา หรือชมพู เคลือบผิวหรือไมเคลือบก็ได สวนมาก ถาเปนสิ่งของที่ผลิตดวยมือโดยไมใชแปนหมุนจะเรียกวา terra-cotta เผาที่อุณหภูมิ 900 องศาเซลเซียส มักหมายถึง กระถาง ทอน้ํา อิฐ ตะคัน ตะเกียง รูปปน กระเบื้องปูพื้นหรือกระเบือ้ งตกแตงผนัง ถาผลิตบนแปนหมุนเปนภาชนะรูปทรงตาง ๆ จะเรียกวา pottery สวน earthenware จะแข็งแรงกวา tera- cotta เผาที่อุณหภูมิ 1000-1200 องศาเซลเซียส ชื่อที่ใชเรียกมักเกี่ยวของกับผลิตภัณฑ ไมเกี่ยวกับวัสดุที่ใชในการผลิต

คุณจินดา ควรดูแลรักษาสัตวสตั๊ฟอยางไรครับ จิราภรณ สัตวสตั๊ฟ มีองคประกอบเปนโปรตีนและไขมัน ควรปองกันแมลงเปนพิเศษโดยควรเก็บรักษาในตูกระจกที่ปด มิดชิด ไมใหแมลงเขาไปได ควบคุมความชื้นไมใหสูงเกิน 60% หลีกเลี่ยงการจับตองเคลื่อนยายโดยไมจําเปน เนื่องจากสัตวสตั๊ฟบอบบางและการสตั๊พในอดีต ใชสารเคมีที่เปนอันตรายตอสุขภาพ เชนสารหนู สารปรอท ไซยาไนด ดีดีที ฯลฯ

ผูจัดทํา นางจิราภรณ นายศุภกร นางสาวศิรดา นางสาววรรณวิษา นายคุณาพจน

อรัณยะนาค ปุญญฤทธิ์ เฑียรเดช วรวาท แกวกิ่ง

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท 022252777 ตอ 109 fax 022251881-2 e-mail : sirada@ndmi.or.th , wanvisa@ndmi.or.th http://www.ndmi.or.th/home.php http://www.facebook.com/museumsiamfan


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.