{ข่าวสารการอนุรักษ์} ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม 2560

Page 1

{ขาวสารการอนุรักษ}

ปที่ 5 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม 2560

เรียน เครือขายพิพิธภัณฑ ขาวสารการอนุรักษฉบับนี้เปนฉบับปฐมฤกษป 2560 เปนฉบับที่ สพร. จะพาเพื่อนเครือขายพิพิธภัณฑ เปดมุมมองการดำเนินงานดานการอนุรักษ ณ The National Palace Museum เมืองไทเป ประเทศไตหวัน เปนสถานที่รวบรวมและจัดแสดงโบราณวัตถุ และศิลปวัตถุอันทรงคุณคา และสำคัญทางประวัติศาสตร อยางยาวนาน นอกจากนี้ภายในเลมยังคงนำเสนอเกร็ดความรูการทำความสะอาดภาพดวยวิธีงายๆ ใน คอลัมนรักษ วัตถุ เพื่อใหเครือขายพิพิธภัณฑนำไปใชและสงตอความรูไปยังผูสนใจ สพร.หวังเปนอยางยิ่งวาทานจะไดรับความรูอยางเพลิดเพลินไปกับจดหมายขาวการ อนุรักษฉบับนี้ นายราเมศ พรหมเย็น ผูอำนวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ

กิจกรรม เมื่อวันที่ 3-8 ตุลาคม 2559 เจาหนาที่สถาบันพิพิธภัณฑ การเรียนรูแหงชาติ รวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของไดเดินทางไป ศึกษาดูงานพิพิธภัณฑในประเทศไตหวัน ตามโครงการพัฒนา ความรวมมือเพื่อถายทอดองคความรูกับเครือขายพิพิธภัณฑ ในครั้งนี้ไดเขาศึกษาพิพิธภัณฑหลักจำนวน 2 แหง คือ Southern Branch of The National Palace museum ตั้งอยูที่ เมือง Chiayi และ The National Palace Museum ตั้งอยูที่เมือง Taipei

หนา 1


PHOTO HERE

จากการเดินทางไปศึกษาดูงาน Southern Branch of The National Palace museum และ The National Palace Museum ณ ประเทศไตหวัน หองคลังโบราณวัตถุและหองปฏิบัติการจึงขอนำเสนอผลการศึกษาในครั้งนี้ใหแกเครือขายฯ โดยขาวสารการอนุรักษฉบับนี้จะขอนำเสนอแผนกอนุรักษของ The National Palace Museum เมืองไทเป แผนกอนุรักษของ The National Palace Museum ตั้งอยูที่ชั้นใตดินและบริเวณชั้น 1 ของอาคารสำนักงานพิพิธภัณฑ วั ต ถุ ป ระสงค ใ นการก อ ตั ้ ง แผนกอนุ ร ั ก ษขึ ้ น เพื ่ อ ทำการอนุ ร ั ก ษ ร ั ก ษาสภาพวั ต ถุ พ ิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ใ ห ส มบู ร ณ การอนุรักษจดหมายเหตุและพงศาวดารตางๆ งานอนุรักษเพื่อเตรียมวัตถุในการจัดแสดง และงานอนุรักษเพื่อนำไปใชใน การศึกษาวิจัย งานอนุรักษ The National Palace Museum แบงหองอนุรักษตามประเภทของวัตถุ ดังนี้ หองที่ 1 หองอนุรักษอักษรศิลป (Callography) เปนหองที่ใชในการอนุรักษตัวอักษร ทั้งดานการจัดเก็บดูแลรักษา และซอมแซม อักษรศิลปที่สงมาทำการอนุรักษจะอยูบนวัสดุหลากหลายประเภท ไดแกวัสดุประเภทกระดาษ หนังสือ สิ่งทอและผาชนิดตางๆ อาจอยูในรูปแบบงานที่เปนเลม แบบขึงบนผาใบ แบบแขวน เปนตน ดังนั้น เจาหนาที่จึงตอง ศึกษา คนหาเทคนิคการซอมแซมใหเหมาะสมตามรูปแบบงานตางๆ งานอนุรักษอักษรศิลปเปนงานที่ตองใชความประณีต เพื่อใหไดงานที่มีคุณภาพ จึงเปนงานที่ตองหมั่นดำเนินการอยูตลอดเวลา และตองใชระยะเวลาในการลงมือปฏิบัติงาน ทั้งนี้ The National Palace Museum ไดดำเนินงานอนุรักษอักษรศิลปมาเปนระยะเวลา 50 ปแลว ในแตละชวงที่ตอง ดำเนินการการซอมแซม ทางแผนกอนุรักษจะมีการฝกอบรมเจาหนาที่กอนลงมือปฏิบัติงานทุกครั้ง การศึกษาเยี่ยมชมหองอักษรศิลปในครั้งนี้ ทางหองอยูระหวางดำเนินการอนุรักษอักษรศิลปที่ไดมาจากเมืองปกกิ่ง และอักษรศิลปที่ไดจากการจัดซื้อมา เพื่อนำไปจัดแสดงในนิทรรศการหมุนเวียนของพิพิธภัณฑ (นิทรรศการหมุนเวียน แตละครั้ง มีระยะเวลาจัดแสดง 3 เดือน) หองที่ 2 หองอนุรักษเอกสารเกา เปนหองสำหรับซอมแซมงานหนังสือเกา เอกสาร และแผนที่ ซึ่งนำมาจาก ราชสำนักในวังหลวง สาธารณรัฐประชาชนจีน เทคนิคการอนุรักษหนังสือเกาที่นาสนใจมีดังนี้ การอนุรักษหนังสือหรือ เอกสารบางชิ้น หากเนื้อในหนังสือหรือเอกสารยังคงความสมบูรณ มีการชำรุดเฉพาะแคสวนปกเทานั้น เจาหนาที่จะทำ การอนุรักษเฉพาะสวนปก สวนเนื้อในที่ยังสมบูรณจะยังคงรักษาใหคงเดิมไว ในการอนุรักษกระดาษ มักพบวากระดาษ มักจะมีรองรอยชำรุด เปนรูโหว เจาหนาที่จะนำเยื่อกระดาษบางๆ ชิ้นเล็กๆ มาซอมแซม (ใชเยื่อของกระดาษสา) โดยวิธี การตรึงเยื่อกระดาษลงไปในชองที่เปนรูโหวเพื่อปดรู การอนุรักษเอกสารเนนการซอมแซมเฉพาะจุด ซึ่งตองใชสมาธิใน การทำงานเพราะทุกอยางเปนงานประณีต ในกรณีชิ้นงานใหญดังเชนแผนที่ เจาหนาที่จะตองนำมาสงมอบใหผูเชี่ยวชาญ แผนกอนุรักษเพื่อทำการซอมแซม กอนนำไปจัดแสดงเปนระยะเวลาอยางนอย 1 ป เพราะเปนงานที่ตองใชระยะเวลา นานในการซอมแซม หนา 2


หองที่ 3 หองอนุรักษวัตถุมีเจาหนาที่ปฏิบัติการประจำหองจำนวน 4 คน โดยมีการแบงพื้นที่เปนสัดสวน ประกอบ ดวยหองสตูดิโอถายภาพ หองเอ็กซเรย (X-Ray) หองควบคุมแสงสวาง หองคลังเก็บวัตถุ หองทำความสะอาด สำหรับลางมือ และลางสวนผสมสำหรับงานอนุรักษ ทั้งนี้ยังมีหองอนุรักษวัตถุประเภทผา ซึ่งทางเจาหนาที่แผนกอนุรักษของพิพิธภัณฑไมไดนำคณะศึกษาดูงาน ในการดำเนินการนำวัตถุเขาสูการอนุรักษ ทางพิพิธภัณฑไดลำดับขั้นตอนไวอยางละเอียด ตามรายละเอียดดังนี้ ขั้นตอนที่ 1: กอนดำเนินการอนุรักษ - กรอกแบบฟอรมในใบสงซอมเปนลายลักษณอักษรตอแผนกอนุรักษ - สงมอบวัตถุเพื่อทำการอนุรักษกับผูเชี่ยวชาญแผนกอนุรักษ - กอนดำเนินการอนุรักษเจาหนาที่ที่เกี่ยวของตองตรวจสอบตามขั้นตอนและลงชื่อรับมอบวัตถุ หมายเหตุ: ใบสงซอมมีรายการที่ตองกรอกรายละเอียด ไดแก รายละเอียดของวัตถุที่นำมาซอม แจงรายละเอียด วาตองซอมสวนใดบาง ทั้งนี้ผูสงซอม และผูรับซอมตองเซ็นชื่อ พรอมลงวัน เดือน ป ในวันสงซอม จากนั้นเจาหนาที่จะ นำใบสงซอมไปบันทึกลงฐานขอมูลในคอมพิวเตอรเพื่อใหเจาหนาที่ของพิพิธภัณฑเขาถึงขอมูลได ขั้นตอนที่ 2: ระหวางดำเนินการอนุรักษวัตถุ เจาหนาที่จะทำการบันทึกภาพ และรายละเอียดของการอนุรักษ (ตั้งแตการเริ่มอนุรักษถึงเสร็จสิ้นการอนุรักษ) กรอกแบบฟอรมบันทึกงานอนุรักษ (NPM Conservation Laboratory Record) ในรูปแบบเอกสารและไฟลดิจิทัล ขั้นตอนที่ 3: หลังดำเนินการอนุรักษ เจาหนาที่ฝายตรวจสอบจะทำการตรวจสอบสภาพวัตถุที่ทำการอนุรักษแลว แผนกอนุรักษจะทำการสงคืนวัตถุ และเซ็นสงมอบ จากนั้นเจาหนาที่ที่เกี่ยวของจะเซ็นรับมอบวัตถุ เพื่อนำไปจัดแสดง หรือศึกษาวิจัย วัตถุที่นำมาอนุรักษหากเปนวัตถุชิ้นเล็ก จะใชเวลาดำเนินงานประมาณ 3 เดือนตอ 1 ชิ้นงาน เมื่อเสร็จสิ้นทาง พิพิธภัณฑจะมีการเวียนวัตถุชิ้นอื่นมาใหซอมเพิ่ม แผนกอนุรักษไดเนนย้ำวา การอนุรักษวัตถุแตละชนิดตองมีการบันทึก การดำเนินงานทุกขั้นตอน ไมวาจะเปนกอนอนุรักษ ระหวางอนุรักษ และหลังการอนุรักษ โดยจะมีการบันทึกภาพ (ถาย ภาพและสแกน) วัตถุแตละชิ้นเก็บไวทุกครั้ง หากมีการเก็บรักษาวัตถุหลากหลายประเภทในหองจัดเก็บเดียวกันจะใชวิธี ควบคุมอุณหภูมิหองดวยการคิดเปนคาเฉลี่ย โดยเลือกจากวัตถุที่มีความออนไหวมาเปนหลักในการคำนวณ นอกจาก งานอนุรักษแลว แผนกอนุรักษยังใหความสำคัญกับการเคลื่อนยายและการบรรจุหีบหออีกดวย จะเห็นไดวางานอนุรักษ เปนงานที่ละเอียดออนและใสใจทุกรายละเอียด

หนา 3


PHOTO HERE

ของสะสม สิ่งของที่บันทึกเรื่องราวในความทรงจำ ภาพถาย

PLACE FOR HEADLINE SAMPLE TEXT GOES HERE

ที่มีทุกบานทุกครอบครัว วันนี้ทุกทานรักษแลวหรือยัง ขาวสาร การอนุรักษฉบับนี้จะแนะนำทาน “รักษวัตถุ” อยางถูกวิธีในแบบ ฉบับที่สามารถนำไปใชไดงาย ลองหยิบภาพในกรอบที่อยูตรงผนังนั้นมาแกะดู ภาพในความ ทรงจำตางๆ ทุกอยางยอมเสื่อมสภาพไปตามกาลเวลา แมวาเรา จะไมไดเปนผูเชี่ยวชาญ แตเราก็สามารถดูแลวัตถุดวยวิธีเบื้องตน แบบงายๆ คือการทำความสะอาดแบบแหง หรือ Dry cleaning

การทำความสะอาดแบบแหง (Dry Cleaning) เปนการทำความสะอาดทางกายภาพ เชน การปดฝุน ดูดฝุนเปนการกำจัด สิ่งสกปรกที่หลวมๆออกจากวัตถุ ซึ่งอุปกรณในการปดฝุนมีหลากหลายแบบ ไดแก แปรงปดฝุน ลูกยาง พูกัน แปรงที่นำมาใชควรมีความนุม ทำความสะอาดผิวไดโดยไมความเสียหายเพิ่มเติม หากวัตถุชิ้นใหญ มีฝุนหนา จำเปนตอง เลือกใชเครื่องดูดฝุน ก็ควรเปดความแรงลมในระดับต่ำสุด โดยปลายทอหุมดวยตาขายละเอียดกรอง (ภาพบน) เพื่อไมใหชิ้น สวนวัตถุหลุดลอกถูกดูดเขาไปในเครื่องดูดฝุน ทั้งนี้ การเลือกใชวิธีการทำความสะอาด ก็ขึ้นอยูกับสภาพและความเหมาะสม ของวัตถุ ตัวอยางที่ทางหองคลังฯ ขอแนะนำ คือการทำความสะอาดโดย การปดฝุน ขั้นตอนแรกเปนการนำภาพออกจากกรอบ นำมาวาง บนกระดาษสะอาดและไมมีสี หรือกระดาษไรกรด acid free (ถามี) จากนั้นนำแปรงขนออนปดฝุนไปในทิศทางเดียวกันอยาง เบามือ เพื่อปองกันการทำลายวัตถุ และไมทำใหเกิดรอยขาด หากมีรอยเปอนจางๆ ทานสามารถใชยางลบ คอยๆ ลบอยางเบา มือ สวนของกรอบภาใหใชแปรงขนออนปดฝุนเชนเดียวกัน ทั้งนี้ ไมแนะนำใหใชน้ำเปลาหรือสารเคมีมาทำความสะอาด เพราะอาจ เกิดการทำลายพื้นผิวของวัตถุได จากนั้นนำภาพใสกรอบตามเดิม เอกสารอางอิง โครงการศิลปากรพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสรางสรรค, คูมือการอนุรักษ ศิลปกรรม: จิตรกรรมบนผืนผาใบและงานกระดาษ, มหาวิทยาลัย ศิลปากร, หนา178-179.

ผูจัดทำ นางสาวปฐยารัช นางสาวศิรดา นางสาววรรณวิษา นางสาวภัสสร

ธรรมวงษา เฑียรเดช วรวาท ภูประเสริฐ

สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท: 02 225 2777 ตอ 101 Fax: 02 225 1881-2 e-mail : Sirada@ndmi.or.th , Wanvisa@ndmi.or.th www.facebook.com/museumsiamfan หนา 4



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.