Muse Mag ฉบับที่ 8

Page 1

ฉบับที่ 8 เดือนมกราคม – มีนาคม 2559

The Market Issue • ป๊อก Stylish Nonsense คิวเรเตอร์แห่งตลาดนัด • พาเที่ยว Flea Market ต่างแดนสุดฮิป

-1-


ฉบับที่ 8 เดือนมกราคม – มีนาคม 2559

Contents

Muse Plus

18 22

The Great Outdoor Market ตลาดนัด + เรื่องเล่า = ที่แฮงก์เอาต์แห่งยุคสมัย

Muse Chat

3

Muse Opinion

Muse Idol

4

Muse Forward

สารจาก ผอ.

ป๊อก Stylish Nonsense คิวเรเตอร์แห่งตลาดนัด

Let’s go to Flea Market

ภาพยนตร์น่าดู หนังสือน่าอ่าน

Season

4

26

The Infini te v sco Di

er

y

¤¹ ¾

Muse Latitude

4 ตลาดนัดฮิปๆ ใน 4 ประเทศ ที่พร้อมเสิร์ฟแรงบันดาลใจให้คุณ

กองบรรณาธิการ สุขุมาล ผดุงศิลป์ ภูษิต ช่วยชูฤทธิ์ ปิ่นมุข หนูนุ่ม ถิรดา วนศาสตร์โกศล ธนพร หมู่เจริญทรัพย์

12

º » Ã Ð Ê º ¡ Ò Ã ³ ã Ë Á

ä ÁÃ

Ù¨º

Muse Check in

Muse Pass Season 4 ค้นพบประสบการณ์ใหม่ไม่รู้จบ

30

นิตยสารเสริมแรงบันดาลใจ สร้างสรรค์การเรียนรู้ โดย มิวเซียมสยาม | สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ

เลขที่ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ : 0 2225 2777 โทรสาร : 0 2225 2775 www.museumsiam.org, www.facebook.com/museumsiamfan

ร่วมสร้างสรรค์เนื้อหาและออกแบบศิลปกรรม โดย

บริษัท เปเปอร์คอรัส จ�ำกัด 32/9 ถนนพุทธมณฑลสายสาย 2 ซอย 21 แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพฯ 10170 โทร. 08 1919 5315 / 08 1513 4971 -2-


: เรื่อง ยาม ียมส มิวเซ

chat แลนด์มาร์กของคนไทยทุกยุค ทุกสมัย ที่คุ้นเคยเป็นอย่างดี คงหนีไม่พ้น ‘ตลาด นัด’ อย่างแน่นอน เพราะนอกจากจะเป็นแหล่งนัดซื้อสินค้า และรวบรวมของใช้ สาธารณูปโภคให้ได้จับจ่ายใช้สอยกันแล้ว ยังเป็นเหมือนศูนย์รวมความบันเทิงของ ทั้งครอบครัว ไปจนถึงการเป็นจุดนัดพบของแต่ละชุมชน ที่ได้มาพบปะกันสักครั้ง แต่ถ้าย้อนกลับไปในอดีต การมีตลาดนัดแต่ละชุมชน เกิดจากการนัดแนะกันของ คนในชุมชนที่จะเอาสิ่งของที่ตนเองนั้นหามาหรือปลูกไว้ในเรือน เอามาแลกเปลี่ยน กัน มีผักมาแลกเนื้อ มีเกลือไปแลกข้าว ซึ่งสิ่งของแต่ละอย่างก็ตามแต่ตกลงกันว่า จะแลกเปลี่ยนกันมากน้อยขนาดไหน ตลาดนัดยังคงด�ำเนินวิถแี บบนีไ้ ปเรือ่ ยๆ จนกระทัง่ เราได้มสี งิ่ ทีเ่ รียกว่า ‘เงินตรา’ ขึน้ มา ท�ำให้มสี อื่ กลางทีใ่ ช้ในการแลกเปลีย่ นกัน รวมถึงการเปิดตลาดทีเ่ หล่าพ่อค้าเดิน ทางมากับเรือส�ำเภา ท�ำให้ตลาดยิง่ ดูคกึ คักและแพร่หลายไปมากขึน้ พัฒนาจนมาถึง ปัจจุบัน ตลาดนัด...ยังคงมีมนต์ขลังในการเป็นจุดนัดพบของชุมชนได้อย่างดีเยี่ยม แต่ด้วยเวลาและยุคสมัย ความเป็นตลาดแบบเดิมๆ อาจจะน้อยลงและมีความทัน สมัยเข้ามาแทนที่ ท�ำให้มแี ตกแขนงความเป็นตลาดนัดออกมาเพือ่ ตอบสนองกลุม่ คน ต่างๆ ทั้งตลาดรวมของเก่า ถนนคนเดิน ตลาดนัดคนอินดี้ หรือตลาดนัดคนดนตรี (อย่าง Noise Market ก็เช่นกัน) ถือเป็นอีก 1 ธุรกิจที่ก�ำลังเจริญเติบโตและได้รับ ความนิยมเป็นอย่างมากในหมู่นักธุรกิจยุคใหม่อีกด้วย Muse Mag ฉบับนี้ จะพาทุกคนไปช้อปปิ้ง เลือกหาของถูกใจ ความสนุกใหม่ๆ ที่ คุณอาจไม่เคยได้พบ ถ้าไม่เคยไปตลาดนัด...พร้อมจะไปช้อปปิ้งด้วยกันหรือยังครับ

ราเมศ พรหมเย็น

ผู้อ�ำนวยการสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ

-3-


-4-


ิท ดำ�สน ิภาส า ภ ี ร :ว บุญว เรื่อง นาวรัตน์ :เ ภาพ

idol

ป๊อก Stylish Nonsense คิวเรเตอร์แห่งตลาดนัด คุยกับป๊อก-วรรณฤต พงศ์ประยูร แห่ง Stylish Nonsense ผู้จัด ตลาดนัดที่มีพ่อค้าแม่ขายเป็นคนทำ�งานศิลปะ ส่วนลูกค้า สามารถมา ช้อปปิ้งได้พร้อมๆ กับเสพงานศิลป์ทางตาและทางหู โดยมีสนามหญ้า สีเขียวที่พิพิธภัณฑ์เป็นลานตลาดนัด ปีนี้เข้าสู่ปีที่ 17 แล้วในฐานะคนท�ำดนตรี ผู้ก่อตั้งค่ายเพลงนอกกระแส Panda Records และดูโอแห่งวงดนตรีซาวนด์สุดล�้ำ Stylish Nonsense ถ้าย้อนกลับไป ในยุคที่วงดนตรีแนวอินดี้เบ่งบานเมื่อสิบกว่าปีก่อน วงดนตรีหลายวงเมื่อถึงจุดที่ พอใจ บ้างแยกย้าย อิ่มตัว หรือบอกลาหันหลังให้กับวงการดนตรี ปล่อยให้วง ดนตรีรุ่นใหม่ๆ ผลัดกันขึ้นมาวาดลวดลายแทนที่ แต่ป๊อกกลับบอกเราว่าไม่เคยเลยสักครั้งที่อยากจะหันหลัง กลับกันเขาเชื่อว่า ดนตรีจะพาเขาเดินทางไปยังจุดอื่นๆ ได้ไม่สิ้นสุด จนวันหนึ่ง ดนตรีนี่ล่ะก็เป็น ส่วนหนึ่งที่ผลักดันให้เขาขึ้นมาเป็นผู้จัดอีเวนต์ที่เรียกว่า ‘ตลาดนัด’ จุดนัดพบที่ หลอมรวมดนตรี ศิลปะ และตลาดเข้าด้วยกัน นีค่ อื เรือ่ งราวคร่าวๆ ของจุดเริม่ ต้น ‘ตลาดน้อยส์ Noise Market’ ตลาดนัดขายของที่มีดนตรีเป็นองค์ประกอบอัน

-5-


แสนเพลิดเพลิน

ก่อนจะมาท�ำ Noise Market ตอนนั้นคุณท�ำอะไรอยู่

ก็ยังคงคลุกคลีอยู่ในวงการดนตรี ผมท�ำอีเวนต์เกี่ยวกับดนตรีมาก่อน ทั้ง Keep on the Grass เทศกาลดนตรีโฟล์ก (Indy Folk) ที่อ�ำเภอมวกเหล็ก และเทศกาล Stone Free Music Festival ทีม่ แี นวดนตรีหลากหลายกว่า แต่ทงั้ หมดเป็นอีเวนต์ เพื่อวงการดนตรีให้คนดนตรีรุ่นใหม่มาเล่น มักเป็นอีเวนต์กลางคืน ต้องเป็นคน ที่ชอบและอยากมามีประสบการณ์ตรงนี้จริงๆ ถึงจะตัดสินใจมา ซึ่งยากที่บุคคล ทัว่ ไปจะมางาน เพราะบ้านเราไม่เหมือนฝรัง่ ฝรัง่ ยังพาลูกไปแคมปิง้ ตัวพ่อแม่ชอบ ดนตรีกจ็ ะกระเตงลูกไปนอนกางเต็นท์ฟงั ดนตรี แต่สงั คมไทยไม่ได้เป็นเช่นนัน้ ผม จึงคิดว่าอยากจะจัดอีเวนต์ที่บุคคลทั่วไปมาได้ นี่คือจุดเริ่มต้นของ Noise Market

โจทย์เริ่มต้นของคุณคือมีดนตรีเป็นตัวตั้ง

ใช่ ภาพในหัวของผมเป็นพื้นที่ดนตรี คอมมูนิตี้ที่ใครมาก็ได้ ผมมองว่าดนตรีและ ศิลปะมันควรจะตอบโจทย์และช่วยเหลือคนได้ทกุ ชนชัน้ พูดตรงๆ คือทีผ่ า่ นมาเรา อาจพบว่าศิลปะมักเกี่ยวกับคนมีฐานะ เพราะคนมีฐานะซื้องานศิลปะได้ อันนี้คือ พูดในสเกลเมืองนอก แต่พอมาประเทศเรา ศิลปะเป็นเรื่องไกลตัว คนอาจยังไม่รู้ ว่าจะน�ำศิลปะมาใช้ตรงไหนในการยังชีพ ท�ำให้เราขาดสุนทรียภาพในการยังชีพ ขาดความเข้มแข็งในการเอาตัวรอดในโลกปัจจุบัน

เป้ า หมายเราไม่ ไ ด้ ท� ำ เพื่ อ หาความสุข เราท�ำเพื่อจะรู้จัก ว่า วันนี้เราจะท�ำอะไร

อีเวนต์ดนตรีที่เราเริ่มต้น ผมสังเกตว่างานดนตรีก็มีแต่กลางคืน และเด็กอายุต�่ำ กว่า 15 ปี หรือ 18 ปีก็มาดูไม่ได้ ผมอยากท�ำพื้นที่ให้เหมือนการมาเติมเต็ม เด็ก ได้แรงบันดาลใจ ผูใ้ หญ่กไ็ ด้แรงบันดาลใจ คนมีอายุกไ็ ม่แก่เกินไปทีจ่ ะรับรู้ คนท้อง ก็น่าจะได้รับความสุนทรีด้วย ผมคิดว่าน่าจะมีอีเวนต์แบบนี้นะในบ้านเรา โจทย์ต่อไปคือ Space มิวเซียมสยามคือพื้นที่ที่ตอบโจทย์ เป็นหน่วยงานที่ ท�ำงานศิลปะเปิดใจ ไม่ปิด และได้เห็นอะไรบ้าง ก็จะ สนับสนุนด้านศิลปะและความคิดสร้างสรรค์ ผมไม่เคยรู้จักใครในหน่วยงานนี้ ได้รับแรงบันดาลใจทางอ้อม มาก่อน แต่ก็ตัดสินใจมาเสนอโปรเจ็กต์ บ้ า นเราต้ อ งยอมรั บจุ ด หนึ่ ง ว่ า คนท� ำ งานศิล ปะมัก ใจแคบ มักมีสิ่งที่ปิดกั้นตัวเอง คิดว่าตัวเองมีรสนิยม ท�ำไมต้องเป็นตลาดนัด ท�ำไมไม่เป็นแค่คอนเสิร์ต เพื่อทลายก�ำแพงที่คนบอกว่าศิลปะเสพยาก โจทย์คือจะท�ำอย่างไรให้สลายตรงนี้ ที่ดี อาจฟังดูใจร้ายไปหน่อยถ้าใช้ค�ำนี้ (หัวเราะ) แต่ ออกไป ยกตัวอย่างเวลาคนบอกว่าไปพิพิธภัณฑ์ท�ำไม คนคิดว่าเป็นเรื่องต้อง จริงๆ แล้วคนท�ำงานศิลปะต้องใจกว้าง เพราะมันมี มีความรู้ ต้องมีความสนใจ แต่เราจะท�ำอย่างไรให้คนไม่รู้สึกอย่างนั้น ต้องไม่ เรื่องให้เรียนรู้อีกเยอะ สิ่งที่เราไม่ชอบก็มีอะไรให้น่า เฉพาะทางเกินไป ผมก็เลยต้องท�ำกิจกรรมที่มันง่ายๆ ซึ่งเวลาบอกว่าไปเที่ยว เรียนรู้ ส่วนสิ่งที่เราชอบ แท้จริงแล้วเราก็รู้จักมันแค่ เศษเสีย้ วเอง แต่เพราะชอบไปแล้ว เราเลยหมดโอกาส ตลาดมันก็ดูง่ายดีนะ ที่จะเรียนรู้ต่อ ดังนั้นคนที่อยู่ในภาวะที่ ‘อยากเรียนรู้’ ตลาดนัดเหมือนเป็นกิจกรรมสุดสัปดาห์ การผ่อนคลายหลังเลิกงานก็ได้ แต่เรา จะมีโอกาสมากกว่าคนที่ชอบไปแล้วหรือไม่ชอบ อีก เป็นตลาดที่รวมงานครีเอทีฟ อีกประเด็นก็คืออยากให้คนที่ท�ำงานครีเอทีฟที่ไม่ ทั้งคนเราไม่ชอบให้คนอื่นมาบอกว่า นายต้องชอบ ค่อยมีพื้นที่ในการแสดงออก ได้ท�ำสิ่งเหล่านี้เป็น ‘อาชีพ’ ได้จริงในสังคมไทย อันนีน้ ะ ต้องไม่ชอบอันนัน้ ดังนัน้ ผมเลยต้องพยายาม เมื่อมาเจอกัน ก็เกิดคอมมูนิตี้ การแลกเปลี่ยนเพื่อที่จะขับเคลื่อน ไม่ว่าจะทาง หาองค์ประกอบที่ว่าด้วยความบังเอิญมาเจอกัน ซึ่ง ตรงหรือทางอ้อม คือไม่จ�ำเป็นต้องไปดูเพื่อรับแรงบันดาลใจโดยตรง แต่แค่คน ‘ตลาดนัด’ คือ พื้นที่แห่งความบังเอิญ -6-


ช่ ว ยเล่ า ให้ ฟ ั ง หน่ อ ยได้ ไ หมว่ า ครั้ ง แรกที่ จั ด งาน บรรยากาศเป็นอย่างไร

เราเริ่มครั้งแรกในปี 2013 ประมาณ 30-40 ร้าน รวมดนตรีและ ศิลปะท�ำมือ แต่ยังไม่มีอาหารนะ ผมต้องการตอบโจทย์ที่ว่าคน ท�ำงานศิลปะได้น�ำเสนองานแล้วมีคนสนใจ เราจึงใส่ใจในเรื่องของ ผังร้าน ต�ำแหน่ง และองค์ประกอบต่างๆ ซึ่งไม่ควรที่จะมีใครเด่น เกินกว่ากัน ถ้าดนตรีเด่น คนก็มาดูแต่ดนตรีแล้วกลับบ้าน ถ้าร้านใด ร้านหนึ่งป๊อปปูลาร์ขายดี ร้านอื่นก็อาจจะแอบมองค้อนนิดหนึ่งได้ (หัวเราะ) ข้อดีอย่างหนึ่งคือดนตรีเป็นสิ่งที่เรียกร้องความสนใจได้ ในบรรดาศิลปะทั้งหมด ดนตรีมีเสียงตูมตาม เร่งอารมณ์ได้ง่าย ที่สุด สนุก ท�ำให้อยากไปดู ผมก็เลยเอาดนตรีไปแทรกอยู่ตามร้าน ต่างๆ แทรกและผลัดคิวให้เขาแสดง เพราะฉะนั้นที่เขาแสดง คนก็ จะไปดูตรงโน้น เราพยายามให้คนเดินทั่วงาน เวลาดนตรีเล่น คน ก็จะเดินไปทั่ว เขาก็จะได้ช�ำเลืองมองเห็นร้าน ทีนี้ก็อยู่ที่ผลงานใคร น่าสนใจ เรามีดนตรีแทรกไปทุกที่ บรรยากาศในการขายของก็สนุก ขึน้ คือบางทีคนขายก็เป็นผูฟ้ งั ไปด้วยได้ ขายไปก็สนุกดี ส�ำหรับเขา มันเลยไม่ใช่แค่การมาเฝ้าร้านเฉยๆ

นอกจากดนตรี อะไรยังเป็นสิ่งที่ ‘ว้าว’ สุดๆ ที่ตลาด ของคุณ

บางร้านได้น�ำเสนอกิจกรรมเชิงครีเอทีฟของตัวเอง มีการเวิร์กช็อป เช่น คุณอยากรู้ไหมว่างานชิ้นนี้ท�ำอย่างไร คนดูสามารถมาร่วมท�ำ เวิร์กช็อป ประดิดประดอย เย็บผ้า เพนท์ติ้งหรือท�ำอะไรก็ได้ โดยที่ ได้ความรู้เล็กๆ น้อยๆ กลับไป เขาก็สามารถท�ำให้คนมามีส่วนร่วม มากกว่าแค่ซื้อหรือไม่ซื้อ แล้วทุกร้านเขาเป็นตัวจริง เขาไม่ได้รับมา ขายเหมือนตลาดอืน่ ๆ เป้าหมายเขาไม่ใช่การขายเพือ่ เอาจ�ำนวน แต่ มันเป็นงานฝีมือ ดังนั้นทุกอย่างมันมีรายละเอียด และทุกอย่างเขา รู้ดีที่สุด มันน่าสนใจตรงนี้ และเจ้าของร้านหรือศิลปินเขาก็มาเฝ้า ร้านเอง เขาสามารถบอกได้วา่ ของท�ำอย่างไร เหมือนเราไปเทศกาล อาหารแล้วเจอเชฟตัวเป็นๆ มาท�ำอาหารให้ดู มันก็น่ากิน -7-


สิ่งที่เราไม่ชอบก็มีอะไรให้น่าเรียนรู้ ส่วนสิ่งที่เรา ชอบ แท้จริงแล้วเราก็รจู้ กั มันแค่เศษเสีย้ วเอง แต่ เพราะชอบไปแล้ว เราเลยหมดโอกาสที่จะเรียนรู้ ต่อ ดังนั้นคนที่อยู่ในภาวะที่ ‘อยากเรียนรู้’ จะมี โอกาสมากกว่าคนที่ชอบไปแล้วหรือไม่ชอบ -8-


Noise Market จัดมาแล้ว 5 ครั้ง โปรเจ็กต์นี้ เติบโต มีเด็ก มีคนท้องมานั่งฟังอย่างที่ตั้งใจไหม

มีครับ และมีหลายๆ ชาติมาเดินตลาดของเรา ผมเห็นรถเข็นเด็กมา มีกลุม่ คนหลายอาชีพ มีพอ่ แม่ลกู เพือ่ นลูกทีโ่ รงเรียนก็มา (หัวเราะ) ซึ่งจริงๆ แล้วอยู่คนละแวดวงกันมาก ท�ำให้ผมมั่นใจว่านี่เป็นอีเวนต์ ของบุคคลทัว่ ไป เราท�ำมันได้จริงๆ ผมตัง้ ใจว่าจะให้ทกุ คนมาดูอะไร ดีๆ แล้วก็มามีนสิ ยั ดีๆ ให้กนั ซึง่ ปกติงานอีเวนต์ใหญ่ๆ บ้านเราจะมี ปัญหาหลายรูปแบบในเรื่องนี้ เช่น ขยะ คนสูบบุหรี่ ซึ่งเรื่องดนตรี ไม่ต้องพูดถึงเลย อาจจะมีเรื่องการตีกัน ผมอยากให้เขารู้จักแคร์ คนในสังคม พอมาอยู่ร่วมกัน ก็คิดถึงกัน

ยากไหม ท�ำตลาดนัดให้ติดตลาด

(นิง่ คิด) ผมไม่เคยคิดอย่างนัน้ เลยนะ แต่ผมคิดถึงเรือ่ งทีพ่ ดู ไปสักครู่ มากกว่า คือสิ่งที่ออกไปทางสังคม ท�ำให้ติดตลาดไม่ยากหรอก แต่ เราจะรับผิดชอบสังคมอย่างไรมากกว่า ท�ำให้ติดตลาดไม่เห็นยาก เลย ห้างสรรพสินค้าก็ติด แล้วค่านิยมของสังคมเป็นอย่างไรล่ะ หรือท�ำธุรกิจร้านค้า ท�ำอะไรก็ตาม ท�ำได้ทงั้ นัน้ แต่วา่ มันส่งผลดีตอ่ สังคมในระยะยาวอย่างไรมากกว่าคือสิ่งที่ผมคิด ระยะยาวคือเรื่อง ของความคิด ไม่ใช่แค่ก�ำจัดขยะหรือแยกขยะ แต่ว่าให้ทุกคนที่มา ในงาน ทั้งคนที่มาออกร้าน คนที่มาร่วมงานเล็กๆ น้อยๆ ก็ต้องได้ รับพลังงานอะไรบางอย่างในด้านบวกกลับไป

เป้ า หมายเช่ น นี้ คุ ณ ใช้ กั บ ทุ ก เรื่ อ งที่ ล งมื อ ท� ำ หรื อ เปล่า

ตอนผมมาขายโปรเจ็กต์ให้มิวเซียมสยาม ผมก็แค่บอกว่าอยาก ท�ำอีเวนต์ลักษณะนี้ ฟังดูเป็นเพื่อคนศิลปะพอสมควร แล้วก็โชคดี ที่ว่าทางมิวเซียมสยามต้องการเข้าถึงคนในกลุ่มเราพอดี ผมมี ประสบการณ์ท�ำ Panda Records มา 16 ปี เข้าสู่ปีที่ 17 เรียก ว่าอยู่ในแวดวงที่นอกกระแสมาโดยตลอด เราท�ำงานศิลปะ เรา ไม่มีรัฐบาลสนับสนุน เราก็ออกเงินทุนกันเอง เราก็หาทั้งพื้นที่หรือ คอนเนกชั่นกันเอง เราเหมือนคนขายกล้วยแขกตามสี่แยกที่ต้อง ดิ้นรน ขับเคลื่อนด้วยก�ำลังของตัวเอง ท�ำค่ายเพลงก็คล้าย non profit คือมันก็ใช้สตางค์นะ แต่วา่ เราใช้แบบพอเพียง ก็คอื ไม่ได้ตอ้ ง ขายเพื่อรวย ความร�่ำรวยไม่ใช่เป้าหมายใหญ่

แล้วตอนที่เริ่มท�ำ Panda Records เป้าหมายคือ อะไร

อยากท�ำในสิ่งที่สร้างแรงบันดาลใจให้ผู้คนได้ ถ้าเราท�ำแล้วคาดหวัง ในแง่ชื่อเสียงกับเงินทอง ถ้าเปรียบเป็นปัจจุบัน เงินก็ยังเป็นเงินอยู่ ถ้าชื่อเสียงก็อาจจะเป็นยอดวิว ยอดไลก์ บางทีคนก็เอายอดไลก์ไป สร้างเงิน คนมีเงินก็จ่ายค่าวิวเยอะๆ นี่คือกับดักของคนที่เป็นอยู่ ส�ำหรับคนทีเ่ ผชิญจุดนี้ เขามักจะเป็นโรคทางจิตใจ บางคนเหงามาก อยากมียอดไลก์มากๆ ก็ตอ้ งเอาเงินไปซือ้ ยอดไลก์ หรือบางคนก็ตอ้ ง ท�ำยอดไลก์เยอะๆ เพื่อจะเอาไปเปลี่ยนเป็นเงิน นี่คืออาการที่ว่า ‘มี เงินก็ไม่หาย’ แต่ผมคิดว่าผมไม่ได้นงั่ ท�ำและคาดหวังอะไรพวกนี้ ผม เลยไม่ปว่ ย ผมท�ำค่ายเพลง ท�ำดนตรี ท�ำตลาด ก็เพราะท�ำแล้วรูส้ กึ ว่ามันก็สบายใจดี (หัวเราะ) อันนี้ในมุมส่วนตัวนะครับ แต่ว่าบาง ธุรกิจดนตรีหรือธุรกิจทางบันเทิงอืน่ ๆ เขาก็ตอ้ งไปทางนัน้ ซึง่ ถ้าเขา ประสบความส�ำเร็จมันก็ดี บางยุคสมัยทีซ่ บเซาก็อาจจะรูส้ กึ เหงาไป บ้าง แต่พอเราท�ำด้วยความรูส้ กึ สบายๆ ไม่กดดัน เราเลยท�ำได้นาน กีป่ กี อ็ ยูไ่ ด้ เศรษฐกิจไม่ดเี ราก็ไม่ได้บาดเจ็บไปกับเขา หรือว่าใครจะ ดังกว่าเรา หรือใครจะขึ้นมา เราก็ไม่ได้สูญเสียสมดุลของจิตใจ ท�ำ ไปก็โอเค เป้าหมายเราไม่ได้ทำ� เพือ่ หาความสุข เราท�ำเพือ่ จะรูจ้ กั ว่า วันนีเ้ ราจะท�ำอะไร เพราะคนทีค่ น้ หาความสุขมากก็เป็นทุกข์เหมือน กัน ผมขอไม่มีความสุขแล้วกัน (หัวเราะ)

ท�ำค่ายเพลงและท�ำดนตรีนอกกระแสมา 17 ปี ถือว่า นานพอจะเป็นวัยรุ่นคนหนึ่งได้เลยนะ เราท�ำดนตรีเพราะสนใจ ยิ่งสนใจเรายิ่งถล�ำลึก ศึกษาเรียนรู้อยู่ กับมันได้ไม่สิ้นสุด เราท�ำค่ายเพลง ท�ำดนตรี ในแง่รายได้แม้บางปี อาจจะน้อยหน่อย บางปีอาจจะมากหน่อย แต่อย่างที่บอก การที่ อยู่ได้ก็ต้องมีพลังงานทางบวก ถ้าเราคาดหวัง แล้วคิดว่าล้มเหลว เราก็จะเฟล ซึ่งเวลาเฟลนี่ล่ะที่ต้องใช้ดนตรีรักษา แต่พอถามตัวเอง อีกทีหนึ่ง เอ๊ะ มันก็ไม่เฟลนี่นา (หัวเราะ) เพราะว่าดนตรีมันก็ เหมือนเดิม มีแต่คนต่างหากที่เปลี่ยนไป

-9-


อย่างวง Stylish Nonsense เดือนนีก้ ม็ เี ล่นทุกสัปดาห์เลย มีคนเชิญ เล่นตลอด ปีที่แล้วก็ไปเล่นต่างประเทศเยอะ เราไปฟินแลนด์ ไป ยุโรป ไปอินโดนีเซีย ฝรัง่ เศส บางเมืองก็ไปเล่นต่างจังหวัด ก็ไปแบบ ลุยๆ คือวงเป็นผูช้ ายสองคนครับ ค่ารถไฟ ค่าข้าวก็ไม่แพงมาก แล้ว บางจังหวะเราก็นอนในคอนเสิร์ตที่จัดงานได้ ดูๆ แล้วก็เหมือนนอน ในมหาวิทยาลัย แต่เราไปยุคนี้แล้วมีแต่คนอายุน้อยกว่าเราทั้งหมด (หัวเราะ) ดูเหมือนเป็นเด็กที่ชอบท�ำงานกิจกรรมศิลปะ เหมือนมา แคมป์ เช่าโกดังใหญ่อยู่ เขาก็มที ใี่ ห้นอน บางช่วงภรรยาและลูกสาว ของผมก็จะตามมาจอยด้วยหนึ่งสัปดาห์ ซึ่งช่วงเวลาที่ผมเดินทาง เล่นดนตรีตามต่างประเทศนี่ล่ะ ท�ำให้ผมเห็นบรรยากาศตลาดนัด ดนตรีและท�ำให้เป็นแรงบันดาลใจ มีงานชื่อ Pop Fair งานเล็กๆ ที่ เยอรมนี เราก็เลยมาตั้งชื่อตรงกันข้าม เวลาท�ำเพลงส่วนใหญ่จะตัด ส่วนเกินที่เป็นเสียง Noise ออก เป็นส่วนที่คนไม่ค่อยได้ฟัง จึงใช้ ตัวแทนเป็น Noise Market

งาน Pop Fair จุดเริ่มต้นของ Noise Fair มี อะไรบ้าง

มีแค่ดนตรี แต่ว่าดนตรีแต่ละอย่างต่างกันโดยสิ้นเชิง ทุกคนก็ดู สนใจมาฟัง แม้แนวเพลงแต่ละวงจะไม่เหมือนกันเลย บางวงเป็น แนวคันทรีมากๆ แต่วยั รุน่ ก็ยงั สนใจ ต่อให้เราเป็นคนไทยเขาก็มาฟัง อีกทั้งวัฒนธรรมการเสพดนตรีของที่นั่น เขาไม่ได้ซื้อซีดีกัน แต่คน ทีม่ าออกร้านเขาจะแจกเหมือนเป็นแผ่นตัวอย่าง พวกเขาท�ำเพลงเอง จัดจ�ำหน่ายเอง โปรโมตเอง มีสินค้าที่เกี่ยวกับวงดนตรี เช่น พวก กระเป๋าโท้ต (tote bag) เสื้อยืด (t-shirt) ที่ท�ำให้วงเขาอยู่ได้ แล้ว สติกเกอร์ของเมืองนอกแปะเต็มร้านเลย เต็มเสาไฟฟ้าจนเสาอ้วน เบ้อเริม่ เลย (หัวเราะ) มีศลิ ปะหลายๆ อย่างรวมอยูต่ รงนัน้ มีเสือ้ ผ้า มีดนตรี ผมก็เลยน�ำแนวความคิดนีม้ าปรับใช้กบั บ้านเรา แต่ผมเป็น ผู้ชายด้วย ก็อาจจะไม่ถนัดในเรื่องของการตกแต่ง แต่คิดว่าเริ่มต้น จากตัวหัวใจก็คอื ตัวผลงานของคนท�ำงานก่อนดีกว่า ยิง่ แต่ละร้านเขา มีฝีมือ คือเขาเป็นตัวหลักเลยล่ะที่ท�ำให้งานดูน่าสนใจ

เวลาคนบอกว่าไปพิพธิ ภัณฑ์ทำ� ไม คนคิดว่าเป็น เรื่องต้องมีความรู้ ต้องมีความสนใจ แต่เราจะ ท�ำอย่างไรให้คนไม่รู้สึกอย่างนั้น ต้องไม่เฉพาะ ทางเกินไป ผมก็เลยต้องท�ำกิจกรรมทีม่ นั ง่ายๆ ซึ่งเวลาบอกว่าไปเที่ยวตลาดมันก็ดูง่ายดีนะ

ถ้าตลาดนัดของคุณเป็นพื้นที่รวมศิลปะ ดนตรี และ ร้านค้าเข้าด้วยกัน คุณก็คงเหมือนเป็นคิวเรเตอร์ คนหนึ่งเลยสิ (หัวเราะ) ผมแค่คัดเลือกร้านที่มาจากศิลปิน คนท�ำมือโดยตรง ผม ขอแค่นั้น รวมไปถึงเขียนกฎกติกาและวิธีการมาออกร้าน คือการ จัดการทั้งหมด แต่หัวใจของงานคือ อยากให้เป็นพื้นที่แห่งความ บังเอิญ อยากให้ศลิ ปินมีชอ่ งทางทีจ่ ะต่อยอดเป็นทีร่ จู้ กั ส่วนทีเ่ หลือ ต้องให้คนมาเดินงาน เดินตลาดนัดเป็นคนตัดสินเอง -10-


Noise Market ตลาดนัดงานศิลปะที่มีทั้งบูธขายซีดี เพลง งานคราฟต์ทำ�มือ ภาพยนตร์ ข้าวของเครื่องใช้ อาหาร และมีดนตรีให้เพลิดเพลินระหว่างเดิน ชม ชิม ช้อป จัดมาแล้ว 5 ครั้ง เข้าชมฟรี ที่มิวเซียมสยาม สำ�หรับปีนี้ จัดเมื่อไร ติดตามได้ https://www.facebook.com/noisemarketfest

-11-


-12-


เร

nan

ana

Ch ื่อง :

e d u t i t la

More than Flea Markets

4 Must-Visit Flea Markets to Find Creative Stuff and Inspiration 4 ตลาดนัดฮิปๆ ใน 4 ประเทศ ที่พร้อมเสิร์ฟ แรงบันดาลใจให้คุณ

ในยุคทีใ่ ครๆ ก็ไปเยีย่ มชมและจับจ่ายในงานทีล่ งท้ายด้วยค�ำว่า Flea Market หรือตลาดนัดฮิปๆ ในวันหยุดเสาร์อาทิตย์ ท�ำให้ยิ่งเห็นว่า ร้านรวงของผู้ประกอบการเล็กๆ ที่ส่วนใหญ่เป็นงานท�ำมือและงาน สร้างสรรค์เกี่ยวกับไลฟ์สไตล์ และเทรนด์ตลาดนัดยังคงมาแรงแซง ทางโค้งอย่างต่อเนือ่ ง ผูจ้ ดั งานและตลาดนัดรายใหม่ๆ เติบโตราวกับ ดอกเห็ด ตอบโจทย์ความต้องการของคนเมืองยุคใหม่ทตี่ อ้ งการพืน้ ที่ หย่อนใจ และในบางครั้งก็เปลี่ยนบทบาทมาท�ำหน้าที่เป็นผู้ขายและ คนสร้างสรรค์งาน ขณะเดียวกันเทรนด์นี้ยิ่งมาแรงขึ้นเท่าไร ตลาด แต่ละแห่งทั่วโลกก็ย่ิงสร้างสรรค์เอกลักษณ์ตัวเองให้ยิ่งเด่นชัด จน หลายงานเป็นที่พูดถึงในวงกว้าง ท�ำให้คนอยากบินไปเยี่ยมเยือน ยืนยันความฮิปให้เห็นกับตา -13-


Desert & Denim

ตลาดนัดคนรักเดนิมใจกลางทะเลทราย ทีท่ ะเลทรายโมฮาวี แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา

ตลาดนัดสุดเท่ทมี่ าพร้อมกับแนวคิดตลาดยีนส์และเดนิมโดยเฉพาะ เริม่ ต้นเสิรฟ์ งานที่มีเอกลักษณ์และไอเดียร้อนๆ บนพื้นที่กลางทะเลทรายที่แสนจะคึกคักด้วย จ�ำนวนผูร้ ว่ มงานทีเ่ ดินทางมา นีค่ อื งานแสดงสินค้าทีเ่ ป็นการผสมผสานกันระหว่าง ทะเลทรายกับผลิตภัณฑ์จากผ้าเดนิมทีต่ อ้ งอาศัยทัง้ ใจรัก การทุม่ เทอย่างมีพลังให้ กับรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ อย่างมาก ในงานที่ไม่ได้หวังผลให้มีผู้ซื้อผู้ขายนับ หมื่น แต่ต้องการดึงดูดแฟนตัวจริงของสินค้าแค่หลักร้อยคน และเจ้าของแบรนด์ ที่ได้รับการร่อนบัตรเชิญเพียง 23-25 แบรนด์ เท่านั้น พวกเขาทั้งหมดไม่ได้แค่มาเพื่อซื้อขายหรือสร้างแบรนด์ แต่มาเสพไลฟ์สไตล์ ใหม่ๆ และความรู้สึกเป็นอิสระร่วมกัน ที่โมฮาวี แซนด์ โมเต็ล (Mojave Sand Motel) บูทีคโฮเทลสไตล์อีโคชิกบนพื้นที่ทะเลทรายโมฮาวี ของอุทยานแห่งชาติ โจชัวทรี (Joshua Tree) ซึง่ งานนีบ้ ริหารจัดการสถานทีโ่ ดยบริษทั น�ำ้ หอมจูนเิ ปอร์ ริดจ์ (Juniper Ridge) ทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจมาจากประสบการณ์การรับรูก้ ลิน่ จาก การเดินป่าและแคมป์ไฟ สิ่งที่เราจะได้เห็นจากที่นี่คือ งานคัดสรรซาลอนเดนิมเจ๋งๆ ที่หาไม่ได้ในตลาดนัด กลางแจ้งขนาดใหญ่ เป็นงานที่เน้นเฉพาะคนสร้างสรรค์งานและคนท�ำงานจริงๆ ร้านรวงกางเกง แจ็กเก็ตยีนส์และทุกอย่างที่ท�ำจากเดนิม รวมถึงร้านยีนส์และ เดนิมที่มีชื่อเสียงในกลุ่มคนรักเดนิมคุณภาพสูงตัวจริงระดับโลกจากฟากอเมริกา ยุโรป ไปจนถึงนิวซีแลนด์ และอีกหลากหลายกิจกรรมเวิร์กช็อป อาทิ การย้อม ผ้าคราม ในงานคนคอเดียวกันยังจะได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิด มีมุมตัดผม โกนหนวดแบบแมนๆ มีมุมเครื่องดื่ม อาหารแบบจัดเต็ม มุมดนตรีให้ได้รื่นรมย์ กัน รวมทั้งแคมป์ไฟในตอนกลางคืน ไม่ใช่แค่กลุ่มคนรักเดนิมเข้าเส้นที่อยากมาเยือนตลาดแห่งนี้ เพราะนักส�ำรวจ ตลาดนัดและนักเสพประสบการณ์จ�ำนวนไม่น้อยลงความเห็นตรงกันว่าอยากจะ ไปเยือนตลาดนัดแห่งนี้สักครั้งในชีวิต ด้วยพื้นที่ทะเลทรายที่ท�ำให้ได้ตัดขาดจาก ความวุ่นวายและท�ำให้ได้ใช้เวลาดื่มด�่ำกับบรรยากาศได้อย่างแท้จริง เพื่อจะบอก กับทุกคนว่าได้ไปเยือนหนึ่งในตลาดนัดที่เท่ที่สุดมาแล้ว ภาพและข้อมูลอ้างอิง : 1. desertanddenim.juniperridge.com 2. www. mojavesandsatjoshuatree.com 3. www.heddels.com 4. www.staywildmagazine.com -14-


One Fine Day

ตลาดนัดงานแต่ง งานคราฟต์และเซอร์วิส ที่ทำ�ให้คุณลืมพรีเวดดิ้งแบบ เดิมๆ หลายเมืองของออสเตรเลีย

ลืมเวดดิ้งแฟร์แบบเก่าๆ ไปได้เลย เพราะ One Fine Day Wedding Fair จะ ท�ำให้การไปตลาดนัดงานแต่งงานของคู่แต่งงานเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิงและสนุก ขึ้น จนว่าที่เจ้าสาวติดใจอยากจะมาอีก (แต่เอ๊ะ แต่งงานต้องครั้งเดียวก็พอนะ) เพราะนีค่ อื งานทีจ่ ดั ขึน้ เพือ่ ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ฮปิ ๆ ของคูร่ กั คนรุน่ ใหม่โดยเฉพาะ ด้วยความเพลิดเพลินของรูปแบบงานที่เหมือนมาเดินเที่ยวเล่น พบปะพูดคุยกับ ผู้ค้าและผู้ให้บริการเกี่ยวกับงานแต่งในบรรยากาศสบายๆ ในพื้นที่ที่ตกแต่งอย่าง สวยงาม จนถึงนาทีนี้ คนที่เคยไปงาน One Fine Day Wedding Fair จ�ำนวน ไม่น้อยบอกตรงกันว่า นี่คืองานที่เป็นมากกว่าการเตรียมงานแต่ง ในงานแฟร์ที่ เต็มไปด้วยพนักงานที่ต้องท�ำยอดขายในวันสุดสัปดาห์ โดย One Fine Day จะ จัดขึ้นในหลายเมืองและต่างช่วงเวลา ทั้งซิดนีย์ เมลเบิร์น เพิร์ธ แอดิเลด และ แคนเบอร์รา ในออสเตรเลีย คอยต้อนรับว่าที่เจ้าบ่าวเจ้าสาวกว่า 13,000 คนใน แต่ละปี รวมไปถึงโอกาสได้ต้อนรับเพื่อนและครอบครัวของว่าที่เจ้าบ่าวเจ้าสาวที่ สนุกกับการช่วยเลือกช้อปและจัดงานร่วมกัน นับตัง้ แต่เปิดตัวครัง้ แรกและประสบ ความส�ำเร็จอย่างมากในซิดนีย์ ในปี 2012 เดือนพฤษภาคม

สิ่งที่คุณจะได้พบเมื่อก้าวเข้าสู่ตลาดนัดแห่งนี้คือ สีสันความสนุกสนานและแรง บันดาลใจที่น่าตื่นตาตื่นใจส�ำหรับวันส�ำคัญของแต่ละคู่ แชมเปญ ไวน์ หรือเบียร์ คอยต้อนรับเป็นเวลคัมดริงก์เมือ่ ลูกค้าเดินทางมาถึง (ทีท่ ำ� ให้ฝา่ ด่านแรกไปด้วยดี เพราะอย่างน้อยเครื่องดื่มเย็นๆ ก็ช่วยท�ำให้ว่าที่เจ้าบ่าวรู้สึกสนุก) ตามมาด้วยรถ ขายอาหารฟู้ดทรักส์ ภารกิจชิมอาหาร แฟชั่นโชว์ชุดงานแต่งและงานหมั้นที่คุณ ได้นงั่ ในต�ำแหน่งทีช่ ดิ ติดเวทีสดุ ๆ ดนตรีอะคูสติก ร้านของทีร่ ะลึกส�ำหรับแขกของ คุณ ร้านออกแบบและพิมพ์การ์ดแต่งงาน ร้านเค้ก ออแกไนเซอร์ ช่างภาพ และ ทุกอย่างที่ส่วนใหญ่มาในสีพาสเทล หรือไม่ก็สไตล์ฮิปๆ เอาใจลูกค้าหลักที่อยาก มีงานแต่งงานในฝันที่ได้เลือกและได้ออกแบบด้วยตัวเอง ภาพและข้อมูลอ้างอิง : https://onefinedayweddingfair.com.au/ -15-


Renegade Craft Fair

งานแฟร์งานทำ�มือกับชั่วโมงบิน 13 ปี ที่ไม่ว่าใครก็ร้องอ๋อ ในหลาย เมืองของสหรัฐอเมริกา และในลอนดอน สหราชอาณาจักร

ยินดีต้อนรับสู่ตลาดนัดงานท�ำมือที่มีชื่อเสียงที่สุดของผู้ผลิตงานฝีมือร่วมสมัย จากหลากหลายสาขา ย้อนกลับไปในปี 2003 งานเรเนเกรด คราฟต์ แฟร์ หรือ RCF-Renegade Craft Fair ได้เริ่มต้นจัดขึ้นเป็นครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา ด้วย เหตุผลว่าเจ้าของผลงานสินค้าท�ำมือไม่มีความพร้อมที่จะไปร่วมงานแฟร์ใหญ่ๆ ในเวลานั้น จึงใช้วิธีจัดงานขายสินค้าของตัวเองขึ้นมาเสียเลย และนี่คือความคิด สร้างสรรค์ที่ห้าวหาญของตลาดนัดผลงานท�ำมือแห่งนี้ ปัจจุบันงานเรเนเกรด คราฟต์ แฟร์ ได้กลายเป็นชุมชนใหญ่ทางด้านงาน DIY ส�ำหรับผู้ประกอบการ ขนาดเล็กและกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ชื่นชอบไปจนถึงหลงใหลในงานฝีมือ 12 ปีต่อมาในปี 2015 เรเนเกรด คราฟต์ แฟร์ ยังคงเป็นตลาดงาน DIY ที่ ใหญ่ที่สุดและมีผู้เข้าร่วมมากที่สุด ดึงดูดผู้คนกว่า 325,000 คนทั่วโลก ในงาน แฟร์จ�ำนวน 20 ครั้ง ของ 8 เมือง ได้แก่ ชิคาโก นิวยอร์ก ซานฟรานซิสโก ลอสแอนเจลิส ออสติน พอร์ตแลนด์ และซีแอตเทิล รวมถึงล่าสุดที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ส�ำหรับสิ่งที่คณ ุ จะได้เห็นจากงานเรเนเกรด คราฟต์ แฟร์ ไม่ว่า จะจัดขึ้นในเมืองไหนก็ตาม คือ คนท�ำงานฝีมือตัวจริงเสียงจริงที่มีการฝึกฝนเพื่อ ผลิตสินค้าคุณภาพ ที่ได้แก่ งานเครื่องประดับเซรามิก เสื้อผ้า งานถัก การแสดง ศิลปะภาพพิมพ์ โปสเตอร์ ของใช้ในบ้าน และอื่นๆ คนท�ำงานคราฟต์รุ่นใหม่ส่วน หนึง่ บอกว่าเรเนเกรด คราฟต์ แฟร์ เป็นแรงบันดาลใจชัน้ ดีให้กบั คนท�ำงานทีอ่ ยาก พัฒนาชิน้ งานให้กลายเป็นธุรกิจ รวมถึงการสร้างเครือข่ายเพือ่ ต่อยอด และถ้าคุณ เป็นนักช้อป คุณจะยิง่ ชอบ เพราะผูค้ า้ ส่วนใหญ่ในงานนีค้ อื เจ้าของร้านออนไลน์ใน เว็บไซต์ Etsy.com และ Bigcartel.com ที่คุณจะได้เจอตัวจริงเสียงจริง ภาพและข้อมูลอ้างอิง : 1. http://www.renegadecraft.com และ 2. https:// en.wikipedia.org/wiki/The_Renegade_Craft_Fair

-16-


Public Garden

ตลาดนัดงานดีไอวาย สร้างสีสันและแรงบันดาลใจ บนเกาะเล็กๆ พื้นที่ สร้างสรรค์หลายแห่งในสิงคโปร์

ตลาดนัดพับลิกการ์เดน อีกหนึ่งทางเลือกของตลาดนัดท�ำมือคุณภาพบ้านใกล้ เรือนเคียงที่เราอยากให้คุณหาโอกาสไปเยี่ยมชม แต่ก่อนอื่นคุณต้องมีคุณสมบัติ ตามกฎ 7 ข้อของงาน ดังต่อไปนี้ • กฎข้อที่ 1 ที่นี่เป็นเหมือนชุมชนศิลปะและงานฝีมือที่มาได้ทั้งแบบฉายเดี่ยว กลุ่มเพื่อน หรือมากันทั้งบ้าน • กฎข้อที่ 2 ที่นี่เป็นตลาดนัดศิลปะนอกเวลางาน ที่คุณต้องปล่อยวางและสนุก เต็มที่ด้วยกัน • กฎข้อที่ 3 คุณต้องพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศร้อนชื้นแบบ สิงคโปร์ (ส�ำหรับคนไทยเป็นเรื่องเล็ก) แต่ไม่ว่าจะเป็นอย่างไร บรรยากาศ ภายในงานจะท�ำให้อารมณ์คณ ุ เปลีย่ นแปลงไปในทางทีด่ จี ากพลังงานสร้างสรรค์ • กฎข้อที่ 4 เป็นตัวของตัวเอง เปิดใจกว้าง • กฎข้อที่ 5 แบ่งปันบทเรียนและประสบการณ์ • กฎข้อที่ 6 สุภาพและรักษาความสะอาด และ... • กฎข้อที่ 7 คือ กลับมา ในครั้งต่อไป ส�ำหรับงานพับลิกการ์เดน เริ่มต้นครั้งแรกในปี 2011 หรือเพียงไม่กี่ปีที่ผ่านมา จากการชักชวนของกลุ่มเพื่อนที่ท�ำงานดีไอวาย เกิดเป็นความตั้งใจสร้างพื้นที่ใน การพัฒนาสินค้าจนเป็นธุรกิจใหม่ๆ เพื่อการพัฒนาตัวเอง ส�ำหรับสมาชิกที่มา ร่วมงานก็ไม่ได้จ�ำกัดเพียงแค่ในสิงคโปร์เท่านั้น ยังมีมาเลเซีย อินโดนีเซีย ไทย และแบรนด์สินค้าแนวคิดท�ำมืออีกมากจากญี่ปุ่น ฮ่องกง ไต้หวัน และจีน คุณยัง สามารถร่วมกิจกรรมเวิรก์ ช็อปได้ดว้ ยหลังจากช้อปปิง้ และชมภาพยนตร์ทจี่ ดั ฉาย โดยใช้พื้นที่อย่างพิพิธภัณฑ์และห้องสมุดในสิงคโปร์สลับสับเปลี่ยนหมุนเวียนกัน ภาพและข้อมูลอ้างอิง : www.public-garden.com

-17-


The Great Outdoor Market

ตลาดนัด + เรื่องเล่า = ที่แฮงก์เอาต์แห่งยุคสมัย

สองเพื่อนสนิทที่ผันตัวจากงาน Urban Designer ชั่วคราว หันมาควบตำ�แหน่งนักจัดตลาดมือใหม่ โดย ให้ความสำ�คัญกับทำ�เลและ Public Space มาเป็น อันดับต้นๆ ด้วยเพราะมองเห็นเสน่หข์ องอูต่ อ่ เรือเก่าอายุ 150 ปี ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา และทำ�เลแม่น้ำ�เจ้าพระยาที่ โค้งและกว้างที่สุดในโซนกรุงเทพฯ ใต้ รวมไปถึงดาดฟ้า รกร้างแต่มากเรือ่ งราวใจกลางเมืองเอกมัย การมองเห็น ในสิ่งที่คนอื่นยังไม่เห็น และใช้ความคึกคักของ ‘ตลาด นัด’ มาร่วมปลุกพื้นที่เหล่านั้นให้มีชีวิต นี่จึงทำ�ให้ชื่อของ The Great Outdoor Market เป็นที่พูดถึงตลอด ปีที่ผ่านมา -18-

ิท ดำ�สน ิภาส า ภ ุญว : วีร เรื่อง าวรัตน์ บ : เน ภาพ

+


ตลาดนัดในอู่ต่อเรือ

จะบอกว่าตลาดนัดแห่งนี้มีจุดเริ่มต้นจากวิชาเรียนวิชาหนึ่งก็ไม่ ผิดนัก จากหน้าทีข่ องเหล่า Urban Architecture ด้านสถาปัตยกรรม ผังเมืองที่จ�ำต้องลงพื้นที่ศึกษาแหล่งชุมชนหลายๆ แห่งในกรุงเทพฯ “และวิชานี้ก็ท�ำให้เรารู้ว่ากรุงเทพฯ ของเรา ยังมีพื้นที่ดีๆ ซ่อนอยู่ อีกมาก” แอน-ภรณ์พัทธ์ สหเจริญรัตน์ หนึ่งในผู้ก่อตั้งโปรเจ็กต์ ตลาดนัดกลางแจ้งเริม่ ต้นเล่าถึงทีม่ า “จุดเริม่ ต้น จากช่วงเวลาเรียน ปี 4 ที่เราเคยท�ำโปรเจ็กต์พัฒนาพื้นที่ย่านสะพานปลา ย่านถนน เจริญกรุง เราเห็นว่าตัง้ แต่สะพานปลาไปถึงวัดยานนาวา พืน้ ทีร่ มิ น�ำ้ ตรงนี้มีความน่าสนใจมาก โดยเฉพาะอู่ต่อเรือกรุงเทพแห่งนี้ ผู้คน สัญจรไปมา แต่น้อยคนไม่เคยรู้เลยว่าตรงนี้เป็นอะไร พอถามไปว่า รูจ้ กั อูต่ อ่ เรือกรุงเทพไหม เขาก็บอกว่าอ๋อ...รูจ้ กั ตรงนีเ้ ป็นทีจ่ อดรถ ซึ่งเรารู้สึกเสียดายพื้นที่มาก” “เราอยากท�ำทีแ่ ฮงก์เอาต์ใหม่ในกรุงเทพฯ เราอยากให้คนมาใช้พนื้ ที่ ริมน�้ำ” แก้ม-ดาลี ฮุนตระกูล กล่าวเสริม “เมื่อเราติดต่อพื้นที่ตรงนี้ มาได้ โจทย์คือ Art Exhibition แต่พอวิเคราะห์ไปเรื่อยๆ หากจัด เป็นงานอาร์ต ความสนใจอาจจ�ำกัดอยู่แค่กลุ่มคนบางส่วนเท่านั้น ไปไม่ถึงคนหมู่มาก ดังนั้นค�ำตอบว่าท�ำไมต้องเป็นตลาดจึงเริ่มขึ้น แต่เป็นตลาดนัดเชิงศิลปะ มีการโชว์พื้นที่ไปในตัว เมื่อเราเรียนใน สาขานี้ เรามองว่าผู้คนควรได้มีโอกาสร่วมใช้พื้นที่ริมน�้ำเป็นพื้นที่ สาธารณะสิ เราจึงเลือกน�ำกิจกรรมลง น�ำร้านอาหารลง และตาม มาด้วยการขายของจนตอบโจทย์เป็นตลาดนัดกลางแจ้ง” จากไอเดียแรกเริม่ ของเพือ่ นสองคน พวกเขาไม่มสี ปอนเซอร์รว่ มหัว จมท้ายด้วยใดๆ มีเพียงค�ำปรึกษาและค�ำแนะน�ำจากอาจารย์ที่ภาค วิชา แรงสนับสนุนจากเพื่อน แอน ดูแลในส่วนติดต่อประสานงาน ระหว่างเจ้าของพื้นที่กับร้านค้า โดยแก้ม คุมหน้าที่ออกแบบ ดีไซน์ ให้ตลาดนัดกลางแจ้งนี้ออกมาสมบูรณ์แบบที่สุด ภายในระยะเวลา 4 เดือน จนถึงธันวาคมปี 2014 ป้ายโปสเตอร์ ใบปลิว รวมไป ถึงการโปรโมตผ่านโซเชียลมีเดียว่าเร็วๆ นี้ กรุงเทพฯ จะมีตลาด นัดสุดสัปดาห์ที่ชื่อว่า The Great Outdoor Market : Bangkok Docland ที่ทีมงานเคลมว่าจะเนรมิตอู่ต่อเรือเก่าย่านเจริญกรุง เป็นตลาดนัดมากไอเดีย (สารภาพว่า เรา-เป็นหนึ่งในผู้รับใบปลิว ประชาสัมพันธ์ครั้งนั้นก็นึกภาพไม่ออกว่า ตลาดนัดในพื้นที่ที่เคย หลบซ่อนกลางกรุงเช่นนี้จะเป็นเช่นไร ซึ่งของแบบนี้ ต้องไปพิสูจน์ ด้วยตัวเองเท่านั้นจึงจะรู้) “ตลาดนัดในอู่! มีคนถามว่าท�ำไมต้องลงไปขายในอู่” แอนหัวเราะ เธอเล่าว่า เป็นเรื่องยากในครั้งแรกมากที่จะสร้างความเข้าใจให้กับ -19-


บรรดาพ่อค้าแม่ขาย ว่าท�ำไมต้องลงไปขายในอู่ด้วย “ก็เราจัดที่อู่ ถ้าวันปกติ คุณจะไม่ได้จัดแน่ๆ เราต้องคุยกับร้าน ให้เครนยกของ แม้อยู่ข้างบนจะขายง่ายกว่าเยอะ” เธออธิบาย ไม่เพียงแต่อธิบาย เชิงโครงสร้างของท�ำเล พวกเธอยังต้องท�ำหน้าทีแ่ จ้งวัตถุประสงค์ของ การจัดตลาดครัง้ นีเ้ สียก่อนว่า เงิน ชนิดขายดีเทน�ำ้ เทท่าเหมือนขาย กลางห้างสรรพสินค้าคงไม่ใช่ค�ำตอบ แต่สิ่งที่เกิดขึ้นจากความตั้งใจ แรกนั่นคือ ต้องการให้กรุงเทพฯ มีพื้นที่สาธารณะ (public space) และที่แฮงก์เอาต์แห่งใหม่มากกว่า

ท�ำเลนี้มีเรื่องเล่า

หากมองความแตกต่างของตลาดนัดในสไตล์ของ The Great Outdoor แน่นอน ท�ำเลและเรื่องเล่าอาจเป็นจุดแข็งที่ท�ำให้พวกเขา แตกต่างจากตลาดนัดสุดสัปดาห์แบรนด์อื่นๆ อู ่ ต ่ อ เรื อ กรุ ง เทพแห่ ง นี้ ด� ำ เนิ น กิ จ การต่ อ เนื่ อ งมาจากบริ ษั ท บางกอกด๊อก จ�ำกัด ซึ่งก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2408 โดยกัปตันจอห์น บุช นักลงทุนชาวอังกฤษ และราชนาวีไทยทีเ่ ข้ามาควบคุมกิจการใน ช่วงหลังสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง และส่งคืนให้แก่ประเทศอังกฤษหลัง เสร็จสิ้นสงคราม แต่บางกอกด๊อกต้องเลิกกิจการในปี พ.ศ. 2494 และขายกิจการกลับมาเป็นของบริษัท อู่กรุงเทพ จ�ำกัด อีกครั้งเมื่อ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2495 โดยมีผลงานการต่อเรือส�ำคัญ อาทิ โครงการเรือน�้ำมันกองทัพเรือ เรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง เรือระบาย พลประจ�ำ เรือหลวงอ่างทอง เรือหลวงสุรินทร์ เรือหลวงทองหลาง เป็นต้น “ตอนเรามาเปิดอูค่ รัง้ แรกในปี 2014 เราขายความดิบ ความสดใหม่ ของพื้นที่ที่คนไม่เคยรู้ เมื่อเรากลับมาขายอีกครั้ง ครั้งที่ 2 ในปี 2015 คือ เราน�ำเสนอเรื่องราวการเฉลิมฉลอง ‘อู่ต่อเรือ 150 ปี’ ลองจินตนาการดูว่า อู่นี้เขาอยู่กับกรุงเทพฯ มานานมาก ตอนที่ เริม่ ต้นถนนเจริญกรุง นีค่ อื พืน้ ทีร่ มิ น�ำ้ เมืองก็คอ่ ยๆ ขยาย แล้วท�ำให้ กลายเป็นอู่กลางเมือง พี่ๆ ที่อู่เล่าว่า เขาเห็นมันอยู่ทุกวัน สังกะสี บางชิ้น 100 ปียังไม่ได้เปลี่ยน เครื่องไม้เครื่องมือยังอยู่ ซึ่งก่อนท�ำ ตลาดครั้งที่ 2 เราไปดูบรรยากาศจริงๆ ว่าขณะที่เรือเข้ามาซ่อมใน อูเ่ ป็นอย่างไร ทุกวันนีอ้ นู่ ยี้ งั เปิดใช้งานปกติ เห็นตอนเรือเข้า ประตู เปิด อูน่ ยี้ งั มีชวี ติ เหมือนเดิม” โดยครัง้ ทีส่ องนีเ้ อง ตลาดนัดได้แสดง นิทรรศการ RIVER FOR ALL เเละ LIGHTING INSTALLATION โดยเป็นความร่วมมือจากหน่วยงานการสนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ ริมน�้ำด้วยเช่นกัน -20-

แอน-ภรณ์พัทธ์ สหเจริญรัตน์ (ขวามือ) แก้ม-ดาลี ฮุนตระกูล (ซ้ายมือ) สองโต้โผจัดตลาดนัด ทั้งคู่จบการศึกษาด้าน สาขา วิชาสถาปัตยกรรมผังเมือง Bachelor of Urban Planning Program in Urban Architecture คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และน�ำทักษะความรู้จากการใช้พื้นที่ สาธารณะในชุมชนเมือง สู่ผลลัพธ์คือตลาดนัดที่คึกคัก www.facebook.com/thegreatoutdoormarket/


อีกหนึ่งท�ำเลที่ท�ำให้ The Great Outdoor Market ได้รับการพูด ถึงอีกครั้งในวงกว้างคือพวกเขาจัดตลาดนัดริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ใน ท�ำเลของโครงการคอนโดมิเนียมที่ก�ำลังก่อสร้างแต่ขึ้นชื่อว่า แม่น�้ำ เจ้าพระยาโค้งที่กว้างที่สุดในโซนกรุงเทพฯ ใต้ น�้ำจะนิ่ง ครั้งต่อมา เราจัดที่ Canapaya (Mini Market at Canapaya Riverfront) ตลาด นัดในบรรยากาศสบายๆ ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ที่มาพร้อมดนตรีสด บาร์กลางแม่นำ�้ โจทย์ครัง้ นีพ้ วกเขาเลือกทีโ่ มเมนต์การเดินตลาดนัด ที่ชมพระอาทิตย์ตกที่สวยงาม ซึ่งจะได้วิวคนละมุมกับพระอาทิตย์ ที่อู่ต่อเรือกรุงเทพ นับเป็นหนึ่งค�ำตอบของการเลือกใช้พื้นที่ริมน�้ำ เช่นเดียวกัน “เราเล่าเรื่องการใช้พื้นที่ริมน�้ำ คนกรุงเทพฯ ลืมการ ใช้พื้นที่ริมน�้ำไปแล้ว เราจะดึงให้คนเห็นว่ามันสวยนะ” โจทย์ ข องโลเกชั่ น แห่ ง ที่ 3 คื อ Rooftop Market พวกเขา เนรมิตอาคารส�ำนักงานและลานจอดรถย่านเอกมัย มีคอนเสิร์ต ร้านค้า เวิรก์ ช็อป และชัน้ บนสุดจะเป็นเวทีคอนเสิรต์ และพืน้ ทีน่ งั่ ชิล บนดาดฟ้าอาคาร ซึ่งโปรเจ็กต์ที่ต่อเนื่องกันนี้ท�ำให้ตลาดนัดของ พวกเขาได้รับค�ำชื่นชมว่า ‘โลเกชั่นสุดแนวที่แทบจะไม่มีอีเวนต์เจ้า ไหนเคยจัด’

มีนัด กับ ตลาดนัด

ประสบการณ์ตลอด 1 ปีที่ผ่านมา สิ่งหนึ่งท�ำให้พวกเขาเรียนรู้ว่า เสน่ห์ของตลาดนัดปลุกให้พื้นที่พื้นที่หนึ่งมีชีวิตชีวา มีผู้คน เป็นจุด นัดพบ เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ “เราดีใจที่มีกลุ่มคนทั่วไป มีครอบครัว บางคนก็พาลูกเล็กเด็กแดง มาด้วย ทุกคนมาซื้อของ มานั่งกินอาหารริมน�้ำ เขารู้สึกว่านี่เป็นที่ แฮงก์เอาต์” แก้มเล่าทิ้งท้าย ทั้งหมดล้วนเกิดจากการตั้งค�ำถามที่พวกเธอเริ่มต้นถามตัวเองใน ฐานะคนกรุงเทพฯ ขาดทีแ่ ฮงก์เอาต์ โดยเฉพาะสถานทีป่ ระหลาดๆ สร้างประสบการณ์ใหม่ๆ เพื่อจะใช้เวลาในวันหยุด ค�ำตอบคือ เมื่อ พวกเธอไม่พบเจอ ก็สร้างพื้นที่เหล่านั้นด้วยตัวเอง และค�ำตอบที่ ลงตัวที่สุดคือสร้างตลาดนัด “ตลาดนัด พาให้เราเข้าถึงคน เราไม่ อยากให้คนเดินจบแล้วออกไป อยากให้คนมาใช้พื้นที่ พ่อค้าแม่ค้า มามีกิจกรรมที่เคลื่อนไหว มีคนเดิน มีปฏิสัมพันธ์ มีกลิ่นอาหาร ให้คนรู้สึก กระตุ้นให้ตื่นเต้น ซื้อเสร็จนั่งกิน ตลาดนัดท�ำให้คนมา ใช้เวลาอยู่กับพื้นที่ “เพราะตลาดท�ำให้พื้นที่ไม่ตายล่ะ” นี่แหละเสน่ห์ของตลาดที่ท�ำให้ พื้นที่บางแห่งมีชีวิตมากกว่าที่คนเคยคาดคิด พวกเธอสรุปทิ้งท้าย -21-


: it เรื่อง umsan ok D chan

Let’s go to Flea Market

Pim

n o i n i p o ในบรรดาเหล่าตลาดนัดมากมาย ทั้งตลาดนัดจากไอจี ตลาดนัดฟลี มาร์เก็ต ไปจนถึงตลาดนัดศิลปะ ล้วนก่อให้เกิดแม่คา้ พ่อค้าหน้าใหม่ เป็นแถว แล้วในมุมมองของคนซือ้ ล่ะ พวกเขาสนุกทีจ่ ะเดินตลาดนัด เทรนด์ใหม่ของวัยรุ่นยุคนี้กันมากน้อยแค่ไหน

นายกิตติ ศุภากร | นิสิตปี 3 มศว อายุ 21 ปี ชอบเดินตลาดนัดไหม เพราะอะไร ชอบ เพราะมีของกินเยอะดี คิดอย่างไรที่ยุคนี้ วัยรุ่นมีตลาดนัดเป็นพื้นที่แฮงก์เอาต์มากขึ้น คิดว่าตลาดนัดปัจจุบันมีการพัฒนาไปกว่าเมื่อก่อนเยอะ น่าเดิน วันหยุดหรือ หลังเลิกเรียนก็มีที่ให้ไปเปิดหูเปิดตา แต่ก็ต้องห่วงความปลอดภัยเป็นหลัก บางที่ก็มีการทะเลาะวิวาท ซึ่งหลายๆ ที่มีการป้องกันที่ดีแล้ว แต่บางที่ก็ควร ให้ความใส่ใจในเรื่องความปลอดภัยเช่นกัน ไปตลาดนัดพกเงินไปกี่บาท อย่างต�่ำก็ 500 บาท แนะน�ำตลาดนัดสุดประทับใจที่เคยไปมา ตลาดนัด JJ Green ตรงจตุจักร เดินทางสะดวก ของขายเยอะ มีของกิน อร่อยๆ ด้วยครับ

พิมนวรรณ คีรีวัลย์ | นิสิต อายุ 20 ปี สินค้าที่ชอบที่สุด เวลาเดินตลาดนัด Flea Market ชอบอาหารมากทีส่ ดุ เพราะทุกครัง้ ทีไ่ ปคือตัง้ ใจไปกิน แต่มกั จะ หมดเงินไปกับเสื้อผ้า ของใช้จุกจิกๆ มากกว่า ไปตลาดนัดพกเงินไปกี่บาท แล้วแต่ว่าจะไปซื้ออะไรมากกว่า ถ้าไปเดินชิลๆ กินนู่นนี่ 500 1,000 บาท ก็พอแล้ว แนะน�ำตลาดนัดสุดประทับใจที่เคยไปมา JJ GREEN เพราะที่นี่ครบเครื่อง มีทุกอย่างเลยตั้งแต่อาหาร เสื้อผ้า ของใช้ มือหนึ่งมือสอง ร้านขนมน่ารักๆ ของกินแปลกๆ -22-


นางสาวศิวรักษ์ ศิริภาณุรักษ์ | นักศึกษา อายุ 20 ปี ชอบเดินตลาดนัดไหม เพราะอะไร ชอบ เพราะมีของให้เลือกดูเลือกซือ้ หลากหลาย สินค้าส่วนใหญ่ ก็มีราคาถูกกว่าในห้างสรรพสินค้า สินค้าที่ชอบที่สุดเวลาเดินตลาดนัด Flea Market มักจะหมดเงินไปกับของกิน เพราะการกินเป็นสิ่งที่ท�ำแล้วมี ความสุขที่สุด คิดอย่างไรที่ยุคนี้วัยรุ่นมีตลาดนัดเป็นพื้นที่แฮงก์เอาต์มาก ขึ้น คิดว่าดีค่ะ เพราะว่าสินค้าในตลาดนัดส่วนใหญ่มีราคาที่ถูกกว่า ในห้าง ท�ำให้เราได้ซื้อสินค้าที่มีราคาถูกลง ไปตลาดนัดพกเงินไปกี่บาท ประมาณ 300 – 500 บาท แนะน�ำตลาดนัดสุดประทับใจที่เคยไปมา ตลาดนัดรถไฟรัชดาค่ะ เพราะว่าอยู่ใกล้หอพักแล้วก็เดินทาง สะดวก ที่ส�ำคัญคือมีของกินให้เลือกเยอะมาก ชอบมาก

นายวรากร อินทรทุ่ม | นิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา อายุ 20 ปี ชอบเดินตลาดนัดไหม ชอบเดินตลาดนัด (โดยเฉพาะกลางคืน) เพราะสิ่งของที่ต้องการมารวม กันอยูใ่ นทีเ่ ดียวกัน และสามารถจับจ่ายใช้สอยสินค้าได้อย่างสะดวกสบาย สินค้าที่ชอบที่สุด เวลาเดินตลาดนัด Flea Market ชอบเสื้อผ้าและของแต่งห้อง งานดีไซน์โชว์ความคิดสร้างสรรค์ต่างๆ คิดอย่างไรที่ยุคนี้วัยรุ่นมีตลาดนัดเป็นพื้นที่แฮงค์เอาต์มากขึ้น เป็นสิง่ ทีด่ คี รับ เพราะพบเจอกันได้งา่ ย และสามารถรูจ้ กั เพือ่ นใหม่ได้ตาม พืน้ ทีส่ งั สรรค์ของตลาดนัด แถมตลาดนัดยังมีของแปลกใหม่มาให้เลือกซือ้ หมุนเวียนกันไปอยู่ตลอดปี ไปตลาดนัดพกเงินไปกี่บาท พกไป 1,000 – 1,500 บาท (พกเยอะหมดเยอะ) -_แนะน�ำตลาดนัดสุดประทับใจที่เคยไปมา ชอบทีส่ ดุ ก็ตลาดนัดใกล้บา้ นอย่างตลาดนัดรถไฟศรีนครินทร์ครับ ตรงโซน โกดังรถเก่า หรือโซนโกดังมันดูคลาสสิกและโบราณดี

-23-


ศศิวิมล รุจิเรขาวณิชย์ | นักศึกษา อายุ 19 ปี ชอบเดินตลาดนัดไหม ชอบ เพราะมีอาหารน่ากินเยอะมาก และหลากหลาย ทัง้ ของหวานและของคาว อร่อยบ้างไม่อร่อยบ้าง แต่ก็ you get what you pay สินค้าที่ชอบที่สุดเวลาเดินตลาดนัด Flea Market ชอบขนมหวาน มีหลายร้านให้เลือก ชอบกินร้านทีข่ นมน่ารักๆ เย็นๆ ส่วนใหญ่ หมดเงินกับเสื้อเชิ้ต เพราะเสื้อเชิ้ตแพงกว่าเสื้อยืด ไปตลาดนัดพกเงินไปกี่บาท ประมาณ 1,000 บาท แล้วแต่พ่อจะเมตตา แนะน�ำตลาดนัดสุดประทับใจที่เคยไปมา จริงๆ ก็ไม่ชอบตลาดไหนเป็นพิเศษ แต่ถ้าให้เลือกน่าจะเป็น JJ เพราะใหญ่ ที่สุดแล้วข้างๆ มี JJ Green เปิดช่วงหัวค�่ำ แนะน�ำกุ้งถัง ถูกและอร่อยมากๆ

จันทร์รวี พีรพันธุ์ | อาชีพ Teacher Assistant อายุ 24 ปี ชอบเดินตลาดนัดไหม ชอบค่ะ ชอบบรรยากาศของตลาดนัด เดินชิลกับเพื่อนได้สบายๆ มีของ หลากหลาย สินค้าที่ชอบที่สุดเวลาเดินตลาดนัด Flea Market ของกินทั้งหลาย อาหาร ขนม เครื่องดื่ม คิดอย่างไรที่ยุคนี้วัยรุ่นมีตลาดนัดเป็นพื้นที่แฮงก์เอาต์มากขึ้น ชอบเลย เพราะว่ากรุงเทพฯ เราไม่ค่อยมีพื้นที่อย่างสวนสาธารณะมากนัก เมือ่ ก่อนเวลานัดเพือ่ นกันก็มกั จะต้องนัดเป็นห้างสรรพสินค้าเป็นส่วนใหญ่ พอ มีตลาดนัดเลยมีพื้นที่ข้างนอกให้ไปมากขึ้น ได้เปลี่ยนบรรยากาศไปอีกแบบ ไปตลาดนัดพกเงินไปกี่บาท ประมาณ 500 บาท

ศุภเดช โพธิเทนชัย | อาชีพ production อายุ 22 ปี ชอบเดินตลาดนัดไหม ชอบ เพราะได้เห็นสินค้าแปลกตาแปลกใหม่ สินค้าที่ชอบที่สุดเวลาเดินตลาดนัด Flea Market รองเท้ามือสอง ไปตลาดนัดพกเงินไปกี่บาท แล้วแต่ว่าช่วงนั้นจะช็อตหรือไม่ช็อต ส�ำหรับคุณ การเดินตลาดนัดของคุณเป็นแบบไหน ตั้งใจไป เดิน แต่ไม่ซื้อ หรือตั้งใจไปซื้อ แต่ไม่เดิน ตั้งใจไปซื้อแต่ไม่เดิน -24-


Muse Opinion

อาหาร ขนม เป็นสินค้าที่คนเดินตลาดนัด ยินยอมพร้อมใจกันจ่ายเงินซื้อมากที่สุด

อารีรัตน์ เผ่าดี | พนักงานบริษัท และเจ้าของร้าน Craft

and Me และ Hugberry เคยออกบูธงาน Zapp on Sale, Portobello Market และอื่นๆ ชอบเดินตลาดนัดไหม ชอบ เพราะสินค้าหลากหลาย เจอของแปลกๆ ดีๆ ที่ไม่มีขาย ในห้าง สินค้าที่ชอบที่สุดเวลาเดินตลาดนัด Flea Market อาหาร คิดอย่างไรที่ยุคนี้วัยรุ่นมีตลาดนัดเป็นพื้นที่แฮงก์เอาต์มาก ขึ้น เป็นพื้นที่ใหม่ๆให้วัยรุ่นได้แสดงไอเดียของตัวเอง ทั้งในฐานะ แม่ค้าพ่อค้า ผลิตสินค้าแฮนด์เมดไม่ซ�้ำใคร ในฐานะลูกค้าก็ได้ ใช้ของที่ดี ไปตลาดนัดพกเงินไปกี่บาท ให้งบตัวเองไว้ 1,000 บาท ส�ำหรับคุณ การเดินตลาดนัดของคุณเป็นแบบไหน ตั้งใจไป เดิน แต่ไม่ซื้อ หรือตั้งใจไปซื้อ แต่ไม่เดิน ตั้งใจไปเดิน แต่ไม่ซื้อ (ซื้อถ้าเจอของถูกใจ)

-25-

500 – 1,000 บาท คือจำ�นวนเงินที่พกไปเดินตลาดนัด

‘ชอบเดินตลาดนัด เพราะที่ตลาดนัดมีสินค้า ที่ไม่เหมือนในห้าง’ นี่คือเหตุผล ที่คนเดินตลาดนัดให้คำ�ตอบ ว่าทำ�ไมพวกเขาถึงชอบเดินตลาดนัด


เรื่อ

nk

t Pi

af ง:D

d r a w for

เปิดศักราชใหม่ในช่วงเทศกาลออสการ์ก�ำลังจะมาถึง และนี่คือความบันเทิงต้นปีที่เราอยากให้คุณอิน

ieดู v o M นังน่า ห

The Revenant ต้องรอด

ลีโอจ๋า คว้าออสการ์สกั ทีเถอะ! กระแสล้อเลียนเชิงให้กำ� ลังใจพ่อหนุม่ ลีโอในโลกโซเชียลมีเดียฮิตถล่มทลายมาทุกๆ ปี และปีนี้ก็เป็น ที่จับตา เพราะบทและฟอร์มของหนังโดยฝีมือผู้ก�ำกับออสการ์ อเลฮานโดร จี อินาร์ริตู ชวนให้หนังเรื่องนี้น่าติดตามอีกทวีคูณ หนังเล่าจากแรงบันดาลใจจากเหตุการณ์จริง ในปี 1823 ยุคที่ อุตสาหกรรมขนสัตว์เป็นพลังขับเคลื่อนใหม่ในเศรษฐกิจสหรัฐ ใน ยุคที่ผู้คนมองว่าธรรมชาติตัวเล็กกว่าตัวเอง พวกเขาจึงไหลบ่าเข้าสู่ ดินแดนใหม่ ล่องไปตามแม่นำ�้ ทีไ่ ม่อยูใ่ นแผนที่ หายตัวไปในป่าและ แสวงหาความตื่นเต้นและผลก�ำไรด้วย บางครั้งท�ำให้เขาต้องห�้ำหั่น กับชนพื้นเมืองในพื้นที่ รวมไปถึงเป็นผู้ล่า แต่หนังเรื่องนี้ก�ำลังเล่า กลับกัน วันหนึ่งจากผู้ล่าต้องกลายเป็นผู้ถูกล่าล่ะ เมื่อนักส�ำรวจในต�ำนาน ฮิวจ์ กลาส (ลีโอนาร์โด ดิคาปริโอ) ถูก หมีกริซลีขย�ำ้ ขณะเดินทางในดินแดนรกร้างซึง่ ยังไม่ได้รบั การส�ำรวจ ทั้งยังถูกเพื่อนร่วมทีมล่าสัตว์ทิ้งเอาไว้กลางป่า กลาสซึ่งอยู่ตาม ล�ำพังในสภาพปางตายกลับปฏิเสธที่จะยอมแพ้ และเพราะศรัทธา ต่อการมีชีวิตอยู่และความรักแด่ภรรยาชนพื้นเมืองและลูกชาย สัญชาตญาณจึงน�ำพาให้เขาเอาตัวรอด ผ่านระยะทาง 200 ไมล์ ณ ดินแดนตะวันตก หนังถ่ายท�ำในแคนาดาและอาร์เจนตินา แน่นอน ว่าดิบ สวย และตราตรึงแน่นอน ก�ำหนดฉาย : 4 กุมภาพันธ์ -26-


HANA’S MISO SOUP

ซุปมิโซะ รสมือแม่ หนังญี่ปุ่นหัวใจอบอุ่น ที่เล่าความผูกพันของแม่ กับลูกผ่านเมนูอาหาร ถ่ายทอดความรักของแม่คนหนึง่ ทีม่ ตี อ่ ลูกน้อย ผ่านซุปชามโปรด หลังจากทีเ่ ธอรูว้ า่ ตัวเองจะมีชวี ติ อยูไ่ ด้อกี แค่ 1 ปี! สร้างจากเรื่องจริงของ จิเอะ หญิงสาวที่รู้ตัวว่าป่วยเป็นมะเร็ง และ เธอมีลูกสาวตัวน้อยนามว่า ฮานะ ทันทีที่รู้ว่าตัวเองจะมีชีวิตอยู่อีก ไม่นาน จิเอะเริ่มต้นเขียนบันทึกข้อความและเมนูอาหารต่างๆ เพื่อ ให้ในวันที่ฮานะเติบโตเธอจะเข้มแข็งและยืนหยัดได้ นี่เป็นอีกหนึ่ง ตัวอย่างว่า ความรัก ความทรงจ�ำ ถ่ายทอดผ่านอาหารได้จริงๆ ก�ำหนดฉาย : 17 มีนาคม

k ่าน o o b ชวนอ ือ

WANDER BOY

หนังส

เส้นทางยังเยาว์วัย

โดย ทีปกร วุฒิพิทยามงคล ราคา 285 บาท | ส�ำนักพิมพ์ : แซลมอน ตอนเป็นเด็กอยากรีบโตเป็นผูใ้ หญ่ แต่พอได้เป็นผูใ้ หญ่แล้วเชือ่ ว่าหลายคนคงอยาก กลับไปเป็นเด็ก เช่นเดียวกับนักเขียน นักวาดภาพประกอบคนนี้ ‘แชมป์-ทีปกร วุฒิพิทยามงคล’ เขาคิดถึงความตื่นเต้น ความกล้าแบบไม่รู้เหนือรู้ใต้ของตัวเอง ที่มันหายไป ทิ้งไว้เพียงความเฉื่อยเฉย (ปรากฏการณ์นี้พบในวัยผู้ใหญ่ใกล้เข้า หลัก 3 เป็นต้นไปจริงๆ นะ) แต่แล้ววิธีบ�ำบัดของเขาคือการแพ็กกระเป๋าออก จากบ้าน เขาเดินทางออกจากเซฟโซนสู่เดนมาร์ก เยอรมนี เบลเยียม และ เนเธอร์แลนด์ เพือ่ ย้อนรอยเส้นทางกลับไปหาแรงบันดาลใจเมือ่ วัยเด็ก ด้วยการขับ รถข้ามไปในแต่ละประเทศ ประเดิมทริปโดยการเจอ ฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์เซน ตามรอยของเล่นสุดฮอตตลอดกาลในใจหลายคนที่เลโก้แลนด์ แปลงร่างเป็นยักษ์ ในพิพิธภัณฑ์หุ่นจ�ำลองเมืองจิ๋วที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เที่ยวงานวัดในเยอรมนี ดินแดนแห่งบอร์ดเกม เยี่ยมบ้านนักเขียนการ์ตูนสุดคลาสสิก ตินติน และอีก หลายหลากสถานที่เพื่อทวงคืนวัยเยาว์ของตัวเอง -27-


TASCHEN 4 Cities

นึกถึงการเดินทางใน 4 เมืองใหญ่ อย่างลอนดอน เบอร์ลิน ปารีส และนิวยอร์ก เห็นทีคงจะต้องเปิดไกด์บุ๊กจาก 4 เมืองใหญ่ โดย ส�ำนักพิมพ์ TASCHEN ที่ออก 4 ซีรีส์ เที่ยว 4 เมือง เพลินๆ กับ 16 เล่ม ที่ยกไฮไลต์ทั้งที่กิน ที่เที่ยว ที่ช้อปปิ้ง ไปลอนดอน ไม่ควรพลาดภัตตาคารของเจมี โอลิเวอร์ เยือนเบอร์ลินคุณจะเห็น ซิกเนเจอร์ของประตูเขียวทรงวินเทจทีม่ เี อกลักษณ์ หม�ำ่ ชีสเค้กตาม แบบฉบับนิวยอร์กเกอร์ และเลือกสรรมาการองรสชาติดีแบบสาว ปาริเซียงซะ แม้ไกด์บุ๊กนี้จะออกมาหลายปี แต่ข้อมูลท่องเที่ยวยัง เหมาะแก่การอัพเดตและชวนสนุกได้อยู่

Little Black Book

http://www.taschen.com

มาตะลุยตลาดที่อินเดียกันเถอะ!

Zine Festival

’s Whant i nth o this M

ในยุคดิจิทัลที่ใครบอกว่า หนังสือเป็นสื่อที่คนมองข้ามไปแล้ว เทรนด์ของหนังสือท�ำมือและบรรดาหนังสือนอกกระแส ผลิตโดย นักเขียน พิมพ์เอง ขายเอง เล่าเรื่องเอง ก�ำลังได้รับความนิยม อีกครั้งที่วอชิงตัน ดี.ซี. และได้รับความนิยมชนิดเป็นเฟสติวัล เลยล่ะ http://riverbybooksdc.com

hot b we

เมืองนิวเดลี ประเทศอินเดีย นับเป็นมหานครที่ผู้คนพลุกพล่าน มี ตลาดให้เดินขวักไขว่ และมีมุมหลายๆ มุมที่คนอาจไม่เคยรู้ ซึ่งพอ แวบแรกที่เราได้เห็นเว็บไซต์นี้ ท�ำให้เราอยากปักหมุดทันใด เพราะ เป็นเว็บไซต์ที่เปิดโลกให้เห็นว่าอินเดียมีอะไรมีมากมายที่เราคาด ไม่ถึง ทั้งกลุ่มคนรุ่นใหม่ ดีไซเนอร์ ครีเอทีฟ รวมไปถึงเหล่า บรรดาคราฟต์เมกเกอร์ที่ท�ำให้เดลีเป็นเมืองที่มีสีสันจัดจ้านไม่แพ้ ฝัง่ อเมริกาหรือยุโรปเลยล่ะ ไม่วา่ จะเป็นวินโดว์ดสิ เพลย์รา้ นเบเกอรี่ เวิร์กช็อปปลูกต้นไม้จิ๋วในขวดแก้ว เซตน�้ำหอมน�้ำปรุงตามแบบดิน แดนภารตะที่แฝงความความคิดสร้างสรรค์ด้านแพ็กเกจจิ้งสุดฤทธิ์ หรือแม้แต่ผลิตภัณฑ์ดแู ลเคราดกต�ำรับหนุม่ อินเดียทีด่ ไี ซน์ประหนึง่ หลุดมาจากบรุกลิน หรือแกลเลอรีนั่นเป็นหนึ่งสิ่งที่เหล่าคนรุ่นใหม่ อินเดียนกระซิบเราว่า อินเดียยังคงเป็นหมุดหมายที่น่าจับตามอง และน่าค้นหาเป็นอันดับต้นๆ ของเอเชียไม่เสื่อมคลาย https://lbb.in/delhi -28-


art

นิทรรศการ

The Making of Golden Teardrop

จัดแสดงที่หอศิลป์บ้านจิม ทอมป์สัน ถึงวันที่ 22 มีนาคม ร่วมทบทวนประวัติศาสตร์ชาติผ่านขนมทองหยอด โดยนิทรรศการ The Making of Golden Teardrop (ทองหยอด) ผลงานชิ้นส�ำคัญ ของ อริญชย์ รุ่งแจ้ง ศิลปินไทยผู้มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติ ที่ ตีความประวัติศาสตร์แบบใหม่ โดยการใช้ขนมทองหยอดเป็นจุด เริ่มต้น ประกอบไปด้วยผลงานประติมากรรมทองเหลืองรูปทรง ทองหยอดขนาดเล็กกว่า 5,000 ชิ้น และงานสารคดีความยาว 30 นาที รวมทั้งภาพถ่ายและเอกสารที่ศิลปินค้นคว้าและวิจัยใน เทศกาลสัมผัสเทศกาลที่ผสมผสานทั้งสาระและความบันเทิงไว้ใน งานเดียวกัน สร้างสีสนั และคุณค่าให้กบั พืน้ ทีท่ า่ เตียน ด้วยงานศิลป ระหว่างการท�ำงานชิ้นนี้ วัฒนธรรมร่วมสมัยทางประวัติศาสตร์ของกรุงเทพฯ พร้อมสนุกกับ ประติมากรรมทองเหลืองที่โดดเด่นเป็นประกายแวววาวสวยงาม กิจกรรมสร้างสรรค์ อาทิ ร่วมวงเสวนากับนักคิดนักเขีนชาวไทย นั้น คือการน�ำเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยจากบันทึกและเรื่องเล่าในอดีต ที่ และชาวต่างชาติ การฉายภาพยนตร์ ร่วมสนุกกับวงดนตรี ฮิวโก้ บ่งบอกถึงความเชื่อมโยงของพื้นถิ่นกับนานาชาติผ่านการเดินทาง ปาล์มมี่ Greasy Cafe อรอรีย์ วงพาราไดซ์ บางกอก หมอล�ำอินเตอร์ ของอาหาร ทั้งเรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์ของการค้าน�้ำตาลผสม เนชั่นแนล กิจกรรมเวิร์กช็อปวาดภาพ ท�ำอาหาร และอีกมากมาย กับเรื่องเล่าจากบุคคลทั้งไทย กรีซ โปรตุเกส และญี่ปุ่น ระหว่างยุค งานจัดขึ้นในวันเสาร์และอาทิตย์ที่ 13-14 กุมภาพันธ์ ตั้งแต่เที่ยงวัน ล่าอาณานิคม ช่วงศตวรรษที่ 15-17 และยุคสมัยใหม่ในศตวรรษที่ ถึงเทีย่ งคืน บริเวณจักรพงษ์วลิ ล่า มิวเซียมสยาม และโรงเรียนราชินี 20-21 ทีเ่ กีย่ วข้องกับขนมทองหยอด นี่คอื หนึ่งตัวอย่างของการรับรู้ https://www.facebook.com/bangkokedge ‘รสชาติ’ ผ่านงานศิลป์

เทศกาลบางกอกแหวกแนว

-29-


Season

4

The Infini te v sco Di

er

y

¤¹ ¾

: ะภาพ ิการ ล แ ง เรื่อ รณาธ บร กอง

n i k c che

º » Ã Ð Ê º ¡ Ò Ã ³ ã

ÁÃ Ë Áä

Ù¨º

กลับมาอีกครั้ง! บัตรท่องเที่ยวพิพิธภัณฑ์ของคนรุ่นใหม่ ‘Muse Pass Season 4’ ที่ ด�ำเนินต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 โดยมาพร้อมกับแนวคิด The Infinite Discovery ค้นพบ ประสบการณ์ใหม่ไม่รู้จบ โดยปีนี้มีพิพิธภัณฑ์แห่งใหม่เข้าร่วมมากยิ่งขึ้น รวม 40 แห่งทั้งกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด และมีร้านค้าเข้าร่วม 21 แห่ง พร้อมกับระยะเวลา เพลิดเพลินนานขึ้น

สิทธิประโยชน์ / Privileges

• เข้าชมพิพธิ ภัณฑ์และแหล่งเรียนรูใ้ นโครงการจ�ำนวน 40 แห่ง โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย • รับส่วนลดพิเศษจากร้านค้าที่ร่วมรายการ 21 แห่ง

-30-


Muse Pass

สวนสตัวดสุติ

ถ.พระราม 5

มหาวทิยาลยั ราชภฎัสวนสนุนัทา

Season 4

ลานพระรปูทรงมา

หอสมดุแหงชาติ ถ.ศรอียธุยา

ค้นพบประสบการณ์ใหม่ไม่รู้จบ

วดัเบญจมบพติร

ถ.สามเสน

ถ.พษิณ

ุโลก

คลอง ผดงุ ถ.กร กรงุเกษม งุเกษ ม

สะพานพระราม 8

นนินอก ถ.ราชดำเ

ถ.ว

สิทุ ธกิษ

ปอมพระสเุมรุ

ตัรยิ 

คลองบางลำพ ู

ถ.พร

ะอาท

ติย

ถ.พระสเุมรุ

วดัชนะสงคราม

กลา

แมคโดนลั

อนสุาวรยี ประชาธปิไตย

นนินอ ถ.ราชดำเ

โลหะปราสาท ลานพลบัพลา มหาเจษฎาบดนิทร

ศาลาวาการ กทม.

เสาชงิชา

วง

ศาลหลกัเมอืง

เมอื

ำรงุ ถ.บ

ะลา

วดัพระแกว

รมย

สราญ

อด

งหล

คลอ

าพร

ถ.หน

ถ.มหาไชย

วดัสทุศัน

มหล

สนา

ยา พระ

ดิ โอล สยาม

รงุ

ิ ก รญ

ถ.เจ

ชวนออกตามล่าค้นหาประสบการณ์ใหม่ไปกับแหล่งเรียนรู้ทั่วไทย ครบรสความสนุกด้วยกิจกรรมและสิทธิพเิ ศษเหนือใคร ในราคา 199 บาท พร้อมสิทธิพิเศษมาช้อป ชิม ชิล กับ Voucher จากร้านค้า ชื่อดัง มอบความพิเศษนี้ให้แก่คุณ ยวงั ถ.ทา

ถ.ม

หาร

วัดโพธิ์

าช

โรงเรยีน วดัราชบพติร

โรงเรยีนสวนกหุลาบ

สน.พระราชวงั

วิธีสนุกกับบัตร Muse Pass

• แสดงบัตร Muse Pass ณ จุดให้บริการทุกแห่ง • บัตร 1 ใบ / 1 ท่าน / ที่ละ 1 ครั้ง

ร่ ว มค้ น หาแรงบั น ดาลใจครั้ ง ใหม่ ที่ จ ะท� ำ ให้ คุ ณ สนุ ก กว่ า เดิ ม ซื้อบัตร Muse Pass ได้ที่มิวเซียมสยาม พิพิธภัณฑ์ที่เข้าร่วม เพลิดเพลินกว่าเดิม และเรียนรู้ได้มากกว่าเดิม กับพิพิธภัณฑ์ที่เข้า โครงการ และ KTC Touch ทุกสาขา และซื้อทางออนไลน์ได้ที่ KTC ร่วมโครงการทัง้ 5 ประเภท 40 แห่ง ได้แก่ พิพธิ ภัณฑ์ประวัตศิ าสตร์ และโบราณคดี พิพิธภัณฑ์ศิลปวัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น World Travel Service พิพิธภัณฑ์ของสะสม พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และธรรมชาติวิทยา ระยะเวลาการจ�ำหน่ายบัตร : วันนี้–30 กันยายน 2559 เพราะการเที่ยวพิพิธภัณฑ์คือการเติมพลังสมองเคลื่อนที่ คุณจะได้ บัตรมีอายุ 1 ปี นับจากวันที่ซื้อ สัมผัสกับคลังความรู้ที่มีชีวิต และพิพิธภัณฑ์หลายแห่งก็มีมุมมอง ที่สนุกกว่าที่คิด โรงเรยีนราชนิี

ปากคลองตลาด

สะพานพระปกเกลา

้ำเจา

แมน

Muse Pass สวน

ทุธ สะพานพ

ปนเ

หาง ตั้ง ฮั่ว เส็ง

ถ.จกัรพงษ

พาน

ถ.ราชวถิี

สะพานซังฮี้

-31-



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.