Energysaving 68 july

Page 1



Energy#67_p7_iMac5.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/22/2557 BE

1:32 AM


Issue 68 JULY 2014 8 Editor’sNote 10 News Report : บมจ.เพาเวอร์ โซลูชั่น เทคโนโลยี ยื่นแบบไฟลิ่ง เตรียมขายหุ้น IPO 450 ล้านหุ้น ตัง้ บล.โนมูระ เป็นทีป่ รึกษาน�าเข้าตลาดหลักทรัพย์ MAI 18 Cover Story : พลังงานทางเลือก... ทางออกภาคขนส่ง 24 Interview : ศูนย์ประชุมแห่งชาติ สิริกิติ์ ศูนย์ประชุมแห่งแรกในเอเชีย กับ รางวัล ISO 20121 26 Interview : การบริหารจัดการธุรกิจและพลังงาน แบบ “ลินเด้” สู่แนวทางการเติบโต 28 Interview : นวัตกรรมสังคม ความสุขที่ยั่งยืนสู่ชุมชน

42 44

30 Special Report : นิสิตศศินทร์ จุฬาฯ คว้าแชมป์ประกวดกิจกรรม “พลังงานสะอาด” 32 Product Highlight - Industrial บริษทั ไบโอฯ รุกธุรกิจ “เครือ่ งจักรผลิตชีวมวลอัดเมด็ ” เพื่ออุตสาหกรรมพลังงานทดแทน 36 Product Highlight - Construction ฟิล์มลดความร้อน สมาร์ทเทค ส�าหรับอาคาร และที่พักอาศัย 40 Product Highlight - Logistics GPS ระบบน�าทาง เทคโนโลยีชว่ ยประหยัดทางอ้อม 44 Product Highlight - Commercial LED Lighting นวัตกรรมรอยต่อสู่อนาคต 48 Product Showcase - Industrial อุปกรณ์ยืดอายุท่อด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า Ariores 50 Product Showcase - Construction Marvel Eco.1 สุขภัณฑ์ชกั โครกประหยัดน�า้ พันธุไ์ ทย 52 Product Showcase - Logistics ตลาดยางเรเดียล ปฏิวัติสู่รถบรรทุก-รถโดยสารขนาดกลาง 54 Product Showcase - Commercial Daikin Market นวัตกรรมความเย็น ประหยัด รักษ์โลก พันธุ์ไทย 56 Vertical Market : เครื่องผลิตน�้าร้อนระบบ โซลาร์เซลล์ ปัจจัยหนึง่ ของการลดต้นทุนพลังงาน

56 4

Energy#68_p4,6_iMac5.indd 4

July 2014 6/25/2557 BE 12:12 AM


Fluke VT02, VT04, VTO4A Visual IR Thermometer

รุน ใหม Fluke VT04 และ VT04A

แสดงแผนทีค่ วามรอนบนภาพจริง ปรับดับความโปรงใสได เคอรเซอรอา นคาอุณหภูมทิ กี่ งึ่ กลางจอภาพ ตรวจหาตําแหนงจุดรอน-เย็นอัตโนมัติ แสดงคาอุณหภูมขิ องจุดทีว่ ดั อยางแมนยํา แสดงคา emissivity ของพืน้ ผิววัตถุทวี่ ดั Fluke VT02, VT04 และ VT04A เปนการรวมคุณสมบัติ การวัดอุณหภูมแิ บบไมสมั ผัสเขากับการมองเห็นของกลอง ถายภาพความรอน กลายเปนเครือ่ งมือชนิดใหมในงานซอม บํารุงทีว่ ดั อุณหภูมดิ ว ยอินฟราเรดพรอมกลองแสดงภาพ และแผนทีค่ วามรอนในตัว คุณสมบัตอิ นื่ ๆ • ชวงวัดอุณหภูมิ -10 ๐C ถึง +250 ๐C • เล็งแลวถาย ไมตอ งโฟกัส ใชงานงาย • เก็บภาพได 10,000 ภาพ ในการด micro-SD • แถมซอฟตแวร SmartView® • ขนาดกะทัดรัด พกติดตัวใชงานไดทกุ ที่ • รุน VT02 และ VT04A ใชแบตเตอรี่ AA • รุน VT04 ใชแบตเตอรี่ Li-on ประจุใหมได

ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

52

Energy#68_p5_iMac5.indd 5

6/25/2557 BE 1:13 AM


Issue 68 JULY 2014 60 62 66 70 74 76 78

Energy Khowledge : วิทยาลัยปิโตรเลียมฯ จุฬาฯ เปลี่ยน “ปลวก” เป็นพลังงานทดแทน Open House : เปิดบ้าน “บุญเยี่ยมฯ” บริษทั ยักษ์ใหญ่แห่งวงการอุตสาหกรรมบอยเลอร์ Green Industial : CPF ไขข้อสงสัย การผลิตไส้กรอก ด้วยมาตรฐาน ISO 50001 Green Building : อาคารเอสซีจี 100 ปี อาคารต้นแบบประหยัดพลังงาน Energy Management การจัดการพลังงาน ในอาคาร....แบบเข้าใจง่ายไม่ซับซ้อน Building Management การป้องกันสารปนเปือ้ นในอากาศกับการด�ำเนินงาน อาคารเขียว เพือ่ คุณภาพชีวติ ของผูใ้ ช้งานอาคาร Green Logistics แนวทางปฏิบตั โิ ลจิสติกส์ในช่วงเคอร์ฟวิ

66

62

80 Environment Alert : การท่องเที่ยวที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยชุมชนเพื่อชุมชน 82 Renergy : Green Tech สวีเดน - ฟินแลนด์ สุดยอดพลังงานไฟฟ้าพลังงานขยะ RDF 84 O Waste Idea : ปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ อีกประเด็นร้อนของการจัดการขยะของสังคมไทย 86 Special Scoop : ซ่อมแหล่งก๊าซ JDA - A18 บทเรียนส�ำคัญในการรับมือไฟฟ้าดับ 90 Viewpoint : กระแสการเรียกร้องปฏิรูป พลังงาน 2 ขั้ว แบบยั่งยืนหรือแบบแบ่งกันกิน 92 Energy Report : จากต้นทุนทักษะเดิม สู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ ด้วยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และเทคนิค Upcyling 94 Energy Invention : สถาบันวิจัยพลังงาน มช. น�ำร่องโรงจอดรถพลังงานแสงอาทิตย์ 96 Energy loan : กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดบริการเงินทุนหมุนเวียนงบประมาณกว่า 40 ลบ. 98 Green 4U 102 Energy Gossip 104 Energy Movement 106 Event Calendar

70 6 Energy#68_p4,6_iMac5.indd 6

July 2014 6/25/2557 BE 12:12 AM


รุนใหญ สมรรถนะ สูงเยี่ยม  ุ

คาสูญเสียจากสายไฟไมไดขนาด คาสูญเสียจาก Reactive power คาสูญเสียจาก Unbalance คาสูญเสียจาก Harmonics คาสูญเสียจากกระแส Neutral รวมเปนเงินจากกิโลวัตตชั่วโมง ที่สูญเสียไป

ในตัวอยางเปนเงิน 683,000 บาทตอป

Fluke 434-II, 435-II

5 Three-Phase Power Logger รุนเล ใชงาย ร็กาคา ประหยัด

Fluke 1735

ทํา Energy Study และ Load Study ไดนาน 45 วัน เรียกดูขอมูลที่บันทึกไวบนหนาจอ หรือที่จอ PC

สนใจติดตอ : คุณธีระวัฒน 08-1555-3877, คุณพลธร 08-1834-0034, คุณจิรายุ 08-3823-7933 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

Energy#68_p7_iMac5.indd 7

6/24/2557 BE 11:33 PM


Editor ’s Note กลับมานั่งที่รายงานตัวกันเปนประจําทุกเดือน สวัสดีคะคุณผูอานทุกทาน หวั ง ว า คงถู ก ใจกั บ การปรั บ เล ม และปรั บ เนื้ อ หาใหม ข องเรา เพื่ อ ให ตอบสนองและเขาถึงกลุมผูอานมากที่สุด ภายใตคอนเซ็ปต Product Knowledge Provider ทีช่ ดั เจนมากขึน้ หากมีคาํ แนะนําหรือติชมประการใด เรายินดีนํามาพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพหนังสือใหดียิ่ง ๆ ขึ้นไป ชวงนี้กระแสรอนแรงดานพลังงาน คงจะหนีไมพนเรื่องของการปฏิรูป พลังงานของไทย ภายใตการกํากับดูแลของ คสช. แวว ๆ วาคงไมงาย อยางที่คิด เนื่องจากระบบและโครงสรางตาง ๆ ฝงรากลึกมาชานาน ยิ่งขุด ยิ่งรื้อ ยิ่งเจอ เงื่อนปมพันกันยุง และการจะคลายปมก็คงไมใช เรื่องงาย ๆ เพราะมีเรื่องของผลประโยชนหลอเลี้ยงเงื่อนปมเหลานั้น มานาน หากตัดเรื่องของผลประโยชนออกไปได ไมวาจะกี่เงื่อน กี่ปม ก็ ค งจะแก ไขได ไ ม ย าก พู ด ง า ยแต ทํ า ยาก คงต อ งรอดู กั น ต อ ไปว า การปฏิรูปพลังงานของประเทศในครั้งนี้จะเดินไปในทิศทางใด คงตอง รอลุนกันตอไป มาเขาเรื่องของเรากันบางดีกวา สําหรับ Energy Saving ฉบับนี้ อัดแนน ไปดวยเนื้อหาที่ทั้ง เดน โดน และ ดี คับเลม จะอานคอลัมนไหนก็ อิ่มสมองแนนอน แตในที่นี้จะขอยกตัวอยางเพียงบางคอลัมนเทานั้น สําหรับ “เรื่องเดนประจําฉบับ” เปนที่ของการประหยัดพลังงานในภาค ขนสง ผานการใชพลังงานทางเลือกอื่น ๆ นอกเหนือจากนํ้ามันเชื้อเพลิง ถาอยากรูติดตามไดในเลม นอกจากนี้ ขอแนะนําคอลัมนนองใหม อยาง “Product Highlight” ที่นําเสนอครบทั้ง 4 ภาคสวน ไดแก อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การขนสง และอาคาร บานเรือน ที่เจาะลึก หลากหลาย และ ครบถวน รวมอยูในเลมนี้เลมเดียว หวังใจวาคุณผูอานจะชอบกันนะคะ แลวพบกันใหมฉบับหนา...สวัสดีคะ

» Âйت ÁÕàÁ×ͧ ËÑÇ˹ŒÒ¡Í§ºÃóҸԡÒà piyanuch@ttfintl.com

8 Energy#68_p8_iMac5.indd 8

July 2014

¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·ํÒ ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡ÒÃ

ªÒµÃÕ ÁÃäÒ

ËÑÇ˹ŒÒ¡Í§ºÃóҸԡÒÃ

» Âйت ÁÕàÁ×ͧ

¡Í§ºÃóҸԡÒÃ

¹ÑÉÃص à¶×่͹·Í§¤Ó ÃѧÊÃä ÍÃÑÞÁԵà ÍÀÑÊÃÒ ÇÑÅÅÔÀ¼Å ÀÔÃÒÂØ à¨ÕÂÁÈØÀ¡Ôµµ

àŢҡͧºÃóҸԡÒÃ

Á³ÕÃѵ¹ ÇѲµÐ¹ÐÁ§¤Å

¼ÙŒ¨Ñ´¡Òý†Ò¢ÒÂ

ÈØÀáÁ¹ ÁÃäÒ

àÅ¢Ò½†Ò¢ÒÂ

ÊØ¡ÑÞÞÒ ÊÑ»ÈÒÃ

¡ÒÃà§Ô¹

áʧÍÃس Á§¤Å

ÈÔÅ»¡ÃÃÁ

ÈØÀ¹ÔªÒ ¾Ç§à¹µÃ ªÁ¾Ù¹Ø· ¾ÙÅʧ¤ ˹Ö่§Ä·Ñ ÊØÇÃóâ¤

¾ÔÁ¾

ºÃÔÉÑ· Àѳ¸ÃÔ¹·Ã ¨Ó¡Ñ´

¨Ñ´¨Ó˹‹ÒÂ

ºÃÔÉÑ· àÇÔÅ´ ÍÍ¿´ÔÊ·ÃÔºÔǪÑ่¹ ¨Ó¡Ñ´ ¼ÙŒ¨Ñ´·Ó ºÃÔÉÑ· ·Õ·ÕàÍ¿ ÍÔ¹àµÍà ๪Ñ่¹á¹Å ¨Ó¡Ñ´

200/7-14 ªÑ้¹ 6 ÍÒ¤ÒÃàÍÍÕàÎŒÒÊ «.ÃÒÁ¤Óá˧ 4 á¢Ç§/ࢵ ÊǹËÅǧ ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã 10250 â·ÃÈѾ· (66) 2717-2477 â·ÃÊÒà (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 ÀÒ¾áÅÐàÃ×่ͧ㹹ԵÂÊÒà ENERGY SAVING ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸Ô์â´Â ºÃÔÉÑ· ·Õ·ÕàÍ¿ ÍÔ¹àµÍà ๪Ñ่¹á¹Å ¨Ó¡Ñ´ ¡ÒùÓ仾ÔÁ¾ «้Ó ËÃ×͹Óä»ãªŒ»ÃÐ⪹ ã´ æ µŒÍ§ä´ŒÃѺ͹ØÞҵ͋ҧ໚¹·Ò§¡Òèҡ ºÃÔÉÑ· ·Õ·ÕàÍ¿ ÍÔ¹àµÍà ๪Ñ่¹á¹Å ¨Ó¡Ñ´ ¡‹Í¹·Ø¡¤ÃÑ้§

6/24/2557 BE 12:20 AM


Energy#62_p73_Pro3.ai

1

12/18/13

10:38 PM

11.05-11.30 .


News Report ณ อรัญ

มจ.เพาเวอร์ โซลูชั่นฯ ยื่นแบบแสดงค�ำขอและไฟลิ่งต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. เพื่อขอเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้กับ ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) จ�ำนวน 450 ล้านหุ้น ราคาพาร์หุ้นละ 0.10 บาท ก่อนเดินหน้าเข้าจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ โดยมี บล.โนมูระ พัฒนสิน เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน

บมจ.เพาเวอร์ โซลูชนั่ เทคโนโลยี ยืน่ แบบไฟลิง่ เตรียมขายหุน้ IPO 450 ล้านหุน้ ตัง้ บล.โนมูระ เป็นทีป่ รึกษาน�ำเข้าตลาดหลักทรัพย์ MAI นายพระนาย กังวาลรัตน์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ัน เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า การด�ำเนินงานของบริษทั ฯ สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุม่ ธุรกิจหลัก ได้ แ ก่ ธุ ร กิ จ การออกแบบ จ� ำ หน่ า ยและติ ด ตั้ ง ระบบจ่ า ยไฟฟ้ า และตรวจวั ด จั ด การ สภาพแวดล้ อ ม เช่น การออกแบบระบบส� ำ รองไฟฟ้ า ระบบการตรวจวั ด และจั ด การ สภาพแวดล้อม ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ระบบประหยัดพลังงานและระบบอืน่ ๆ รองรั บ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า กลุ ่ ม สื่ อ สารโทรคมนาคมทั้ ง หน่ ว ยงานภาครั ฐ และ ภาคเอกชน ส่ ว นธุ ร กิ จ โรงไฟฟ้าและพลัง งานทดแทน เป็น การลงทุ น ผ่ า นบริ ษัท ย่ อยทั้ ง 6 แห่ ง เพื่ อ ผลิ ต ไฟฟ้ า และจ� ำ หน่ า ยเชิ ง พาณิ ช ย์ ใ ห้ แ ก่ ก ารไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคและการไฟฟ้ า นครหลวง (กฟน.) ตามสัญญาซือ้ ขาย ซึง่ ปัจจุบนั มีโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์จำ� นวน 4 แห่ง 5 โครงการ ได้แก่ โรงงานพลังงานแสงอาทิตย์ที่จังหวัดอุดรธานี 2 โครงการ ผลิตกระแส ไฟฟ้าได้ 1.966 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ขนาด 952 กิโลวัตต์ ที่จังหวัด มหาสารคาม โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา ขนาด 987.84 กิโลวัตต์ ที่ จั ง หวั ด สมุ ท รสงครามและยั ง มี โรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ข นาด 980 กิ โ ลวั ต ต์ ที่จังหวัดนนทบุรี ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่างการด�ำเนินการก่อสร้าง ซึ่งคาดว่าจะสามารถ จ� ำ หน่ า ยไฟฟ้ าเชิง พาณิช ย์ใ ห้แ ก่การไฟฟ้านครหลวงได้ ภายในเดื อนกรกฎาคม 2557 นอกจากนี้ ยังมีการร่วมลงทุนกับบริษทั วีรบั เบอร์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ในบริษทั พีวี กรีน จ�ำกัด พื่อด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคาขนาด 987.84 กิโลวัตต์ โดยมีสดั ส่วนการถือหุน้ ระหว่างบริษทั เพาเวอร์ โซลูชนั่ ฯ และ บริษทั วีรบั เบอร์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด เท่ากับ ร้อยละ 19.99 และร้อยละ 80.01 ของทุนจดทะเบียนทั้งหมด 18 ล้านบาทตาม ล�ำดับ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ท�ำการยื่นแบบค�ำขอจ�ำหน่ายไฟฟ้าและการเชื่อมโยงไฟฟ้ากับ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ส�ำหรับโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนอีก 11 โครงการ ได้แก่ โครงการโรงงานไฟฟ้าพลังงานชีวมวลก�ำลังการผลิต 990 กิโลวัตต์ จ�ำนวน 7 โครงการ รวมก�ำลังผลิต 6.93 เมกะวัตต์ โรงงานไฟฟ้าพลังงานลมขนาด 9.2 เมกะวัตต์ จ�ำนวน 4 โครงการ รวมก�ำลังการผลิต 36.8 เมกะวัตต์ โดยปัจจุบันอยู่ระหว่างการพิจารณาค�ำขอจ�ำหน่าย ไฟฟ้าและการเชื่อมโยงไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

10 Energy#68_p10,12_iMac5.indd 10

นายพระนาย กังวาลรัตน์

“เรามีวสิ ยั ทัศน์ในการเป็นผูน้ ำ� ด้านการบริหาร จัดการระบบไฟฟ้าและพลังงานของประเทศ ซึง่ มีเป้าหมายในการด�ำเนินงานโดยมุง่ เน้นให้ ความส�ำคัญทุกขัน้ ตอน ตัง้ แต่การให้คำ� ปรึกษา แก่ลกู ค้า การออกแบบและจัดหาผลิตภัณฑ์ที่ สามารถตอบสนองความต้องการของตลาด รวมถึงการบริการหลังการขายเพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าทั้งภาครัฐและภาค เอกชน โดยการพัฒนาความรูค้ วามสามารถ ของบุคลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญ ซึง่ ในปัจจุบนั บริษทั มุง่ มัน่ พัฒนาสินค้าและแนวทางในการ บริหารจัดการพลังงานใหม่ ๆ และวางแผนลงทุน ในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนอย่างต่อเนือ่ ง ในอนาคต เพือ่ ตอบสนองความต้องการการใช้

July 2014 6/24/2557 BE 12:10 AM


News Report Rainbow

กระทรวงอุตสาหกรรม เร่งเสริมสภาพคล่องผู้ประกอบการ SMEs “ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้” ผ่านไอเดีย อุตสาหกรรมสีเขียว กระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม (กสอ.) ร่วมกับ 3 หน่วยงาน ได้แก่ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน (BOI) ส�ำนักงานส่งเสริม วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม (สสว.) และสถาบันพัฒนาวิส าหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) ร่ ว มเปิ ด แนวคิด “Green Industry Cluster” ด้วยกลยุทธ์ “ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ สร้างสภาพคล่อง” ให้กับ ผูป้ ระกอบการ SMEs ตามนโยบายของ กระทรวงอุตสาหกรรม ในการพัฒนา อุตสาหกรรมไทยสูอ่ ตุ สาหกรรมสีเขียว (Green Industry) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อการส่งเสริมมาตรการและแนวทาง การปฏิบตั ขิ องภาคอุตสาหกรรมตลอดจน ้ ระกอบการ SMEs พัฒนาศักยภาพผูป อย่างเป็นระบบครบวงจร รวมถึงเชือ่ มโยง การพั ฒ นาศั ก ยภาพการผลิ ต สิ น ค้า ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และการจัดแสดง ผลสัมฤทธิข์ องการพัฒนากลุม่ คลัสเตอร์ (Cluster) เพื่อการพัฒนากิจการและ ปรั บ เปลี่ ย นสู ่ อุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย ว (Green Industry) ด้วยการพัฒนา กิจการอย่างยัง่ ยืน รวมทัง้ การให้บริการ ปรึกษาแนะน�ำจากผูเ้ ชีย่ วชาญทัง้ ภาครัฐ และเอกชน เพื่อช่วยผู้ประกอบการให้ สามารถบริหารเงินทุนด้วยการพัฒนา ธุรกิจของตนเองสู่อุตสาหกรรมสีเขียว ซึ่ ง เป็ น เทรนด์ ข องการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ อุตสาหกรรมในอนาคตอันใกล้ ตลอดจน กลยุทธ์การสนับสนุนด้านเงินทุนสู่การ พัฒนาอย่างยัง่ ยืนในยุคภาวะเศรษฐกิจ ชะลอตัวในปี 2014 ด้วย

ดร.วิฑรู ย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวง อุตสาหกรรมกล่าวว่าในช่วง 10 ปี ทีผ่ า่ นมา กระแสผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ได้รับความ สนใจจากผู ้ บ ริ โ ภคทั่ ว โลกเป็ น อย่างมาก เนื่องมาจากสภาวะ โลกร้อนซึ่งส่งผลให้เกิดภัยพิบัติ ทางธรรมชาติทรี่ นุ แรงต่าง ๆ และ มีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น และคง ปฏิเสธไม่ได้วา่ ภาคอุตสาหกรรม เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำ� ให้เกิดภาวะ โลกร้อน รวมถึงโรงงานอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบการบางแห่งก็สร้างผลกระทบเชิงลบให้ แก่สังคมและชุมชนรอบข้าง กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงใน การก�ำกับดูแลภาคอุตสาหกรรม จึงได้วางยุทธศาสตร์ในการยกระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และ SMEs ให้สามารถอยู่ร่วมกันกับชุมชนได้อย่างพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตามแนวทางอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) เพื่อส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมให้มีการ ประกอบการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคม ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรมมีภาพลักษณ์ที่ดี น่าเชื่อถือ และประชาชนไว้วางใจ จนน�ำไปสู่การสร้างเศรษฐกิจสีเขียว ซึ่งจะท�ำให้ผลิตภัณฑ์ มวลรวมสีเขียวของประเทศ (Green GDP) มีมูลค่าสูงขึ้นด้วย ส�ำหรับการพัฒนาสู่เครือข่ายอุตสาหกรรมสีเขียวผู้ประกอบการ SMEs คือ เป้าหมายหลัก เนื่องจากมีสัดส่วนมากที่สุดในระบบเศรษฐกิจของประเทศโดยมุ่งเน้นในการส่งเสริมและ พัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เติบโตและพัฒนาอย่างยั่งยืนผ่านการพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์สีเขียวที่ เป็นเลิศ เริ่มจากการมีจิตส�ำนึก และค�ำนึงถึงปัจจัยหลัก 3 ด้านของการประกอบการ คือ ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และระบบการขนส่ง โดยจะต้องส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม น้อยที่สุด เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตลดปริมาณการใช้พลังงานและวัตถุดิบ การขนส่ง ที่ไม่ท�ำลายสภาพแวดล้อมและชุมชน และน�ำเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อมมาใช้ ดังนั้น SMEs จึ ง ต้ อ งมี ค วามพร้ อ มและยอมรั บ ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงในเงื่ อ นไขของการแข่ ง ขั น และ การประกอบกิจการ ด้วยเหตุนี้ จึงจ�ำเป็นที่หน่วยงานภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้อง ร่วมกันช่วยเหลือและสนับสนุนผู้ประกอบการ SMEs อาทิ การจัดโครงการอบรมสัมมนาและ ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำการประกอบการในเรื่องต่าง ๆ ทั้งการจัดการต้นทุน การบริหารความเสี่ยง การบริหารทรัพยากร และการเลือกใช้วัตถุดิบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การให้ความช่วยเหลือทางด้านเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการเสริมสภาพคล่อง ด้วยแนวคิดในการ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้แก่ SMEs ซึ่งเป็นการสร้างความพร้อม ให้ผู้ประกอบการสามารถพัฒนา กิจการตามแนวทางอุตสาหกรรมสีเขียว ซึ่งถือเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า ช่วยให้ผู้ประกอบการ ลดต้นทุนในการใช้จ่ายในระยะยาว และเพิ่มรายได้ได้อย่างยั่งยืน ตลอดจนสามารถน�ำเงินทุน ไปใช้ ในการวิจัยและพัฒนาเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาธุรกิจ อย่างยั่งยืนต่อไป July 2014 11

Energy#68_p11_p15_iMac5.indd 11

6/21/2557 BE 2:07 PM


News Report ณ อรัญ

สนพ. ดึงระบบ Demands Response ควบคุมการใช้ไฟฟ้ากลุ่มอุตสาหกรรม

สนพ. น�ำร่องโครงการสาธิตระบบ Demand Response ในพื้นที่อุตสาหกรรม โชว์เทคโนโลยีควบคุมระบบไฟฟ้าอัตโนมัติ หวังช่วยลดใช้ไฟฟ้าช่วงพีค

นายเสมอใจ ศุขสุเมฆ

นายเสมอใจ ศุ ข สุ เ มฆ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน เปิดเผยว่า ในปี 2556 ที่ผ่านมา ประเทศไทยมีการใช้ไฟฟ้า 164,341 กิกะวัตต์ชั่วโมง เพิ่มขึ้นจากปีก่อนประมาณร้อยละ 1.6 ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่ ง การใช้ ไ ฟฟ้ า ในภาคอุ ต สาหกรรมถื อ เป็ น สาขาหลั ก ที่ มี ก ารใช้ ไ ฟฟ้ า สู ง สุ ด คิ ด เป็ น สัดส่วนร้อยละ 44 ของการใช้ไฟฟ้าทั้งประเทศ หรือประมาณ 72,536 กิกะวัตต์ชั่วโมง โดยกลุ่มอุตสาหกรรมที่ใช้ไฟฟ้ามากที่สุดคือกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตอาหารใช้ไฟฟ้า สู ง ถึ ง 9,697 กิกะวัต ต์ชั่วโมง รองลงมาคือ กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมเหล็ ก และโลหะพื้ น ฐาน กลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตสิ่งทอ กลุ่มอุตสาหกรรม การผลิตยานยนต์ และเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้าในกลุ่มอุตสาหกรรม ทาง สนพ. จึ ง ได้ ด� ำ เนิ น โครงการ “สาธิ ต ระบบ Demand Response ในพื้ น ที่ อุ ต สาหกรรม” ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อศึกษา ศักยภาพกลุม่ ลูกค้าอุตสาหกรรมในเรือ่ งความพร้อมในการใช้เทคโนโลยี Demand Response ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ซึง่ จะช่วยควบคุมและปรับเปลีย่ นรูปแบบการใช้ไฟฟ้าให้มปี ระสิทธิภาพ ได้อย่างอัตโนมัติ โดยมี สมาคมพันธมิตรไทยเพื่อ ส่ ง เสริ ม การใช้ ร ะบบ พลังงานแบบกระจายศูนย์ (WEDE THAI) เป็ น ผู ้ ด�ำเนินการ

12 Energy#68_p10,12_iMac5.indd 12

“ระบบ Demand Response เป็นกลไกที่ให้ ผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถจัดการการใช้ไฟฟ้าของ ตัวเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยกตัวอย่างเช่น ระบบจะแจ้งให้ผู้ใช้ไฟฟ้ารู้ว่าเวลาใดที่ผู้คน ในประเทศมีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด (พีค) หรือ ช่วงเวลาใดที่ใช้ไฟฟ้าแล้วจะมีอัตรา ค่าไฟแพง โดยข้อมูลดังกล่าวจะช่วยจูงใจให้ ผูใ้ ช้ไฟฟ้าหาทางลดการใช้ไฟฟ้าของตนเองลง ซึ่งในแต่ละปีจะมีการหยุดซ่อมบ�ำรุงแหล่ง ก๊าซธรรมชาติในพื้นที่ต่างๆ ท�ำให้ก�ำลังการ ผลิตไฟฟ้าอาจไม่เพียงพอต่อความต้องการ ดังเช่นในปี 2557 แหล่งก๊าซฯ เจดีเอ A-18 จะหยุด จ่ายก๊าซฯ ระหว่างวันที่ 13 มิ.ย. - 10 ก.ค. 2557 (28 วัน) ท�ำให้ก�ำลังผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า จะนะ หายจากระบบทันที 710 เมกะวัตต์ ส่งผลให้ก�ำลังผลิตในพื้นที่เหลือประมาณ 1,900 เมกะวัตต์ และอาจไม่เพียงพอกับ ความต้องการแม้จะมีการส่งไฟฟ้าจากภาคกลาง ลงไปช่วย 700 เมกะวัตต์ ก็ตาม ดังนัน้ ระบบ Demand Response จะช่วยลดความเสี่ยงที่ จะท�ำให้เกิดไฟตก หรือไฟดับ เพราะผูป้ ระกอบการ สามารถวางแผนเพือ่ ควบคุมให้เกิดการลดใช้ ไฟฟ้าหรือหยุดใช้ไฟฟ้าในช่วงพีคได้ทันที ซึ่ ง จะไม่ ส ร้ า งความเสี ย หายให้ กั บ ระบบ เศรษฐกิจของประเทศ อีกทั้งยังถือเป็นการ วางแผนแก้ปัญหาในระยะยาวด้วย”

July 2014 6/24/2557 BE 12:22 AM


Thermal and Acoustics Insulation เปนฉนวนกันความรอนและดูดซับเสียงทีผ่ า นกระบวนการผลิตทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม เนื้อฉนวนใสสารพิเศษ Non Water Absorption ที่ชวยลดการอมน้ำ ไมดูดซับน้ำและความชื้น ผลิตขึ้นตาม มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก.486, มอก.487 และมาตรฐานสากล ASTM, British Standards และเปน ไปตามมาตรฐานที่ใช ในอาคารเขียว

ฉนวนสำหรับงานหลังคา

ฉนวนสำหรับงานทอลมปรับอากาศ

ฉนวนสำหรับงานทอน้ำรอน/เย็น ฉนวนสำหรับงานผนังปองกันเสียง/ดูดซับเสียง

งานหลังคา

งานทอลมปรับอากาศ

งานผนังปองกันเสียง

54 Moo 12 Kingkaew Rd., Rachatewa, Bangplee, Samutprakarn 10540 Tel. +66 2315 5500 Fax. +66 2312 4654-5 Email : insulation@microfiber.co.th Website : www.microfiber.co.th

Energy#68_p13_iMac5.indd 13

6/24/2557 BE 11:40 PM


News Report นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

ฮอนด้า แจ๊ซ ใหม่ แฮทช์แบ็ก 5 ประตู รองรับ E85 บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิดตัวรถยนต์ ฮอนด้า แจ๊ซ ใหม่ ที่จะมาสร้างนิยามใหม่ของรถยนต์แฮทช์แบ็ก 5 ประตู เน้นการ สื่อสารการตลาดไปยังกลุ่ม GEN ME ที่มีไลฟ์สไตล์ที่หลากหลาย และ รองรับพลังงานทางเลือก E85

นายพิทักษ์ พฤทธิสาริกร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารปฏิบัติการ พร้อมด้วย มร.มาโกโตะ โคนิชิ หัวหน้าทีมพัฒนารถยนต์ฮอนด้า แจ๊ซ ใหม่ บริษทั ฮอนด้า อาร์ แอนด์ ดี จ�ำกัด ประเทศญีป่ น่ ุ มร.ฮิโรยูกิ ชิมซิ ึ ผูช้ ว่ ยประธานกรรมการบริหาร มร.ฮารุโตะ มูราอิ รองประธานกรรมการบริหาร และ นายสมภพ ปฏิภานธาดา ผู้จัดการทั่วไปส่วนการตลาด บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมงานเปิดตัวฮอนด้า แจ๊ซ ใหม่ เน้นการสือ่ สารการตลาดไปยังกลุม่ GEN ME ทีม่ ไี ลฟ์สไตล์ทหี่ ลากหลาย เป็นคนรุน่ ใหม่ยคุ ดิจติ อลทีเ่ น้นการสือ่ สารออนไลน์ ภายในห้องโดยสารกว้างขวางสะดวกสบาย และรองรับการใช้งานทีห่ ลากหลาย ด้วยเบาะนั่งปรับพับได้แบบอัลตร้า ซีท พร้อมเครื่องยนต์ i-VTEC 1.5 ลิตร 117 แรงม้า ผสานเกียร์ CVT ใหม่ ทีพ่ ฒ ั นาภายใต้เทคโนโลยีเอิรธ์ ดรีม พร้อมระบบ ช่วยขับขี่แบบประหยัดน�ำ้ มัน Eco Assist และรองรับพลังงานทางเลือก E85 ครบครั น ด้ ว ยเทคโนโลยี อั จ ฉริ ย ะและมาตรฐานความปลอดภั ย ครบครั น พร้อมวางจ�ำหน่าย 6 รุ่น ในราคา 555,000 - 754,000 บาท

ททท. ร่วมงาน “7 Greens Fair” สัมผัส 7 โซนกิจกรรมท่องเทีย่ ว ททท. “7 Greens Fair : หลงรักประเทศไทย เที่ยวหัวใจสีเขียว” จัดขึ้น เพือ่ เป็นการกระตุน้ ให้ผปู้ ระกอบการในอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว และประชาชน ทั่วไปเกิ ด ความตระหนั ก และมี ส ่ ว นร่ ว มส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การท่ อ งเที่ ย ว อย่ า งยั่ ง ยื น และเกิ ด ภาพลั ก ษณ์ ที่ ดี ข องประเทศในการเป็ น จุ ด หมาย ปลายทางที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม

นางวิไลวรรณ ทวิชศรี รองผู้ว่าการด้านสินค้าและธุรกิจท่องเที่ยว เปิดเผยว่า ททท. ได้ริเริ่ม 7 Greens Concept มาตั้งแต่ปี 2551 ซึ่งถือเป็นแนวทางให้ ทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องในอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วไทย ทัง้ เจ้าของแหล่งท่องเทีย่ ว ชุมชน ผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยวได้ร่วมมือกัน ในการด�ำเนินการเพื่อลด ภาวะโลกร้อนและรักษาสิง่ แวดล้อมทางการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน ซึง่ การจัดงาน 7 Greens Fair ในปี 2556 ที่ผ่านมา ประสบความส�ำเร็จอย่างมากโดยมีผู้เข้า ร่วมชมงานกว่า 40,000 คน จากการส�ำรวจความคิดเห็นพบว่า ร้อยละ 55.4 ของผูเ้ ข้าร่วมงานมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับแนวทางการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ที่รักษาสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น

14 Energy#68_p14,16_iMac5.indd 14

ส�ำหรับงาน 7 Greens Fair ในปีนมี้ งุ่ เน้นในการน�ำเสนอ 7 Greens Concept ให้มีความเป็นรูปธรรมมากขึ้น ภายใต้แนวคิด “7 Greens เริ่มต้นง่ายๆ...ที่ตัวเรา ที่บ้านของเรา” โดยสามารถน�ำไปใช้ในการด�ำเนิน ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ของทุ ก คน เพี ย งปรั บ เปลี่ ย น พฤติกรรมและทัศนคติบางประการเท่านัน้ หนุนแนวคิด การตลาดยุคใหม่ ให้นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการ สร้างสรรค์การท่องเที่ยวที่ยั่งยืนมากขึ้น

July 2014 6/24/2557 BE 12:26 AM


News Report Rainbow

Suntech ผู้น�ำแผ่นไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ มาตรฐานคุณภาพสากล บริษัท อู๋ซี ซันเทค (Wuxi Suntech) เป็นบริษัทที่ก่อตั้งขึ้นในประเทศจีน ทั้งยังเป็นผู้น�ำในอุตสาหกรรม การผลิตแผ่นพลังงานแสงอาทิตย์ ส�ำหรับ กลุ่มบ้านที่อยู่อาศัย กลุ่มธุรกิจ กลุ่มอุตสาหกรรม และ กลุ่มผู้ผลิตกระแสไฟฟ้า ซันเทคผลิต จ�ำหน่าย และติดตั้งแผ่นพลังงานแสงอาทิตย์ (photovoltaic panels) หรือ 8GWs มากกว่า 30 ล้านแผ่น มีผู้ใช้บริการกว่าหนึ่งพันรายจาก 80 ประเทศทั่วโลก นอกจากนี้ยังเป็น ผู้น�ำที่ได้มาตรฐานรับรองจากสถาบัน VDE (Verband Deutscher Elektrotechniker) ซึ่งเป็นองค์การกลุ่ม วิศวกรไฟฟ้าของประเทศเยอรมันนี ที่ออกใบรับรองและได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายในอีกหลาย ประเทศ เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงคุณภาพผลิตภัณฑ์ของซันเทค ในประสิทธิภาพเหนือเกณฑ์มาตรฐานทั่วไป ทั้งนี้ ซันเทคยังนับเป็นรายที่สามจากทั่วโลกที่ได้รับมาตรฐานอีกด้วย คุณซามัวแอล จาง ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการขายภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เผยว่า “ปัจจุบันประเทศไทยมีความ ตืน่ ตัวด้านการใช้พลังงานทดแทนเป็นอย่างมาก ทัง้ นีพ้ ลังงานแสงอาทิตย์จงึ ถือเป็นอีกหนึง่ ทางเลือกส�ำคัญ คุณซามัวแอล จาง ทีเ่ ริม่ มีผหู้ นั มาให้ความสนใจเพราะถือเป็นพลังงานสะอาด ในระดับอุตสาหกรรม ธุรกิจต่างๆ ตลอดจนทีอ่ ยู่ อาศัย ดังนั้นการเลือกแผงพลังงานแสงอาทิตย์จึงต้องค�ำนึงถึงมาตรฐานสากล เพื่อให้เกิดความปลอดภัย และได้คุณภาพไฟฟ้าที่ดีด้วย บริษทั ซันเทคได้เล็งเห็นความส�ำคัญของเรือ่ งดังกล่าวมากเลยทีเดียว นอกจากนีบ้ ริษทั ซันเทคเองยังสร้างทีมงานพัฒนาและวิจยั ขึน้ เพือ่ รองรับ กับความต้องการของกระแสผู้บริโภคที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและขับเคลื่อนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนนอกเหนือไป จากการใช้เชือ้ เพลิงประเภทน�ำ้ มัน วิสยั ทัศน์ของซันเทค คือ การเป็นอีกหนึง่ หน่วยงานทีพ่ ร้อมจะร่วมหาหนทางแห่งการน�ำพลังงานหมุนเวียน มาใช้ ซึ่งนับเป็นหนึ่งพลังงานสะอาดที่ไม่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม”

ปลุกจิตส�ำนึก เยาวชนไทย กับ

โครงการ ลมหายใจไร้มลทิน

ปีนี้ก็ก้าวสู่ปีที่ 8 แล้ว ส�ำหรับโครงการ โครงการ “ลมหายใจไร้มลทิน” ทีเ่ ป็นโครงการรวมพลังเยาวชนรุน่ ใหม่ ร่วมกิจกรรมเพือ่ ปลุกจิตส�ำนึกด้าน ความซื่อสัตย์สุจริต และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อสร้างเครือข่าย เยาวชนเปลี่ยนสังคมไทยให้ใสสะอาด ด้าน คุณชไมพร ปภัสร์พงษ์ ผูอ้ ำ� นวยการโครงการลมหายใจไร้มลทิน เผยว่า โครงการด�ำเนินกิจกรรมสูป่ ที ี่ 8 ด้วยความภูมใิ จทีจ่ ะรณรงค์ปลูกฝังเยาวชนให้มี จิตส�ำนึกรักความซือ่ สัตย์สจุ ริต โดยมีเยาวชนกว่า 70 คน จากโรงเรียนในเขต กรุงเทพมหานคร สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และ สังกัดอืน่ ๆ เข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ของโครงการ เพือ่ สร้างเสริมภูมคิ มุ้ กันให้เด็กและเยาวชนเห็นความส�ำคัญ และภัยร้ายของการทุจริตคอรัปชัน่ ทั้งนี้ ค่ายเยาวชน “ลมหายใจไร้มลทิน” ยังเป็นความร่วมมือของ บริษัท สื่อสากล จ�ำกัด ผู้จัดงานมหกรรมยานยนต์ ร่วมกับ ส�ำนักงาน ส่งเสริมสวัสดิภาพ และพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ (สท.) รวมถึงสมาชิกสภาเด็ก และเยาวชนแห่งประเทศไทย คัดเลือกเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม และกลุ่มเยาวชนที่เคยเข้าร่วมโครงการฯ ตั้งแต่ปีแรกถึงปัจจุบัน โดยเปิดโอกาสให้รุ่นพี่ รุ่นน้อง แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อสร้างเครือข่ายพลังเยาวชนรักความซื่อสัตย์สุจริตให้เหนียวแน่นมากยิ่งขึ้น ผู้สนใจสามารถติดตามข่าวสารความเคลื่อนไหว และรายละเอียดโครงการ ลมหายใจไร้มลทิน ได้ที่ www.lomhaijai.org, www.opp.go.th และ www.oppy.opp.go.th หรือ โทร.0-2641-8444 ต่อ 215 นอกจากนี้ยังเพิ่มช่องทางการสื่อสารกับเยาวชนโดยตรงผ่านสังคมออนไลน์ http://www.facebook.com/lomhaijaimotorexpo July 2014 15 Energy#68_p11_p15_iMac5.indd 15

6/21/2557 BE 2:14 PM


News Report นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

บี.เอฟ.เอ็ม. เปิดตัวระบบฝ้าเพดานกันไฟ-แผ่นดินไหว บี.เอฟ.เอ็ม.จับมือ อาร์มสตรอง ยักษ์ใหญ่อันดับ 1 ของโลก รุกตลาดระบบฝ้าเพดาน ส�ำเร็จรูป และระบบฝ้าเพดานอะคูสติก ด้วยคุณสมบัติพิเศษช่วยป้องกันความเสียหาย จากแผ่นดินไหว และเพลิงไหม้ ด้วยวัสดุรไี ซเคิลทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เจาะกลุม่ ลูกค้า ไฮเอนท์ในกลุ่มอาคารสูงทั้งไทยและอาเซียน

นายกศิปญ ั ญ์ ศิรธิ รรม กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั บี.เอฟ.เอ็ม. จ�ำกัด ผูน้ ำ� อันดับหนึง่ ของไทย ด้านวัสดุตกแต่งอาคารคุณภาพสูง (ALPOLIC®/fr) จากประเทศญี่ปุ่น เปิดเผยว่า ปี 2557 บริษัทฯ วางแผนรุกตลาดวัสดุตกแต่งอาคารระดับไฮเอนท์อย่างต่อเนื่อง โดยร่วมมือกับ บริษัท อาร์มสตรอง เวิลด์ อินดัสทรีส์ อินคอร์ปอเรท จ�ำกัด ผู้น�ำ ระบบฝ้าเพดานส�ำเร็จรูปอันดับ 1 ของโลก จากสหรัฐอเมริกา น�ำระบบ ฝ้าเพดานนวัตกรรมใหม่ภายใต้แบรนด์ “อาร์มสตรอง” (Armstrong) เข้ามาจ�ำหน่ายในประเทศไทย ด้วยคุณสมบัติป้องกันความเสียหาย จากแผ่นดินไหว และเพลิงไหม้ พร้อมกันนี้ บริษัท บี.เอฟ.เอ็ม. จ�ำกัด ยังได้รับแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายแต่เพียงผู้เดียวในประเทศไทย เพื่อรุกขยายตลาดไทยและกลุ่มประเทศอาเซียนอย่างเป็นทางการ ตัง้ เป้ายอดขายปี 2557 กว่า 100 ล้านบาท และเพิม่ เป็น 300 ล้านบาท ในปี 2559

เดินหน้าโครงการ ลดเมืองร้อน ด้วยมือเรา ปีที่ 9 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี เป็นผู้แทนพระองค์ฯ มอบถ้วย รางวัลพระราชทานแก่โ รงเรียนและเทศบาลที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากการประกวดโครงงานด้านสิ่งแวดล้อมและโล่ประกาศเกียรติคุณ ในโครงการ “ลดเมืองร้อน ด้วยมือเรา” ปีที่ 9

นายนินนาท ไชยธีรภิญโญ รองประธานกรรมการ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด และ ดร. ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ์ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันสิง่ แวดล้อมไทย พร้อมด้วยผูบ้ ริหารระดับสูงจากทัง้ 2 องค์กร ร่วมเป็นสักขีพยาน โครงการ “ลดเมืองร้อน ด้วยมือเรา” เป็นโครงการที่เกิดจากความร่วมมือระหว่าง บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด และ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ เป็นการสร้างและขยายเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อม โครงการดังกล่าวเริ่มจากท�ำการคัดเลือกโรงเรียนและเทศบาลจากทั่วประเทศเข้าร่วมโครงการ เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ปัญหาภาวะโลกร้อน และส่งเสริมให้องค์กรและหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการ สามารถริเริ่มโครงงานและกิจกรรมที่จะช่วยลดการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนภายในชุมชนของตน ซึ่งจะเป็นการสร้างเครือข่ายแกนน�ำ การด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมทั้งในส่วนของโรงเรียนและเทศบาลในทุกภูมิภาคทั่วประเทศต่อไป

16 Energy#68_p14,16_iMac5.indd 16

July 2014 6/24/2557 BE 12:27 AM


Energy#68_p17_iMac5.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/24/2557 BE

11:27 PM


Cover Story นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

รื่ อ งเก่ า ... เล่ า ใหม่ เล่ า กี่ ค รั้ ง ... เล่ า เท่ า ไหร่ ก็ ไ ม่ จ บง่ า ย ๆ ส� า หรั บ เรื่ อ งใหญ่ ข องประเทศไทย หรือทุกประเทศทั่วโลกกับเรื่องของ “พลังงานทางเลือก” เพราะอะไรต้องมีการน�ามาเล่าใหม่อยู่อย่าง ต่อเนื่อง เพราะปัจจุบันยังถือเป็นทางออกที่ดีท่ีสุด โดยเฉพาะกับภาคส่วนของการขนส่งหรือ Logistics และท� า ไมถึ ง ส� า คั ญ กั บ ภาคส่ ว นนี้ นั่ น ก็ เ พราะเป็ น ภาคส่ ว นที่ รั บ ภาระค่ า ใช้ จ ่ า ยด้ า นพลั ง งานต่ อ ปี เป็ น เม็ ด เงิ น มหาศาล เมื่ อ เที ย บสั ด ส่ ว นภาคประชาชน ถึ ง แม้ ว ่ า จ� า นวนของกลุ ่ ม ก้ อ นผู ้ ใ ช้ จ ะน้ อ ยกว่ า 1-2 เท่าตัวก็ตาม

พลังงานทางเลือก... ทางออกภาคขนส่ง

ทั้งหมด โดยสิ่งส�าคัญของ Logistics คือ การลดค่าใช้จ่าย ลดระยะ เวลาในการขนส่ง ลดปัญหาต่างๆ ทุกอย่างที่จะเกิดขึ้น โดยใช้ ต้นทุนน้อยทีส่ ดุ ครอบคลุมทัง้ หมดทัง้ ทางน�า้ ทางอากาศ และทางบก ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นระบบขนส่งทางบกหรือทางรถยนต์บรรทุกเพื่อ การพาณิชย์นั้นเอง

ภาคขนส่ง Logistics กับ พลังงานทดแทนเข้ามาเกี่ยวข้องกันได้ อย่างไร และท�าไมค�าตอบของโจทย์จึงเป็น “พลังงานทดแทน” เพราะค�าว่า Logistics เกี่ยวข้องกับระบบการจัดการการส่งสินค้า ข้อมูล และทรัพยากรทุกอย่างที่มีการขนส่ง หรือเคลื่อนย้ายจากจุด ต้นทางไปยังจุดปลายทาง ซึ่งเกี่ยวข้องกับการผสมผสานข้อมูล การขนส่ ง เป็ นช่อ งทางหนึ่ง ของห่วงโซ่อุปทานที่ เ พิ่ ม มู ลค่ า ของ การใช้ประโยชน์ของเวลาและสถานที่ หากกล่าวให้เข้าใจง่ายที่สุด อะไรทุ ก อย่ า งที่มีเ กี่ยวกับ การขนส่ง จะเกี่ยวข้ องกั บ Logistics

18 Energy#68_p18-23_iMac5.indd 18

เมือ่ โจทย์สา� คัญคือการลดค่าใช้จา่ ยทีเ่ ป็นต้นทุนให้ได้มากทีส่ ดุ ค�าว่า Logistics ที่ส่วนใหญ่คือ บริษัทขนส่ง หรือผู้ประกอบการ ต้องหา ทางออก ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของการขนส่งให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด ด้วยการเพิ่มสินค้าในการขนส่ง ลดการตีรถขนส่งกลับเที่ยวเปล่า การหาเส้ น ทางขนส่ งที่ สะดวกรวดเร็ ว ที่ สุด รวมถึง วิธีอื่น ๆ อีก หลากหลายวิ ธี แต่ ท ้ า ยที่ สุด สิ่ งที่ สิ้น เปลื อ งที่สุด ในกระบวนการ ทั้งหมดของระบบ Logistics คือ ค่าใช้จ่ายจากเชื้อเพลิง เพราะเป็น ค่าใช้จา่ ยทีไ่ ม่อาจคาดเดาได้ตายตัว และมีการผันผวนอยูต่ ลอดเวลา เพราะอิงอยูก่ บั ช่วงเวลา เศรษฐกิจและราคาตลาดโลก ทีป่ ระเทศน�าเข้า พลังงานอย่างประเทศไทยได้แต่ท�าใจยอมรับ เมื่อเชื้อเพลิงเป็นค่าใช้จ่ายที่เลี่ยงไม่ได้ ทางออกที่จะท�าให้ไม่จ�าเป็น ต้องลดระยะทาง ลดเที่ยวของการขนส่ง คือ พลังงานทางเลือก จ� า พวกก๊ า ซที่ จ ะน� า มาใช้ แ ทนเชื้ อ เพลิ ง แบบเดิ ม ที่ มี ต ้ น ทุ น สู ง ขึ้ น ทุกวัน ปัจจุบันมีใช้อยู่ 2 ประเภท คือ

July 2014 6/24/2557 BE 3:44 PM


- LPG (Liquefied Petroleum Gas) ก๊ า ซปิ โ ตรเลี ย มเหลวหรื อ ที่ เ รี ย กกั น ว่ า ก๊าซหุงต้ม เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซึง่ มีองค์ประกอบของก๊าซโพรเพน (Propane) เป็นส่วนใหญ่หนักกว่าอากาศ ไม่มสี ี ไม่มกี ลิน่ เช่นเดียวกับก๊าซธรรมชาติ แต่เนื่องจาก เป็ น ก๊ า ซที่ ห นั ก กว่ า อากาศจึ ง มี ก ารสะสม และลุ ก ไหม้ ไ ด้ง ่าย มีข ้อ ก�าหนดให้เ ติม สารมีกลิ่น เพื่อเป็นการเตือนภัยหากเกิด การรัว่ ไหล LPG ส่วนใหญ่จะใช้เป็นเชือ้ เพลิง ในครั ว เรื อ นและกิ จ การอุ ต สาหกรรม โดยบรรจุเป็นของเหลวใส่ถังที่ทนความดัน เพื่อให้ขนถ่ายง่าย นอกจากนี้ ยังนิยมใช้ แทนน�า้ มันเบนซินในรถยนต์ เนือ่ งจากราคา ถูกกว่า และมีคา่ ออกเทนสูงถึง 105 RON - NGV (Natural Gas Vehicle) ก๊าซธรรมชาติสา� หรับยานยนต์ เป็นสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนซึ่งมีองค์ประกอบของก๊าซ มีเทน (Methane) เป็นส่วนใหญ่มีน�้าหนัก เบากว่าอากาศ การขนส่งสามารถส่งผ่าน ทางท่อในรูปก๊าซความดันสูง จึงไม่เหมาะ ส�าหรับการขนส่งไกลๆ หรืออาจบรรจุใส่ถงั ในรู ป ก๊ า ซธรรมชาติอัดโดยใช้ค วามดัน สูง หรื อ CNG แต่ ป ั จ จุ บั น มี ก ารส่ ง ก๊ า ซ ธรรมชาติ ใ นรู ป ของเหลวโดยท� า ก๊ า ซให้ เย็ น ลงถึ ง –160 องศาเซลเซี ย ส จะได้ ของเหลวที่เรียกว่า Liquefied Natural Gas หรือ LNG ซึ่งสามารถขนส่งทางเรือไปที่ ไกลมากได้ แต่เ มื่อ ถึง ปลายทางจะผ่าน กระบวนการท�าให้ของเหลวเปลี่ยนสถานะ กลับเป็นก๊าซอย่างเดิม ก๊าซธรรมชาติมีค่า ออกเทนสูงถึง 120 RON จึงสามารถน�ามา ใช้เป็นเชื้อเพลิงในยานยนต์ได้เช่นกัน

ที่มา : บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน)

Energy#68_p18-23_iMac5.indd 19

หากเท้าความถึงพลังงานทางเลือกในประเทศไทยนั้น มีการใช้มานานหลายยุคหลายสมัย ในภาคของขนส่งมวลชน เพียงแต่ประชาชนยังไม่ได้ให้ความสนใจมากนัก อันเนื่องมาจาก ประเทศไทยหรือทั่วโลกยังไม่ได้ให้ความส�าคัญมากนัก เพราะราคาพลังงานอย่างน�้ามัน เชื้อเพลิงยังไม่ได้สูงเช่นในปัจจุบัน การใช้พลังงานทางเลือกจึงมีการใช้อยู่ภายในกลุ่ม ผู ้ ป ระกอบการเล็ ก ๆ อย่ า งกลุ ่ ม ของของผู ้ ขั บ ขี่ ร ถแท็ ก ซี่ ห รื อ รถสามล้ อ เล็ ก เท่ า นั้ น โดยเฉพาะการใช้ก๊าซหุงต้ม หรือ LPG เพราะมีราคาที่ถูกกว่า กลุ่มผู้ขับขี่รถบริการจึงใช้ เพื่อความคุ้มค่าที่มากกว่า แต่ปัจจุบันภาคส่วน Logistics ได้ให้ความสนใจกับพลังงาน ทางเลือกมากที่สุด เพราะมีการใช้เชื้อเพลิงที่ส่วนใหญ่เป็นน�้ามันดีเซลที่ค่อนข้างมาก ด้วยขนาดของรถบรรทุกและเครื่องยนต์ที่ใหญ่กว่านั้นเอง ความน่าสนใจของพลังงานทางเลือกในภาค Logistics คือ การหันมาใช้พลังงานทางเลือก ประเภท NGV มากกว่า LPG เพราะต้นทุนด้านราคาที่ถูกกว่า LPG อยู่พอสมควร ถึงแม้ว่า ราคาติดตั้งอุปกรณ์เพื่อรองรับการใช้ NGV จะสูงกว่าก็ตาม รวมถึงภาครัฐบาลและเอกชน หันมาให้การสนับสนุนมากขึ้น ซึ่งอันที่จริง NGV ในประเทศไทยก็ไม่ใช่เรื่องใหม่แต่อย่างไร เพราะเป็นที่รู้จักมาไม่ต�่ากว่า 10 ปี แต่เรื่องของการขับเคลื่อนด้านระบบขนส่งพึ่งเป็นที่รู้จัก กันประมาณ 6-7 ปี จากการประชาสัมพันธ์จากทั้งภาครัฐและเอกชน ในการสนับสนุน ผูป้ ระกอบการขนบรรทุกและรถโดยสารเปลีย่ นมาใช้กา๊ ซ NGV แทนน�า้ มันดีเซล โดยตัง้ ราคา จ�าหน่ายให้ถูกกว่าครึ่งหนึ่งของราคาน�้ามันดีเซล

July 2014 19 6/24/2557 BE 3:44 PM


Cover Story นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

ภายใต้การสนับสนุนให้ใช้...ประเทศไทย มีความพร้อมอย่างไร ? จากข้อมูลของ บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) ระบุว่า ณ วันที่ 15 พฤษภาคม 2557 ปตท. มี ส ถานี บ ริ ก าร NGV ที่ เ ปิ ด บริ ก ารแล้ ว จ� า นวนทั้ ง หมด 494 แห่ง ซึ่ง เป็น สถานี บริการทั่วไป Brand PTT NGV 328 แห่ง, สถานีบริการทั่วไป Brand เอกชน 136 แห่ง, สถานีบริการเฉพาะกลุม่ 11 แห่ง และสถานีหลัก 19 แห่ง โดยแบ่งแยกย่อยตามขนาดของ สถานีบริการออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ - สถานีจ่ายก๊าซ หรือ สถานีแม่ (Mother Station) เป็นสถานีที่ผลิตก๊าซ NGV โดย เพิ่มความดันและอัดจ่ายก๊าซให้กับรถขนส่ง ก๊าซ เพื่อขนส่งไปยังสถานีลูก - สถานีบริการ NGV นอกแนวท่อก๊าซ หรือ สถานีลูก (Daughter Station) เป็น สถานีที่ตั้งอยู่ห่างจากแนวท่อก๊าซ จึงต้องใช้ รถขนส่งในการขนส่งก๊าซ NGV จากสถานี จ่ายก๊าซ ท�าให้บางช่วงเวลาไม่สามารถจัด ส่งก๊าซได้ทันต่อความต้องการ ส่งผลให้ผู้ใช้ ต้องรอคิวในการเติมก๊าซ - สถานีบริการ NGV ตามแนวท่อส่งก๊าซ (Conventional Station) เป็นสถานีที่รับ ก๊าซธรรมชาติจากท่อส่งก๊าซโดยตรง จึงเป็น สถานีที่มีก๊าซให้บริการตลอดเวลา 20 Energy#68_p18-23_iMac5.indd 20

จากตัวเลขของสถานีบริการ NGV ข้างต้น เป็นตัวเลขที่น่าจะเพียงพอต่อความต้องการของ ทุกภาคส่วน แต่อย่าลืมว่าโดยธรรมชาติของ NGV เป็นก๊าซที่ต้องใช้ก�าลังอัดที่มากกว่า LPG ท�าให้ระยะเวลาในการเติมจึงนานกว่า และด้วยถังที่ต้องรับแรงอัดมากกว่าเช่นกัน ท�าให้การ เติมแต่ละครั้งได้จ�านวนน้อยกว่า LPG เช่นกัน สรุป คือ เติมได้น้อยกว่าและต้องเติมบ่อย กว่านั้นเอง บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) ชี้แจงว่าด้วยราคาขายปลีกก๊าซ NGV ที่ต�่ากว่าเชื้อเพลิง ชนิดอืน่ มาก ส่งผลให้ตวั เลขของผูป้ ระกอบการรถโดยสารสาธารณะ บริษทั ขนส่ง และประชาชน ทั่วไป มีการจดทะเบียนรถที่ติดตั้งระบบ NGV มากกว่า 400,000 คัน และมีปริมาณการใช้ ก๊าซ NGV สูงถึงกว่า 8,000 ตันต่อวัน ในจ�านวนดังกล่าวเป็นการใช้ก๊าซ NGV ของกลุ่มผู้ใช้ ที่เป็นกลุ่มรถบรรทุก รถหัวลากและรถสาธารณะ เกือบร้อยละ 50 ท�าให้เกิดปัญหา การรอคิวนาน ซึ่งทางหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักก็ได้มีการหาทางออกอย่างต่อเนื่อง ส� าหรั บปั ญ หาดั งกล่ า ว ส� าหรั บภาคขนส่ งเพื่ อตอบสนองความต้อ งการใช้ก๊า ซ NGV โดยเฉพาะการส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามาลงทุนในกิจการ NGV แบบครบวงจร จะช่วยให้ การขยายสถานีบริการ NGV เพียงพอต่อความต้องการทีเ่ พิม่ สูงขึน้ และลดปัญหารอคิวเติมก๊าซได้

July 2014 6/24/2557 BE 3:44 PM


ซึ่งสามารถเลือกใช้น�้ามันเบนซินหรือใช้ NGV เป็นเชื้อเพลิง โดยปรับสวิตช์เลือกใช้เชื้อเพลิง ระบบนี้มีทั้งผลิตจากโรงงาน/บริษัทรถยนต์รับรองการผลิตและติดตั้ง ภายในระยะเวลา 3 ปี หรือครบ 100,000 กิโลเมตร หรือน�ารถยนต์เบนซินเดิมมาติดตั้งอุปกรณ์ NGV เพิ่มเติม - การใช้ก๊าซธรรมชาติกับรถยนต์ประเภทรถกระบะ/รถตู้ (เครื่องยนต์ดีเซล) แบ่งตาม รูปแบบได้เป็น 2 ประเภท คือ รถกระบะ/รถตู้ใช้ NGV เป็นเชื้อเพลิงอย่างเดียว (Dedicated NGV) ส่วนใหญ่ผลิตจากโรงงานโดยตรง หรือปรับเปลี่ยนจากเครื่องยนต์ดีเซลเดิม ให้เป็น เครื่องยนต์ NGV และประเภทต่อมาคือ รถกระบะ/รถตู้ใช้ NGV ระบบเชื้อเพลิงร่วม (Diesel Dual Fuel System, DDF) เป็นระบบที่ใช้ก๊าซธรรมชาติร่วมกับน�้ามันดีเซล หรือใช้น�้ามัน ดี เซลอย่ า งเดี ยว อั ต ราส่ ว นก๊ า ซธรรมชาติ ต ่ อน�้ ามั น ดี เซลจะขึ้ น อยู่กับเครื่อ งยนต์และ ประสิทธิภาพของอุปกรณ์กา๊ ซ ระบบนีส้ ามารถเลือกใช้นา้� มันดีเซลอย่างเดียวหรือใช้เชือ้ เพลิง ร่วมก็ได้ โดยการปรับสวิตช์เลือกใช้เชื้อเพลิง รถยนต์ขนาดใหญ่ (Heavy Duty Vehicle) รถยนต์ NGV ขนาดใหญ่ เช่น รถบรรทุก รถหัวลาก รถโดยสารสามารถแบ่งตามรูปแบบ คือ รูปแบบการติดตัง้ NGV ในรถยนต์มแี บบใด - รถยนต์ NGV ผลิตมาจากโรงงานโดยตรง แบ่งเป็นรถยนต์ใช้ NGV เป็นเชือ้ เพลิงอย่างเดียว บ้าง ? (Dedicated NGV) เครื่องยนต์ที่ออกแบบและพัฒนาขึ้นส�าหรับใช้ NGV โดยเฉพาะหรือ ด้วยความที่ตลาดพลังงานทางเลือกมีความ เรียกว่า เครือ่ งยนต์กา๊ ซ (Gas Engine) ซึง่ นิยมใช้วธิ กี ารจุดระเบิด ด้วยประกายไฟจากหัวเทียน ต้องการอย่างต่อเนื่อง กลุ่มผู้ใช้ NGV จึงมี มีข้อดีที่ปล่อยปริมาณฝุ่นละออง (Particulate) ในปริมาณต�่า แต่จะมีราคาเพิ่มขึ้นจาก ใช้ในทุกภาคส่วน ทั้งในส่วนของรถยนต์ส่วน รถยนต์ดีเซลประมาณร้อยละ 20-30 ปัจจุบันยังไม่มีการผลิตในประเทศไทย ส่วนใหญ่ต้อง บุคคล หรือ ในรถยนต์ขนาดเล็ก(Light Duty น�าเข้าจากต่างประเทศ รูปแบบเป็นรถยนต์ใช้ NGV ระบบเชือ้ เพลิงร่วม(Diesel Dual Fuel, DDF) Vehicle) และ กลุ่มผู้ใช้รถยนต์ขนาดใหญ่ ติดตั้งเครื่องยนต์ที่ออกแบบให้ใช้ NGV ร่วมกับน�้ามันดีเซล โดยใช้น�้ามันดีเซลจุดระเบิด (Heavy Duty Vehicle) (Ignites) และลุกลามการเผาไหม้ของ NGV ต่อไป รถยนต์ขนาดเล็ก (Light Duty Vehicle) เป็ น กลุ ่ ม รถยนต์ ที่ มี ใ ช้ ง านอยู ่ ทั่ ว ไป ในประเทศไทยจะแบ่งเป็นประเภทหลัก คือ รถเก๋ง รถกระบะ และรถตู้ ซึ่งการใช้ก๊าซ ธรรมชาติ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ในรถประเภทดั ง กล่าวแบ่งเป็น - การใช้กา๊ ซธรรมชาติกบั รถยนต์ประเภท รถเก๋ง (เครื่องยนต์เบนซิน) การใช้ก๊าซ ธรรมชาติกบั รถเก๋ง สามารถแบ่งตามรูปแบบ การใช้ NGV ได้เป็น 2 ประเภท คือ รถเก๋ง ที่ใช้ NGV เป็นเชื้อเพลิงเพียงอย่างเดียว (Dedicated NGV) ส่วนใหญ่ผลิตจากโรงงาน โดยตรง (Original Equipment Manufactured, OEM) ซึ่งเครื่องยนต์จะถูกออกแบบให้ใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงโดยเฉพาะ และ จะมีการออกแบบให้ถังบรรจุก๊าซถูกจัดเก็บ อย่างเรียบร้อย อีกประเภทคือ รถเก๋งที่ใช้ NGV ระบบเชื้อเพลิงทวิ (Bi-Fuel System) July 2014 21 Energy#68_p18-23_iMac5.indd 21

6/24/2557 BE 3:44 PM


Cover Story นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

- เครือ่ งยนต์ดเี ซลเดิมสามารถปรับใช้ NGV แบ่งเป็นติดตัง้ อุปกรณ์ NGV ระบบเชือ้ เพลิง ร่วม (Diesel Dual Fuel System, DDF) วิธีนี้ ไม่ต้องดัดแปลงเครื่องยนต์ดีเซลเดิมเพียง แต่ ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ NGV เพิ่มเติมเท่านั้น เครื่องยนต์ยังใช้น�้ามันดีเซลในการจุดระเบิด เมื่อการเผาไหม้เกิดขึ้นแล้วจะใช้ NGV เป็น เชื้อเพลิงเผาไหม้ทดแทนน�้ามันดีเซลต่อไป ระบบนี้สามารถเลือกใช้น�้ามันดีเซลอย่าง เดียวหรือใช้เชื้อเพลิงร่วม (NGV และดี เซล) อี ก ประเภทคื อ ดั ด แปลงเครื่ อ งยนต์ ดีเซลเดิมมาใช้ NGV อย่างเดียว (Dedicated R e t r o f i t ) โ ด ย น� า เ ค รื่ อ ง ย น ต ์ ดี เซ ล เดิมมาดัดแปลง เพื่อลดอัตราส่วนการอัด (Compression Ratio) ดัดแปลงลูกสูบ ฝาสูบ ติดตัง้ หัวเทียนเพือ่ ช่วยจุดระเบิด เปลีย่ นชิน้ ส่วน อื่นๆ ตามความเหมาะสมของเครื่องยนต์ แต่ละรุ่น และติดตั้งอุปกรณ์ ให้สามารถใช้ NGV ได้ ระบบนี้เมื่อดัดแปลงแล้วเสร็จจะ ไม่สามารถใช้น�้ามันดีเซลได้อีก สามารถใช้ NGV ได้เพียงอย่างเดียว โดยมีการติดตั้งถัง NGV 5-7 ถัง ขนาดถังบรรจุ 140 ลิตร จะสามารถวิง่ ได้ระยะทางประมาณ 280-400 กิโลเมตร ต่อการเติม NGV 1 ครั้ง - เปลีย่ นเครือ่ งยนต์ดเี ซลเดิมเป็นเครือ่ งยนต์ NGV (Re-powering) เป็นอีกวิธีเพื่อเป็น ทางเลือก โดยถอดเครือ่ งยนต์ดเี ซลเดิมออก และเปลีย่ นเครือ่ งยนต์เป็น NGV (Dedicated NGV) โดยใช้ตัวถังรถยนต์คันเดิม ค่าใช้จ่าย ในการเปลีย่ นแปลงประมาณ 1– 2 ล้านบาท ขึ้ น อยู ่ กั บ ยี่ ห้ อเครื่อ งยนต์ รุ่น เครื่อ งยนต์ ก� า ลั ง ของเครื่ อ งยนต์ และต้ อ งติ ด ตั้ ง อุปกรณ์จ่าย NGV รวมทั้งติดตั้งถัง NGV เพิ่มเติม ซึ่งถ้าติดตั้งถัง ขนาด 140 ลิตร ประมาณ 5-7 ถัง จะสามารถวิ่งได้ระยะทาง ประมาณ 280-400 กิโลเมตร

22 Energy#68_p18-23_iMac5.indd 22

ความมั่นใจที่มีต่อพลังงานทางเลือกในประเทศ ? สหพันธ์การขนส่งทางบกแห่งประเทศไทย เผยว่า ผู้ประกอบการรถบรรทุกที่ได้เปลี่ยนมาใช้ เครื่องยนต์ NGV มีความคุ้มค่าอย่างมากต่อการลงทุน เพราะมีราคาต�่ากว่าน�้ามันดีเซล เกินครึง่ หนึง่ และมีสมรรถนะการขับเคลือ่ นทีเ่ ท่าเทียมระบบเดิม ถึงแม้วา่ จะประสบปัญหาก๊าซ NGV ไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้ใช้โดยเฉพาะภาคขนส่งก็ตาม แต่ปัจจุบันหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องอย่าง ปตท. ได้เพิ่มการผลิตก๊าซ NGV มากขึ้น จนปัจจุบันอยู่ที่ประมาณวันละ 8,000 ตัน/วัน แต่ตลาดมีความต้องการอยู่ที่ 8,800 ตัน/วัน ซึ่งถือว่ากลุ่มขนส่งมีปัญหา ในเรื่องนี้ลดลง แต่ที่น่าเป็นห่วงคือ หากมีการปรับราคาก๊าซ NGV เพิ่มขึ้นอีก ผู้ประกอบการ อาจจะประสบปัญหาตามมาได้ NGV-DEVELOPMENT ในฐานะบริษัทติดตั้ง NGV ในภาคขนส่ง ให้ข้อมูลว่า บริษัทฯ ได้ คิดค้นและพัฒนาระบบ TFC (TWIN FUEL COMMONRAIL) ต่อยอดจากการติดตั้ง NGV เดิ ม ที่ มี ก ารติ ด ตั้ ง กั น โดยทั่ ว ไป โดยเป็ น ระบบที่ ไ ม่ ต ้ อ งท� า การเปลี่ ย นหรื อ ดั ด แปลง เครื่องยนต์แต่อย่างใด เนื่องจากลูกค้าที่มาใช้บริการส่วนใหญ่จะใช้รถเชิงพาณิชย์และจะ เป็ น รถดี เ ซล เหมาะกั บ การบรรทุ ก ได้ ห นั ก กว่ า เครื่ อ งเบนซิ น แต่ ป ั ญ หาที่ พ บคื อ ผู้ประกอบการหรือผู้ใช้รถติดตั้งระบบพลังงานทางเลือกที่ไม่ได้มาตรฐาน ท�าให้การประหยัด ไม่ดีเท่าที่ควร ท�าให้ระบบ NGV ดีเซลหรือระบบใช้งานร่วมเงียบหายไป และผู้บริโภคก็อคติ ในเวลาต่อมา ที่ผ่านมาบริษัทยังเคยติดตั้งระบบ NGV บนเรือสินค้าขนาด 600,000 ตัน เป็นรายแรกโดยที่ไม่ต้องดัดแปลงเครื่องยนต์แต่อย่างไร ซึ่งมองเรื่องของพลังงานทางเลือก เป็นสิ่งส�าคัญ เพราะสามารถประหยัดค่าเชื้อเพลิงได้ไม่ต�่ากว่า 600,000 บาท ต่อเที่ยวเลย ทีเดียว

July 2014 6/24/2557 BE 3:44 PM


ส่ ว นตั ว มองว่ า พลั ง งานทางเลื อ กเหมาะ ส�าหรับผู้ใช้รถในเชิงพาณิชย์ที่ส่วนใหญ่เป็น เครื่องยนต์ดีเซล หากผู้ประกอบการหันมา ใช้พลังงานทางเลือกมากขึ้น ประเทศไทยจะ สามารถลดการน�าเข้าเชื้อเพลิงปีละไม่น้อย เพียงแต่ว่าผู้ประกอบการต้องติดตั้งกับศูนย์ บริการที่ได้มาตรฐานเท่านั้น และถ้าหากรถ ที่ ใช้ น�้ า มั น ดี เซลในประเทศไทยหั น มาใช้ ระบบนี้มากขึ้น จะท�าให้การน�าเข้าน�้ามัน ดี เซลลดน้ อ ยลงและเป็ น การตอบสนอง นโยบายวาระแห่งชาติได้อีกทาง อนาคตของประเทศไทยกั บ เรื่ อ งของ พลังงาน เชื่อหรือไม่ ?.... ปัญหาที่เปรียบเสมือนภัย เงียบของประเทศไทยคืออะไร… ภัยเงียบที่ ค่อย ๆ เกาะกินประเทศไทยทีละน้อย ๆ เป็ น ความไม่ เข้ า ใจในเรื่ อ งของพลั ง งาน อย่างแท้จริง โดยเฉพาะกับภาคประชาชนที่ มองเรื่องของราคาพลังงานเป็นหลักเพียง อย่างเดียว หรือ คิดตามง่าย ๆ คือ อยากใช้ พลั ง งานที่ มี ร าคาถู ก จึ ง กดดั น มาที่ ภ าค รัฐบาลให้ช่วยเหลือในทุกๆ ด้าน โดยลืม มองไปว่า ประเทศไทยไม่ได้เป็นผู้ผลิต พลั ง งานเองได้ ปัจจุบัน ที่มีใช้อ ยู่เ กิดจาก การน�าเข้าพลังงานเกือบทั้งหมด

ส�าหรับประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว เรือ่ งของ นโยบายพลังงานจะถูกแบ่งแยกออก จากการเมืองอย่างสิ้นเชิง เพราะ นโยบายพลังงาน ไม่สามารถน�าเอา มาเป็นเครือ่ งต่อรองทางการเมืองได้ การบิดเบือนกลไกตลาดหรือราคา พลั ง งานที่ ไ ม่ เ ป็ น ไปตามกลไก ตลาดโลก จะท�าให้การใช้พลังงาน ไม่มีประสิทธิภาพพอ การพัฒนา พลังงานทางเลือกหรือพลังงานทดแทนจึงถูกมองข้ามอย่างไม่น่าจะเป็น หรือต้องรอให้ น�้ามันจากประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่หมดไปเสียก่อนค่อยมาพัฒนาพลังงานทางเลือก อีกครั้งคงสายไป... ยกตัวอย่างง่าย ๆ แหล่งก๊าซธรรมชาติในพื้นที่อ่าวไทยที่ใช้มาเป็นเวลานาน อาจจะหมดลง ในระยะเวลาไม่กี่สิบปี เมื่อถึงวันนั้นประเทศไทยจะต้องมีการน�าเข้าพลังงานที่หมดไปใน ราคาที่สูงกว่าในอ่าวไทยเท่าตัว ส่งผลถึงต้นทุนการผลิตไฟฟ้าที่อาศัยก๊าซธรรมชาติในการ ผลิตไฟฟ้าเกือบทั้งหมด ค่าไฟฟ้าก็จะขึ้น ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ก็ปรับตาม ทีนี้คนในประเทศ จะท�าอย่างไรกันต่อไป ลองนึกดูเล่น ๆ นะครับ หากประเทศไทยยังไม่หันมาใส่ใจพลังงาน ทางเลือก หรือ พลังงานทดแทนอย่างจริงจังเสียที

July 2014 23 Energy#68_p18-23_iMac5.indd 23

6/24/2557 BE 3:45 PM


Interview

อภัสรา วัลลิภผล

24 Energy#68_p24-29_iMac5.indd 24

July 2014 6/21/2557 BE 2:40 PM


ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

ศูนย์ประชุมแห่งแรกในเอเชีย กับรางวัล ISO 20121 ศู น ย์ ก ารประชุ ม แห่ ง ชาติ สิ ริ กิ ติ์ นั บ เป็ น ศู น ย์ ก ารประชุ ม และการจั ด นิทรรศการมาตรฐานสากลแห่งแรกของประเทศไทย บริหารงานโดย บริษัท เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด มีความ โดดเด่ น ด้ ว ยสถาปั ต ยกรรมที่ ส ะท้ อ นเอกลั ก ษณ์ ค วามเป็ น ไทยได้ อย่ า งลงตั ว เพี ย บพร้ อ มด้ ว ยอุ ป กรณ์ แ ละสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก ครบครัน เช่น ระบบแปลภาษาที่ได้มาตรฐานสากล ระบบอินเทอร์เน็ต ไร้ ส ายทั่ ว พื้ น ที่ ศู น ย์ ก ารประชุ ม โทรศั พ ท์ ส ายตรงระหว่ า งประเทศ 1,000 คู ่ ส าย ร้ า นอาหาร ศู น ย์ อ าหาร ตลอดจนมุ ม อาหารและ เครื่องดื่มศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ และเมื่อไม่นานมานี้ ทางศูนย์การประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ได้รับ ISO 20121 มาตรฐาน การจัดการและบริหารธุรกิจอีเวนต์อย่างยั่งยืน แห่งแรกในเอเชีย ตอกย�ำ้ ความเป็นผู้น�ำใน ธุ ร กิ จ ไมซ์ ตลอดจนการบริ ห ารจั ด การ ที่ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม พร้อมใช้เป็นกลยุทธ์ แข่ ง ขั น กั บ ธุ ร กิ จ ไมซ์ ใ นระดั บ นานาชาติ ซึ่ ง ก่ อ นหน้ า นี้ มีส ถานประกอบการที่ไ ด้ มาตรฐานนี้มาแล้ว แต่เป็นขอบข่ายอื่นๆ ได้แก่ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี รอยัล เมอริเดียน ที่ได้รับ ISO 20121 Event Sustainability Management System for the planning and delivery of sustainable meeting และ บริ ษั ท คิ ง ส์ เ มนส์ ซี . เอ็ ม .ที . ไอ ที่ ไ ด้ รั บ ISO 20121 ส�ำหรับประเภทธุรกิจการจัดงาน อีเวนต์ Money Expo

คุณศักดิ์ชัย ภัทรปรีชากุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด ผู้บริหารศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เผยว่า ธุรกิจไมซ์เป็นธุรกิจ ขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบในวงกว้าง อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และการใช้ ทรัพยากรจ�ำนวนมาก ท�ำให้เราต้องหันมามองว่าจะแก้ หรือลดปัญหาเหล่านี้อย่างไรได้บ้าง ศูนย์ฯ สิริกิติ์ เล็งเห็นความส�ำคัญของมาตรฐาน ISO 20121 ที่มีระบบการบริหารที่ดี ท�ำให้ เกิดการจัดการที่ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม และยังช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับ นานาชาติ ประกอบกับการทีศ่ นู ย์ฯสิรกิ ติ เิ์ องมีการด�ำเนินโครงการ Committed to Green MICE มาตั้งแต่ปี 2533 จึงนับเป็นการต่อยอดจากสิ่งได้ทำ� มาแล้ว จึงเดินหน้าเข้าร่วมมาตรฐาน ISO 20121 Event Sustainability Management System ซึ่งเป็นมาตรฐานสากลการจัดการ และบริหารธุรกิจอีเวนต์อย่างยั่งยืนตามค�ำเชิญของทีเส็บในปี 2556 ที่ผ่านมา โดยมีบริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งเป็นองค์กรระดับโลก ช่วยในการให้คำ� ปรึกษา แนะน�ำรวม ถึงการตรวจสอบการยื่นขอระบบ ISO 20121 ถึงวันนี้เรารู้สึกยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการดี ๆ ที่มีคุณค่าต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจเช่นนี้ ทั้งนี้ ที่ผ่านมาเราได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาด้านสถานที่ และการให้บริการอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับ มอก. 22300 มาตรฐานระบบการจัดการด้านการรักษาความปลอดภัย ส�ำหรับ การจัดประชุม สัมมนา และนิทรรศการ ในปี พ.ศ. 2551 ได้รับมาตรฐานการจัดการด้าน พลังงาน ISO 50001 เพื่อให้ศูนย์ประชุมมีการจัดการด้านพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพตาม มาตรฐานสากล โดยหลังจากนี้เราจะมีแผนกลยุทธ์เพื่อการต่อยอดการใช้ระบบมาตรฐาน ISO 20121 ในหลากหลายรู ปแบบ เพื่ อเป็ น การส่ งเสริ ม สนั บสนุนให้อ งค์กรต่า ง ๆ เห็นความส�ำคัญ และมีส่วนร่วมในโครงการนี้อย่างเป็นรูปธรรม July 2014 25

Energy#68_p24-29_iMac5.indd 25

6/21/2557 BE 2:40 PM


Interview

รังสรรค์ อรัญมิตร

ËÒ¡¾Ù´¶Ö§ÍÒ¡ÒȹÑ้¹ËÅÒ¤¹ÍÒ¨¨ÐÂѧäÁ‹·ÃҺNjÒÁÕºÃÔÉÑ··Õ่·ํÒ¸ØáԨà¡Õ่ÂǡѺ¡ÒùํÒÍÒ¡ÒÈÁÒá¡ ¼ÅԵ໚¹¡ Ò«à¾×่͹ํÒ仨ํÒ˹‹Ò â´ÂÍÒ¡ÒÈ·Õ่¹ํÒÁÒᡨлÃСͺ´ŒÇ¡ Ò«ËÅÑ¡ æ 3 ª¹Ô´ 䴌ᡋ ÍÍ¡«Ô ਹ ä¹âµÃਹ áÅÐ ÍÒà ¡ ͹ ´Œ Ç Â¢Ñ้ ¹ µÍ¹·Ò§ÇÔ ·ÂÒÈÒʵà ¼ ‹ Ò¹âçá¡ÍÒ¡ÒÈËÃ× Í Air Separation Unit (ASU) â´Â¡ÒùํÒàÍÒÍÒ¡ÒÈÁÒ¼‹Ò¹¡Ãкǹ¡ÒÃà¡Õ่ÂǡѺ¡ÒÃ㪌¤ÇÒÁ´Ñ¹ áÅФÇÒÁàÂ็¹ÂÔ่§ÂÇ´

26 Energy#68_p24-29_iMac5.indd 26

July 2014 6/21/2557 BE 2:41 PM


การบริหารจัดการธุรกิจและพลังงานแบบ ลินเด้ สู่แนวทางการเติบโต ทั้ ง นี้ ใ นการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ผลิ ต ก๊ า ซจาก การแยกอากาศมีกระบวนการอย่างไรนั้น คุณคีรนิ ทร์ ชูธรรมสถิตย์ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร กลุ่มบริษัทลินเด้ประเทศไทยและ เวียดนาม เล่าให้ฟังถึงที่มาของการด�ำเนิน ธุรกิจโรงแยกอากาศ และกระบวนการผลิตว่า ส�ำหรับลินเด้ประเทศไทย นัน้ เป็นผูผ้ ลิตและ จ�ำหน่ายก๊าซพิเศษ ก๊าซอุตสาหกรรมและก๊าซ ทางการแพทย์รวมถึงให้บริการครบวงจรเกีย่ ว กับการติดตัง้ อุปกรณ์กา๊ ซ ท่อส่งก๊าซ เครือ่ ง ผลิตก๊าซและบริการด้านวิศวกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ ผลิตภัณฑ์กา๊ ซส�ำหรับงานเชือ่ ม ผลิตภัณฑ์ ก๊าซส�ำหรับด้านความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม ในระบบการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม ในกระบวนการแยกอากาศนั้นจะได้สัดส่วน ของก๊าซแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ ออกซิเจน 21% ไนโตรเจน 78% และ อาร์กอน 1% จากการ แยกอากาศ โดยอากาศทีถ่ กู ลดอุณหภูมลิ ง ติ ด ลบ 183 องศาเซลเซี ย ส จะท� ำ ให้ ไ ด้ ออกซิเจนเหลว อากาศทีถ่ กู ลดอุณหภูมติ ดิ ลบ 186 องศาเซลเซียส จะได้อ าร์กอนเหลว และอุ ณ หภู มิ ติ ด ลบ 196 องศาเซลเซี ย ส จะได้ไนโตรเจนเหลว เมือ่ ได้กา๊ ซเหลวทีแ่ ยกออกมาแล้วก็จะถูกจัด เก็บไว้ในถังเก็บขนาดใหญ่เพือ่ น�ำส่งให้ลกู ค้า กลุม่ ต่าง ๆ เช่น ผลิตภัณฑ์ไนโตรเจนเหลว น� ำ ไปใช้ ใ นกลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมอาหารและ เครือ่ งดืม่ โดยใช้ในการไล่อากาศ เก็บรักษา ความสดของอาหาร ผลิตภัณฑ์กา๊ ซไนโตรเจน ใช้ ใ นกลุ ่ ม ปิ โ ตรเคมี ค อล โรงกลั่ น น�้ ำ มั น ใช้ ใ นการไล่ ก ๊ า ซติ ด ไฟเพื่ อ ควบคุ ม ความ ปลอดภั ย ในกระบวนการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก๊าซออกซิเจน ใช้ในกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์

โรงงานเหล็กเพื่อใช้ในการหลอมเหล็ก ตัดเหล็ก ผลิตภัณฑ์ก๊าซออกซิเจนเหลว เป็นก๊าซใช้ใน โรงพยาบาลทีใ่ ช้สำ� หรับช่วยเหลือผูป้ ว่ ยหายใจ ผลิตภัณฑ์อาร์กอนเหลว ส�ำหรับโรงงานเชือ่ มเหล็ก โดยผลิตทั้งหมดจะผ่านรูปแบบการจัดส่งที่แตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับรูปแบบการใช้งาน และปริมาณการใช้ของลูกค้าหรือผู้ใช้ เช่น การจัดส่งทางท่อ การขนส่งโดยรถบรรทุกก๊าซ เหลวหรือการแบ่งบรรจุใส่ภาชนะบรรจุก๊าซแรงดันสูง อย่างไรก็ตามจากการเติบโตของกลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมต่ า ง ๆ และมีความต้องการใช้กา๊ ซพิเศษ เพิ่ ม ขึ้ น ลิ น เด้ จึ งได้ ลงทุ น สร้ า งโรงแยกอากาศลิ น เด้ มาบตาพุ ด หน่ว ยที่ 3 ขึ้นในนิค ม อุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก จากโรงแยกอากาศปัจจุบันที่มีอยู่แล้ว 2 แห่งในมาบตาพุด โดยโรงแยกอากาศแห่งใหม่นี้มีมูลค่าการลงทุนถึง 3,500 ล้านบาทมีกำ� ลังการผลิตก๊าซเหลว พิเศษที่สูงที่สุดในประเทศไทยถึง 800 ตันต่อวัน เพื่อรองรับความต้องการใช้ก๊าซของลูกค้า ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งเมื่อนับก�ำลังการผลิตรวมจะท�ำให้ลินเด้ประเทศไทยมีก�ำลัง การผลิตรวมถึง 1,900 ตันต่อวัน ด้านการบริหารจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อมนั้น โรงงานทุกโรงของลินเด้ได้รับการรับรอง มาตรฐานทัง้ ในระดับประเทศและระดับนานาชาติ ได้แก่ ISO 9001 ISO 14001 ISO GUIDE 34 ISO 17025 GMP HACCP CSR-DIW มาตรฐาน Green Industry Level 3 เป็นต้น และยังเป็น ที่ทราบกันดีว่าธุรกิจแยกอากาศจะไม่มีของเสียปล่อยออกมา เนื่องจากใช้อากาศมาเป็น วัตถุดบิ ในการผลิต โดยเป็นธุรกิจอุตสาหกรรมสะอาด ไม่มวี ตั ถุดบิ อะไรที่เป็นผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม นโยบายของลินเด้เน้นการท�ำธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจะเน้นเรื่องของ ความปลอดภัยเป็นหลัก ส่วนภาพรวมทัง้ หมดของธุรกิจของลินเด้ปจั จุบนั มีโรงแยกอากาศทัง้ หมด 6 แห่ง และมีโรงผลิต คาร์บอนไดซ์ออกไซค์ CO2 ซึ่งโรงผลิตก๊าซคาร์บอนไดซ์ออกไซค์ 4 โรง ยอดขายในปัจจุบัน 8,000 ล้านบาท มีสว่ นแบ่งการตลาดอันดับหนึง่ ของประเทศไทย ทัง้ นีใ้ นการเติบโตของลินเด้ นอกจากการเติบโตของอุตสาหกรรมต่าง ๆ แล้วในแง่ของการบริหารจัดการธุรกิจก็เป็นส่วนส�ำคัญ ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งความปลอดภัยของลินเด้และของลูกค้า สร้างความปลอดภัยในกับลูกค้า ถ้าหาก ลูกค้าได้รบั ความปลอดภัยจากลินเด้ลกู ค้าก็จะไว้ใจและให้การสนับสนุนลินเด้เอง นอกจากนัน้ ในการด�ำเนินงานต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้แข่งขันได้ในตลาด ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งต้นทุนการผลิตเรือ่ งการส่งมอบสินค้าให้ถกู ต้องตรงตามคุณภาพ ความต้องการ ของลูกค้า ตรงตามเวลาที่ลูกค้าต้องการพอดี เพื่อสร้างความมัน่ ใจกับลูกค้า อย่างไรก็ตาม สิ่งส�ำคัญที่สุดของการเติบโต คือ บุคลากรทุกคนที่สามารถดูแลลูกค้าให้บริการลูกค้าได้ และสามารถที่จะมารองรับการขยายธุรกิจได้ การให้ผลประโยชน์ที่เหมาะสมแก่บุคลากร รวมถึงความเจริญเติบโตทางหน้าทีก่ ารงาน July 2014 27

Energy#68_p24-29_iMac5.indd 27

6/21/2557 BE 2:41 PM


Interview

นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

รากฐานการพั ฒ นาชุ ม ชน ถื อ เป็ น พื้ น ฐานที่ ส� ำ คั ญ ของ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ท่ า มกลางความเปลี่ ย นแปลง และวิ ก ฤตทางเศรษฐกิ จ ใน ปัจจุบัน ทุกภาคส่วนจึงต้อง ปรั บ ตั ว เพื่ อ รั บ มื อ กั บ ความ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ล ะ ช ่ ว ย กั น ป ร ะ คั บ ป ร ะ ค อ ง เ พื่ อ ใ ห ้ ประเทศชาติ เ ดิ น หน้ า ต่ อ ไป จึ ง ไม่ แ ปลกที่ ภ าคเอกชนจะ เข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มในการช่ ว ย แก้ ป ั ญ หาดั ง กล่ า วในชุ ม ชน เพราะการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ชุมชนและสิง่ แวดล้อม เป็นกลไก หลักของการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยรวม ในการบรรเทาปัญหา และเสริมสร้างมาตรฐานชีวิต ให้ดขี น ึ้

28 Energy#68_p24-29_iMac5.indd 28

July 2014 6/21/2557 BE 3:00 PM


นวัตกรรมสังคม ความสุขที่ยั่งยืนสู่ชุมชน ผศ. ดร. กฤตินี ณัฏฐวุฒสิ ทิ ธิ์ สถาบันบัณฑิต บริ ห ารธุ ร กิ จ ศศิ น ทร์ แห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ได้ให้แนวคิดที่ภาคเอกชนใช้ บรรเทาปัญหาชุมชนว่า ที่ผ่านมา องค์กร เอกชนมักด�ำเนินกิจกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อม และสังคม หรือ Social Contribution ด้วย วิ ธี ก ารช่ ว ยเหลื อ ทางการเงิ น แก่ ชุ ม ชนที่ ประสบปัญหาในรูปแบบต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็น การบริจาคเงินหรือสิง่ ของต่าง ๆ ให้แก่ชมุ ชน รวมทั้ ง ระดมแรงอาสาสมั ค รช่ ว ยพั ฒ นา สิง่ แวดล้อมในชุมชน ต่อมาเริม่ มีการผนวก แนวคิดความรับผิดชอบขององค์กรต่อสังคม หรือ CSR เป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์ องค์กรท�ำให้เกิดมุมมองต่องานการพัฒนา สั ง คมที่ สั ม พั น ธ์ กั บ งานขององค์ ก รในการ บริหารธุรกิจมากขึน้ ความท้าทายในการแก้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ ในระยะ ยาวแก่ชุมชนและสิ่งแวดล้อม คือ นโยบาย ขององค์กรเอกชนที่ด�ำเนินการช่วยเหลือ ไม่ตอ่ เนือ่ ง การช่วยเหลือมาในรูปแบบการสร้าง ภาพลักษณ์ หรือผลประโยชน์รว่ มกันมากกว่า การเข้ า ถึ ง ปั ญ หาของชุ ม ชนอย่ า งแท้ จ ริ ง เพือ่ การแก้ไขทีต่ รงประเด็นและความสม�ำ่ เสมอ ในการส� ำ รวจติ ด ตามผลที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อีกทัง้ ยังมีขอ้ จ�ำกัดทีจ่ ะเอือ้ ให้ชมุ ชนยืนหยัด ได้ดว้ ยตัวเอง เพราะชุมชนอาจเกิดการคาดหวัง จากการให้เปล่ามากกว่าการใช้องค์ความรูเ้ พือ่ เลี้ยงชีพหรือฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง ด้วยเหตุน้ีองค์กรขนาดใหญ่ที่มีความมั่งคั่ง จึงเริม่ หันมาสนใจการสร้างความมัน่ คงให้แก่ ชุมชนในระยะยาวโดยผ่านการแบ่งปันองค์ ความรูจ้ ากองค์กรสูส่ งั คม ซึง่ ในเชิงเศรษฐกิจ ชุมชนนัน้ สามารถมองได้วา่ วิธนี เี้ ป็นอีกทาง เลือกทีส่ ามารถเรียกได้วา่ “นวัตกรรมสังคม” หรือ Corporate Social Innovation (C-SI) ถือ เป็นวิธที มี่ ปี ระสิทธิภาพในการบรรเทาปัญหา ดังกล่าว เพื่อให้ชุมชนสามารถด�ำเนินธุรกิจ ให้มรี ายได้อย่างยัง่ ยืน

หลักการด�ำเนินงานนวัตกรรมสังคมเป็นการแบ่งปันองค์ความรู้ ปัจจัยความส�ำเร็จ ปรัชญา ความคิดและลงมือปฏิบตั ดิ ว้ ยกันทีภ่ าคธุรกิจมีให้แก่ชมุ ชนเพือ่ วางรากฐานการพัฒนาชุมชน โดยคลุกคลีกบั ชุมชนและสอนวิธกี ารด�ำเนินงานธุรกิจเพือ่ เลีย้ งชีพตนเอง วิธกี ารนีม้ คี วามจ�ำเป็น และส�ำคัญต่อชุมชนอย่างมาก เพราะความรูท้ ชี่ มุ ชนได้รบั จากภาคเอกชน คือ การสอนให้คดิ เป็นและท�ำอย่างเป็นระบบ จนสามารถน�ำไปประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงชีพตนเองได้และสร้าง รายได้ ให้ แก่ ชุ ม ชนอย่ า งยั่ งยื น เปรี ย บเสมื อนความรู ้ ที่ จะติ ด ตั วพวกเขาไปตลอดชีวิต ซึง่ วิธกี ารนีม้ ปี ระสิทธิผลในระยะยาวมากกว่ากิจกรรมเพือ่ สังคมต่าง ๆ ทีเ่ ป็นการให้แค่เพียง ผิวเผินแต่ไม่ก่อให้เกิดการสร้างรายได้อย่างยั่งยืนอันน�ำไปสู่ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของ ชุมชนได้ ส�ำหรับในต่างประเทศได้มกี ารเริม่ แนวคิดทีใ่ กล้เคียงกันมาบ้างแล้ว โดยน�ำเสนอความหลากหลาย ทางความคิด ค้นหาแรงบันดาลใจ ร่วมมือประสานงาน และประเมินผลในชุมชนและสังคม นัน้ ๆ เพือ่ ด�ำเนินธุรกิจทีต่ อบสนองความต้องการของชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม มากกว่า ผลก�ำไรทางธุรกิจเพียงอย่างเดียว ส่วนในประเทศไทยมีกรณีศกึ ษาในธุรกิจชุมชนทีเ่ ริม่ บุกเบิก และมีความชัดเจนในการใช้นวัตกรรมสังคมเข้ามาช่วยเหลือจากองค์กรขนาดใหญ่ ยกตัวอย่าง โรงสีขา้ วรัชมงคล โรงสีขา้ วตามแนวพระราชด�ำริทดี่ ำ� เนินงานมากว่า 15 ปี โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่เกษตรกรท้องถิ่นด้วยการรับซื้อข้าวเปลือกจากชาวนา และสหกรณ์การเกษตรชุมชนในราคายุตธิ รรม และจ�ำหน่ายในราคาทีเ่ หมาะสมแก่ผบู้ ริโภค โรงสีขา้ วรัชมงคล ได้มกี ารวางผังการด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลูกฝังให้พนักงาน มีจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัยเพื่อลดค่าเสียหายและลดการเสียโอกาสจากการเกิดอุบัติเหตุ มีระบบการผลิตตรงตามเวลามาใช้ในการวางแผนรับข้าวเปลือกและผลิตข้าวตามความ ต้องการของลูกค้า โดยมุ่งเน้นเรื่องการจัดการสินค้าคงคลัง มาใช้ในการวางแผนการผลิต เพือ่ ลดต้นทุนทีเ่ กิดจากการเก็บรักษาสินค้าทีผ่ ลิตมามากเกินความต้องการของตลาด รวมถึง สินค้าที่ได้จะมีความสดใหม่คงคุณภาพสูงสุดสูล่ กู ค้าอยูเ่ สมอ อีกทัง้ ยังมีการน�ำระบบการจัดการ ต่าง ๆ มาใช้เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สงู สุด ตลอดจนช่วยลด เวลาในการด�ำเนินงาน ซึง่ เป็นตัวอย่างทีน่ า่ สนใจในการน�ำแนวทางดังกล่าวมาใช้งาน ประเทศไทยถือเป็นประเทศทีม่ หี ลากหลายด้านทรัพยากรและสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ ยังมีบริษทั ใหญ่ ที่มีความพร้อมเข้ามาลงทุนและมาใช้ทรัพยากรของประเทศ ประเทศไทยจึงสมควรที่ได้รับ ประโยชน์ หรือได้ผลตอบแทนจากองค์กรหรือบริษทั ขนาดใหญ่ และน�ำความยัง่ ยืนมาส่งเสริม สังคมไทย ทีส่ ำ� คัญการส่งเสริมสังคมไทยทีย่ งั่ ยืนนีค้ วรจะเป็นไปอย่างจริงใจให้คนไทยมีความเจริญ และความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ ซึง่ หากท�ำได้ทกุ คนทุกฝ่ายในสังคมก็จะได้รบั ประโยชน์อย่างแท้จริง นวัตกรรมสังคม แนวคิดทีภ่ าคธุรกิจเข้าไปแบ่งปันองค์ความรู้ เพือ่ พัฒนา ชุมชน และสิง่ แวดล้อม พร้อมลงมือปฏิบัติด้วยการเข้าไปคลุกคลีกับชุมชนเพื่อให้เข้าใจความต้องการและต้นต่อ ปัญหาอย่างตรงจุด ส่งผลให้ชมุ ชนมีความเชีย่ วชาญ เข้มแข็ง และเลีย้ งตัวเองได้ในทีส่ ดุ

July 2014 29 Energy#68_p24-29_iMac5.indd 29

6/21/2557 BE 2:41 PM


Special report อภัสรา วัลลิภผล

นิสิตศศินทร์ จุฬาฯ คว้าแชมป์ประกวดกิจการ “พลังงานสะอาด” พร้อมเตรียมเดินหน้ารุกธุรกิจพลังงานอย่างต่อเนื่อง ทีมเรดิเจน นิสติ จากสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย คว้ า รางวั ล ชนะเลิ ศ ในการประกวดกิจการ “พลังงานสะอาด” ซึง่ เป็นการแข่งขัน เพื่อชิงรางวัลพิเศษกับทีมเจ้าภาพของ University of Texas ที่ Austin โดย ทีมเรดิเจน สามารถคว้ารางวัล Wells Fargo Clean Energy Award และได้รับ เงิน รางวัลส�ำหรับการชนะเวทีนอี้ ก ี $20,000 และยังได้รบ ั รางวัลรองชนะเลิศจากการแข่งขัน 2014 Global Venture Labs Investment Competition (GVLIC) ที่ University of Texas ประเทศสหรัฐ อเมริก า ซึ่งถือกันว่าเป็น การแข่ ง ขั น วางแผนธุ ร กิ จ ชิ ง แชมป์ โ ลกในระดั บ บัณฑิตศึกษาอีกด้วย

ในการแข่งขัน GVLIC เป็นที่รู้จักในนามของ Global Moot Corp ซึ่ ง เป็ น การแข่ ง ขั น ประกวดวางแผนธุ ร กิ จ ที่ เ ก่ า แก่ ที่ สุ ด และมี การจัดการแข่งขันมายาวนานทีส่ ดุ ในโลกก็วา่ ได้ โดยในปัจจุบนั จัดขึน้ เป็นปีที่ 31 แล้ว และส�ำหรับ ในปีนี้ มีทมี ทีเ่ ข้าร่วมการแข่งขันทัง้ หมด 38 ทีม จาก 12 ประเทศ มีรางวัลเป็นเงินสดมูลค่า มากกว่า US$78,000 ในบรรดาทีมที่เข้าร่วม ประกวดครั้งนี้ มีทีมจาก Stanford, Georgia Tech, Queensland University of Technology, Chinese University of Hong Kong, ทีมร่วม ระหว่าง MIT และ Harvard และมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ร่วมอยู่ด้วย

30 Energy#68_p30-31_iMac5.indd 30

ในส่วนของสมาชิกของทีมเรดิเจนนัน้ ประกอบไปด้วย คุณเมธิศร์ โยชิทากะ อิชฮิ าร่า คุณววารีภรณ์ นิวาสสวัสดิกลุ คุณอภิวงษ์ วนะไชยเกียรติ คุณภูมภิ าส ลัญจกรกุล คุณแพรพรรณ รัตนอมรพิน และ คุณจิรัชญา ดวงบุรงค์ (นิสิตปริญญาเอกสาขาธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ซึ่งสมาชิกทั้งหมดเล่าถึงที่มาของรางวัลชนะเลิศจากการประกวด กิจการพลังงานสะอาดว่า เป็นการน�ำผงยางที่ผ่านกระบวนการจากการใช้ เป็นพวกผงยางรถ ที่ใช้แล้ว น�ำเอามาบดระเอียดแล้วน�ำรวมกับพลาสติกทั่ว ๆ ไปที่เป็นเม็ดอยู่แล้ว สูตรของเรา คือ เป็นสูตรผสม และสูตรสารเคมีทจี่ ะท�ำให้สองสิง่ นีส้ ามารถเข้ากันได้ ซึง่ โดยปกติแล้ว ตัวผงยาง กับเม็ดพลาสติกจะไม่สามารถผสมกันได้ หรือถ้าผสมกันไปแล้วก็ไม่สามารถทีจ่ ะเข้าเป็นเนือ้ เดียว กันได้ เหมือนอย่างเช่น ลองนึกภาพเอาดินน�้ำมันและทรายเอามาผสมกันผลจะปรากฎว่า ท�ำอย่างไรสองสิ่งนี้ก็ไม่สามารถที่จะเข้ากันได้ ก็เหมือนผงยางที่ซ่อนอยู่ในเม็ดพลาสติกนั่นเอง ซึ่งในปัจจุบันเรายังไม่เห็นมีเจ้าไหนท�ำ แต่ถ้าถามว่าดีไหม ก็ตอบได้ว่ายังพอใช้ได้ แต่ว่าตัว คุณสมบัติบวกกับคุณภาพจะไม่ได้ดีเหมือนเม็ดพลาสติก ซึ่งการเอาพลาสติกรีไซเคิลมาใช้นั้น เทียบกันไม่ได้อยู่แล้วกับเม็ดพลาสติกใหม่ คุณภาพยังห่างกันมาก แต่เมื่อน�ำเม็ดพลาสติกมา ผสมกับยางนัน้ คือ ต้นทุนลดลง สองส่วนผสมและสารเคมีทเี่ รามีทำ� ให้คณ ุ สมบัตขิ องสองอย่างนี้ เป็นตัวเดียวกันและสนับสนุนกัน คือ ท�ำให้คุณภาพดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เราจึงน�ำมาหลอม เป็นเม็ดเพื่อที่จะขายให้เป็นเม็ดพลาสติก “เมเกิ้ล” หรือคนที่ใช้ โรงงานพลาสติกทั่ว ๆ ไป เม็ดพลาสติกของเราไม่ใช่การอัด แต่เป็นการเอามาหลอมให้เป็รเนือ้ เดียวกัน ซึง่ จะแตกต่างกับ เม็ดอัดชีวมวล เพราะฉะนั้นเวลาส่งให้ผู้ประกอบการที่เป็นโรงงานพลาสติกใช้แล้วก็สามารถ ใช้ทดแทนเม็ดพลาสติกใหม่ได้เลย

July 2014 6/24/2557 BE 12:38 AM


Special report

สํ า หรั บ การทํ า โครงการนี้ ไ ม ไ ด เ ป น การทํ า โปรเจคจบ แตเปนการเริ่มทําธุรกิจมากอน จึ ง ทํ า ให เราอยากลงแข ง ขั น เพราะมองว า การแข ง ขั น สามารถมี โ อกาสได พ บเจอกั บ นักลงทุนจริง ๆ รวมทัง้ ไดพบเจอกับกรรมการ ที่มาจากโรงงานอุตสาหกรรม หรือแมกระทั่ง นักธุรกิจที่กําลังมองหาสิ่งใหม ๆ เพื่อนําที่ได มาปรับใชการสิ่งที่ทําอยู ทางทีมใชเวลาครึ่งป ในการหาข อ มู ล และหาสิ่ ง ที่ จ ะมาทํ า ให มี โอกาสในการนํามาทําเปนธุรกิจ และในที่สุด ก็ปงในตัวของเม็ดพลาสิก ซึ่งคิดวานาจะมี โอกาสทางการตลาดที่สามารถทําได ถารวม กับการหาขอมูลและการเตรียมแขงแลวก็ใช เวลา 1 ปเต็มพอดี

เมือ่ มองในมุมของคูแ ขงของเรา จะมีอยู 2 กลุม คื อ 1. ของที่ ไ ด ราคาถู ก แต คุ ณ ภาพไม ไ ด 2. คุณภาพได แตไดเปนบางล็อคเทานัน้ เพราะพลาสติกบางิอยางจะมีเศษขยะอืน่ ๆ ปนมาดวย ซึ่ ง เมื่ อ เที ย บกั บ ของเราถื อ ว า ของเราอยูในเกณฑดี แตสุดทายก็ตองขึ้นอยูกับผูประกอบ การดวยวาจะเลือกใชแบบไหน ในการผลิตนั้นเรามีโรงงานอยูที่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรสงคราม จริง ๆ และในอนาคตเราเองกําลังมองหาทีจ่ ะทําโรงงานเอง ซึง่ ตอนนี้ เราจางเขาทํา เรียกงาย ๆ วา เชาพื้นที่อยูนั่นเอง แตทางเราไดทําการจดทะเบียนบริษัท เรียบรอยแลว สวนกระบวนการผลิตนั้นไมมีรับรองเลยวาไมมลพิษอยางแนนอน เราเลือกใช เครื่องผลิตที่เปนระบบปด เพื่อปองกันสิ่งแปลกปลอม และไมใหมีอะไรที่อยูในเครื่องหลุดรอด ออกมาในโรงงาน วัตดุดิบจึงไมมีสารเคมีที่เปนอันตราย ไมมีสารตกคางอยูในของที่ใสเปน สวนผสม เพราะในการเลือกซื้อวัสดุดิบนั้น จะมีการตรวจสอบกอนเสมอ ยางที่สั่งมาตองมี ความสะอาด ไมมีสารปนเปอน ซึ่งยางที่เรามาจะเปนในรูปแบบผงมา ซึ่งปจจุบันมีโรงงานที่ทํา ยางผงแบบนีอ้ ยูแ ลว เมือ่ ถามถึงการตอยอดธุรกิจ ทางทีมบอกวา แคในตลาดพลาสติก ก็สามารถ เลนไปไดในหลาย ๆ รูปแบบแลว ซึ่งตอนนี้เราก็กําลังมองรูปแบบที่เกี่ยวกับพวกอุตสาหกรรม อยู อยางเชน พวกถังผสมปูนที่ตองการสูตรอะไรแบบนี้

สําหรับจุดเดนของเม็ดพลาสติกที่ไดรับรางวัล ทางทีมเลาวา ถามองในเชิงกรีน หรือ คลีน เทคโนโลยี ข องเรานั้ น ทํ า มาจากรี ไ ซเคิ ล ทัง้ หมดประมาณ 99.9% อีก 1% คือสิง่ ทีท่ าํ ให สองสิ่งดัวกลาวเขากันได และอีกอยางหนึ่ง คือเมื่อผูประการนําเม็ดพลาสติกไปใหผูใช พอผูใชเสร็จก็เอาไปทิ้ง ทายสุดแลวเราก็ยัง สามารถนําเอากลับมารีไซเคิลใหมไดเหมือนเดิม ทั้ ง นี้ เ ม็ ด พลาสติ ก ของเรายั ง มี ร าคาถู ก กว า คุณภาพก็สามารถเทียบเคียงกับเม็ดพลาสติกใหม ไดเลย เพราะฉะนัน้ เราสงของใหผปู ระกอบการ ในราคาทีถ่ กู กวาหรือราคาเทากันแตมคี ณ ุ ภาพ แถมยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมดวย

สุดทายทีมเรดิเจนฝากถึงธุรกิจวา ไมอยากใหคนทําธุรกิจใมองแคในมุมมองลูกคาอยางเดียว อยากใหมองในแงมมุ ของการแตพฒ ั นาทัง้ วงการมากกวา ไมวา จะเปน วงการรีไซเคิล นวัตกรรม ตาง ๆ ปจจุบันอยางที่บอกวาผลิตภัณฑพวกยาง พวกพลาสติกนั้นมีอยูแลวตามทองตลาดที่มุง แตทาํ ยอดขาย แตสงิ่ ทีเ่ ราทําคือ เพิม่ มูลคาใหดขี นึ้ โดยสามารถเอาของทีม่ คี ณ ุ ภาพตํา่ มูลคานอย มาขายใหมรี าคาทีส่ งู ขึน้ ดวยเทคโนโลยีทที่ าํ ใหมคี ณ ุ ภาพทีด่ ขี น้ึ ในอนาคตทางทีมตองการพัฒนา ทั้งวงจรใหมีคุณภาพที่ดีขึ้น เพราะวาในอนาคตอยากใหผูที่สนใจมาติดตอกับเราไมไดเนนแค เรื่องราคาอยางเดียว แตอยากใหติดตอมาในเรื่องของคุณภาพมากกวาราคาที่ถูก วิสัยทัศน ของบริษัทตองการทําใหระบบการจัดการขยะของประเทศใหดีขึ้น ไมวาจะเปนการจัดการขยะ อยาแคเอาขยะไปเผาแลวสรางมลพิษ หรือ ถมดิน สนใจผลิ ต ภั ณ ฑ เ ม็ ด พสาสติ ก ของที ม เรดิ เจนที่ ไ ด รั บ รางวั ล การั น ตี ว  า เป น พลั ง งานสะอาด สามารถติดตอไดที่ คุณเมธิศร โยชิทากะ อิชิฮารา ตัวแทนทีมเรดิเจน โทร. 08- 9205-8690 หรือ Email : medhis@redigen.com

July 2014 31 Energy#68_p30-31_iMac5.indd 31

6/24/2557 BE 12:39 AM


Product Highlight - Industrial อภัสรา วัลลิภผล

บริษัท ไบโอฯ รุกธุรกิจ “เครื่องจักรผลิตชีวมวลอัดเม็ด”

เพื่ออุตสาหกรรมพลังงานทดแทน

บริษทั ไบโอ เอ็นเนอร์ยี่ แมชชินเนอรี่ จ�ำกัด เป็นอีกหนึง่ บริษัทที่มีการน�ำเข้าเครื่องจักรผลิตชีวมวลอัดเม็ดเข้ามา เพียงแค่ต้องการที่จะให้คนไทยหันมาใช้ชีวมวลอัดเม็ด แทนการใช้เชื้อ เพลิง เพื่อ ลดมลภาวะทางอากาศทาง วมวลอัดเม็ด หรือ Wood Pellet อีกทางหนึ่ง “ผศ.วีระชัย ลิ้มพรชัยเจริญ” ที่ปรึกษาด้าน ชีวมวล (Biomass) ถือเป็นแหล่ง เครื่องจักรผลิตชีวมวลอัดเม็ด บริษัท ไบโอ เอ็นเนอร์ยี่ แมชชินเนอรี่ จ�ำกัด กล่าวว่า ส�ำหรับธุรกิจของบริษัทเรา เ ชื้ อ เ พ ลิ ง พ ลั ง ง า น อี ก รู ป แ บ บ ห นึ่ ง ที่ ไม่ใช่ธุร กิจ ปิด เพราะเราอยู่ในวงการที่เ ห็นตลาดตัวนี้ สามารถใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ รวมถึง เราอยู ่ ใ นสภาเทคโนโลยี เรารู ้ ว ่ า ท� ำ ยั ง ไง ทุ ก คนเป็ น เชื้ อ เพลิ ง ส� ำ หรั บ ผลิ ต กระแสไฟฟ้ า จาก พันธมิตรกัน แต่ที่ส�ำคัญอย่าแย่งวัตถุดิบกัน ส�ำหรับ ระบบหม้ อ ต้ ม ไอน�้ ำ ซึ่ ง ชี ว มวลเหล่ า นี้ เครื่องจักรฯ ของเรานั้นจะพยายามผลิตออกมาไม่ให้ซ�้ำ อาจจะได้ ม าจากการปลู ก ต้ น ไม้ โ ตเร็ ว กับคนอืน่ เวลาเราเจอกับบริษทั มคูแ่ ข่งเราจะตกลงกันเสมอ ผศ.วีระชัย ลิ้มพรชัยเจริญ หลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น ต้นยูคาลิปตัส ประเทศไทยได้ ท� ำ ธุ ร กิ จ มาประมาณเกื อ บ 4 ปี แ ล้ ว ต้นกระถินเทพา ต้นสบู่ด�ำ ฯลฯ นอกจาก กลุ ่ ม ประเทศไทยเราเหมาะกั บ การใช้ พ วกไบโอแมส เพราะดินที่เหมาะแก่การปลูกวัสถุดิบ คิดจะปลูกอะไรก็ นี้ชีวมวลยังรวมถึงวัสดุเหลือใช้จากภาค สามารถขึ้นได้หมดแถมยังโตเร็วอีกด้วย เกษตรกรรมด้วย เช่น ตอซังข้าว ฟางข้าว เหง้ามันส�ำปะหลัง ใบอ้อย ใบทางปาล์ม ตั ว ชี ว มวลอั ด เม็ ด ที่ อ อกมาจากเครื่ อ งของเราจะมี ข ้ อ ดี อ ยู ่ 2 อย่ า งคื อ 1. ท� ำ เพื่ อ ให้ แ ห้ ง น�ำ้ มันเปลือกไม้ ปีกไม้ รวมไปถึงขี้เลื่อย ความชื้ น ต�่ ำ เพราะว่ า ถ้ า ไม่ แ ห้ ง มั น ก็ บ วม แล้ ว ก็ ไ ม่ เ ป็ น เม็ ด และ 2. มี ค วามหนาแน่ น จากโรงงานแปรรูปไม้ แกลบจากโรงสีข้าว เพราะฉะนั้นการจัดการไบโอแมสจะมีอยู่ 3 ขั้นตอนด้วยกัน คือ 1. ย่อยให้เล็ก 2. อบให้แห้ง ซึ่งวัสดุเหลือใช้ต่าง ๆ เหล่านี้สามารถป้อน 3. ถ้าวัตถุดบิ มีความชืน้ ก็จะต้องพยายามให้สงิ่ ทีไ่ ด้มคี วามชืน้ น้อยทีส่ ดุ ในการซือ้ ขายวัตถุดบิ นัน้ เป็นเชื้อเพลิงในเตาเผาไอน�้ำ เพื่อขับเคลื่อน เราจะรั บ ซื้ อ จากน�้ ำ หนั ก จึ ง ท� ำ ให้ ผู ้ ข ายส่ ว นใหญ่ พ ยายามท� ำ ให้ วั ต ถุ ดิ บ มี ค วามชื้ น มาก ๆ เครือ่ งก�ำเนิดผลิตกระแสไฟฟ้า หรือเตาเผา เพราะจะได้ มี น�้ ำ หนั ก เยอะ แต่ ใ นกรณี ที่ มี ค วามชื้ น มาก ๆ แทนที่ จ ะท� ำ ให้ ค วามร้ อ นจาก การคัดสีผา่ นไปทีผ่ นังเซลล์ แต่กบั โดดน�ำ้ ดักไว้กอ่ น จึงท�ำให้เสียพลังงานโดยใช่เหตุ บอกเลยว่า ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั้งหมดที่กล่าวมา เครื่องจักรโดยทั่ว ๆ ไป มีความชื้นเข้าไปประมาณ 18 ถึง 20 เท่า จะไม่สามารถขัดสีได้ ล้วนจ�ำเป็นต้องใช้ชีวมวลในปริมาณที่สูง เนื่ อ งจากมี ค ่ า ความร้ อ นที่ ต�่ ำ ท� ำ ให้ มี ค่าใช้จ่ายในการขนส่งที่สูงมาก ส่งผลให้ ต้นทุนเชือ้ เพลิงสูง ด้วยเหตุนจี้ งึ ท�ำให้คนไทย ปั จ จุ บั น หั น มาผลิ ต ชี ว มวลเอง โดยมี บริ ษั ท อยู ่ ห ลายบริ ษั ท ที่ มี ก ารน� ำ เข้ า “เครื่องจักรผลิตชีวมวลอัดเม็ด” เข้ามา เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในการผลิตเชือ้ เพลิง สะอาดอย่าง ชีวมวลเม็ดอัดชีวมวล

ชี

32 Energy#68_p32-34_iMac5.indd 32

July 2014 6/24/2557 BE 12:44 AM


ตัวไอน�้ำที่ร้อน ๆ นุ่ม ๆ มีไอออกมา จะท�ำ ให้ตัวชีวมวลอัดเม็ดเกิดการผองตัวออกไป ซึ่ ง ท� ำ ให้ ต ้ อ งเสี ย พลั ง งานเพื่ อ ให้ ค วามชื้ น ออกไป ในส่วนนี้ท�ำให้เราเห็นว่าในเรื่องของ การคัดเลือกวัตถุดบิ นัน้ เป็นสิง่ ส�ำคัญอย่างหนึง่ ซึ่ ง เครื่ อ งที่ จ ะอั ด ได้ 12 ถึ ง 15 ตั น นั้ น ต้องแข็งแรง เครื่องที่เราใช้อยู่หนักประมาณ 17 ตัน เป็นเครือ่ งขนาดกลาง เครือ่ งขนาดเล็ก หนักประมาณ 7 ตัน จะเห็นได้วา่ อุตสาหกรรม จะเน้นแข็งแรง เพราะฉะนั้นเครื่องจักรต้อง แข็งแรง เครือ่ งของเราต้องสามารถเดินเครือ่ งได้ 18 ชัว่ โมง ส�ำหรับเครื่องที่สามารถเดินเครื่องได้มากสุด ของเราตอนนี้อยู่ที่ 23 ชั่วโมง ช่วงที่เครื่อง ท�ำงานก็ปล่อยให้เขาท�ำงานไป แต่พอเครือ่ งพัก ทีมช่างก็เข้าไปเสริม เราจะมีตารางในแต่ละวัน ให้แก่ลูกค้าว่า วันนี้ต้องท�ำอะไรบ้าง ถ้าไม่มี การด� ำ เนิ น การแบบนี้ เ ครื่ อ งจั ก รจะพั ง ง่ า ย และเสียค่าซ่อมเยอะ ผมมองว่าอุตสาหกรรม ที่เราท�ำนี้ มันดูง่ายมาก ๆ เอาวัตถุดิบมา ขีเ้ ลือ่ ยมา ไม้มาย่อย อบให้แห้ง อัด แต่ประเด็น หลักคือ กระบวนการการผลิตทีท่ ำ� อย่างไรให้เครือ่ ง สามารถท�ำงานอย่างต่อเนื่อง เพราะฉะนั้น การทีจ่ ะลงทุนท�ำต้องมีความพร้อม การลงทุน บนเครื่องจักรไม่ใช่แพงอย่างเดียว แต่ต้อง ลงทุนกับเครือ่ งจักรทีใ่ ช้งานได้ อย่าลืมนะครับ ว่าเครื่องจักรที่เข้าพัฒนาขึ้นมาแล้ว จะต้องมี จุดส�ำคัญ ที่ ไ ม่ เหมือนกัน ก่อนที่จะท�ำธุรกิจ

ได้ตอ้ งศึกษามันให้ดี ๆ ก่อน ใจเย็น ๆ และดูวา่ เราพร้อมหรือยัง ถ้ายังไม่พร้อม ผมอยากให้หยุดไว้ก่อน ส�ำหรับอายุการใช้งานของเครื่องฯ บริษัทเราอยู่ที่ 5 ปี ที่บอกว่า 5 ปี เพราะว่าบริษัทพึ่งท�ำธุรกิจมาได้ 5 ปี ซึ่งเราไม่รู้ว่าจะใช้ได้นานกว่านี้ไหม เรายังไม่มีข้อมูล เพียงแต่วา่ สิง่ ทีเ่ ราท�ำได้ตอนนี้ คือ ดูแลรักษาเครือ่ งจักรเราให้ดที สี่ ดุ หลัก ๆ อย่างทีบ่ อกไป คือ เราไม่ได้ท�ำอุตสาหกรรมใหม่ แต่เราท�ำอุตสาหกรรมที่มีอยู่แล้ว เครื่องฯ ของเราสามารถผลิต ชีวมวลอัดเม็ดได้จากวัตถุดิบที่มีความหลากหลาย ขึ้นอยู่กับลูกค้าว่ามีวัตถุดิบอะไร เช่น ต้นไม้ ฟืน ขีเ้ ลือ่ ย หญ้าเนเปียร์ ฟางข้าว แต่ละตัวมีวธิ กี ารย่อยทีต่ า่ งกัน ถ้าเกิดเราเลือกเครือ่ งจักรมาใช้ ให้เหมาะสม จะสามารถคืนทุนได้เร็ว แล้วต้องเข้าใจด้วยว่าเครื่องจักรแต่ละตัวมีวัตถุประสงค์ ที่แตกต่างกัน แต่ส�ำหรับเครื่องจักรที่สามารถท�ำได้ทุกอย่าง ส่วนใหญ่มักมีประสิทธิภาพต�่ำ โดยรวม ๆ แล้วจะเห็นได้ว่าคีย์เวิร์คของธุรกิจ นี้ ไม่ได้เน้นเครื่องจักรสักเท่าไหร่ แต่จะเน้นใน เรือ่ งของการผลิตมากกว่า แต่ถา้ อยากได้ผลิตภัณฑ์ ทีด่ ี ก็จะต้องมองหาเครือ่ งจักรที่ได้ประสิทธิภาพ เช่นกัน ด้าน “คุณมนสุดา อร่ามกิจโพธา” หรือ คุณจูน Executive sale ได้พูดถึงเครื่องจักรผลิตชีวมวล อัดเม็ดของบริษัทฯว่า ทางบริษัทได้น�ำเครื่อง เข้ามาจากประเทศจีน แล้วมีการน�ำมาปรับเปลีย่ น ให้เข้ากับวัตถุดิบของประเทศเรา ซึ่งเครื่องจักร ของจีนนั้นจะไม่ค่อยเนียบเท่าไหร่ ส่วนในเรื่อง ของเรื่องคุณภาพ ในไลน์การผลิตจะมีตัวบด ย่อ ขนาด ชุด ลดความชื้นของวัตถุดิบ ตัวลด ความชื้นแบบไดร์เออร์ (เป่าแห้ง) และตัวที่อัด ออกมาให้เป็นแท่ง ซึ่งจะมีอยู่ 4 หรือ 5 แบบ ขึน้ อยูก่ บั ตัววัตถุดบิ ส�ำหรับกลุม่ เป้าหมายของเรา คือ ผู้ที่มีวัตถุดิบเป็นของตัวเอง แล้วต้องการ เปลี่ยนเศษวัตถุดิบที่เหลือทิ้งให้กับมาเป็นสิ่งที่ สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้

คุณมนสุดา อร่ามกิจโพธา

July 2014 33 Energy#68_p32-34_iMac5.indd 33

6/24/2557 BE 12:44 AM


Product Highlight - Industrial อภัสรา วัลลิภผล

ทางบริ ษั ท ได้ ท� ำ การทดลองบดวั ต ถุ ดิ บ มา ทั้ ง หมด 26 ชนิ ด ถ้ า ลู ก ค้ ามี วั ต ถุ ดิบ อะไร แจ้งกับทางเราได้เลย ทางบริษัทจะมีการจัด เซ็ทให้ แต่ถ้ามีวัตถุดิบที่ต่างจากที่เคยเราอัด ลู ก ค้ า สามารถส่ ง ตั ว อย่ า งวั ต ถุ ดิ บ มาให้ เรา ลองอัดได้ เครือ่ งจักรของเราแตกต่างจากทีอ่ นื่ คือ ด้านการบริการ เพราะว่าเรามีทมี งานทัง้ หมด เป็นคนไทย เนือ่ งจากปัจจุบนั นีเ้ กือบจะ 100% แล้ ว ที่ เ ราผลิ ต เครื่ อ งจั ก รในไทยได้ เ อง เพราะฉะนั้ น เราไม่ ต ้ อ งไปพึ่ ง แรงงานจาก ต่างประเทศ นอกจากนี้เราการันตีในเรื่องของ คุณภาพเป็นหลัก คือ อย่างเครื่องก�ำลังผลิต น้อยสุด 1.2 ถึง 2 ตัน เราก็การันตีค่านี้ว่า 1.2 ตัน ซึง่ เครือ่ งจะรันถึง 1.2 ตันเต็มแม็กเลย จริง ๆ แล้วได้ถึง 2 ตัน และด้วยประสบการณ์ ทีเ่ ราลงเครือ่ งจักรมาหลายที่ เรือ่ งของคุณภาพ เครือ่ งจักร เราพาไปให้ลกู ค้าดูได้เลยว่าเครือ่ งจักร สามารถใช้งานจริงได้จริง สามารถรันเครื่อง ได้ต่อเนื่อง ส� ำ หรั บ ในเรื่ อ งของราคาเครื่ อ งนั้ น ราคา ค่อนข้างสูง ท�ำให้ผทู้ ตี่ อ้ งการเครือ่ งไม่สามารถ ซื้อเครื่องมาได้ ซึ่งทางบริษัทเองก็สามารถ แนะน�ำติดต่อทางธนาคารที่รู้จักธุรกิจเราได้ เพราะตอนนี้เครื่องจักรของเรามีการผลิตเอง ทั้งหมดแล้ว ผลิตอยู่ที่ มาบตาพุด จ.ระยอง เหล็กทีใ่ ช้ผลิตเครือ่ งจักรของเราดีกว่าของทีอ่ นื่ ตั ว แบริ่ ง ของเราใช้ ไ ด้ น านกว่ า อายุ ก ารใช้ งานจะขึ้นอยู่กับวัตถุดิบที่เอามาใช้ ถ้าไม่มีสิ่ง 34 July 2014 Energy#68_p32-34_iMac5.indd 34

แปลกปลอมเข้ามาปน เครื่องจักรก็สามารถใช้งานได้นาน เราเริ่มผลิตเครื่องจักรมา 1 ปีครึ่ง แต่ ไ ด้ มี ก ารด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ เครื่ อ งจั ก รมาแล้ ว 3 ปี พู ด ถึ ง ด้ า นการตลาด จริง ๆ ธุ ร กิ จ นี้ มีผู้ขายเครื่องจักรอยู่หลายเจ้าเหมือนกันเฉพาะในประเทศ แต่เราไม่คิดว่าบริษัทอื่นเป็นคู่แข่ง คือ เราคิด ว่าของเราต้อ งท� ำออกมาให้ดีที่สุด แต่เ มื่อ เทียบกับเจ้าอื่น ๆ ถ้า ลูกค้า ไม่สนใจ ของเรา แล้วไปซื้อเจ้าอื่นเราก็ไม่ว่ากันกันค่ะ เดี๋ยวถ้าของเราดีจริงวันนึงเขาจะกลับมาหา เราเอง ธุรกิจหลักของเรา คือ การขายเครื่องจักร ชิ้นส่วนที่ใช้ในเครื่องจักรส่วนใหญ่ตอนนี้เราผลิตเอง ได้เกือบประมาณ 80% แล้ว ซึ่งช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการน�ำเข้าชิ้นส่วนจากต่างประเทศ ได้อย่างมาก ภายในสิ้นปีที่เราจะผลิตได้เองทั้งหมด ราคาเครื่องจักรที่เราขายลูกค้าตอนนี้ก็มี การปรับลง ไม่ได้คงที่ราคาเดิม คือ วัตถุดิบต่าง ๆ จะมีการปรับราคาลงเมื่อเราผลิตเครื่องเอง และเมื่อลูกค้าตกลงซื้อเครื่องฯกับเรา ลูกค้าสามารถส่งคนงานมาเรียนรู้เครื่องจักรกับเราได้ ก่อนการติดตัง้ เครือ่ งจักร 1 เดือน ทางเรามีทมี ติดตัง้ และสอนการใช้งาน โดยไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ย และถ้าหลังการติดตั้งมีปัญหาจะคิดเป็นกรณี ๆ ไป และมีวิศวกรเข้าไปดูแลเสมอ สุดท้ายคุณจูนอยากจะฝาก คือถ้าสนใจที่จะท�ำธุรกิจนี้ว่า อย่างที่ ผศ.วีระชัย ได้บอกไปข้างต้น ว่าในการท�ำธุรกิจนี้อยากจะให้ศึกษาข้อมูลให้ได้มาก ประเด็นหลัก ๆ ของธุรกิจนี้ ต้องมี วัตถุดิบ แล้ววัตถุดิบนี้ไม่ได้มีแค่ชิ้นเดียว แต่ต้องเพื่อไว้รองรับได้ตลอดอย่างน้อย 1 ปี เพื่อให้ เครื่องจักรสามารถเดินเครื่องได้อย่างต่อเนื่อง ผู้ที่ต้องการท�ำธุรกิจด้านนี้ เราอยากจะให้เดิน เข้ามาหาเรา ทางบริษัทพร้อมที่จะให้ข้อมูลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น การวางแผนการตั้งไลน์ เครื่องจักร ด้านการตลาด และเรายังสามารถให้ลูกค้าเข้าไปดูการท�ำงานของเครื่องจักรของ เราได้อีกด้วย ถ้าท่านผูอ้ า่ นท่านใด สนใจเครือ่ งจักรผลิตชีวมวลอัดเม็ด ของบริษทั ไบโอ เอ็นเนอร์ยี่ แมชชินเนอรี่ จ�ำกัด สามารถติดต่อหรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คุณจูน โทร. 08-5487- 6634

6/24/2557 BE 12:45 AM


Energy#68_p35_iMac5.indd 35

6/24/2557 BE 11:08 PM


Product Highlight - Construction ณ อรัญ

ฟิล์มลดความร้อนสมาร์ทเทค ส�ำหรับอาคาร และที่พักอาศัย

ากภาวะโลกร้อน (Global Warming) ที่นับวันจะทวีความรุนแรงมาก ยิ่งขึ้น จึงท�ำให้ป ัจจุบันผลิตภัณฑ์ฟิล์มกรองแสงส� ำหรับติดอาคาร และที่ พั ก อาศั ย เข้ า มามี บ ทบาทในชี วิ ต ประจ� ำ วั น มากยิ่ ง ขึ้ น ดั ง นั้ น ฟิ ล ์ ม ลดความร้อนหรือฟิล์มกรองแสงส�ำหรับติดตั้งอาคารจึงถูกพัฒนาให้สามารถ ลดใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อตอบสนองผู้ประกอบการ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น อาคารส�ำนักงาน โรงแรม รีสอร์ท สนามกอล์ฟและสปา โรงพยาบาล อพาร์ทเมนท์ คอนโดมิเนียม บ้านพักอาศัย ที่ต้องการประหยัด พลังงาน

บริษัท สมาร์ทเทค เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด เป็ น อี ก บริ ษั ท หนึ่ ง พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ฟ ิ ล ์ ม ลดความร้ อ นจากแสงอาทิ ต ย์ เ ข้ า สู ่ ตั ว อาคาร โดยมีให้เลือกทั้งแบบกรองแสงและ แบบใสแต่ลดความร้อน โดยทั้ง 2 แบบนี้ ถู ก พั ฒ นาให้ ส ามารถป้ อ งกั น ความร้ อ น จากดวงอาทิตย์ได้ทั้ง 3 ส่วนด้วยกันคือ 1. รังสีอัลตร้าไวโอเลตหรือรังสียูวี ซึ่งเป็น คลื่ น สั้ น สายตาไม่ ส ามารถมองเห็ น ได้ มีส่วนประกอบในความร้อนอยู่ที่ 3% 2. รังสีแสงสว่าง คือ ความสว่างที่สายตา สามารถมองเห็ น ได้ มี ส ่ ว นประกอบใน ความร้อนอยู่ 44% 3. รังสีอินฟาเรด ซึ่งเป็นคลื่นที่ยาวที่สุด และสายตาของมนุษย์ไม่สามารถมองเห็นได้ มีส่วนประกอบของความร้อนอยู่ที่ 53 % รวมทั้ง 3 ตัวเท่ากับ 100 % ความร้อนที่ ได้รับ

โดยการเคลือบสารชนิดต่าง ๆ เข้าไปเพื่อเป็นตัวช่วยสะท้อนหรือตัดคลื่นรังสีอินฟาเรด ท�ำให้ฟิล์มกรองแสงมีคุณสมบัติในการลดความร้อนได้สูงและดียิ่งขึ้น และในเมื่อฟิล์ม สามารถลดความร้อนได้สูงขึ้น จึงมีส่วนช่วยลดภาระในการท�ำงานของระบบปรับอากาศ คื อ คอมเพลสเซอร์ ในระบบปรั บอากาศท� ำ งานลดลง ตั ด บ่ อยขึ้ น ซึ่ง ตรงนี้ส ามารถลด การใช้พลังงานไฟฟ้าจะระบบปรับอากาศได้อย่างน้อย 8 % จากการที่บริษัท สมาร์ทเทค ได้ท�ำการทดสอบร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวร ฟิล์มส�ำหรับติดอาคารและที่พักอาศัยตามคุณลักษณะในการใช้งานแล้ว การติดตั้งฟิล์ม ส�ำหรับอาคารและที่พักอาศัย จะแยกเป็น 3 ลักษณะ 1. การป้องกันภัยจากเศษกระจกโดยใช้ฟิล์มนิรภัย (Safety Films) คือ ฟิล์มในอาคารสูง จะช่วยยึดกระจกไม่ให้หลุดร่วงลงมาท�ำอันตรายแก่ชีวิตและทรัพย์สินในอาคารหรือที่พัก อาศัย นอกจากนี้การติดฟิล์มนิรภัยยังมีประโยชน์อื่นๆ ที่ได้รับ คือ ในฟิล์มนิรภัยบางรุ่น มีการเคลือบสารต่าง ๆ ที่ช่วยในการลดความร้อนจากแสงแดดด้วย บางรุ่นสามารถติดตั้ง แทนเหล็กดัด เพื่อป้องกันการโจรกรรมและเพื่อความสวยงามได้ (ความหนาที่แนะน�ำตั้งแต่ 8 Mil ขึ้นไป) ที่ส�ำคัญคือสามารถลดรังสีอุลตร้าไวโอเลตหรือรังสียูวีได้กว่า 99 % ซึ่งช่วย ลดโอกาสในการเกิดโรคมะเร็งผิวหนังและต้อกระจก พร้อมกันนี้ยังชะลอการซีด จางของ อุปกรณ์และเฟอร์นิเจอร์ต่างๆ ภายในอาคาร ที่พักอาศัย และในระดับที่มีความหนาของ เนื้อฟิล์มมาก ๆ จะสามารถใช้ป้องกันภัยจากกระสุนปืนหรือระเบิดรวมถึงการป้องกัน การโจรกรรมได้ 2. การป้องกันความร้อน ประหยัดพลังงาน (Building Films) คือ การติดฟิล์มเพื่อลด ความร้อนจากภายนอก เป็นการประหยัดพลังงานโดยตรง และมีประโยชน์อื่น ๆ ที่ได้รับ คือ ฟิล์มสามารถลดรังสีอุลตร้าไวโอเล็ตหรือรังสียูวีได้กว่า 99 % เช่นกันกับฟิล์มนิรภัย

36 Energy#68_p36-38_iMac5.indd 36

July 2014 6/24/2557 BE 12:48 AM


ซึ่งช่วยลดโอกาสในการเกิดโรคมะเร็งผิวหนังและต้อกระจก-ชะลอ การซี ด จางของอุปกรณ์แ ละเฟอร์นิเจอร์ต ่าง ๆ ภายในอาคาร ที่ พั ก อาศั ย -สร้ า งความสวยงามภายนอกและไม่ บ ดบั ง ทั ศ นวิ สั ย ในการมองจากภายใน สร้างความเป็นส่วนตัว-ลดแสงจ้าจากภายนอก ท�ำให้รู้สึกสบายสายตา 3. การติดฟิล์มเพื่อการตกแต่ง (Decorative Film) ฟิล์มสามารถ ติ ด ตั้ ง เป็ น ลวดลายต่ า งๆ เพื่ อ ความสวยงามรวมถึ ง ประโยชน์ ด้านอื่นๆ เช่น การลดรังสีอุลตร้าไวโอเล็ต หรือการสร้างความเป็น ส่วนตัว ข้อแนะน�ำในการเลือกสินค้า - หากต้องการรักษาความปลอดภัยจากเศษกระจกอย่างเดียวควร เลือกฟิล์มนิรภัย - หากต้องการรักษาความปลอดภัยจากเศษกระจกและลดความร้อน ควรเลือกฟิล์มนิรภัยที่มีส่วนผสมของสารในการลดความร้อน - หากต้องการลดความร้อนอย่างเดียวควรเลือก Building Films โดยพิจารณาถึงระดับความเข้มของฟิล์มตามต้องการ โดยฟิล์มกัน ความร้อนสมาร์ทเทคไม่ใช่ฟิล์มย้อมสีจึงสามารถติดตั้งกับกระจก อาคาร ที่พักตามต้องการ โดยฟิล์มกันความร้อนสมาร์ทเทคไม่ใช่ ฟิ ล ์ ม ย้ อ มสี จึ ง สามารถติ ด ตั้ ง กั บ กระจกอาคาร ที่ พั ก อาศั ย ได้ เป็นอย่างดี หากเป็นโชว์รูมหรือส�ำนักงานที่ต้องการโชว์ภายใน แต่ ต ้ อ งการฟิ ล ์ ม ที่ ส ามารถลดความร้ อ นได้ สู ง แต่ ต ้ อ งมี ค วามใส หรือแสงส่องผ่านได้เยอะควรเลือกรหัส SM-C 65 GREEN (Nano Ceramic) หรือ SM-C 6599N (Nano ITO)

สิ่งที่น่ารู้เกี่ยวกับการติดตั้งฟิล์มอาคาร - ฟิล์มกรองแสงส่วนใหญ่เป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติพิเศษทางด้านการ มองเห็ น เช่ น ในช่ ว งกลางวั น หากเรามองจากภายนอกจะมอง ไม่เห็นภายในหรือเห็นแค่ลาง ๆ (ขึ้นอยู่กับระดับความเข้มของฟิล์ม) แต่ ใ นช่ ว งกลางคื น หากเปิ ด ไฟภายในเมื่ อ มองจากภายนอกจะ สามารถมองเห็นภายในได้ คือ ด้านที่มืดกว่าจะสามารถมองเห็น ด้านที่สว่างกว่าได้ - การติดฟิล์มนิรภัยมีส่วนช่วยให้การแตกตัวของกระจกลดน้อย ลงบ้าง แต่ในกระจกบางประเภทหากติดฟิล์มที่มีสีเข้มเข้าไปหรือ มีค่าการดูดกลืนความร้อนสูง จะเป็นตัวเพิ่มอันตรายการแตกของ กระจกมากขึ้ น เกิ ด จากความร้ อ นที่ ส ะสมอยู ่ ที่ ฟ ิ ล ์ ม และกระจก นั่นเอง - ฟิล์มบางชนิดบางยี่ห้อเป็นฟิล์มชนิดย้อมสีหรือสีในกาว เมื่อน�ำ ไปติดที่กระจกอาคาร โดยเฉพาะด้านที่ถูกแสงแดดมากๆ จะมี การซี ด จางของเนื้ อฟิ ล์ ม เร็ ว ควรพิ จารณาก่อ นในการตัด สินใจ ติดตั้ง

July 2014 37 Energy#68_p36-38_iMac5.indd 37

6/24/2557 BE 12:48 AM


Product Highlight - Construction ณ อรัญ

ปั

จจุบันโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เริ่มด�ำเนินงานด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมกันมากขึ้น โดยอาศัย อุปกรณ์ เทคโนโลยีประหยัดพลังงาน และจิตส�ำนึกของพนักงานเป็นปัจจัยหลักในการประหยัดพลังงาน เพื่อให้สามารถลดใช้ พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งอุปกรณ์ประหยัดพลังงานที่ใช้ภายในโรงงานอุตสาหกรรม และอาคารส�ำนักงานนั้นมีหลาก หลายประเภทด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นระบบท�ำความร้อน Boiler ปั๊มผลิตน�้ำร้อน HEAT PUMP ระบบท�ำความเย็น Chiller Inverters รวมถึงการน�ำพลังงานทดแทนมาใช้

Evaporative Pre-cooler System ( EVAP ) ระบบ Evaporative Pre-cooler System หรือ EVAP นัน้ เป็น เทคโนโลยี ใ หม่ ส� ำ หรั บ การ ประหยัดพลังงานโดยใช้หลักการ พืน้ ฐานว่าด้วยการระเหยของน�ำ้ กล่าวคือน�้ำจะระเหยได้นั้นจะ ต้ อ งใช้ พ ลั ง งานความร้ อ นใน การเปลีย่ นสถานะจากของเหลว กลายเป็นไอ ซึ่งเรียกพลังงาน ความร้อนนีว้ า่ “ความร้อนแฝง ของการกลายเป็นไอ” (Latent Heat of Vaporization) ในธรรมชาติ น�ำ้ ทีร่ ะเหยจะดึงพลังงานความร้อน จากตัวของน�้ำเองและอากาศที่ อยู ่ ร อบตั ว เพื่ อ ท� ำ ให้ ตั ว เอง ระเหยกลายเป็นไอน�ำ้ เป็นผลให้ อุณหภูมิของทั้งน�้ำและอากาศ โดยรอบลดลง

ส�ำหรับหัวใจส�ำคัญของ EVAP ก็คอื แผ่น Cooling Pad หรือที่ เรียกทัว่ ไปว่า แผ่นรังผึง้ ซึง่ ท�ำ จากเซลลู โ ลสชนิ ด พิ เ ศษที่ ถู ก ออกแบบให้มีพื้นที่ผิวสัมผัสอากาศมากที่สุด และซึมซับน�้ำได้ดีเยี่ยม Cooling Pad จะถูกหล่อเลี้ยง ด้วยน�ำ้ ให้มคี วามชืน้ อยูต่ ลอดเวลา เพือ่ ให้เกิดการระเหยของน�ำ้ ตามธรรมชาติ ท�ำให้อากาศร้อนทีว่ งิ่ ผ่านผิวของ Cooling Pad มีอณ ุ หภูมติ ำ�่ ลง Evap สามารถแบ่งการใช้งานได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. น�ำลมเย็นไปใช้โดยตรง ทดแทนเครือ่ งปรับอากาศ 2. ใช้เพือ่ ประหยัดพลังงาน โดยการติดตัง้ ชุด Evap เพือ่ ลดอุณหภูมขิ องอากาศด้านเข้าเครือ่ งควบแน่น (Condenser) ของเครื่องปรับอากาศ ในที่นี้เราจะพูดถึงการใช้งานเพื่อประหยัดพลังงานเครื่อง ปรับอากาศเป็นส�ำคัญ ด้านหลักการท�ำงานนัน้ จากหลักการระเหยของน�ำ้ ข้างต้น บริษทั พาวเวอร์ เอ็กซ์เท็นด์ จ�ำกัด ได้นำ� มา ประยุกต์ใช้ในการลดอุณหภูมขิ องอากาศด้านเข้าเครือ่ งควบแน่น (Condenser) ของเครือ่ งปรับอากาศ และเมือ่ อากาศสัมผัสกับน�ำ้ พลังงานความร้อนในอากาศจะถูกน�ำไปใช้ในการเปลีย่ นสถานะของน�ำ้ ให้

38 Energy#68_p36-38_iMac5.indd 38

กลายเป็นไอท�ำให้อุณหภูมิของอากาศลดลงมา โดยใช้แผ่น CeLPad เป็นสือ่ CeLPad ประกอบด้วย วัสดุที่มีความสามารถในการดูดซับน�้ำได้อย่าง ดีเยีย่ ม มาจัดเรียงในรูปแบบทีม่ กี ารจัดสรรพืน้ ที่ สัมผัสระหว่างน�ำ้ กับอากาศสูงสุด จึงสามารถขยาย ผลของปรกฎการณ์ทางธรรมชาติดงั กล่าวให้เป็น ทางเลือกในการท�ำความเย็นทีป่ ระหยัดและคุม้ ค่า เมื่อน�ำอากาศร้อนมาผ่านแผง CeLPad ที่ หล่อเลีย้ งด้วยน�ำ้ จะท�ำให้อากาศมีอณ ุ หภูมติ ำ�่ ลง ระบบ EVAP ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าสูงสุดถึง 40% เนือ่ งจากช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการระบาย ความร้อนของเครือ่ งควบแน่น ท�ำให้อณ ุ หภูมขิ อง สารท�ำความเย็นทีอ่ อกจากเครือ่ งควบแน่นลดลง ความดันของสารท�ำความเย็น (high side pressure) จึงลดลงด้วย ส่งผลให้คอมเพรสเซอร์ใช้พลังไฟฟ้า น้อยลง และสามารถท�ำความเย็นได้เพิ่มขึ้น อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อความสามารถใน การท�ำความเย็น (kW/Ton) จึงลดลงจากเดิมเมือ่ เปรี ย บเที ย บกั บ เครื่ อ งปรั บ อากาศที่ ไ ม่ ไ ด้ ใช้ พร้ อ มกั น นี้ ยั ง ช่ ว ยป้ อ งกั น สิ่ ง สกปรกสะสม บริเวณแผงระบายความร้อน ลดการสึกหรอของ คอมเพรสเซอร์ แ ละยื ด อายุ ก ารใช้ ง านของ คอมเพรสเซอร์ ช่วยในการท�ำความสะอาดง่าย และสะดวก และลดคค่าใช้จา่ ยในการบ�ำรุงรักษา แผงคอยล์รอ้ น สรุปการท�ำความเย็นเบือ้ งต้นโดยใช้ระบบ Evap ส�ำหรับระบบปรับอากาศแบบ Air Cooled เหมาะที่ น�ำไปประยุกต์ใช้ทั้งกับผู้ที่ต้องการลงทุนติดตั้ง ระบบปรั บ อากาศใหม่ และผู ้ ที่ ใช้ ง านระบบ ปรับอากาศอยูแ่ ล้ว เพราะสามารถช่วยประหยัด ได้ทั้งต้นทุนในการติดตั้งระบบปรับอากาศใหม่ และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำความเย็น ประหยัดค่าพลังงานไฟฟ้า และยืดอายุการใช้งาน ของระบบปรับอากาศทีใ่ ช้งานอยูแ่ ล้วในปัจจุบนั

July 2014 6/24/2557 BE 12:49 AM


Energy#68_p39_iMac5.indd 39

6/24/2557 BE 11:09 PM


Product Highlight - Logistics นัษรุ ต เถื�อนทองคํา

GPS ระบบนําทาง เทคโนโลยีชวยประหยัดทางออม บริษัท โกลบเทค จํากัด หนึ่งในบริษัทในเครือของกลุมบริษัท ซีดีจี ที่ใหบริการดานการบริการขอมูลแผนที่ (Location Content Provider) ในระดับภูมิภาคดวยการพัฒนาและใหบริการขอมูล แผนที่ดิจิตอลและขอมูลอางอิงพิกัดตําแหนงครบทุกรูปแบบ โดยมีขอมูลพื้นฐานที่ครบถวน ถูกตอง และครอบคลุมทุกพื้นที่ ในประเทศไทย ภายใต แบรนด สิน ค า NOSTRA (นอสตรา ) ด ว ยที ม งานที่ มี ค วามรู  ค วามเชี่ ย วชาญและมี ป ระสบการณ ในเทคโนโลยีการสํารวจและผลิตขอมูลแผนที่ เทคโนโลยีระบบ จีไอเอส (Geographic Information System: GIS) และระบบ การนําทางรถยนต (Car Navigation System) มามากกวา 20 ป สามารถใหคําปรึกษา แนะนํา และเสนอทางเลือกที่เหมาะสม ใหแกลูกคาไดทุกรูปแบบความตองการ

Ã

кº¢¹Ê‹ § ...ÀҤʋ Ç ¹·Õ่ ÁÕ ¡ Òà àµÔºâµÍ‹ҧµ‹Íà¹×่ͧµÒÁÊÀÒ¾ àÈÃÉ°¡Ô ¨ ¢Í§ÊÑ § ¤ÁáÅлÃÐà·È ¡ÒÃࢌҶ֧¢Í§à·¤â¹âÅÂÕ¨Ö§äÁ‹ãª‹àÃ×่ͧ ÂÒ¡ÍÕ ¡ µ‹ Í ä» â´Â੾ÒÐàÃ×่ Í §¢Í§ Ãкº¹ํÒ·Ò§ ËÃ×Í Ãкº GPS «Ö่§·Õ่ ¼‹Ò¹ÁÒÍÒ¨¶Ù¡ÁͧNjÒäÁ‹ÊÒํ ¤ÑÞÁÒ¡¹Ñ¡ ᵋ » ˜ ¨ ¨Ø ºÑ ¹ ໚ ¹ ÊÔ่ § ·Õ่ ä Á‹ Í Ò¨Áͧ¢Œ Ò Á à¾ÃÒжŒ Ò ËÒ¡ÁÕ ¡ ÒÃàÅ× Í ¡ãªŒ à ÊŒ ¹ ·Ò§ ¡Òâ¹Ê‹ § ËÃ× Í à´Ô ¹ ·Ò§·Õ่ ¶Ù ¡ µŒ Í § ¡็ ¨ ÐÊ‹ § ¼Åµ‹ Í ¡ÒûÃÐËÂÑ ´ ¾ÅÑ § §Ò¹ ẺäÁ‹ÃÙŒµÑÇ

40 Energy#68_p40-42_iMac5.indd 40

โกลบเทคออกแบบและพัฒนาขอมูลแผนทีฐ่ าน แผนทีร่ ะบบนําทาง ขอมูลอางอิงพิกดั ตําแหนง และโซลูชนั่ ทีเ่ กีย่ วของกับเทเลเมติกส ซึง่ เปนเทคโนโลยีสารสนเทศ สําหรับการเดินทาง เชน ระบบนําทางในรถยนต ระบบรายงานสภาพจราจร ระบบการติดตาม ยานพาหนะ สามารถใชประโยชนจากขอมูลแผนที่สําหรับการวางแผนและบริหารจัดการ ทัง้ ในชีวติ ประจําวันและทางดานธุรกิจ ซึง่ ผูป ระกอบการสามารถนําไปใชในการเลือกเสนทาง ที่ดีที่สุดในการขนสง เพื่อลดการสูญเสียพลังงานโดยใชเหตุ

July 2014 6/24/2557 BE 10:13 PM


NOSTRA ถู กพัฒนาใหเ ปน ขอ มูล แผนที่ ดิ จิ ต อ ล แ ล ะ ข  อ มู ล พิ กั ด ตํ า แ ห น  ง ใ น ประเทศไทยที่ ถู ก พั ฒ นาให เ ป น ข อ มู ล ที่ สามารถตอบโจทยการใชงานทางดานแผนที่ ขององค ก รและบุ ค คลทั่ ว ไปได อ ย า งดี โดยมุงเนนใหความสําคัญในดานบุคลากร เนื่ อ งจากระบบแผนที่ ข องประเทศไทยมี ความซับซอน และเปนรูปแบบเฉพาะทีแ่ ตกตาง ไปจากประเทศอืน่ โดยมีการวางแผน วิเคราะห และออกแบบข อ มู ล เหมาะที่ จ ะรองรั บ ลูกคาที่มีความตองการเฉพาะทางไดเปน อยางดี เชื่อวาขอมูลแผนที่มีความสําคัญอยางยิ่ง และสามารถชวยใหทกุ ภาคธุรกิจสําเร็จลุลว ง ไปไดดวยดี จึงไดมีการพัฒนาบริการขอมูล แผนที่ดิจิตอลมีความละเอียดแมนยําสูงสุด สํ า หรั บ ชี วิ ต ประจําวัน ระบบนําทางหรือ GPS กลายเปนอุปกรณที่ขาดไมไดในการ เดินทางของคนรุนใหมดวยการใหบริการ ข  อ มู ล แ ผ น ที่ นํ า ท า ง แ ล ะ ค อ น เ ท น ต  สนับสนุนการเดินทางและการทองเที่ยวบน อุปกรณนําทางรถยนต GPS แบบพกพา (PND) และระบบนําทางรถยนตในรถ (In-Car) เปนตน ดวยการออกแบบขอมูลใหใชงานงาย อัพเดทตลอดเวลา และมีความแมนยําสูง NOSTRA จึงไดรับความนิยมเปนอยางมาก ทั้งยังตอบโจทยไลฟสไตลของคนรุนใหมที่ ไมหยุดอยูกับที่ไดเปนอยางดี

สวนธุรกิจ ก็เปนภาคสวนที่ตองการความถูกตองแมนยําและนาเชื่อถือสูง ไดมีการออกแบบ ขอมูลแผนทีใ่ หมคี วามละเอียดเจาะลึกยิง่ ขึน้ พรอมรองรับการทํางานขององคกรในทุกขัน้ ตอน ตั้งแตการวางแผนบริหารจัดการ การวิเคราะหสถานการณ การวางแผนกลยุทธการตลาด สามารถใหขอมูลแผนที่ที่ปรับเปลี่ยนเพื่อใหเขากับขนาดงานที่แตกตางกันได ไมวาจะเปน งานในระดับทองถิ่น หรืองานระดับประเทศ ปจจุบัน NOSTRA ไดพัฒนาการใหบริการขอมูลแผนที่ 7 รูปแบบ เพื่อตอบสนองเทคโนโลยี และความตองการใชงานที่แตกตางกัน ไดแก NOSTRA Professional Map : แผนที่สําหรับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System : GIS) NOSTRA Map Service : แผนที่ออนไลนผานเครือขายอินเทอรเน็ตเปนบริการขอมูล แผนที่ฐาน (Base map) NOSTRA Logistics : ระบบบริหารจัดการและติดตามยานพาหนะแบบเรียลไทมเปนหนึ่ง ในโซลูชั่นดานโลจิสติกสแบบครบวงจร NOSTRA Digital Map : แผนที่สําหรับอุปกรณจีพีเอส NOSTRA Map on Board : แผนที่สําหรับระบบนําทางที่ติดตั้งในรถยนต NOSTRA Map on Mobile : แผนที่สําหรับแอพพลิเคชั่นบนอุปกรณเคลื่อนที่ NOSTRA Map Information : แผนทีส่ าํ หรับสิง่ พิมพเปนการใชงานแผนทีใ่ นรูปแบบสิง่ พิมพ

July 2014 41 Energy#68_p40-42_iMac5.indd 41

6/24/2557 BE 10:14 PM


Product Highlight - Logistics นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

ทั่

วโลกกับการมองเรื่องของสิ่งแวดล้อม เป็นสิ่งที่เปรียบเสมือนพันธกิจที่ต้องให้ความส�ำคัญเป็นอันดับแรก ส� ำ หรั บ การออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ เช่ น เดี ย วกั บ บริ ษั ท ฮอนด้ า ที่ มี ฐ านการประกอบธุ ร กิ จ ทั่ ว โลก ได้ประกาศไว้ว่าภายในปี 2563 ผลิตภัณฑ์ของฮอนด้าทุกชนิดทั้งรถยนต์ รถจักรยานยนต์ และเครื่องยนต์ อเนกประสงค์จะต้องลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลง 30%

ยนตรกรรมไฮบริด สมรรถนะคู่ความประหยัดเชื้อเพลิง นอกจากนีย้ งั ได้รบั เลือกให้เป็นรถยนต์ประหยัดพลังงานแห่งปี 2014 หรือ 2014 Green Car of the Year Award จากนิตยสารกรีนคาร์ ในงานลอสแองเจลิส ออโต้โชว์ 2013 ที่มีอัตราการประหยัด น�้ำมันเชื้อเพลิง ด้วยอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้อยที่สุด และมีอัตราการประหยัดพลังงานตามมาตรฐานของ สถาบันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมแห่งสหรัฐอเมริกา (Environmental Protection Agency หรือ EPA) เท่ากับ 50 ไมล์ตอ่ แกลลอน (mpg) ส�ำหรับการวิง่ ในเมือง จนถูกกล่าวถึงจากจาก Auto Blog by High Gear Media ว่ า เป็ น ยนตรกรรมระดั บ พรี เ มี ย มที่ เ ป็ น มิ ต ร ต่อสิ่งแวดล้อมและน่าซื้อที่สุด ล่าสุดในสหรัฐอเมริกา ฮอนด้า ได้เป็นทีก่ ล่าวถึง เมือ่ ฮอนด้า แอคคอร์ด ทีต่ ดิ ตัง้ ระบบไฮบริดแบบ Sport Hybrid Intelligent Multi-Mode Drive (i-MMD) ท�ำงานด้วยเครื่องยนต์เบนซิน 4 สูบ Atkinson-cycle Double Over Head Camshaft (DOHC) i-VTEC ขนาด 2.0 ลิตร พัฒนาขึ้น ภายใต้เทคโนโลยีเอิร์ธดรีมส�ำหรับระบบไฮบริด โดยเฉพาะผสานการท�ำงานกับมอเตอร์ไฟฟ้า 2 ตัว และเกียร์ E-CVT พร้อมด้วยแบตเตอรี่ ลิเธียมไอออนประสิทธิภาพสูง ให้สมรรถนะ การขับขี่และประหยัดพลังงาน นับเป็นระบบ ไฮบริ ด แบบ Full Hybrid ที่มีป ระสิท ธิภ าพ สูงที่สุดเท่าที่เคยมีมา จนสามารถคว้ารางวัล MotorWeek Drivers’ Choice Award 2014 ประเภทรถยนต์ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม (Best Eco-Friendly vehicle) ด้วยคุณสมบัติ 3 ประการ คือ ด้านความคุ้มค่า ความน่าเชื่อถือ และการพัฒนานวัตกรรมด้านการขับขี่

42 Energy#68_p40-42_iMac5.indd 42

รางวัล ต่าง ๆ ถือเป็นบทพิสูจน์ความส� ำเร็จในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ของเทคโนโลยีเพื่อ สิ่งแวดล้อมและสมรรถนะการขับขี่และเพิ่มความคุ้มค่าในเรื่องการประหยัดน�้ำมันเชื้อเพลิง ท�ำให้ เป็นยนตรกรรมที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าระดับพรีเมี่ยมทั่วโลก สอดคล้องกับพันธกิจใน การสร้างสรรค์ยนตรกรรมเพื่อโลกแห่งอนาคต และภายในประเทศไทยก็กำ� ลังเตรียมเปิดตัวเช่นกัน หลังประสบความส�ำเร็จมาแล้วทั่วโลก

July 2014 6/24/2557 BE 10:14 PM


Energy#68_p43_iMac5.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/25/2557 BE

8:19 PM


Product Highlight - Commercial นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

กล้เข้ามาเต็มที... กับการเตรียมเปลี่ยนถ่ายยุคของ อุปกรณ์ส่องสว่างที่เป็นแบบไส้ ที่นับวันจะยิ่งหมดไป เพราะไม่ ส ามารถตอบโจทย์ ด ้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและพลั ง งาน ได้เท่ากับเทคโนโลยีใหม่ที่ก�าลังมาแทนที่อย่าง LED กับการ ตอบโจทย์ด้านอุปกรณ์ส่องสว่างได้ครบถ้วน

LED Lighting นวัตกรรมรอยต่อสู่อนาคต ต้องยอมรับถึงการเปลี่ยนแปลงทางด้านนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ว่าปัจจุบันมีความส�าคัญ ต่อมนุษย์อย่างมาก โดยเฉพาะแสงสว่าง ซึ่งถือเป็นสิ่งที่มนุษย์ขาดไม่ได้ตั้งแต่โบราณ จนปัจจุบัน นวัตกรรมด้านแสงสว่างได้เดินหน้ามาถึงอีกก้าวกับหลอดประหยัดไฟ LED ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพสูงแทนการใช้หลอดไส้ Philips ถือเป็นแบรนด์ที่มีการพัฒนาด้านหลอด LED อย่างต่อเนื่อง โดยสร้างความแตกต่าง ในประสิทธิภาพของหลอดไฟ LED เป็นตัวเลือกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมที่สุด ให้การ ประหยัดพลังงานทีเ่ ทียบเท่ากับการใช้เพียงแค่ 18 เดือน จากอายุการใช้งาน 25 ปี จึงไม่ตอ้ ง เปลี่ยนบ่อยๆ เหมือนกับหลอดไฟชนิดอื่น ซึ่งเป็นการลงทุนที่จะคุ้มค่าส�าหรับที่อยู่อาศัย และผู้ประกอบการธุรกิจ โดยไม่มสี ารทีเ่ ป็นอันตรายหลอดไฟ LED จึงสามารถใช้ได้ทกุ ที่ ๆ ต้องการ ปัจจุบันเทคโนโลยี LED ไม่ได้ถูสร้างขึ้นเพื่อเป็นอุปกรณ์ส่องสว่างเพียงอย่างเดียว แต่ได้มี การออกแบบและสรรสร้างแสงสีให้ออกมาในแบบทีค่ วรจะเป็น โดยสะท้อนความเป็นตัวคุณ หลอดไฟ LED ซึง่ ผูผ้ ลิตอย่าง Philips ได้ออกแบบผลิตภัณฑ์ทมี่ คี วามหลากหลาย แสดงออกถึง ความเป็นตัวตนของผูใ้ ช้ผา่ นแสงไฟด้วยสไตล์และแสงอันมีชวี ติ ชีวา ตอบสนองสไตล์ของคุณ ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบหลอดไฟ LED มาเพื่อให้สะดุดตา ด้วยรูปทรงโคมไฟแบบส่อง เฉพาะจุดหรือแบบดัง้ เดิมหลากหลายตัวเลือก ท�าให้คณ ุ สามารถใช้โคมไฟระย้า โคมไฟตัง้ โต๊ะ และโคมไฟติดประจ�าที่แบบหรี่แสงได้เพื่อตกแต่งทุกๆ ห้องด้วยบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติ มากยิ่งขึ้น ขอมูลสรุปความประหยัดพลังงานในการสองสวาง หลอดไส ขนาด 25 วัตต

หลอด LED ขนาด 3 วัตต

จํานวนวัตตของหลอดไฟ(วัตต)

25

3

อายุการใชงาน(ป)

1

25

การใชพลังงาน/ ป(kWh)

25

3

คาไฟฟา/ ป(ประมาณบาท)

550

33

การปลอยกาซ CO2/ ป(กิโลกรัม)

10.5

1.26

44 Energy#68_p44-46_iMac5.indd 44

ช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เทคโนโลยี LED มีการ เติบโตอย่างต่อเนื่องในทุกภาคส่วนอย่าง ไม่เคยปรากฏมาก่อน ด้วยค่าความสว่าง และด้านการประหยัดพลังงาน ซึ่งเป็นการ พัฒนาอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ น�าเทคโนโลยี LED ไปผสานรวมกับการประยุกต์ใช้งานเพิ่มเติม นอกเหนื อ จากการเป็ น เพี ย งแค่ อุ ป กรณ์ ส่องแสงว่าเพียงอย่างเดียว ปัจจุบัน LED ก้าวขึ้นมาเป็นแหล่งที่มาของแสงสว่างของ มนุ ษ ย์ ใ นยุ ค ปั จ จุ บั น เป็ น ที่ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ส่วนเทคโนโลยีที่น่าจับตาในอนาคตอันใกล้ คือ เทคโนโลยี OLED หรือ แถบไดโอด เปล่ ง แสงจากสารอิ น ทรี ย ์ ซึ่ ง จะท� า งาน เหมือนกับ LED แต่จะใช้วสั ดุเซมิคอนดักเตอร์ ที่ท�าจากสารอินทรีย์ OLED จะปล่อยแสง แบบกระจายที่สามารถตอบสนองกับคุณได้ ในแผงที่บางเป็นพิเศษ ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้อง พัฒนาต่อไป คงไม่นานเกินรออย่างแน่นอน

July 2014 6/24/2557 BE 3:47 PM


Product Highlight - Commercial นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

R32 สารท�าความเย็นที่ทั่วโลกก�าลังจับตา ป

ฏิ เ สธไม่ ไ ด้ ว ่ า โลกของเราก� า ลั ง ก้ า วเข้ า สู ่ ช ่ ว งประสบปั ญ หาด้ า น สิ่งแวดล้อมจากทุกด้าน อันที่จริงทั่วโลกทราบถึงปัญหาดังกล่าวมานาน แต่ ก็ ต ้ อ งยอมรั บ ว่ า มนุ ษ ย์ เ องที่ ม องข้ า มเรื่ อ งดั ง กล่ า วไป จะด้ ว ยเหตุ ผ ล ประการใดก็ตาม ปัจจุบันโลกเริ่มส่งสัญญาณให้ทราบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ว่ า ไม่ ค วรที่ จ ะมองข้ า มปั ญ หาดั ง กล่ า วได้ แ ละประจวบเหมาะที่ เ ทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ ของมนุษย์นั้นก้าวหน้าไปพอสมควรเช่นกัน ท�าให้มีการคิดค้น สิ่งที่จะมาทดแทนสิ่งเก่าที่ก่อปัญหาให้กับโลก

ปัญหาหลักที่เกี่ยวของกับการท�าลายสิ่งแวดล้อมโดยตรง เป็นสิ่งใกล้ตัวที่บ้างครั้งเราเอง ที่มองไม่เห็นและไม่ทราบถึงปัญหา โดยเฉพาะสารท�าความเย็นที่มากับเครื่องปรับอากาศ ทั่วโลกทราบดีว่าสารท�าความเย็นเป็นตัวปัญหา จึงมองหาสารท�าความเย็นใหม่ที่ไม่เพียงแต่ ไม่ท�าลายชั้นโอโซนและยังไม่ส่งผลต่อภาวะโลกร้อนให้น้อยที่สุด ท�าไม... สารท�าความเย็นก่อให้เกิดผลเสียต่อชัน้ บรรยากาศของโลก เพราะทีผ่ า่ นมาในเครือ่ ง ปรับอากาศจะบรรจุสารท�าความเย็นทีม่ สี ว่ นประกอบของสาร CFC ซึง่ เป็นสารทีแ่ พร่หลาย อย่างมาก แต่ดว้ ยข้อตกลงในพิธสี ารมอนทรีออลก�าหนดให้สาร CFC เป็นสารอันตรายที่ ท�าลายชัน้ โอโซนและเรียกร้องให้มกี ารเลิกใช้สารท�าความเย็นดังกล่าว และถูกแทนทีด่ ว้ ยสาร HCFC (R22) แต่กย็ งั เป็นสารก็ถกู ระบุให้อยูใ่ นรายชือ่ สารอันตรายทีถ่ กู ระงับให้มกี ารเลิกใช้ใน เวลาต่อมาเพราะสารนีก้ ม็ สี ว่ นในการท�าลายชัน้ โอโซนเช่นกัน หลายฝ่ายจึงมีการเรียกร้องให้ เลิกใช้สารท�าความเย็น R22 ทีม่ สี ว่ นประกอบของ HCFC ในปี 2020 ส�าหรับประเทศ อุตสาหกรรม และปี 2030 ส�าหรับประเทศก�าลังพัฒนา และกลุม่ ประเทศอุตสาหกรรมก�าลัง ด�าเนินการเปลีย่ นจากการใช้สารท�าความเย็น HCFC (R22) เป็น HFC (R410A) ทีแ่ ม้วา่ จะไม่ ท�าลายชัน้ โอโซน แต่กม็ สี ว่ นท�าให้เกิดภาวะโลกร้อน แต่อย่างไรก็ดี ข้อตกลงในพิธสี ารโตเกียว ในปี 1997 ก็มกี ารเรียกร้องให้ลดการปล่อยสาร HFC ของสารท�าความเย็น R410A

สารท�าความเย็น R32 เกิดขึ้นจากกระแส การลดภาวะโลกร้ อ นตามข้ อ ตกลงใน พิธีสารมอนทรีออลเมื่อปี 1987 ที่ให้ความ ส�าคัญกับการท�าลายชั้นโอโซน ญี่ปุ่นและ ยุโรปจึงเปลี่ยนจากการใช้สารท�าความเย็น HCFC22 (R22) มาเป็น HFC410A (R410A) สาร HFC410A (R410A) แม้วา่ จะลดผลกระทบ ในการท�าลายบรรยากาศชัน้ โอโซนได้เป็นอย่างดี แต่กย็ งั มีคา่ ชีว้ ดั ทีเ่ ป็นสาเหตุทา� ให้โลกร้อนอยู่

นอกจากภาคอุตสาหกรรมแล้ว ภาคครัวเรือนก็ถอื เป็นอีกภาคส่วนทีม่ กี ารใช้เครือ่ งปรับอากาศ เป็นจ�านวนมาก และเป็นตัวการที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนเช่นกัน เทคโนโลยีใหม่ของ ภาคส่วนนีค้ อื สารท�าความเย็น HFC32 (R32) ทีพ่ ฒ ั นาโดยบริษทั ไดกิน้ ของประเทศญีป่ นุ่ เป็น รายแรกของโลก ทีส่ บื เนือ่ งมาจากแผนการด�าเนินการลดใช้สารท�าความเย็นทีท่ า� ลายชัน้ โอโซน และส่งผลกระทบต่อภาวะโลกร้อนให้นอ้ ยทีส่ ดุ สารท�าความเย็น R32 จึงถูกน�ามาใช้สา� หรับ เครือ่ งปรับอากาศเพราะนอกจากจะประหยัดพลังงานแล้ว ยังปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่า เนือ่ งจากมีสว่ นประกอบทีแ่ ตกต่าง และเดือนพฤศจิกายน ปี 2012 ไดกิน้ ได้รเิ ริม่ ใช้สารท�า ความเย็น R32 ในเครือ่ งปรับอากาศส�าหรับทีพ่ กั อาศัยในญีป่ นุ่ สารท�าความเย็น R32 จึงถือ เป็นเจเนอเรชัน่ ใหม่ของสารท�าความเย็นทีส่ งั คมโลกก�าลังให้ความสนใจ July 2014 45 Energy#68_p44-46_iMac5.indd 45

6/24/2557 BE 3:48 PM


Product Highlight - Commercial นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

ต่ อ มาตลาดโลกได้ ใ ห้ ค วามส� า คั ญ กั บ การ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในตลาดโลกเพิ่มสูงขึ้น จึ ง หั น ให้ ค วามส� า คั ญ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เ ป็ น มิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่างต่อเนือ่ ง เห็นได้จาก รัฐบาลของแต่ละประเทศ วงการอุตสาหกรรม และองค์กรระหว่างประเทศให้การสนับสนุน การใช้สารท�าความเย็นที่ส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมน้อย รวมถึงสารท�าความเย็น HFC32 (R32) ซึง่ ความต้องการสารท�าความเย็น R32 เป็นทีต่ อ้ งการอย่างชัดเจนหลังเหตุการณ์ ภัยพิบัติที่ญี่ปุ่นปี 2011 ผลของปัญหาก๊าซ CO2 จากโรงผลิตไฟฟ้าทีใ่ ช้นา้� มันมีมากยิง่ ขึน้ วงการเครื่ อ งปรั บ อากาศจึ ง พิ จ ารณา การประหยัดไฟฟ้ามากยิง่ ขึน้ กว่าเดิม ซึง่ เป็น การเร่งให้เกิดกระแสการเปลี่ยนแปลงที่จะ น�าสารท�าความเย็นประสิทธิภาพสูงมาใช้ การส่งเสริมการใช้สารท�าความเย็นที่ส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด กับการ ใช้สารท�าความเย็น R32 ในกลุ่มประเทศ ก�าลังพัฒนาในอนาคต เริม่ ด้วยการทีไ่ ดกิน้ เปิ ด ให้ ใช้ สิ ท ธิ บั ต รที่ ว ่ า ด้ ว ยเรื่ อ งการผลิ ต และจ�าหน่ายเครื่องปรับอากาศที่ใช้สารท�า ความเย็น R32 (Basic patent Indispensable for the Manufacture and Sale of Air conditioner Using R32 Single Component Refrigerant) พร้ อ มทั้ ง สนั บ สนุ น ประเทศก� า ลั ง พั ฒ นา อบรมเจ้าหน้าที่จาก 7 ประเทศในภูมิภาค อาเซียนเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับสารท�าความเย็นใหม่นี้

46 Energy#68_p44-46_iMac5.indd 46

ข้อดีของสารท�าความเย็นเจเนอเรชั่นใหม่อย่าง R32 คือเป็นสารท�าความเย็นที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมอย่างมาก นอกจากไม่ท�าลายโอโซน สามารถช่วยลดโลกร้อนมากกว่า 3 เท่า เมื่ อเที ยบกั บสารท� า ความเย็ น ปั จ จุ บัน ทั้ งยั งประหยั ด พลั งงานและมอบประสิทธิภ าพ การท�าความเย็นสูง ซึ่งในประเทศไทย กองทุนพหุภาคี(MLF) ได้อนุมัติให้ใช้สารท�าความเย็น R32 ส�าหรับธุรกิจระบบปรับอากาศและยังวางแผนให้ระงับการใช้สารท�าความเย็น (HCFC) R22 ภายในปี 2017 ซึ่งเป็นอีกหนึ่งการขับเคลื่อนสิ่งแวดล้อมที่น่าสนใจในประเทศไทย อีกก้าว ปัจจุบันผู้ผลิตเครื่องปรับอากาศในประเทศญี่ปุ่นและไทยได้ใช้สิทธิบัตรของเครื่องปรับ อากาศทีใ่ ช้สารท�าความเย็น R32 นีแ้ ล้ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเทศไทย มีเพียง 12 บริษทั เท่านั้น ได้แก่

อันดับ

ชื่อบริษัท

1

United Technology Development Co., Ltd.

2

P.P.J. Engineering Co., Ltd.

3

Subsuksiri Co., Ltd.

4

Thrub - Thong Hou Co., Ltd.

5

Unico Consumer Products co., Ltd.

6

Supreme CNB Corporation Co., Ltd.

7

Eminent Air (Thailand) Co., Ltd.

8

B.Grimm Airconditioning Ltd.

9

Better Living Co., Ltd.

10

Bitwise (Thailand) Co., Ltd.

11

Pan - Tycoon Co., Ltd

12

Saijo Denki International Co., Ltd.

July 2014 6/24/2557 BE 3:48 PM


Energy#68_p47_iMac5.indd 47

6/24/2557 BE 11:13 PM


Showcase - Industrial อภัสรา วัลลิภผล

1 เครือ่ งวัดอัตราการไหลของไอน�ำ้ NICE FVP FLANGED VORTEX PLATE FLOWMETER น�ำเข้าจากอเมริกา NICE FVP - FLANGED VORTEX PLATE FLOWMETER เป็น ของแข็ งสร้ างจากสแตนเลส ทุ ก ส่ ว นมี การกลึ งจากหุ ้ น สแตนเลสที่ เ ป็ นของแข็ง ช่วยให้การ เชื่อมต่อสนามตั้งกับและตัดการเชื่อมต่อโดยไม่ต้องเปิดตู้หรือสายไฟขั้ว ช่วยประหยัดพลังงาน ไม่มีโอริงหรือ ซีลน�้ำมันกราฟเครื่องที่ล้มเหลวหรือเกิดการรั่วไหล มีรัศมีในทุกจุดระหว่างองค์ประกอบ ซึ่งผลิตสัญญาณสม�่ำเสมอ มีระดับของความถูกต้องเป็นคูเ่ ทคโนโลยีเซนเซอร์ Vortex จาน Flanged เมตร สามารถปรับขนาดทีจ่ ะช่วยให้การใช้งาน ที่วัดการไหลของไอน�้ำต�่ำ จ�ำนวนแผงเมตรสามารถวัดอัตราการไหลต�่ำ 2 ถึง 3 ครั้งต�่ำกว่ามาตรฐานวัดการไหล ของน�้ ำ วนในบรรทั ด จึ ง ไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งลดขนาดเส้ น FVP จะช่ ว ยให้ ติ ด ตั้ ง มิ เ ตอร์ ข นาดเต็ ม เมตรอื่ น ๆ ที่ อ าจจ� ำ เป็ น ต้ อ งลดขนาดหลายบรรทั ด และที่ ส� ำ คั ญ ยั ง ช่ ว ยลดค่ า ใช้ จ ่ า ยในการติ ด ตั้ ง ได้ ม ากพอสมควร จ� ำ หน่ า ยโดย : บริษัท ไตรรุ่งเจริญกิจวิศวภัณฑ์ จ�ำกัด

2 ลูกหมุนระบายอากาศผลิตกระแสไฟฟ้า ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด อาทิตย์เวนติเลเตอร์ ถือว่าเป็นผู้ผลิตและคิดค้นพัดลมระบายอากาศ ขนาด 12 นิ้วเรียกได้วา่ เป็นรายแรกของประเทศไทยเลยก็ว่าได้ ลูกหมุนระบายอากาศผลิต กระแสไฟฟ้า เป็นสินค้าอีกชิ้นหนึ่งของทางบริษัท ที่พัฒนามาจากลูกหมุนระบายอากาศ ตัวปกติ ซึ่งลูกหมุนระบายอากาศผลิตกระแสไฟฟ้านี้นอกจากจะช่วยในเรื่องของการระบาย อากาศแล้ ว ยั ง สามารถใช้ พ ลั ง งานลมซึ่ ง เป็ น พลั ง งานสะอาดมาผลิ ต กระแสไฟฟ้ า เพื่อลดการพึ่งพากระแสไฟจากสายส่งหลักในกรณีที่ไฟฟ้าจากสายส่งไม่สามารถจ่ายได้ นอกจากนี้ยังสามารถน�ำพลังงานไฟฟ้าที่เก็บไว้ส่งคืนลูกหมุนเพื่อให้เกิดการหมุนในกรณี ที่ไม่มีลมได้ด้วย ทั้งนี้ลูกหมุนจึงสามารถหมุนอยู่ได้ตลอดนั่นเอง ลูกหมุนชิ้นนี้จึงถือเป็น ทั้ ง พลั ง งานหมุ น เวี ย นที่ ส ะอาดเป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ไ ม่ มี วั น หมด เป็ น พลั ง งาน ทดแทน หรื อ พลั งงานทางเลื อกที่ ช ่ ว ยรั ก ษาสิ่ งแวดล้ อม และยัง เป็นพลัง งานฉุกเฉิน ที่ไว้ใช้ในยามคับขันได้อีกด้วย จ�ำหน่ายโดย : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด อาทิตย์เวนติเลเตอร์

3

AIR FLOW SYSTEM

ท�ำงานโดยปราศจาก คอมเพรสเซอร์ ใช้การระเหยของไอน�้ำในลดอุณหภูมิความร้อนในอากาศ จึงท�ำให้มปี ระสิทธิภาพในการท�ำความเย็นในพืน้ ทีท่ ำ� งาน อยูท่ อี่ ณ ุ หภูมริ ะหว่าง 23-27 องศาเซสเซียส หลักการท�ำงานจะเหมือนระบบปรับอากาศทัว่ ไป โดย AIR FLOW SYSTEM จะจ่ายลมเย็นผ่านท่อลม (DUCTING) เข้าสูบ่ ริเวณพืน้ ทีท่ ำ� งาน เป็นระบบการท�ำงานอย่างต่อเนือ่ ง โดยจะน�ำเอาอากาศจาก ภายนอกมาลดอุณหภูมโิ ดยเข้าสูก่ ระบวน ระเหยอากาศ คือ ไปดูดซับอุณหภูมคิ วามร้อนในอากาศ แล้วจึงผ่านแผ่นกรองเพือ่ ดูดซับอุณหภูมิ ความชืน้ แล้วจ่ายลมเย็นเข้าสูบ่ ริเวณพืน้ ทีท่ ำ� งาน พร้อมกับ ผลักดันอากาศร้อน รวมทัง้ ฝุน่ ละออง สิง่ สกปรกทีป่ นเปือ้ นอยูใ่ นห้องท�ำงานออกสูภ่ ายนอกอาคาร โดยทางประตู หน้า ต่าง หรื อ พั ด ลมดู ด อากาศ นี่ คือข้ อแตกต่า งจากระบบปรับอากาศทั่ว ไป HEAT EXCHANGER SK-03-18 1 เครือ่ ง สามารถให้ความเย็นครอบคลุมพืน้ ทีไ่ ด้ 130-150 ตารางเมตรและยังสามารถครอบคลุมพืน้ ที่ เครือ่ งจักรได้ถงึ 8 จุด ในขณะเดียวกัน แอร์คอนดิชนั่ ตัวอืน่ เมือ่ เทียบพืน้ ทีก่ นั แล้วต้องใช้แอร์คอนดิชนั่ ขนาด 12,000 BTU จ�ำนวน 4 เครือ่ งเลย จึงถือว่าประหยัดพลังงานได้มากกว่าเครือ่ งทัว่ ไป จ�ำหน่ายโดย : ห้างหุน้ ส่วน เตียเต็กอู๋ จ�ำกัด 48 Energy#68_p48-49_iMac5.indd 48

July 2014 6/24/2557 BE 1:01 AM


อุปกรณ์ยดื อายุทอ่ ด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า

Ariores

บริษัท อะเนส (ประเทศไทย) จำ�กัด เป็นบริษัทนำ�เข้าและจัดจำ�หน่าย Ariores อุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้า ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการดูแล รักษาท่อให้มีอายุ การใช้งานได้นานขึ้น โดยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปัจจุบัน Ariores ได้รับความ ไว้วางใจจากบริษัทชั้นนำ�มากมาย ให้ทำ�การติดตั้งเพื่อทำ�ความสะอาด และดูแล รักษาท่อ และในปัจจุบันยังคงดำ�เนินการพัฒนาร่วมกับมหาวิทยาลัยโตเกียว อย่างต่อเนื่อง

อุปกรณ์ยดื อายุทอ่ ด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า Ariores เป็ น ผลิ ต ภั ฒ ฑ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการวิ จั ย และ พิสูจน์อยู่หลายครั้ง เป็นเวลาถึง 40 ปี และ ในที่สุดได้จดทะเบียนสิทธิบัตรหนึ่งเดียวที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้วยวิธีแก้ไขปัญหา ซึ่ ง ถื อ เป็ น ลิ ข สิทธ์ข องทางบริษัท การท� ำ ปฏิกริ ยิ าซึง่ กันและกัน อันเกิดจากการประกอบ ติดตั้งส่วนสร้างสนามไฟฟ้าและส่วนสร้าง สนามแม่เหล็กจากด้านนอกของท่อโดยไม่มี การใช้สารเคมีแต่อย่างใด ตามที่ระบุไว้ใน กฎหมาย PRTR โดยผลิตภัณฑ์นมี้ คี ณ ุ สมบัติ ป้องกันและขจัดคราบสกปรก คราบซิลิกา และสนิม (น�้ำสนิม) สามารถรักษาและยืด อายุการใช้งานของท่อจ่ายและระบายน�้ำ รวมไปถึงท่อน�้ำร้อน – เย็น ท่อน�้ำหล่อเย็น และเครื่องอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องเป็นการลด อัตราการซ่อมแซม และซ่อมบ�ำรุงพร้อมทั้ง ควบคุมการเกิดเชื้อแบคทีเรียด้วย

และเมื่อด�ำเนินการประกอบติดตั้งอุปกรณ์ ยื ด อายุ ท ่ อ ด้ ว ยแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า Ariores ด้านนอกท่อจะก่อให้เกิดปฏิกิริยาทางด้าน คุณสมบัติเฉพาะ คือ ท�ำให้ความสัมพรรค ของแร่ธาตุและพลังการเกาะติดด้อยลงและ ท�ำให้เกิดการเปลีย่ นรูปร่างจากผลึกปลายแหลม กลายเป็นผลึกหกเหลีย่ ม จึงป้องกันการเกาะติด ของคราบบริเวณผนังท�ำให้คราบเกาะติดที่มี อยู่หลุดลอกออกและแถมยังป้องกันการกัดกร่อนบริเวณโลหะ และนอกจากด้วยปฏิกิริยา ความเหนี่ยวน�ำของแม่เหล็กที่เกิดขึ้นในขณะที่น�้ำเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กคราบเกาะติด จะถูกแยกสลายด้วยไฟฟ้าและออ่นตัวลงทันทีจากแรงไฟฟ้าทีเ่ กิดขึน้ จากการสร้างกระแสไฟฟ้า หลักการท�ำงานของอุปกรณ์ยืดอายุท่อด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า Ariores อยู่ที่ เมื่อประกอบติดตั้ง แม่เหล็กขั้วบอกกับขั้วลบบริเวณด้านนอกท่อที่เกิดขึ้นด้วยวิธีความเหนี่ยวน�ำแม่เหล็กของ ฟาราเดย์จะไหลไปตามผนังท่อ ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กก�ำจัด คราบหลุดออกไปโดยการท�ำปฏิกิริยาในทิศทางกระจายและขจัดคราบให้หลุดออกด้วย แรงลอเรนซ์ทเี่ กิดขึน้ จากความเหนีย่ วน�ำของแม่เหล็กไฟฟ้าโดยการท�ำให้ละลายและอ่อนตัว จากการแยกสลายคราบเกาะติดบริเวณผนังท่อด้วยไฟฟ้าจากการท�ำปฏิกิริยาซึ่งกันและกัน กับกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นโดยผ่านกระแสไฟฟ้าคลื่นความต�ำ่ นั่นเอง และนอกจากคุณสมบัติเฉพาะของอุปกรณ์ยืดอายุท่อด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า Ariores ดังที่กล่าว มานั้น ถือว่าเป็นนวัตกรรมใหม่ที่นอกจากจะยืดอายุการใช้งานของท่อแล้ว ยังช่วยรักษา สิ่งแวดล้อมได้อีกด้วย อุปกรณ์ยืดอายุท่อด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า Ariores สามารถน�ำไปติดตั้งใน ระบบท่อของโรงงานอุตสาหกรรม อาคาร โรงแรม โรงพยาบาล รวมไปถึงในเรือก็สามารถ ติดตั้งได้เช่นกัน จ�ำหน่ายโดย : บริษัทอะเนส (ไทยแลนด์) จ�ำกัด July 2014 49

Energy#68_p48-49_iMac5.indd 49

6/24/2557 BE 1:01 AM


Showcase - Construction ณ อรัญ

Marvel ECO.1 สุขภัณฑ์ชกั โครกประหยัดน�ำ้ พันธุไ์ ทย ในการพัฒนาอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ นัน ้ นอกจากความสวยงาม ความทันสมัย แล้วการพัฒนายังได้คำ�นึงถึงเรื่องการประหยัดพลังงานด้วย ซึ่งเป็นเทรนด์ที่ได้รับ ความนิยมอย่างมากในปัจจุบน ั ดังนัน ้ ในการเลือกซือ้ อุปกรณ์แต่ละอย่างผูบ้ ริโภค โดยส่วนใหญ่มกั จะคำ�นึงถึงเรือ่ งการประหยัดพลังงานเป็นหลัก และหากท่านผูอ้ า่ น กำ�ลังมองหาสุขภัณฑ์ชกั โครกประหยัดพลังงาน ขอแนะนำ� ECO.1 ซึง่ เป็นชักโครก นวัตกรรมใหม่ลา่ สุดของสุขภัณฑ์ ทีจ่ ะช่วยให้ประหยัดน้ำ� ช่วยป้องการการติดเชือ้ แบคทีเรียและเชือ้ โรคต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สุ ข ภั ณ ฑ์ ชั ก โครก Marvel ECO.1 นั้ น มีคุณสมบัติพิเศษที่ช่วยในเรื่องของการ ประหยัดน�้ำและป้องกันเชื้อรา เพราะท�ำ มาจากเซรามิ คเนื้อ ใยแก้วพิเ ศษ ช่วยลด การเกิดคราบสกปรก ท�ำความสะอาดง่าย แข็ ง แรง ทนทาน ช่ ว ยป้ อ งกั น กลิ่ น ได้ ดี ป้องการเชื้อโรคและการไหลย้อนกลับของ น�้ำในถังบ�ำบัด เนื่องจากเป็นระบบต่อตรง จากท่อประปา

ด้านปุ่มกดท�ำจากสแตนเลส 304 มีความแข็งแรง ทนทาน ผ่านการทดสอบการใช้แล้ว มากกว่า 600,000 ครัง้ สามารถใช้งานได้โดยฟลัชน�ำ้ ได้เพียงน�ำ้ แก้วเดียว หากกรณีนำ�้ ประปา ไม่ไหล พร้อมกับช่วยป้องกันการอุดตันของท่อน�้ำ จากเศษกระดาษ เศษผ้าหรือแม้แต่ ผ้าอนามัย ทีต่ กอยูใ่ นท่อระบายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนช่วยลดโลกร้อน และรักษา สิ่งแวดล้อม

นอกจากนี้แล้วสุขภัณฑ์ชักโครกรุ่น ECO.1 ภายใต้แบรนด์ Marvel ซึ่งเป็นแบรนด์ของ คนไทยยังได้ถกู พัฒนาให้ประหยัดน�ำ้ อีกด้วย โดยใช้นำ�้ เพียง 1 ลิตรต่อการกดชักโครก 1 ครัง้ ก็สามารถก�ำจัดสิง่ สกปรกได้อย่างสะอาดหมดจด ช่วยให้ประหยัดน�้ำได้มากถึง 200,000 ลิตร ต่ อ ปี ต ่ อ 1 ตั ว หรื อ ประหยั ด ได้ ถึ ง 83% เมื่อเปรียบเทียบกับสุขภัณฑ์ชักโครกทั่วไป ในท้ อ งตลาด พร้ อ มกั น นี้ ยั ง ช่ ว ยในการ หลีกเลีย่ งการติดเชือ้ จากการสัมผัสโดยใช้เท้า ในการกดปุ่ม หรือ Foot Step แทนการใช้ มือกด มีลนิ้ วาล์วป้องกันเชือ้ โรคจากถังบ�ำบัด และป้องกันน�้ำเอ่อล้นจากน�้ำท่วม สามารถ ติดตั้งแทนโถเก่าได้ทันที

คุณสมบัติ - เหมาะกับการใช้งานในที่สาธารณะ เพราะสามารถช่วยป้องกันการติดเชื้อจาก การสัมผัส - Eco 1 สามารถประหยัดน�้ำได้ถึง 83% เมื่อเปรียบเทียบกับชักโครกทั่วไปใน ท้องตลาด - Eco Valva ป้องกัน กลิ่น, แมลง และการย้อนกลับจากถังบ�ำบัดได้อย่างดีเยี่ยม แม้จะไม่มีน�้ำกันกลิ่นก็ตาม -ปลอดเชื้อ ด้วยปุ่มกดแบบเหยียบ ไม่ต้องใช้มือสัมผัสปุ่มกด -มีลิ้นวาล์วป้องกันเชื้อโรคจากถังบ�ำบัด และป้องกันน�้ำเออล้นจากน�้ำท่วม -สวิทซ์เท้า สะดวก สบาย ต่อการใช้งาน ส�ำหรับผู้สูงอายุ เด็ก และสตรีมีครรภ์ และบุคคลทั่วไปที่จำ� เป็นต้องใช้ห้องน�้ำสาธาณณะ ใช้งานง่าย และช่วยป้องกันการติดเชื้อ จากการสัมผัส -ในกรณีน�้ำไม่ไหล สามารถใช้น�้ำเพียงแก้วเดียว ในการฟลัช สามารถประหยัด ค่าน�้ำได้อย่างเป็นอย่างมาก และคืนทุนให้กับผู้ประกอบการภายใน 1-2 ปี

50 Energy#68_p50-51_iMac5.indd 50

ระบบการติ ด ตั้ ง เหมื อ นกั บ ชั ก โครกทั่ ว ไปเหมาะกั บ การใช้ ง านทุ ก บริ บ ท ทุ ก สถานที่ ไม่วา่ จะเป็น บ้าน คอนโด ออฟฟิศ ส�ำนักงาน โรงแรม รีสอร์ท โรงพยาบาล โรงเรียน หน่วยงาน ต่างๆ สนใจสามารถติดต่อ ได้ บริษัท กรีน แฟมิลี จ�ำกัด ผู้แทนจ�ำหน่าย

July 2014 6/21/2557 BE 3:11 PM


1 อิฐมวลเบา Q-CON เบา ประหยัด อิฐมวลเบา Q-CON เป็นผลิตภัณฑ์คอนกรีตชนิดใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ส�ำหรับงานก่อสร้างผนังและพื้น ด้วยคุณสมบัติพิเศษ ที่เหนือกว่าประกอบกับการออกแบบและก่อสร้างอาคารบ้านเรือนในปัจจุบัน น�้ำหนักเบากว่าอิฐมอญ 2-3 เท่าและเบากว่า อิฐคอนกรีต 4-5 เท่า ท�ำให้สามารถขนาดโครงสร้างได้ โดยไม่ส่งผลต่อความแข็งแรง จึงช่วย ประหยัดค่าก่อสร้างโครงสร้างอาคารลงได้ หรือสามารถเพิ่มจ�ำนวนชั้นได้มากขึ้นในโครงสร้างที่ เท่ า เดิ ม ทั้ ง ยั ง ประหยั ด เวลา เพราะก่ อ สร้ า งได้ เร็ ว ด้ ว ยขนาดก้ อ นที่ ใ หญ่ แ ต่ มี น�้ ำ หนั ก เบา กันความร้อนได้ดีกว่าอิฐมอญถึง 4-8 เท่า จึงช่วยลดการถ่ายเทความร้อนจากภายนอกสู่ภายใน อาคาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายจากขนาดเครื่องปรับอากาศที่เล็กลงและลดค่าไฟฟ้าได้ถึง 30% และทนทานต่อเพลิงไหม้ทอี่ ณ ุ หภูมสิ งู ได้เป็นอย่างดี สามารถกันไฟได้นานกว่าผนังอิฐมอญ 2-4 เท่า สามารถหยิบจับหรือสัมผัสได้เมื่อถูกเผาไฟจะไม่เกิดควันหรือสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

2 อ่างล้างหน้า KUDOS อ่างล้างหน้า KUDOS ผลิตภายใต้มาตรฐานจากยุโรป ที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล ด้วยดีไซน์ทโี่ ดดเด่น ไร้ขอ้ จ�ำกัดด้านการออกแบบ วัสดุใหม่ในประเทศไทย เพราะผลิตจากหิน ธรรมชาติผสมเรซิ่นสังเคราะห์ แล้วเครือบด้วย Gel Coat สูตรพิเศษที่ท�ำให้วัสดุมีความ ยื ด หยุ ่ น สู งกว่ า วั สดุ ทั่ ว ไป ป้ องกั น การแตกร้ า วจากการสั ม ผั สน�้ำร้อ น น�้ำเย็นในเวลา เดียวกัน รวมทั้งมีคุณสมบัติ ป้องกันรอยขีดข่วนจากของมีคมจากการใช้งานตามปกติ พื้นผิวสัมผัสราบเรียบไร้รูโพรงอันเป็นสาเหตุของการฝังตัวของเชื้อแบคทีเรียซึ่งมีในวัสดุ โดยทั่ ว ไป จึ งมั่ น ใจได้ ในเรื่ องความสะอาดแบบ Ultra-Hygienic ที่จ ะช่ว ยเสริม สร้า ง สุขภาพที่ดีของผู้ใช้ โดยเฉพาะผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้ นอกจากนี้วัสดุ สามารถซ่อมแซมให้ กลับมาสู่สภาพเดิมได้ เมื่อเกิดการช�ำรุดเสียหายซึ่งวัสดุโดยทั่วไปไม่สามารถท�ำได้

3 นวัตกรรมชุดม่านปรับแสงไร้สายพร้อมกระจกนิรภัยปกป้องจาก DES ส�ำหรับนวัตกรรมชุดม่านปรับแสงไร้สายพร้อมกระจกนิรภัย DES นั้นสามารถกันฝุ่น กันน�้ำ และไม่เกิดฝ้าภายใน ไม่ต้องท�ำความสะอาดตัวม่านปรับแสง ลดระดับเสียงดังและรังสี ความร้อนและยูวีจากภายนอกช่วยประหยัดพลังงาน และสามารถควบคุมการปรับแสง และการปรับม่านขึ้นลงเป็นระบบแม่เหล็กไร้สาย ใช้ประกอบกับเฟรม อลูมิเนียม ยูพีวีซี หรือไม้ เพื่อท�ำเป็นหน้าต่างประตู รับประกันคุณภาพสินค้าและการใช้งานนาน 10 ปี เหมาะส�ำหรับติดตั้งในอาคารส�ำนักงาน, โรงงาน, โรงพยาบาล, มหาวิทยาลัย, โรงเรียน, สถานที่ราชการ, อพาร์ทเมนต์, บ้านพักอาศัย, ห้องคลีนรูม ฯลฯ

July 2014 51 Energy#68_p50-51_iMac5.indd 51

6/21/2557 BE 2:53 PM


Showcase - Logistics นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

1 ผ้าเบรกนวัตกรรม Hybrid Fusion Technology : บริษทั เอฟ เอ็ม พี ดิสทริบวิ ชัน่ จ�ำกัด ตัวแทนจ�ำหน่ายผ้าเบรกเบ็นดิกซ์ เปิดตัว “ไฮบริด ฟิวชั่น เทคโนโลยี” (Hybrid Fusion Technology) นวัตกรรมการรวบรวมเทคโนโลยีระบบเบรก เพื่อความคุ้มค่า มั่นใจ และ ปลอดภัยสูงสุดให้แก่ผู้ขับขี่ ด้วยการน�ำทุกเทคโนโลยีที่มีจุดเด่นในแต่ละด้านของแต่ละ เทคโนโลยี เพื่อน�ำมาก�ำหนดสูตรและชนิดของผ้าเบรกในแต่ละรุ่น ผสมผสานให้เกิด ประสิทธิภาพในการเบรกสูงสุดได้อย่างลงตัว โดยผ่านการค้นคว้าและทดสอบจากทีมงาน วิศวกรรมผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งผ้าเบรกเทคโนโลยี ไฮบริด ฟิวชั่น มีผลิตภัณฑ์ให้เลือกใช้ หลากหลายรูปแบบ ส�ำหรับการขับขี่และการใช้งานที่แตกต่างกัน ได้อย่างลงตัว ให้ความ ปลอดภัยสูงสุด พร้อมความคุ้มค่า และยืดอายุการใช้งานผ้าเบรกให้ยาวนานยิ่งขึ้น

2 เชลล์ HX8 0W-20 น�้ำมันเครื่องรถยนต์อีโคคาร์ : บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด แนะน�ำผลิตภัณฑ์ Shell Helix HX8 0W-20 น�้ำมันเครื่องส�ำหรับรถยนต์ประเภท Eco Car โดยเฉพาะ ชนิดสังเคราะห์แท้ 100% ได้มาตรฐาน API SN และมาตรฐาน ประหยัดน�้ำมัน สูงสุด ILSAC GF-5 เหมาะกับรถยนต์เบนเซินรุ่นใหม่ช่วยท�ำความสะอาดคราบสกปรกและ ตะกอนยางเหนียวในเครื่องยนต์ ท�ำให้เครื่องยนต์ท�ำงานได้เต็มประสิทธิภาพ ลดภาระการ ท�ำงานของเครื่องยนต์ ท�ำให้เหมาะกับเครื่องยนต์ของรถยน์ประหยัดพลังงาน หรือ อีโคคาร์

3

Q-85 แบตเตอรี่เพื่อสิ่งแวดล้อม : บริษัท สยามยีเอสเซลส์ จ�ำกัด ตามกระแสด้านสิ่งแวดล้อม แนะน�ำแบตเตอรี่ส�ำหรับรถอีโคคาร์ประหยัดพลังงาน รุ่น Q-85 ที่ให้ก�ำลังของแบตเตอรี่ที่สูง รองรับการท�ำงานของเครื่องยนต์ในขณะที่เครื่องยนต์ดับ และ รีสตาร์ทใหม่ สามารถชาร์จไฟกลับเข้าตัวแบตเตอรี่เต็มที่ได้มากกว่า และยังมีแรงสตาร์ทที่ สูงกว่าแบตเตอรี่ทั่วไป มีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่า 1.5 เท่า หรือประมาณ 3 ปี โดยเป็น แบตเตอรี่ที่ใช้กับรถยนต์อีโคคาร์ ในสเปกที่เรียกว่า ISS [Idling Stop System] เป็นระบบตัด การท�ำงานของเครื่องยนต์อัตโนมัติโดยเฉพาะ

52 Energy#68_p52-53_iMac5.indd 52

July 2014 6/21/2557 BE 3:04 PM


¡ÅØ‹ÁµÅҴöºÃ÷ءáÅÐöâ´ÂÊÒà ¡ÅØ‹Á¸ØáԨÊํÒ¤ÑÞÊํÒËÃѺ¡ÒâѺà¤Å×่͹ àÈÃÉ°¡Ô ¨¢Í§»ÃÐà·È µ‹ Í »‚ ÁÕ ¡ÒÃàµÔ ºâµáÅмÅÑ ¡ ´Ñ ¹ àÁ็ ´ à§Ô ¹ ãËŒ Ë ÁØ ¹ àÇÕ Â ¹ã¹ »ÃÐà·È¨ํҹǹÁËÒÈÒŠᵋÍ‹ÒÅ×ÁÇ‹Ò¡ÒâѺà¤Å×่͹»ÃÐà·È¹Ñ้¹Â‹ÍÁµŒÍ§ÁÕàÃ×่ͧ ¢Í§µŒ¹·Ø¹·Õ่µŒÍ§àÊÕÂä» äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹¨‹ÒÂ㪌¨‹Ò´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹áÅÐÍØ»¡Ã³ ÊÔ้¹à»Å×ͧ µ‹Ò§ æ â´Â੾ÒФ‹Ò㪌¨‹ÒÂàÃ×่ͧÂÒ§ «Ö่§Ëҡ໚¹¼ÙŒ»ÃСͺ¡ÒÃÃÒÂãËÞ‹áÅŒÇ ÍÒ¨äÁ‹ÁͧNjÒ໚¹»˜ÞËÒÁÒ¡¹Ñ¡ ᵋËҡ໚¹¼Ù»Œ ÃСͺ¡ÅÒ§ËÃ×ÍÃÒ‹ÍÂáÅŒÇÅС็ »˜¨¨Ñ´ѧ¡Å‹ÒǶ×Í໚¹àÃ×่ͧ·Õ่äÁ‹ÍÒ¨Áͧ¢ŒÒÁä´Œ

ตลาดยางเรเดียล

ปฏิวัติสูรถบรรทุก-รถโดยสารขนาดกลาง ยางสําหรับรถบรรทุกและรถโดยสารสวนใหญ จะเป น ยางประเภทผ า ใบที่ มี ร าคาตํ่ า และ คุณภาพก็ตามราคา เนือ่ งจากเหมาะทีจ่ ะใชกบั รถพวงซึง่ ทําหนาทีว่ งิ่ บนถนนเพียงอยางเดียว ไมตองบังคับเลี้ยวซายและเลี้ยวขวามากนัก ทําใหผูผลิตยางไมจําเปนตองใสเทคโนโลยี ลงไปในยางแบบยางสําหรับรถยนตนงั่ ทัว่ ไป แต ก็ ใช ว  า ตลาดยางผ า ใบรถใหญ จ ะตอง หมดไป เพราะยางผาใบยังสามารถทํายอด ขายไดมากกวาเดือนละ 100,000 เสน แตที่ ดูเหมือนวากําลังมาแรงเปนจะเปนยางเรเดียล ที่มียอดจําหนายไมนอยกวา 200,000 เสน ตอเดือน

สยามไทร ไดเปดตัวผลิตภัณฑยางเรเดียลสําหรับผูใ ชงานรถบรรทุกและรถโดยสารขนาดกลาง รุน ไฮเวย เรเดียล เพือ่ ชวยผลักดันใหผใู ชยางผาใบ หรือ NYLON สามารถใชยางเรเดียลทีม่ ี คุณภาพและประสิทธิภาพดีกวาในราคายอมเยา เพื่อลดตนทุนดานคาใชจายจากอุปกรณ สิ้นเปลืองอยางยาง มร. อเล็กซองด อองนิยง ผูอํานวยการยางรถบรรทุกและยางนอกทางหลวง บริษัท สยาม มิชลิน จํากัด เผยถึงการทําตลาดของยางเรเดียลวา มิชลิน ไดแนะนํายางเรเดียลสําหรับ รถบรรทุกและรถโดยสารขนาดกลางภายใตแบรนดสยามไทร เพื่อตอบสนองความตองการ ในการใชยางที่ใหความคุมคาในราคาที่ยอมเยาสําหรับกลุมผูประกอบการธุรกิจขนาดกลาง ถึงขนาดเล็ก และลูกคารายยอยที่ใชรถบรรทุกขนาดกลาง สยามไทร ไฮเวย เรเดียล ถือเปนยางเรเดียล รุนแรกของแบรนด สยามไทร และเปนยาง เรเดียลชนิดใชยางในเพียงแบรนดเดียวที่ผลิตภายในประเทศสําหรับรองรับการใชงานของ ตลาดกลุมรถบรรทุกและรถโดยสารขนาดกลาง มีจํานวนกวา 360,000 คันตอป ซึ่งขอดีของ ยางที่ผลิตในประเทศคือเรื่องของตนทุนและการออกแบบเพื่อใชสําหรับประเทศนั้น ๆ โดยเฉพาะ จึงเหมาะสําหรับการใชงานและราคาไมสงู มาก เพราะไมจาํ เปนตองเสียคาใชจา ย ในการนําเขาแตอยางไร สยามไทร ไฮเวย เรเดียล สามารถใสไดกับทุกตําแหนงลอ โดยมีหนายาง 2 ขนาด คือ 8.25 และ 7.50 สําหรับกระทะลอ 16 นิว้ เปนทางเลือกใหมใหกบั ผูบ ริโภค เนือ่ งจากมีราคาใกลเคียง กับยางผาใบในตลาดแตมีอายุการใชงานที่ยาวนานกวายางผาใบถึง 93% ที่สําคัญยังประหยัดนํ้ามันมากกวา เนื่องจากโครงสรางยางเรเดียลมีแรงตานการหมุน นอยกวายางผาใบที่มีการเสียดสีระหวางชั้นผาใบทําใหเกิดความรอนขณะวิ่งและสิ้นเปลือง นํ้ามัน อีกทั้งยังมีโครงสรางที่ทนทานชวยลดปญหาการขนสงหยุดชะงักอันเนื่องมาจาก ความเสียหายของขอบยางหรือเมื่อยางโดนบาดตํา ซึ่งจะเกิดขึ้นกับยางชนิดผาใบที่มีความ แข็งแรงนอยกวาอีกดวย July 2014 53

Energy#68_p52-53_iMac5.indd 53

6/21/2557 BE 3:04 PM


Showcase - Commercial นัษรุ ต เถื�อนทองคํา

1 ฟลปิ ส Master LED Candle 4-25W : บริษทั ฟลปิ สอเิ ล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด ผลิตภัณฑหลอดไฟประหยัดพลังงานรวมเปนพันธมิตรกับผูผลิตคริสตัลชั้นนํา Swarovski ในการออกแบบหลอด LED สําหรับโคมไฟแชนเดอเลียร โดยออกแบบใหมีคริสตัลอยู ภายในหลอด เมื่อแสง LED สวางกระทบคริสตัสจะสองเปนประกาย ประหยัดพลังงาน เพราะมีขนาดเพียง 4 วัตต แตใหแสงสวางเทียบเทาหลอดไสรูปทรงจําปาปกติเดิม 25 วัตต ประหยัดพลังงานมากกวา 80% อายุการใชงาน 20,000 ชั่วโมง และไมมีรังสียูวีและ อินฟาเรด

2 พานาโซนิค NA-140VG3 ประหยัดนํ้า ปรับการใชงานอัตโนมัติ บริษัทพานาโซนิค แมเนจเมนท(ประเทศไทย) จํากัด สิ น ค า รั ก ษ โ ลกเครื่ อ งซั ก ผ า ประหยั ด พลั ง งาน เป น อี ก หนึ่ ง สิ น ค า ที่ ใ ส ใจด า นพลั ง งาน ติดตั้งเทคโนโลยี Intelligent Inverter ระบบจัดการพลังงานใหเหมาะสมในแคละครั้ง เพื่อใหเกิดการซักที่สะอาดสูงสุด ระบบ Econavi กับเซ็นเซอรตรวจจับในการคํานวณเวลา ที่เหมาะสมในการซักและใชนํ้านอยลงโดยอัตโนมัติ เมื่อมีปริมาณผานอยเกินไป พรอม 3D Sensor Wash เทคโนโลยีซักผาดวยเซ็นเซอร 3 มิติ ตั้งโปรแกรมการซักได 16 โปรแกรม จึงใหทั้งการประหยัดพลังงานและประหยัดนํ้าในเครื่องเดียวกัน

3 เสื้อผา F&F เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม : F&F อินเตอรเนชั่นแนลแฟชั่น แบรนดเสื้อผาจากอังกฤษเปดตัวนวัตกรรม F&F Bottle Recycle สินคา กลุมใหมที่ใชเทคโนโลยีการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมที่ผลิตจากขวด พลาสติ ก เก า นํ า กลั บ มารี ไ ซเคิ ล เป น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต เส น ด า ย โพลีเอสเตอรสูการผลิตเปนเสนดายที่มีความนุมสวมใสสบายเชนเดียวกับ ผาใยสังเคราะห และ F&F Save water กางเกงยีนส ที่ใชเทคโนโลยีการลด ปริมาณการใชนํ้าในขั้นตอนการฟอกยีนส ซึ่งประหยัดนํ้าจากการผลิตได ขั้นตํ่ากวา 20,000 ลิตรตอเดือน

54 Energy#68_p54-55_iMac5.indd 54

July 2014 6/21/2557 BE 3:09 PM


Daikin Urusara7

นวัตกรรมความเย็น ประหยัด-รักษโลก พันธุไทย Ç‹Ò´ŒÇÂàÃ×่ͧ¢Í§à¤Ã×่ͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈËÃ×Í·Õ่àÃÒàÃÕ¡¡Ñ¹µÔ´»Ò¡Ç‹ÒáÍà ¹Ñ้¹ ¡‹Í¹Ë¹ŒÒ¹Õ้ àÃÒÁÑ¡¤Ô´à¾Õ§ᵋÇÒ‹ ໚¹à¤Ã×Í่ §Á×ͪԹ้ ˹่֧ ·Õ¨่ Ъ‹ÇÂÊÌҧÍÒ¡ÒÈàÂ็¹ãËŒàÃÒà¾Õ§Í‹ҧà´ÕÂÇ «Ö่§ËҡŒ͹ä»àÁ×่ÍÊÑ¡ 5-10 »‚·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ¶×ÍÇ‹Ò໚¹¤ÇÒÁ¤Ô´·Õ่äÁ‹¼Ô´ ᵋ»˜¨¨ØºÑ¹ à¤Ã×Í่ §»ÃѺÍÒ¡ÒÈÁÕº·ºÒ·ÁÒ¡ÂÔ§่ ¢Ö¹ ้ µ‹Í¡ÒÃ㪌ªÇÕ µÔ ¢Í§àÃÒ ·ÓãËŒÁ¡Õ ÒþѲ¹ÒÍ‹ҧ µ‹Íà¹×Í่ §à¾×Í่ ãˌ໚¹ÁÒ¡¡Ç‹Ò·Õà่ ¤Â໚¹ à¾×Í่ ãËŒà¾Õº¾ÃŒÍÁ´ŒÇ¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ áÅФÇÒÁʺÒ·ÕÊ่ ÁÑ ¼ÑÊä´Œ Í‹ҧã¹à¤Ã×Í่ §»ÃѺÍÒ¡ÒÈ Daikin’s Urusara7

มร.ทากาโยชิ มิกิ

ประสิทธิภาพการทํางานระบบอินเวอรเตอรสูง ชวยประหยัดพลังงานมากกวาเครื่อง ปรับอากาศทัว่ ไปถึง 33% ประหยัดไฟพรอมการเดินเครือ่ งทีเ่ งียบ การควบคุมทิศทางลม แบบใหม Circulation Airflow กระแสลมจากเครื่องปรับอากาศออกไปไดไกล จากจุดที่ติดตั้งบริเวณฝาเพดาน ดูดอากาศกลับเขาเครื่องปรับอากาศทั้งจากทาง ดานบนและลาง ทําใหการไหลเวียนของอากาศดีขึ้น ขจัดปญหาความไมสมํ่าเสมอของ อุณหภูมิในหอง Daikin Urusara7 ไดรับการออกแบบใหเปน เครื่องปรับอากาศที่มีความแตกตาง ดวยการ ติดตั้งระบบ Dehumidification system หรือ ระบบปรั บ ความชื้น สมดุลอัตโนมัติ 3 ระดับ ปรับภาวะความชื้นภายในหองใหเหมาะสมกับ มนุษย ทําใหผูใชรูสึกถึงความสบายจากความ คงที่ ข องอุ ณ หภู มิ แ ละความชื้ น ภายในห อ ง ลดความไม ส บายตัว จากความชื้น ที่ไมสมดุล เพือ่ ความเย็นสบายสูงสุด ณ อัตราเหมาะสมของ สภาวะสบายทีอ่ ณ ุ หภูมิ 24-26 °c และความชืน้ 55% ประหยัดพลังงานมากขึน้ เมือ่ สามารถปรับเปลีย่ น การทํางานของคอลยแลกเปลี่ยนความรอนได ตามสภาพความชื้น ณ ขณะนั้น เมื่อความชื้น ในอากาศมีปริมาณนอยระบบจะใชพื้นที่คอลย แลกเปลี่ยนความรอนเพียงบางสวนที่จําเปน เท า นั้ น ทํ า ให สิ้ น เปลื อ งพลั ง งานน อ ยกว า เครื่องปรับอากาศในปจจุบัน

ระบบ Intelligent eye หรือ อินฟาเรดตรวจจับการเคลื่อนไหวของคนภายในหองซึ่งหากไมมีคน อยูในหอง หรือไมมีการเคลื่อนไหวใน 20 นาที ระบบ Intelligent eye จะปรับอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 2°C และหากมีการเคลื่อนไหวอีกครั้ง อุณหภูมิความเย็นก็จะกลับมาสูองศาที่ตั้งไว ประหยัดพลังงาน มากกวาเครื่องปรับอากาศทั่วไปสูงสุด 30% และที่สําคัญเปนครั้งแรกในประเทศไทย ที่ใชสารที่ ความเย็น R32 เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ที่ใหความเย็นเร็วกวาเดิมดวยประสิทธิภาพการทําความ เย็นที่มากขึ้นเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม นอกจากไมทําลายโอโซน (Ozone) แลว ยังสามารถชวยลด โลกรอนมากกวา 3 เทาเมื่อเทียบกับสารทําความเย็นปจจุบัน

ระบบ Inverter ระบบภายในอัจฉริยะที่ควบคุม การทํ า งานคอมเพรสเซอร แ บบสวิ ง ด ว ย มอเตอร 2 แรงบิดของแมเ หล็ก นีโอไดเมีย ม ที่ใหพลังงานมากกวาแมเหล็กธรรมดา ทําให

ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดวางแผนเปดตัวผลิตภัณฑที่ใชสารทําความเย็น R32 หลายรุน และสงเสริมการขาย เครื่องปรับอากาศในกลุม Inverter ซึ่งถือเปนผลิตภัณฑไฮไลตของไดกิ้นที่ไดเริ่มนํามาจําหนายใน ประเทศไทยเปนรายแรก ตอบสนองตอนโยบายการประหยัดพลังงานของรัฐบาล ใหผลิตภัณฑใน กลุมนี้มีการเติบโตเปน 30% ภายในปนี้

มร.ทากาโยชิ มิกิ ผูจัดการใหญ บริษัท สยามไดกิ้นเซลส จํากัด เปดเผยกระแสเพื่อสิ่งแวดลอม และสุขภาพวา ปจจุบันมีการตื่นตัวถึงปญหาสิ่งแวดลอมอยางมาก โดยเฉพาะการแขงขันที่รุนแรง ของตลาดเครื่องปรับอากาศในปจจุบันและเทรนดการใสใจรักสุขภาพ Urusara 7 ถือเปนนวัตกรรม ใหมลาสุดของวงการเครื่องปรับอากาศไทย และเปนครั้งแรกที่เครื่องปรับอากาศมีโหมดปรับ ความชื้นอัตโนมัติ ชวยสรางความเย็นสบายสูงสุดและยังเปนผลิตภัณฑที่ประหยัดพลังงานและ รักษาสิ่งแวดลอม ดวยการเริ่มใชสารทําความเย็น R32 ครั้งแรกในไทย เปนสารที่ไมทําลายชั้น โอโซน โดยมีคาตัวชี้วัดการทําใหโลกรอนลดลงถึง 1/3 ของสารทําความเย็นปจจุบัน มีประสิทธิภาพ การทําความเย็นที่ดีกวา พัฒนาขึ้นสําหรับความสบายสูงสุดพรอมกับคาการประหยัดพลังงาน สูงสุด

July 2014 55 Energy#68_p54-55_iMac5.indd 55

6/21/2557 BE 3:09 PM


Vertical Market ณ อรัญ

เครือ่ งผลิตนํา้ รอนระบบโซลารเซลล ปจจัยหนึง่ ของการลดตนทุนพลังงาน

»˜

¨¨Ø ºÑ ¹ ¾ÅÑ § §Ò¹·´á·¹¹Ñ้ ¹ àÃÔ่ Á ໚ ¹ »˜ ¨ ¨Ñ  Êํ Ò ¤Ñ Þ ã¹¡ÒÃ㪌 ªÕ ÇÔ µ »ÃШํ Ò ÇÑ ¹ áÅÐ໚ ¹ »˜ ¨ ¨Ñ  Êํ Ò ¤Ñ Þ µ‹ Í ¼Ù Œ » ÃСͺ¡Òõ‹ Ò § æ ÁÒ¡¢Ö้ ¹ äÁ‹ Ç ‹ Ò ¨Ð໚ ¹ ÍصÊÒË¡ÃÃÁâç§Ò¹ áÅмٌ»ÃСͺ¡ÒøØáԨâçáÃÁ ÃÕÊÍà · ÃÇÁ¶Ö§ºŒÒ¹àÃ×͹ ·Ñ่Çä» à¹×่ͧ¨Ò¡µŒ¹·Ø¹´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹àª×้Íà¾ÅÔ§ÁÕÃÒ¤ÒÊÙ§¢Ö้¹ ¼ÙŒ»ÃСͺ¡ÒÃã¹Âؤ »˜¨¨ØºÑ¹¨Ö§ä´ŒàÅ×͡㪌¾Åѧ§Ò¹·´á·¹à¢ŒÒÁÒ㪌໚¹Ê‹Ç¹Ë¹Ö่§¢Í§¡Ãкǹ¡ÒüÅÔµ à¾×่ͪ‹ÇÂÅ´¤‹Ò㪌¨‹Ò·ҧ´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹Íѹ໚¹µŒ¹·Ø¹Í‹ҧ˹Ö่§¢Í§ÀÒ¤¸ØáԨáÅÐ ÍصÊÒË¡ÃÃÁ·Ø¡ÊÒ¢Ò

สําหรับประเทศไทยพลังงานทดแทนที่ไดจากพลังงานแสงอาทิตยนั้นเปนพลังงานทดแทน ชนิดหนึง่ ทีม่ ศี กั ยภาพ เนือ่ งจากแสงอาทิตยเปนพลังงานทีไ่ ดเปลา ไมตอ งเสียคาใชจา ยใด ๆ และยังเปนพลังงานที่สะอาด ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ระบบโซลารเซลล นอกจากติดตัง้ เพือ่ ผลิตกระแสไฟฟาแลว ยังถูกนําไปติดตัง้ เพือ่ ผลิตนํา้ รอน ซึง่ เรามักจะคุยกับชือ่ เครือ่ งทํานํา้ รอนระบบโซลารเซลล หรือ Solar Heater หรือเรียกอีกอยาง วา Solar Collector แลวแตจะเรียกกันตามความเหมาะสม ซึ่งในปจจุบันนั้นเริ่มจะเปนที่ นิยมใชในธุรกิจตางๆ ทั้งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม รีสอรท โดยหลายบริษัทไดนํามา

56 Energy#68_p56-58_iMac5.indd 56

ประยุกตใชกับระบบผลิตนํ้ารอนที่มีอยูเดิม และใช เ พื่ อ เสริ ม ระบบผลิ ต นํ้ า ร อ นที่ มี อ ยู  แบบเดิ ม เช น การนํ า มาประยุ ก ต ใช กั บ ระบบ Heat Pump ระบบ Boiler หรืออาจ จะนํ า มาทดแทนระบบผลิ ต นํ้ า ร อ นที่ ใช เชื้อเพลิง LPG และนํ้ามันเตา ทั้งนี้การสงเสริมของหนวยงานภาครัฐอยาง กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พลังงาน (พพ.) ที่สนับสนุนการลงทุนติดตั้ง ระบบผลิ ต นํ้ า ร อ นพลั ง งานแสงอาทิ ต ย แก ผู  ประกอบการต า ง ๆ ทั้ง กลุม โรงงาน อุตสาหกรรม โรงแรม รีสอรท หางสรรพสินคา ภายใต โ ครงการส ง เสริ ม การใช นํ้ า ร อ น พลังงานแสงอาทิตยดวยระบบผสมผสาน ที่สนใจเขารวมโครงการ ตลอดจนกระแส เรื่ อ งการประหยั ด พลั ง งาน การเลื อ กใช พลังงานทดแทนเริ่มไดรับความสนใจทําให ผูประกอบการทั้งผูผลิตระบบผลิตนํ้ารอน พลั ง งานแสงอาทิ ต ย ไ ด พั ฒ นาระบบให สามารถผลิตนํา้ รอนไดมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ เพื่ อ ตอบสนองผู  ป ระกอบการที่ มี ค วาม ต อ งการใช ร ะบบผลิ ต นํ้ า ร อ นพลั ง งาน แสงอาทิตยที่มีความตองการมากขึ้นดวย

July 2014 6/24/2557 BE 1:05 AM


ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น นั้ น ผู ้ ผ ลิ ต และจ� ำ หน่ า ยได้ พั ฒ นาระบบมาเป็ น เครื่ อ งท� ำ น�้ ำ ร้ อ น พลังงานแสงอาทิตย์แบบหลอดสูญญากาศ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการผลิ ต น�้ ำ ร้ อ นได้ ถึ ง 85 – 90 องศา จากแต่กอ่ นเป็นระบบแผ่นเรียบ ซี่งมีประสิทธิภาพในการผลิตน�้ำร้อนเพียง 60 องศา นอกจากนี้ยัง มีการพัฒนาให้มี หลายขนาดตามความเหมาะของการใช้งาน ในแต่ละสถานที่ เช่น ขนาด 70 ลิตร เหมาะกับ บ้านพักขนาดเล็ก หรือ 3,000 – 5,000 ลิตร ก็ เ หมาะกั บ โรงแรม รี ส อร์ ท หรื อ ขนาด 10,000 ลิตร ที่ถูกพัฒนาขึ้นมารองรับกลุ่ม โรงงานอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตามจากปัจจัยดังกล่าวช่วยให้ภาพ ร่วมของการเติบโตของระบบผลิตน�้ำร้อน พลังงานแสงอาทิตย์ Solar Heater หรือ Solar Collector ในประเทศไทยมีการเติบโต ก้ า วกระโดดถึ ง 15% จากทุกปีที่ผ ่ า นมา ซึ่ ง ในอนาคตมี แ นวโน้ ม เติ บ โตขึ้ น อย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง เพราะได้ รั บ การสนั บ สนุ น จาก ภาครัฐเป็นอย่างดี

ส�ำหรับระบบท�ำน�้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์จะประกอบด้วยส่วนส�ำคัญ 2 ส่วน คือ ตัวเก็บรังสีอาทิตย์ (Solar Collector) ท�ำหน้าที่เป็นอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนอย่างหนึ่ง ซึ่งเปลี่ยนรูปพลังงานแสงอาทิตย์ไป เป็นความร้อน และถ่ายเทให้กับน�้ำที่ไหลในตัวเก็บรังสี ให้มีอุณหภูมิสูงขึ้น มีส่วนประกอบ ดังนี้ 1. แผ่นปิดใส ท�ำหน้าที่ป้องกันการสูญเสียความร้อนให้กับบรรยากาศ ซึ่งได้เลือกเป็น กระจกนิรภัย 2. ตัวดูดรังสี (Solar Absorber) ผลิตจากอลูมิเนียมรีดขึ้นรูป ท�ำเป็นครีบดักรังสีเคลือบ สารดูดความร้อนและเพิ่มท่อทองแดงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถรับรังสีอาทิตย์ได้ มากกว่า และป้องกันการสะท้อนออกของรังสีที่ตกกระทบ ท�ำให้ประสิทธิภาพของตัวดูด รังสีสูงขึ้น 3. ท่อทางเดินของน�ำ้ ใช้ท่อทองแดงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3/8 นิ้ว สวมอัดกับครีบดูด รังสี ท�ำให้ถา่ ยเทความร้อนได้ดี และเชือ่ มกับท่อ Header ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 1/8 นิว้ ท�ำให้ไม่มีปัญหาเรื่องอุดตัน 4. ฉนวนกันความร้อน ใช้ไมโครไฟเบอร์ชนิดติดอลูมิเนียมปลอย 2 นิ้ว ซึ่งป้องกัน ความร้อนสูญเสีย และอลูมิเนียมฟลอยยังท�ำหน้าที่สะท้อนรังสีกลับเข้าสู่ตัวดูดรังสีอีกครั้ง ท�ำให้ลดการสูญเสียความร้อนได้เป็นอย่างดี 5. กรอบตัวเก็บรังสี ผลิตจากอลูมเนียมรีดขึ้นรูป ท�ำให้ไม่ขึ้นสนิม ถังสะสมความร้อน (Storage Tank) เป็นอุปกรณ์ที่มีความส�ำคัญมากต่อระบบ เพราะเป็นตัวเก็บน�้ำร้อนเพื่อไปใช้งานตาม ความต้องการ เป็นถัง 2 ชั้น ชั้นในและชั้นนอกท�ำด้วยสแตนเลส ท�ำให้ไม่เป็นสนิม และ ทนต่อความดัน และปิดหัวท้ายด้วยสะแตนเลสอัดขึน้ รูป ภายในหุม้ ด้วยฉนวนโพลียนู เี ทนโฟม ซึ่งมีค่าการน�ำความร้อนต�่ำ ท�ำให้สามารถเก็บความร้อนได้เป็นอย่างดี July 2014 57

Energy#68_p56-58_iMac5.indd 57

6/24/2557 BE 1:05 AM


Vertical Market ณ อรัญ

หลักการท�ำงาน ระบบท�ำน�้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ สามารถแบ่งการท�ำงานตามลักษณะการหมุนเวียน ของน�้ำภายในระบบได้ 2 ระบบ ดังนี้ 1. ระบบน�ำ้ หมุนเวียนโดยธรรมชาติ (Natural Circulation or Thermosyphon System ) ระบบน�้ำเหมาะสมส�ำหรับใช้ถังสะสมน�้ำร้อนขนาดเล็ก ซึ่งถังสะสมความร้อนจะอยู่สูงกว่า ตัวเก็บรังสี น�้ำจากก้นถังซึ่งเป็นส่วนที่อุณหภูมิต�่ำสุดจะไหลผ่านเข้าไปในตัวเก็บรังสี (Solar Collector) ท�ำให้น�้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้น ความหนาแน่นจะลดลง น�้ำร้อนส่วนนี้ก็จะลอยตัวขึ้น ทางด้านบนของตัวเก็บรังสี และลอยตัวขึ้นสู่ด้านบนของถังสะสมน�้ำร้อน ขณะเดียวกันน�้ำ จากก้นถังซึ่งเย็นกว่าจะไหลเข้าทางด้านล่างของตัวเก็บรังสีแทนที่น�้ำร้อนที่ลอยตัวขึ้นไป การหมุนเวียนของระบบจะหมุนเวียนต่อเนื่องตามธรรมชาติ ซึ่งจะเกิดขึ้นตลอดเมื่อมี แสงแดดเพียงพอ 2. ระบบใช้ปั้มในการช่วยให้น�้ำหมุนเวียน (Forced Circulation System) ระบบนี้เป็น ระบบส�ำหรับการใช้น�้ำร้อนเป็นจ�ำนวนมากและต่อเนื่องกัน เช่นโรงพยาบาล โรงแรม รีสอร์ท บ้านพักอาศัยขนาดใหญ่ สถานบริการต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการติดตั้งถังสะสมน�้ำร้อน ไว้บนหลังคา ระบบดังกล่าวนี้มีอุปกรณ์เพิ่มเติม คือ ปั้มน�้ำร้อน และระบบควบคุมการท�ำ งานของปั้ม ระบบควบคุมนี้จะมีเทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิของน�้ำที่ทางเข้าและออกของตัว เก็บรังสี ถ้าผลต่างของอุณหภูมิน้อยกว่า 3-5 องศา แสดงว่าปริมาณของแสงอาทิตย์ที่ตกลง บนตัวเก็บรังสีน้อยมาก ระบบควบคุมดังกล่าวจะตัดการท�ำงานของปั้มทันที ส่งผลให้ ไม่สิ้นเปลืองพลังงาน และสูญเสียความร้อนที่ตัวเก็บรังสีอาทิตย์

การลงทุ น ด้ ว ย Solar Water Heater สามารถประหยัดได้อย่างไร เนื่องจากการใช้ระบบท�ำน�้ำร้อนพลังงาน แสงอาทิตย์สำ� หรับใช้กบั โรงแรม โรงพยาบาล สถานประกอบการต่าง ๆ รีสอร์ท และบ้าน พั ก อาศั ย เป็ น การลงทุนที่มีผลตอบแทน อย่างคุม้ ค่าในระยะยาว ต่างจากการลงทุนด้วย เครื่องท�ำน�้ำร้อนด้วยไฟฟ้า น�้ำมัน และก๊าซ ซึ่งจะต้องมีค่าใช้จ่ายทุกวัน ราคาเชื้อเพลิง ทุกชนิดก็ขนึ้ ราคาอยูต่ ลอดเวลา เป็นค่าใช้จา่ ย ที่ไม่สามารถควบคุมได้ แต่ระบบท�ำน�้ำร้อน พลังงานแสงอาทิตย์ลงทุนเพียงครั้งเดียว เนื่องจากแสงอาทิตย์เป็นพลังงานที่ได้เปล่า ไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยใด ๆ และมีผลตอบแทน ที่สามารถหักลบจากการลงทุนตั้งแต่วันแรก ที่เริ่มใช้งาน ดังนั้น จึงควรที่จะลงทุนทันที เพื่ อ ที่ จ ะได้ ผ ลตอบแทนกลั บ คื น มาใน ระยะยาว อย่างไรก็ตามระบบผลิตน�ำ้ ร้อนด้วยพลังงาน แสงอาทิตย์ Solar Heater หรือ Solar Collector ส่วนใหญ่จะเป็นการน�ำเข้าจากต่างประเทศ มาจ�ำหน่ายในประเทศไทย ซึ่งยังไม่มีระบบ ที่คนไทยพัฒนาขึ้นมาจ�ำหน่ายเอง แต่เป็น เพียงการพัฒนาแนวคิดจากนักศึกษาของ แต่ละสถาบันทีร่ อการพัฒนาเป็นแบรนด์ไทย ที่สามารถจ�ำหน่ายในตลาดได้

58 Energy#68_p56-58_iMac5.indd 58

July 2014 6/24/2557 BE 1:05 AM


Energy#62_p107_Pro3.ai

1

12/18/13

10:44 PM


Energy Knowledge อภัสรา วัลลิภผล

วิทยาลัยปโตรเลียมฯ จุฬาฯ

เปลี่ยน “ปลวก” เปน พลังงานทดแทน “»ÅÇ¡” ¶×Í໚¹áÁŧª¹Ô´Ë¹Ö่§·Õ่ÁÕ¤ÇÒÁÊํÒ¤ÑÞã¹á§‹¢Í§àÈÃÉ°¡Ô¨à»š¹Í‹ҧÁÒ¡ ÁÕ·Ñ้§¤Ø³áÅÐâ·É »ÅÇ¡ ¨Ñ´à»š¹Êѧ¤Áʋǹ˹Ö่§¢Í§»†ÒäÁŒ·Õ่ÊํÒ¤ÑÞ à»š¹·Ñ้§¼ÙŒÊÌҧáÅÐ ã¹¢³Ðà´Õ Â Ç¡Ñ ¹ ¡็ à »š ¹ ¼Ù Œ ·ํ Ò ÅÒÂã¹Ãкº¹Ô à ÇÈ´Œ Ç Â â·É¢Í§»ÅÇ¡¹Ñ้ ¹ à¡Ô ´ ¢Ö้ ¹ à¾ÃÒÐÇ‹ Ò »Åǡ໚ ¹ áÁŧ·Õ่ µ Œ Í §¡ÒÃà«ÅÅÙ â ÅÊ໚ ¹ ÍÒËÒÃËÅÑ ¡ 㹡Òôํ Ò Ã§ªÕ ÇÔ µ â´Â à«ÅÅÙâÅÊ à»š¹Ê‹Ç¹»ÃСͺÊํÒ¤Ñޢͧà¹×้ÍäÁŒ ´Ñ§¹Ñ้¹»ÅÇ¡¨Ö§à¢ŒÒ·ํÒÅÒÂäÁŒ ËÃ×Í â¤Ã§ÊÌҧÍÒ¤ÒúŒÒ¹àÃ×͹ ÃÇÁ¶Ö§ÇÑÊ´Ø¢ŒÒǢͧ à¤Ã×่ͧàÃ×͹ à¤Ã×่ͧ㪌 µ‹Ò§ æ ·Õ่·ํÒ ¨Ò¡äÁŒ áÅÐ ¼ÅÔµÀѳ± Í×่¹ æ ·Õ่¼ÅÔµ¨Ò¡Ê‹Ç¹¼ÊÁ¢Í§ à«ÅÅÙâÅÊ ËÃ×Í ÁÕ à«ÅÅÙâÅÊ à»š¹Ê‹Ç¹»ÃСͺ

ดวยเหตุนี้ ทําใหทางคณะนักวิจยั วิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่นําโดย “ศ.ดร.สุเมธ ชวเดช” นักวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมเคมี ไดนําเอา ปลวกมาทําการวิจัยเพื่อหวังจะเปลี่ยนปลวกใหเปนพลังงานทางเลือก โดยไดทําการสกัดดึง เอาเฉพาะแบคทีเรียในระบบทางเดินอาหารของปลวกมาเพาะเลีย้ งเพือ่ เพิม่ จํานวน จากนัน้ ก็นาํ ไปใชยอ ยวัสดุเหลือใชจากการเกษตรอยางกากมันสําปะหลัง ซังขาวโพด ชานออย ฟางขาว ไดนํ้าตาล ซึ่งสามารถนําไปผลิตเอทานอลโดยใชเทคโนโลยีทั่วไปที่มีอยูแลว โดยปลวกที่นํามาทําการแยกเซลลนั้นเปน ปลวกปา ไมใชปลวกบาน เพราะปลวกบาน ไมมีเซลลที่สามารถนํามาผลิตได หลังจาก คั ด แยกสายพั น ธุ  แ บคที เรี ย ตั ว เด น จากตั ว ปลวกปาแลว พบวาสามารถยอยเซลลูโลส ซึ่ ง เป น โครงสร า งหนึ่ ง ในเนื้ อ ไม ไ ด สู ง ถึ ง 70% ในเวลา 12 ชัว่ โมง และยังสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพมากกวาเดิมอีก 18 เทา ทั้งยัง สามารถคัดแยกแบคทีเรียจากลําไสปลวก เพื่อยอยเซลลูโลสําไดแลวถึง 3 สายพันธุ และยังตัดตอลง E.coli เพื่อลดอันตรายจาก แบคทีเรียไดแลว 1 สายพันธุ

ศ.ดร.สุเมธ ชวเดช เผยวา ประเทศไทยมี วั ส ดุ เ หลื อ ใช จ ากการเกษตรจํ า นวนมาก เชน ฟางขาว ซังขาวโพด และชานออย เปนตน ซึ่ ง ชี ว มวลเหล า นี้ มี เ ซลลู โ ลสที่ ส ามารถ เปลีย่ นเปนพลังงานทางเลือกได แตทผี่ า นมา มั ก เน น การใช ส ารเคมี แ ละกระบวนการที่ ไม เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม และในทาง นิเวศวิทยาถาเราไมไดจุลินทรียทุกอยางจะ ไมมกี ารหมุนเวียน ซากพืช ซากสัตวทตี่ ายลง ก็จะกองทับถมกัน ไมมีการหมุนเวียนของ ธาตุ ต  า ง ๆ สมดุ ลทั้ง หมดในโลกเกิด จาก จุลินทรียที่ยอยสลายซากสิ่งมีชีวิตที่ตายลง กลาย เปนธาตุ ทั้งคารบอน ออกซิเจนและ อื่ น ๆ หมุ น เวี ย นสู  บ รรยากาศ ซึ่ ง โดย พลั ง งานหลั ก บนโลกได จ ากดวงอาทิ ต ย พืชก็นาํ พลังงานนัน้ มาสังเคราะหแสงเปลีย่ น ธาตุตาง ๆ เปนสารอาหาร เมื่อสัตวมากิน ก็ไดธาตุเหลานั้นไป เปนอยางนี้ตั้งแตโลก กอกําเนิด

ศ.ดร.สุเมธ ชวเดช

60 Energy#68_p60-61_iMac5.indd 60

July 2014 6/21/2557 BE 3:20 PM


จุลินทรีย์ที่มีศักยภาพในย่อยสลายชีวมวล มี อ ยู ่ 3 กลุ ่ ม ใหญ่ คื อ แบคที เรี ย ซึ่ ง เป็ น สิ่ง มีชีวิตเซลล์เดียวที่ไม่ใช่ทั้งพืช และสัตว์ โปรโตซัวซึ่งเป็นสัตว์เซลล์เดียว และเชื้อรา แต่ทีมวิจัยเลือกแบคทีเรียเพราะมองเห็นว่า ผลิตเชิงอุตสาหกรรมได้ง่ายกว่า และผลิตใน ถังปฏิกรณ์โรงงานขนาดใหญ่เพื่อต่อยอด การย่อยสลายเซลลูโลสจนได้เป็นน�ำ้ ตาลนีจ้ ะช่วยก�ำจัดของเหลือทิง้ จากการเกษตรทีม่ อี ยูม่ าก ทางการค้าได้ ขณะที่โปรโตซัวและราที่ผลิต และยังได้น�้ำตาลที่น�ำไปผลิตเอทานอลเพื่อผสมในน�้ำมันเชื้อเพลิง ได้เป็นแก๊สโซฮอล์ ในทางอุตสาหกรรมได้ช้าและเป็นอันตราย โดยไม่ต้องแย่งพืชอาหารมาผลิตพลังงาน และยังน�ำเอทานอลไปผลิตเป็นเอทิลีนเพื่อผลิต มากกว่า บรรจุภณ ั ฑ์ทดแทนการใช้ปโิ ตรเคมี ทีจ่ ะหมดในอนาคต ซึง่ งานวิจยั นีใ้ ช้เวลาวิจยั นานถึง 10 ปี เลยทีเดียว ในเส้นใยพืชมีเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลสและ ลิกนินทีช่ ว่ ยให้ลำ� ต้นพืชแข็งแรง ซึง่ จุลนิ ทรีย์ งานวิจัยนี้จะเห็นได้ว่า ปลวกไม่ได้เป็นเพียงแค่แมลงที่สร้างความเดือดร้อนเพียงอย่างเดียว สามารถย่อยสลายสารเหล่านี้ได้ แต่ทีมวิจัย แต่ปลวกกลับสามารถเป็นแหล่งที่มาของการสร้างพลังงานทดแทนได้ในยามที่ต้องการ มุ ่ ง เน้ น ที่ ไ ปที่ ก ารหาแบคที เรี ย ย่ อ ยสลาย พลังงานทดแทนได้อีกด้วย เซลลูโลสก่อนและได้เริม่ ค้นหาจากปลวกบ้าน แต่ไม่พบแบคทีเรียทีต่ อ้ งการ จนกระทัง่ ได้นำ� ส�ำหรับงานต่อไปของทีมวิจยั คือ การสรรหาแบคทีเรียทีม่ ศี กั ยภาพในการย่อยสลาย เฮมิเซลลูโลส ปลวกป่าจากสวนแห่งหนึง่ ใน จ.นครปฐม มาคัด และลิกนินในเส้นใยพืช ซึง่ จะท�ำให้กำ� จัดของเหลือทิง้ จากการเกษตรได้อย่างสมบูรณ์ แต่อาจ แยกแบคทีเรียในล�ำไส้ปลวก ซึ่งได้แบคทีเรีย ค้นหาจากล�ำไส้ของสัตว์เคี้ยวเอื้อง อย่างเช่น ม้า วัว ควาย และช้าง ที่ย่อยชีวมวลไปเป็น ทีย่ อ่ ยเซลลูโลสได้กว่า 40-50 สายพันธุ์ และได้ พลังงานได้เช่นกัน คั ด เลื อ กสายพั น ธุ ์ แ บคที เรี ย ที่ มี ศั ก ยภาพ โดดเด่น 3 สายพันธุ์ จากนัน้ ท�ำการเพาะเลีย้ ง และทดลองย่อยสลายวัสดุเหลือทิ้งทางการ เกษตร เช่น ซังข้าวโพด ชานอ้อย กากมัน ส�ำปะหลัง พบว่าย่อยสลายเซลลูโลสได้ 70% ในเวลา 12 ชั่วโมง แต่ใ นขณะเดียวกัน แบคทีเรียที่ย่อยเซลลูโลสยังเป็นชนิดที่เป็น อันตรายหากเข้าสู่ร่างกายคน ทีมวิจัยจึงส่ง ไปตัดต่อพันธุกรรมที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรั ฐ ฯ เพื่ อ น� ำยีน ที่ท� ำให้แ บคทีเรียจาก ปลวกย่ อ ยเซลลู โ ลสได้ ใส่ เข้ า ใน E.coli แบคทีเรียที่ปลอดภัยกว่าและอาศัยอยู่ใน ล�ำไส้คนด้วย และตั้งใจจะตัดต่อพันธุกรรม แบคทีเรียย่อยเซลลูโลสครบทั้ง 3 สายพันธุ์ แต่ โ ชคร้ า ยที่ แ บคที เ รี ย 1 สายพั น ธุ ์ ใ น จ�ำนวนนั้นตายระหว่างเพาะเลี้ยง July 2014 61 Energy#68_p60-61_iMac5.indd 61

6/21/2557 BE 3:20 PM


Open House อภัสรา วัลลิภผล

เปิดบ้าน “บุญเยีย่ มฯ”

บริษทั ยักษ์ใหญ่แห่งวงการอุตสาหกรรมบอยเลอร์

ว่า 50 ปีแล้วที่ บริษัท บุญเยี่ยม และสหาย จ�ำกัด ประสบความส�ำเร็จ ทางด้ า นความเป็ น ผู ้ น� ำ ในอุ ต สาหกรรม บอยเลอร์ของประเทศไทย มีการให้บริการ ที่เป็นเลิศ เรียกได้ว่าเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ แห่ ง วงการอุ ต สาหกรรมบอยเลอร์ เ ลย ก็ว่าได้ ทั้งยังได้รับอนุญาติให้เป็นตัวแทน ในการซ่อมและบริการ Maxon Burner ในภาคพื้ น เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ South East Asia (SEA) บริษทั บุญเยีย่ มฯ ได้กอ่ ตัง้ ขึน ้ เมือ่ ปี 2501 มีชอื่ เดิมว่า “ส�ำนักงานบุญเยีย่ มและสหาย” และภายหลั ง ได้ จ ดทะเบี ย นเป็ น “บริ ษั ท บุญเยี่ยมและสหายจ�ำกัด” ในความเป็น ผู ้ น� ำ ด้ า นการพั ฒ นาเทคโนโลยี ร ะบบ เผาไหม้เชื้อเพลิงทั้งที่เป็นก๊าซ น�้ำมัน และ เชื้ อ เพลิ งแข็ งนั้น เพื่อให้ผู้ประกอบการ สามารถผลิตไอน�้ำ น�ำ้ ร้อน และความร้อน ในเตาเผา ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง ภายใต้ การควบคุมความดันและอุณหภูมทิ เ่ี ทีย่ งตรง ผู้ประกอบการสามารถเลือกใช้เชื้อเพลิง ได้ ห ลากหลาย ท�ำให้ประหยัดค่าใช้จ ่าย และมี ผ ลในการช่ ว ยลดภาวะมลพิ ษ อีกด้วย

62 Energy#68_p62-64_iMac5.indd 62

คุณปาลชัย มีศขุ กรรมการผูจ้ ดั การของบริษทั ฯ ได้เล่าถึงทีม่ าของการเป็นผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรม บอยเลอร์ ว่า จุดเริม่ ต้นของเราเป็นการจ�ำหน่ายเครือ่ งบอยเลอร์ ทีเ่ ป็นแพ็คเก็ตมาจากอเมริกา สามารถเคลือ่ นย้ายได้ เมือ่ มีการติดตัง้ สามารถต่อไฟฟ้า ต่อท่อก็ใช้งานได้เลย ถือเป็นตัวแทนเจ้าแรก ทีม่ กี ารน�ำเข้าของอเมริกาเข้ามาจ�ำหน่ายในไทย ผมเคยได้สมั ผัสกับบอยเลอร์ของอเมริกามาก่อน ในช่วงทีเ่ คยฝึกงานอยูท่ นี่ นั้ จึงท�ำให้รวู้ า่ บอยเลอร์ของอเมริกามีคณ ุ สมบัตทิ ี่ใช้ได้ เสียยากซ่อมง่าย แถมยังเป็นบอยเลอร์ทปี่ ระหยัดน�ำ้ มัน ประหยัดเชือ้ เพลิงทีส่ ดุ มีประสิทธิภาพสูง และต่อมาเราก็ มามองในเรือ่ งอืน่ ๆ ว่า มีการประหยัดพลังงานในแบบอืน่ ๆ หรือเปล่า นอกจากการผลิตแล้ว ยังมีในเรือ่ งของการใช้ไอน�ำ้ อย่างมีประสิทธิภาพ หลังจากนัน้ เราได้เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายของ บริษัท แฟกซ์ ดราโก้ ซึ่งสุดท้ายได้ถูกเวียนคืนไป แต่ก็ไม่เป็นอะไรเพราะเราได้มีการส่งเสริม ในเรื่องของการใช้ไอน�้ำอย่างประหยัด รวมไปถึงการผลิตไอน�้ำอย่างประหยัดด้วย ถือเป็น สิ่งหนึ่งที่เราสร้างขึ้นมา หลังจากนั้นเราก็เริ่มมองหาเครื่องยนต์อื่น ๆ และวิ ธี ก ารที่ จ ะแปลเปลี่ ย นพลั ง งานโดยที่ ประหยัดทีส่ ดุ ให้ประสิทธิภาพทีส่ ดุ หมายถึงว่า เรามองไปถึงเรื่องพลังงานทดแทนน�้ำมัน เช่น ถ่านหิน ไบโอแมส เราไปตะเวนหามาทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นจาก ประเทศเบลเยี่ยม ประเทศ แฟรงโก และจากประเทศจีน ซึง่ เราได้ขายให้กบั โรงงานอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรสาครไปได้ หนึ่ งตั ว แต่ ท ้ า ยสุ ด น�้ ำ มั น ราคาลงจึ งท� ำ ให้ จุ ด คุ ้ ม ทุ น ยื ด ออกไป ใช้ เวลานานกว่ า จะได้ คืนทุน พอราคาน�้ำมันลงท�ำให้คนกลับมาใช้

คุณปาลชัย มีศุข

July 2014 6/21/2557 BE 3:23 PM


น�้ำมันอย่างฟุ่มเฟือยกันอีก จากนั้นเราไป ดูเครือ่ งที่ ประเทศมาเลเซีย ประเทศอินเดีย และได้ ติ ด ต่ อ กั บ ทางประเทศญี่ ปุ ่ น ด้ ว ย ในสมัยนั้นบริษัทซันโยก็ท�ำเครื่องที่ใช้ไอน�้ำ ที่เหลือมาผลิตความเย็น ท�ำงานคล้าย ๆ กับตู้เย็น แต่ก็ไม่ค่อยมีคนสนใจสักเท่าไหร่ เนื่องจากค่าพลังงานในสมัยก่อนยังถูกอยู่ คนยั ง ไม่ นิ ย มในเรื่ อ งของการประหยั ด พลั ง งานกั น สั ก เท่ า ไหร่ ไม่ มี โ ปรโมชั่ น ไม่มีการส่งเสริมเหมือนอย่างในปัจจุบัน

ขนาดกระทั ด รั ด และประหยั ด พื้ น ที่ ใ น การติดตั้งยี่ห้อ “AERCO” เตาเผาขยะชุมชน และส� ำ หรั บ โรงงานอุ ต สาหกรรม ยี่ ห ้ อ “ENTECH” หัวพ่นไฟส�ำหรับอุตสาหกรรม เตาหลอมเตาอบ และเครือ่ งก�ำเนิดไอน�ำ้ ยีห่ อ้ “NUWAY” หัวพ่นไฟแบบ “AIR ATOMIZE” หั ว พ่ น ไฟส� ำ หรั บ อุ ต สาหกรรมเตาหลอม เตาอบ และเครือ่ งก�ำเนิดไอน�ำ้ ยีห่ อ้ “MAXON” หัวพ่นไฟ “Low-Nox” มาตรฐานสูง

เมื่อถามถึงในเรื่องของการผลิตเครื่องจักร คุณจรัล จิรวิบูลย์ ในเรื่องของพลังงานแสงอาทิตย์ทางบริษัทฯ ขายเองนัน้ ทางคุณปาลชัย บอกว่า ณ ตอนนี้ เราเองก็ ส นใจ จึ ง ได้ มี ก ารน� ำ เข้ า มาจาก ก็มคี ดิ ๆ ไว้เหมือนกัน แต่จริง ๆ อยากจะมุง่ ไป ประเทศกรีซ เป็นเครื่องท�ำความร้อนจาก ในเรือ่ งของการบริการลูกค้ามากกว่า เพราะเวลาลูกค้าสัง่ ของ ลูกค้าไม่ตอ้ งการเพียงแค่ทอ่ นเหล็ก พลังงานแสงอาทิตย์ ยี่ห้อ Solar และจาก ไปวางไว้เฉย ๆ แต่ลูกค้าต้องการไอน�้ำหรือน�้ำร้อนไปใช้ เมื่อซื้อไปแล้วไม่สามารถใช้ได้ ประเทศอั ง กฤษก็ ก ารน� ำ เข้ า เกี่ ย วกั บ พวก ก็ไม่ตา่ งกับเศษเหล็กทีว่ างไว้เฉย ๆ เพราะฉะนัน้ เราต้องท�ำให้ลกู ค้าสามารถใช้ไอน�ำ้ หรือน�ำ้ ร้อน ไบโอแมสในช่วงทีผ่ า่ น ๆ มา บริษทั มีการน�ำเข้า ให้ได้ เป็นเหตุผลอย่างหนึ่งที่เราได้ตั้งหน่วยงานบริการ 24 ชัว่ โมงขึน้ มา ไว้บริการส�ำหรับ มาหลากหลายรูปแบบ หลากหลายประเทศ ลูกค้าทีม่ ปี ญ ั หาในการใช้เครือ่ ง ลูกค้าสามารถติดต่อเราได้ตลอด ทีมงานจะแก้ปญ ั หาเบือ้ งต้น และในช่วงหลังมานีเ้ รามีการเน้นมาถึงเจาะจง จากทางโทรศัพท์ก่อน แต่ถ้าไม่สามารถแก้ทางโทรศัพท์ทางเราจะเดินทางไปหาลูกค้าเอง มากขึ้น จึงได้มีการน�ำเข้าบอยเลอร์จากจีน เฉพาะลูกค้าในกรุงเทพและปริมณฑล หรือถ้าเป็นต่างจังหวัดจะพิจารณาเป็นราย ๆ ไป ที่สามารถใช้กับพลังงานของถ่านหิน เศษไม้ แต่โดยปกติแล้วเมือ่ มีการส่งมอบเครือ่ ง ทางเราจะมีบริการให้ความรูใ้ นเรือ่ งต่าง ๆ เกีย่ วกับเครือ่ ง กะลาปาล์ม ตัวนีถ้ อื ว่าเป็นตัวทีเ่ ราโปรโมทอยู่ ถึงวิธกี ารใช้เครือ่ งทีถ่ กู ต้อง รวมไปถึงวิธกี ารแก้ปญ ั หาเบือ้ งต้นแก่ผทู้ ดี่ แู ลเครือ่ ง ตามบริษทั ต่าง ๆ เป็ น ของบริ ษัท ฮูตัน เป็น พวกบอยเลอร์ ทีส่ งั่ เครือ่ งจากของเราอยูแ่ ล้ว ซึง่ ปกติลกู ค้าแต่ละแห่งจะต้องมีผมู้ คี วามรูเ้ กีย่ วกับเครือ่ งอยูด่ ว้ ย ทรงตั้ง นอกจากนี้ยังเป็นตัวแทนน�ำเข้าของ เรียกได้วา่ เราจะมีการเทรนด์การใช้เครือ่ งก่อนทุกครัง้ บริษทั คาวาซากิ ซึง่ บริษทั นีผ้ ลิตเครือ่ งออกมา ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน คุณจรัล จิรวิบลู ย์ วิศวกรโครงการ บริษทั บุญเยีย่ มฯ เป็นหนึง่ ในบุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วทางด้าน อย่างมาก การติดตัง้ เครือ่ งจักรต่าง ๆ ของบริษทั ฯ พูดถึงการสิง่ ทีค่ วรค�ำนึงในการปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักร ต่าง ๆ ในโรงงานอุตสาหกรรมเพือ่ ให้ประหยัดพลังงาน ว่า สิง่ ทีค่ วรค�ำนึงถึงอย่างแรกเลยคือ นอกจากบอยเลอร์ตวั ดังกล่าวแล้ว ทางบริษทั ในเรือ่ งของเชือ้ เพลิงราคาถูก เช่น เชือ้ เพลิงแข็ง แต่เชือ้ เพลิงตัวนีจ้ ะมีปญ ั หาในเรือ่ งของมลภาวะ ของเรายังเป็นตัวแทนจ�ำหน่าย เครือ่ งก�ำเนิด ส่วน เชือ้ เพลิงไบโอแก๊ส เป็นเชือ้ เพลิงทีผ่ ลิตได้เอง ทีผ่ ลิตจากน�ำ้ เสียในส่วนนีต้ อ้ งเป็นโรงงานทีม่ ี ไอน�ำ้ และอุปกรณ์ทเี่ กีย่ วข้อง ยีห่ อ้ “CLAVER น�ำ้ เสียถึงจะผลิตได้ แต่ถา้ ไม่สามารถหาเชือ้ เพลิงราคาถูกได้ ก็ให้มามองในเรือ่ งของเครือ่ งจักรทีม่ ี BROOKS” เครือ่ งก�ำเนิดไอน�ำ้ เครือ่ งต้มน�ำ้ ประสิทธิภาพสูงขึน้ และท�ำให้ใช้เชือ้ เพลิงได้นอ้ ยลง แต่ถา้ มองในเรือ่ งของหม้อน�ำ้ ทางบริษทั ฯ ร้อนและอุปกรณ์ทเี่ กีย่ วข้อง ยีห่ อ้ “FULTON” ก็มใี ห้บริษทั อยูอ่ ย่างตัวอย่างทีค่ ณ ุ ปาลชัยได้กล่าวไป ในการทีเ่ ปลีย่ นเครือ่ งจักรนัน้ สามารถท�ำให้ เครื่องท�ำน�้ำร้อนที่ใช้ความร้อนจากไฟฟ้า ประหยัดเชือ้ เพลิงได้ถงึ เกือบ 10 % เลยทีเดียว ถ้าลูกค้าไม่มคี วามรูท้ างด้านเครือ่ งจักรทางเราเอง แก๊ส และน�ำ้ มัน ยีห่ อ้ “A.O. SMITH” เครือ่ งท�ำ ก็มบี ริการให้คำ� ปรึกษา วางแผนระบบ ไว้บริการอีกส่วนหนึง่ ด้วย และนอกจากนีเ้ รายังมีการจัด น�้ำร้อนที่ใช้ความร้อนจากไอน�้ำที่มีถังเป็น สัมมนาเกีย่ วกับการให้ความรูต้ า่ ง ๆ ไม่วา่ จะเป็นการเลือกใช้เครือ่ งจักร การเลือกเชือ้ เพลิง ระบบ ที่เก็บน�้ำร้อน ยี่ห้อ “ADAMSON” เครื่องท�ำ ของหม้อน�ำ้ รวมไปถึงใช้อย่างไรให้เกิดการประหยัดพลังงาน ในส่วนนีเ้ รามีความเชีย่ วชาญมาก น�้ ำ ร้ อ นที่ ใช้ ค วามร้อ นจากไอน�้ำ แบบตั้ง พอสมควร บุคลากรของเรายังเคยได้รบั เชิญไปบรรยายให้ความรูเ้ กีย่ วกับเรือ่ งดังกล่าว ตามสถานที่ โดยจะเป็นแบบน�ำ้ เย็นไหลผ่านแล้วร้อนเลย ต่าง ๆ ไม่เว่นแม้แต่กระทรวงพลังงาน ทางบริษทั เราก็เคยเข้าไปให้ความรูใ้ นส่วนนีเ้ ช่นกัน July 2014 63 Energy#68_p62-64_iMac5.indd 63

6/21/2557 BE 3:24 PM


Open House อภัสรา วัลลิภผล

ดาน คุณสมปภพ เอี้ยงไธสง เปนวิศวกร อีกคนหนึ่งของ บริษัท บุญเยี่ยมฯ ที่มีความ เชีย่ วชาญในเรือ่ งของ Heat Pump หรือแอร ทํานํา้ รอน ไดเลาถึงหลักการทํางานของเครือ่ ง ทีท่ าง บริษทั บุญเยีย่ มฯ เปนผูน าํ เขา วา การ ทํางานของ Heat Pump เปนเครือ่ งทํานํา้ รอน ที่เปนระบบเหมือนกับเครื่องปรับอากาศที่มี compressor คอลยเย็นและคอลยรอน ทีเ่ พิม่ อุณหภูมใิ หสงู ขึน้ แลวไประบายความรอนให กับนํา้ เพือ่ ใหนาํ้ มีความรอนสูงถึง 55 ๐c ซึง่ มี ขอดีกวาการใชเชือ้ เพลิงผลิตนํา้ รอนมาก ซึ่ง Heat Pump เปนการทํางานเพื่อนํา ความรอนกลับมาใชงานเพือ่ ใหไดนาํ้ รอนไปใช แตเครื่องปรับอากาศเปนการนําความรอน ออกเพือ่ เอาความเย็นไปใชนนั่ เอง

สําหรับประโยชนของการใช Heat Pump ทํานํา้ รอนนัน้ คุณสมปภพ บอกวา ถาเปลีย่ นมาใช Heat Pump แทนเครือ่ งทํานํา้ อุน สามารถลด คาใชจายในการทํานํ้ารอนลง 50% เพราะใชพลังงานเพียง 30% ในการทํานํา้ รอน เนือ่ งจากไมไดใหพลังงานความรอนกับนํา้ โดยตรง แตเปนการใช Compressor ไฟฟา ไปอัดนํา้ ยาแอรใหมคี วามดันสูงขึน้ ทําใหมพี ลังงานความรอนสูงขึน้ ถึง 3 เทา แลวจึงไปใหความรอนกับนํา้ โดยผานคอลยรอน ไดลมเย็น (นํา้ เย็น ในรุน Bach) จากคอลยเย็นฟรี เพราะเมื่อนํ้ายาแอรถายเทความรอนใหกับนํ้ารอนแลว นํ้ายาจะ เปลี่ยนเปนของเหลว เมื่อนํ้ายาเหลวไหลผานตัว Expansion Valve นํ้ายาเหลวก็จะระเหย ทําใหคอลยเย็นดูดความรอน กลายเปนลมเย็นโดยพัดลมระบายความเย็น นอกจากนีย้ งั ไมทาํ ให เกิดมลพิษ เขมา ปลองไฟ เนือ่ งจากไมมกี ารเผาไหมของเชือ้ เพลิง จึงทําใหประหยัดพลังงาน อีกทัง้ ยังสามารถชวยลดคาใชจา ยไดอกี ดวย และทัง้ หมดนีต้ อ งขอขอบคุณทางบริษทั บุญเยีย่ มและสหายมาก ทีเ่ ปดบานใหทาง Energy saving ไดเขาไปพูดคุยถึงทีม่ าของการนําเขาเครือ่ งจักร พรอมทัง้ ใหความรูใ นการเลือกใหเครือ่ งจักร อยางไรใหประหยัดพลังงาน ถาทานผูอานสนใจในขอมูลตาง ๆ ของทาง บริษัท บุญเยี่ยมฯ สามารถสอบถามเพิม่ เติมไดที่ บริษทั บุญเยีย่ มและสหาย โทร. 0-2322-1678 หรือเขาไปหา ขอมูลเพิม่ เติมไดที่ www.boonyium.com ไดนะคะ

คุณปาลชัย มีศุข

64 Energy#68_p62-64_iMac5.indd 64

และสุดทายคุณปาลชัย กลาวทิ้งทายวา “ทางบริษัทฯ นอกจากจะเปนบริษัทผูนําเขาเครื่อง บอยเลอรแลว ยังมีการใสใจลูกคา และยังมีการรับปรึกษาใหแกบริษัทตาง ๆ ที่ตองการ เปลี่ยนเครื่องจักรตาง ๆ เพื่อใหมีการประหยัดพลังงานเกิดขึ้นอีกดวย ไมวาจะเปนการวาง ระบบตาง ๆ การเลือกเครื่องจักร ฯลฯ ทั้งหมดนี้ทางบริษัทรับรองเลยวาบุคลากรทุกคน ลวนเปนคนที่มีความรูเฉพาะดาน ผานการเทรนดมาไมตํ่ากวา 3 ป มีการคัดสรรบุคลากรที่ เขมงวด เพียงเพราะตองการใหงานที่ทางบริษัทฯรับผิดชอบบรรลุตามเปาหมายที่วางไว”

July 2014 6/21/2557 BE 3:24 PM


Energy#68_p65_iMac5.indd 65

6/24/2557 BE 11:14 PM


Green Industrial อภัสรา วัลลิภผล

CPF ไขข้อสงสัยการผลิตไส้กรอก ด้วยมาตรฐาน ISO50001 จ

า ก ก ร ณี ที่ มี ก ร ะ แ ส ข ่ า ว โ จ ม ตี ผูป้ ระกอบการไส้กรอก โดยเผยแพร่ คลิ ป การน� ำ ลู ก หมู ทั้ ง ตั ว ใส่ ใ นเครื่ อ งบด แล้ ว ออกมาเป็ น ไส้ ก รอก แต่ ใ นความ เป็นจริงนั้น เป็นการน�ำภาพเครื่องท�ำลาย ซากหมู ม าตั ด ต่ อ จนท� ำ ให้ เ กิ ด ความ เข้าใจผิดว่าเป็นหนึ่งในกระบวนการผลิต ไส้กรอก ซึ่งการผลิตไส้กรอกแต่ละชนิด จะใช้ ป ระเภทชิ้ น ส่ ว นของหมู ที่ ต ่ า งกั น หากมีสงิ่ แปลกปลอม เช่น กระดูก ฟัน หรือ เครื่ อ งใน จะส่ ง ผลต่ อ คุ ณ ภาพ ท� ำ ให้ มี รสชาติผด ิ เพีย้ น และผิวสัมผัสทีเ่ ปลีย่ นไป

ด้วยเหตุนที้ าง คุณณฤกษ์ มางเขียว รองกรรมการผูจ้ ดั การอาวุโส บริษทั เจริญโภคภัณฑ์ อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ จึงได้ออกมาพูดถึงกระบวนการผลิตที่แท้จริงของ ไส้กรอกว่า กระบวนการผลิตไส้กรอกของซีพีเอฟ ที่โรงงานอาหารส�ำเร็จรูปหนองจอก เขตมีนบุรีนั้น มีสายการผลิตระบบอัตโนมัติแบบต่อเนื่อง ตั้งแต่วัตถุดิบจนถึงการจัดเก็บ (Completely Automation Line) ทีท่ นั สมัยด้วยเทคโนโลยีระดับโลกแห่งแรกในภูมภิ าคเอเซีย และสิ่งที่สำ� คัญที่สุดคือ การเลือกเนื้อสัตว์คุณภาพดีจากฟาร์มของบริษัทที่ผ่านการตัดแต่ง จากโรงงานแปรรูปมาตรฐาน น�ำมาเข้ากระบวนการผลิตอันทันสมัยสามารถตรวจสอบ ย้อนกลับได้ตลอดสายการผลิต ภายใต้มาตรฐานสากล เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่สดสะอาด และปลอดภัยสู่ผู้บริโภค

คุณณฤกษ์ มางเขียว

66 Energy#68_p66-68_iMac5.indd 66

กระบวนการผลิตไส้กรอกของซีพีเอฟ จะเริ่มจากการคัดเลือกวัตถุดิบเนื้อสัตว์คุณภาพดี จากฟาร์มของซีพีเอฟที่มีเทคโนโลยีการผลิตสุกรปลอดสารที่ก้าวหน้าและมีมาตรฐาน จากนั้นสุกรปลอดสารจะเข้าสู่โรงงานแปรรูปสุกรที่ทันสมัยภายใต้การรับรองมาตรฐาน การส่งออก การตัดแต่งสุกรจะแยกชิ้นส่วนประเภทเนื้อ เช่น สันใน สันนอก สามชั้น สะโพก ฯลฯ โดยเนื้อแต่ละชิ้นส่วนจะถูกเก็บรักษาและขนส่งมายังโรงงานผลิตไส้กรอกโดย การควบคุมอุณหภูมเิ ย็นตลอดเวลา เพือ่ ให้ได้เนือ้ สัตว์ทสี่ ด สะอาด ปลอดภัย และยังเลือก ใช้ส่วนผสมเฉพาะจากแหล่งผลิตที่ได้มาตรฐานทั่วโลก เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่คุณภาพดี รสชาติอร่อย มีความเป็นเอกลักษณ์ เป็นไปตามข้อก�ำหนดและกฎหมาย ทั้งยังผ่านการ ตรวจสอบคุณภาพอย่างเข้มงวดก่อนรับเข้าสูก่ ระบวนการผลิต โดยสินค้าทุกซองจะต้องผ่าน เครื่องตรวจจับโลหะทั้งหมด นอกจากนี้ บริษัทยังให้ความส�ำคัญกับบรรจุภัณฑ์ที่ปลอดภัย

July 2014 6/21/2557 BE 3:27 PM


ค�ำนึงถึงความสะดวกของผู้บริโภคเป็นหลัก โดยไส้ ก รอกจากโรงงานนี้ ไ ม่ มี ส ารกั น บู ด บริษทั จึงเลือกใช้บรรจุภณ ั ฑ์ชนิดเทอร์โมฟอร์ม แบบฟิลม์ หลายชัน้ (Muti-layer thermoforming film) ซึ่ ง สามารถรั ก ษาความสดใหม่ ข อง ผลิตภัณฑ์ ร่วมกับการบรรจุอตั โนมัตเิ พือ่ ช่วย ลดการปนเปื้อนระหว่า งการบรรจุ ท�ำให้ อายุการเก็บของผลิตภัณฑ์นานขึน้ อีกทัง้ ยัง เพิม่ ความสะดวกให้กบั ผูบ้ ริโภค เพราะสามารถ อุน่ ร้อนได้อย่างปลอดภัยด้วยเตาไมโครเวฟ และนอกจากจะมีกระบวนการผลิตทีถ่ กู ต้อง ตามสุขอนามัยแล้ว ทางซีพีเอฟยังได้รับการ รับรองมาตรฐานระบบการจัดการด้านพลังงาน ISO50001 จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ตอกย�้ ำ ภาพลั ก ษณ์ ก ารเป็ น องค์ ก รผู ้ ผ ลิ ต อาหารปลอดภัยที่ให้ความส�ำคัญกับการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และการอนุรกั ษ์ พลังงานอย่างยั่งยืน ภายใต้กระบวนการที่ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมและชุมชน ซึง่ มาตรฐาน ISO50001 ที่ได้รับนี้นับเป็นผลส�ำเร็จจาก โครงการประหยัดพลังงานต่าง ๆ ที่เกิดจาก การสร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก และมี ส ่ ว นร่ ว มในการ

อนุรักษ์พลังงานของบุคลากรทุกระดับ ซึ่งที่ผ่านมาบริษัทมุ่งเน้นการส่งเสริมการคิดค้น นวัตกรรมที่ช่วยสนับสนุนการผลิตและการปฎิบัติงานเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน และยังน�ำ ระบบบริหารจัดการพลังงานระดับสากลมาเป็นเครื่องมือในการบริ ห ารจั ด การการใช้ พลังงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดที่น�ำไปสู่ความอย่างยัง่ ยืน คุณณฤกษ์ กล่าวต่อถึงที่มาของการได้มาตรฐาน ISO50001 ว่า ในเรื่องของการใช้พลังงาน ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดนั้น ทางโรงงานผลิตอาหารส�ำเร็จรูปทางหนองจอกของเรา มองว่า ต้นทุนการผลิตเป็นทีส่ ำ� คัญ เพราะนอกจากเรือ่ งของแรงงานแล้ว ยังเห็นว่าเรือ่ งของพลังงาน เป็นต้นทุนที่อยู่ในล�ำดับต้น ๆ ของการผลิต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของไฟฟ้า การใช้พลังงาน ความร้อน หรือเรื่องน�้ำต่าง ๆ ในส่วนนี้ก็เลยมองว่า เราจะท�ำยังไงให้การใช้พลังงานเกิด ประโยชน์สูงสุด และยังสามารถน�ำพลังงานบางส่วนกลับมาใช้ใหม่ เราจึงมาดูเรื่องของ มาตรฐาน ISO50001 ที่เป็นระบบการจัดการพลังงานโดยตรง เมื่อเราเอาระบบเข้ามาใช้ ท�ำให้เรามองเห็นถึงปัญหาอย่างชัดเจน ท�ำให้รู้วา่ อะไรคือจุดอ่อนที่ต้องแก้ไข อะไรที่เราควร จะเอาไปพัฒนาต่อ เช่น เราเอาไอน�้ำมาท�ำให้อาหารสุก ซึ่งเป็นน�้ำร้อนที่ใช้ในการลวกสินค้า ใช้ท�ำความสะอาด และเอาความร้อนที่เหลืออยู่มาใช้ผลิตความเย็น เพื่อใช้ในไลน์การผลิต ซึง่ เราก็เอาไบโอแก๊สมาผลิตเป็นไฟฟ้าใช้ภายในโรงงานด้วย ส่วนในเรือ่ งการจัดการพลังงานนัน้ สิ่งส�ำคัญคือ เมื่อเราท�ำแล้ว เราต้องท�ำแบบต่อเนื่อง ต้องมีการติดตามตลอด ต้องมีวิธีการ คิ ด หรื อหาทางที่ จ ะท� ำ ให้ มั น มี สิ่งที่ ใหม่ ๆ ขึ้ น มา ไม่ ว ่าจะเป็ น เรื่ อ งของการใช้พ ลัง งาน การรวมศูนย์ไว้ที่เดียวกัน ก็จะท�ำให้เกิดการใช้พลังงานได้อย่างสูงสุด July 2014 67

Energy#68_p66-68_iMac5.indd 67

6/21/2557 BE 3:27 PM


Green Industrial อภัสรา วัลลิภผล

คุณทองค�ำ กรกฏ

ด้ า น คุ ณ จงรั ก ษ์ โรจน์ พ ลาเสถี ย ร รองผู้อ�ำนวยการสถาบันรับรองมาตรฐาน ไอเอสโอเล่าถึงทีม่ าของมาตรฐาน ISO50001 ว่า การได้รับการรับรองมาตรฐานระบบการ จัดการพลังงาน นับว่าเป็นความจ�ำเป็นของ ธุ ร กิ จ ในสภาวะปัจจุบัน ที่แ ต่ล ะองค์กรมี การใช้พลังงานกันอย่างมาก ซึ่งสวนทางกับ ปริ ม าณทรั พ ยากรที่ ใช้ ผ ลิ ต พลั ง งานที่ ล ด น้อยลงทุก ๆ วัน องค์กรที่ต้องการความ ยั่งยืนในการด�ำเนินธุรกิจ จะต้องให้ความ ส� ำ คั ญ ทั้ ง ใ น ด ้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม และสิ่งแวดล้อมให้ครบถ้วน โดยมาตรฐาน การจัดการพลังงานนีจ้ ะช่วยส่งเสริมให้องค์กร จั ด การพลั ง งานได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่งจะช่วยให้การน�ำทรัพยากรมาใช้น้อยลง ส่งผลให้สิ่งแวดล้อมดียิ่งขึ้น ดังนั้น การน�ำ ระบบการจัดการนี้มาใช้จึงช่วยให้องค์กรอยู่ อย่างยัง่ ยืน สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ในฐานะทีเ่ ป็นหน่วยรับรองระบบการจัดการ และเป็ น ผู ้ ใ ห้ ก ารรั บ รองระบบการจั ด การ ต่าง ๆ เช่น ISO9001 ISO14001 มอก.18001 และ ISO22301 จึงมีความภูมใิ จทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ที่ช่วยพัฒนาให้องค์กรมีระบบการจัดการ ทีด่ ยี งิ่ ขึน้ และขอแสดงความยินดีกบั ซีพเี อฟ ที่ได้รับรองมาตรฐาน ISO50001 ทีส่ ะท้อนให้ เห็นถึงการให้ความส�ำคัญกับทุกกระบวนการผลิต ที่ไม่เพียงมุ่งเน้นการลดใช้พลังงาน และมี ความพยายามในการจัดการพลังงานอย่าง มีประสิทธิภาพสูงสุด

68 Energy#68_p66-68_iMac5.indd 68

ส่วนในเรือ่ งของเครือ่ งจักรทาง คุณทองค�ำ กรกฏ ผูจ้ ดั การส�ำนักงานวิศวกรรม บริษทั เจริญโภคภัณฑ์ อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ซีพเี อฟ เผยว่า ในเครือ่ งของเครือ่ งจักรนัน้ ถือว่าเป็นปัจจัยส�ำคัญ ในการผลิต ซึง่ ทางซีพเี อฟมีการน�ำเข้ามาจากประเทศอเมริกา (เครือ่ งจักรในธุรกิจไส้กรอกมีอยู่ ด้วยกัน 2 ค่าย คือประเทศยุโรปและประเทศอเมริกา) เราพยายามเลือกเครือ่ งจักรทีใ่ ช้แล้ว ประหยัดพลังงานได้มากทีส่ ดุ เพราะกระบวนการผลิตส่วนใหญ่ของเราจะใช้เครือ่ งจักรมากกว่า แรงงานคน สาเหตุทเี่ ราเอาเครือ่ งจักรมา เพราะเครือ่ งจักรเป็นเทคโนโลยีใหม่ สามารถผลิตได้ อย่างต่อเนือ่ ง และท�ำให้คณ ุ ภาพสินค้าดี ทีส่ ำ� คัญช่วยในเรือ่ งของแรงงานทีข่ าดแคลนอีกด้วย นอกจากในเรื่องของเครื่องจักรแล้ว ทางซีพีเอฟยังมีผู้รับผิดชอบด้านการประหยัดพลังงาน ประจ�ำโรงงาน ซึง่ ต้องท�ำหน้าทีใ่ นการกระตุน้ สร้างจิตส�ำนึกให้กบั พนักงานในการมีแผนเทนนิง่ มีแผนอบรมให้กับพนักงานมีจิตส�ำนึกร่วมกัน รวมถึงพยายามค้นหานวัตกรรมการประหยัด พลังงานใหม่ ๆ เข้ามาใช้ และส�ำหรับโครงการด้านอนุรกั ษ์พลังงานทีโ่ ดดเด่นของโรงงานซีพเี อฟ หนองจอก ได้แก่ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม (Co-Generation) ถูกออกแบบให้ สามารถลดค่าพลังงานของระบบสาธารณูปโภคเดิมได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถน�ำ ความร้อนเหลือทิ้งจากการผลิตไฟฟ้ากลับมาใช้ในรูปแบบไอน�ำ้ และน�้ำร้อน โครงการระบบ บ�ำบัดน�ำ้ เสียแบบบ่อหมักไร้อากาศแบบปิด ชนิดแผ่นกัน้ (Buffer) เพือ่ ผลิตก๊าซชีวภาพส�ำหรับ ผลิตกระแสไฟฟ้าใช้ในโรงงาน รวมไปถึงการน�ำพลังงานแสงอาทิตย์มาผลิตไฟฟ้า การเปลีย่ น หลอดแอลอีดี และผลจากการทีเ่ ราน�ำเอาเทคโนโลยีการประหยัดพลังงานมาใช้ ท�ำให้บริษทั เรา มีการลดค่าใช้จา่ ยได้มากพอสมควร เห็นได้ชดั เจนคือ สามารถลดไฟฟ้าได้ถงึ 1.8 ล้านบาท ต่อเดือน ส่วนเรือ่ งลงทุนไบโอแก๊ส เราได้ทงั้ การเอาพลังงานมาใช้ในส่วนหนึง่ ซึง่ ในส่วนของ การลงทุนเราอาจจะไม่คมุ้ แต่ในทางกลับกันเรามองถึงด้านอืน่ ๆ ด้วย เช่น ในส่วนของชุมชน ทีอ่ าศัยออยูร่ อบ ๆ โรงงาน ด้านสิง่ แวดล้อม ซึง่ เรามองตรงนีเ้ ป็นส่วนส�ำคัญ โดยเราต้องการ อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข คนอยู่ได้ โรงงานอยู่ได้ นี้ก็เป็นอีกเหตุผลนึง ซึ่งอาจจะไม่คุ้มทุน แต่กส็ ามารถลงทุนได้ ปัจจุบันการผลิตผลิตภัณฑ์ไส้กรอกของซีพีเอฟทั้งที่มีนบุรีและสระบุรี มีก�ำลังการผลิตรวม 7,000 ตันต่อเดือน ส่วนใหญ่เป็นการผลิตเพือ่ จ�ำหน่ายในประเทศ และส่งออกบางส่วนไปยัง ต่างประเทศ อาทิ ญีป่ นุ่ ฮ่องกง รวมทัง้ ประเทศในกลุม่ เออีซี ได้แก่ สิงคโปร์ และพม่า ขณะที่ ประเทศอืน่ ๆ ทีซ่ พี เี อฟเข้าลงทุนก็มกี ารผลิตไส้กรอกเพือ่ จ�ำหน่ายในประเทศ เช่น เวียดนาม แต่จะมีความหลากหลายในผลิตภัณฑ์นอ้ ยกว่าในประเทศไทย ส�ำหรับการเปิดเออีซี ในปี 2558 ที่จะถึงนี้ ถือเป็นโอกาสในการขยายตลาดได้อีกทางหนึ่ง ขณะเดียวกันความต้องการใน ประเทศทีย่ งั มีอยูใ่ นทุกระดับผูบ้ ริโภคถือเป็นโอกาสทีส่ ดใสของสินค้าไส้กรอก

July 2014 6/21/2557 BE 3:31 PM


Energy#68_p69_iMac5.indd 31

6/25/2557 BE 9:09 PM


Green Building รังสรรค์ อรัญมิตร

อาคารเอสซีจี 100 ปี อาคารต้นแบบประหยัดพลังงาน

งเป็นที่ทราบกันดีว่าโลกในปัจจุบัน นั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสภาพ ภูมิอากาศ (Climate Change) จนท�ำ ให้เกิดสภาวะโลกร้อน เกิดภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ บ ่ อ ยครั้ ง ทั้ ง แผ่ น ดิ น ไหว โคลนถล่ม สึนามิ พายุฝนมีความรุนแรง มากขึ้น น�้ำท่วมรุนแรงมากขึ้น อากาศ ร้ อ นมากขึ้ น บางพื้ น ที่ ก็ ห นาวหิ ม ะตก มากขึ้ น จากปัจ จัย ดังกล่าวท�ำให้ผู้คน ทั่ ว ไปให้ ม าใส่ ใ จและให้ ค วามส� ำ คั ญ เรื่ อ ง การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ มกั น มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเลือกเดินทางที่ลด การปล่อยมลภาวะ การเลือกรับประทาน อาหารที่มีประโยชน์และปลอดคาร์บอนฯ การเลื อ กสถานที่ พั ก ที่ ค� ำ นึ ก ถึ ง การ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม นี่อาจจะ เป็ น ค� ำ ตอบในใจหลายคน ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ต้องการใช้ชีวิตแบบมีส่วนร่วมในการลด โลกร้ อ นซึ่ ง เป็ น เทรนด์ ที่ ม าแรงในยุ ค นี้ โดยหลายหน่วยงาน หลายองค์กรเริ่มหัน มาให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ เรื่ อ งนี้ ม ากขึ้ น พร้อมกับได้ปรับปรุงอาคารส�ำนักงานใหม่ และด�ำเนินด้านการประหยัดพลังงานให้มี ประสิทธิภาพ ด้วยวิธีการที่แตกต่างกัน ออกไปตามแต่ละบริบทและความเหมาะสม ของแต่ละองค์กร

70 Energy#68_p70-72_iMac5.indd 70

บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) หรือ SCG เป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่ให้ความส�ำคัญ เรื่องของการประหยัดพลังงานภายในอาคาร ตลอดจนได้สร้างอาคารต้นแบบการประหยัด พลังงานขึ้นภายใต้ ชื่อ “อาคารเอสซีจี 100 ปี” ที่อยู่สำ� นักงานใหญ่บางซื่อ ด้วยวิสัยทัศน์ ของ เอสซีจี ที่มุ่งสู่ความเป็นผู้น�ำด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน เอสซีจี ในฐานะองค์กรธุรกิจ ที่มีบทบาทส�ำคัญในการสร้างสรรค์นวัตกรรมสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เราเล็งเห็นว่าสิ่งส�ำคัญสิ่งหนึ่งที่เป็นตัวขับเคลื่อนธุรกิจให้สามารถเติบโตอย่างยั่งยืน คือ เรื่องพลังงานและสิ่งแวดล้อม เอสซีจีจึงให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการด้านพลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพและดูแลสิ่งแวดล้อมมาโดยตลอด หนึ่งในการบริหารจัดการเรื่องอนุรักษ์พลังงานของเอสซีจี คือ การพัฒนาอาคารประหยัด พลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการพัฒนาจัดท�ำ Green Building นอกจากนี้ยัง ค�ำนึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตพนักงานให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี มีความสุขกับการท�ำงาน พร้อมปลูกฝังจิตส�ำนึกการดูแลและรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ทัง้ นีใ้ นปัจจุบนั เอสซีจไี ด้ขยายผลการพัฒนา Green Building ไปสูอ่ าคารเอสซีจี 100 ปี อาคาร ที่ออกแบบและก่อสร้างโดยค�ำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์พลังงาน และ คุณภาพชีวติ ของผูใ้ ช้อาคาร เพือ่ เป็นองค์กรต้นแบบของอาคารส�ำนักงานทีป่ ระหยัดพลังงาน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยได้รับการรับรองมาตรฐาน ประเภทอาคารสร้างใหม่ระดับ สูงสุด LEED BD+C Platinum (Leadership in Energy and Environmental Design for Building Design and Construction) จากสภาอาคารเขียวสหรัฐอเมริกา (U.S. Green Building Council: USGBC) ซึ่งถือเป็นมาตรฐานสากลที่มีความเข้มข้นและเป็นที่ยอมรับระดับโลก เพื่อยืนยัน ถึงความมุ่งมั่นต่อการด�ำเนินธุรกิจที่รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของเอสซีจี

July 2014 6/21/2557 BE 3:30 PM


ส�ำหรับแนวคิดการออกแบบอาคารเอสซีจี 100 ปี นั้นได้น�ำแนวคิดการอยู่ร่วมกันอย่าง ยั่งยืนขององค์กรและชุมชนโดยรอบ ผนวก กับวัฒนธรรมองค์กร วิสัยทัศน์ การพัฒนา อย่างยัง่ ยืน ความหลากหลายของคนหลายรุน่ และความต้องการของคนรุ่นใหม่ ๆ ที่ก�ำลัง เข้ามาเป็นทรัพยากรหลักขององค์กรสู่การ ออกแบบอาคารเอสซี จี 100 ปี โดยมี จุดสังเกต (Landmark) คือ รูปทรงทีพ่ ลิว้ ไหว เป็ น เอกลั ก ษณ์ ไม่เ ป็น รูป ทรงเรขาคณิต เป็นตัวแทนอาคารส�ำนักงานของคนรุ่นใหม่ (Generation X and Y) ที่มีระเบียงรอบตัว อาคารเป็นเส้นโค้งทีส่ วยงาม แสดงอัตลักษณ์ ของเอสซี จี ใ นเรื่ อ งการคิ ด ต่ า งอย่ า ง สร้างสรรค์ (Think out of the box)

ไม่ ให้ ส่ งผลกระทบต่ อชุ ม ชนโดยรอบ มุ ่ งเน้ น คุ ณ ประโยชน์ ด ้า นสิ่ง แวดล้อ มและระบบ นิเวศเป็นหลัก การออกแบบโดยการลดความร้ อ นเข้ า สู ่ ตั ว อาคาร ด้ ว ยการใช้ ก ระจก 2 ชั้ น ที่ มี ค ่ า สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนต�่ำ ลดความร้อนเข้าสู่ตัวอาคาร และใช้ผนัง Q-Con อิฐมวลเบา ถ่ายเทความร้อนต�ำ่ ป้องกันความร้อนสูง และระเบียงทีอ่ อกแบบให้ยนื่ ออกจาก ตัวอาคาร เพื่อกันแดดและลดความร้อนเข้าสู่ตัวอาคาร โดยพื้นระเบียงใช้วัสดุทดแทนไม้ Windsor รวมถึงการออกแบบให้ลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยใช้ระบบแสงสว่างหลอดประหยัดไฟฟ้า T5 และหลอด LED สามารถประหยัดไฟฟ้าได้กว่า 250,000 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อปี รวมถึง ระบบลิฟต์อัจฉริยะ (Destination Control) ช่วยประหยัดพลังงานจากการค�ำนวนปริมาณ ผู ้ โ ดยสาร ท� ำ ให้ ส ามารถลดระยะเวลาจอดรอและจ� ำ นวนเที่ ย ว พร้ อ มกั บ การติ ด ตั้ ง Solar Panel เพื่อใช้พลังงานแสงอาทิตย์ สามารถผลิตกระแสไฟฟ้า 99,000 กิโลวัตต์ชั่วโมง ต่อปี คิดเป็นเงิน 350,000 บาทต่อปี

ด้ า นการเลื อ กใช้ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ก ่ อ สร้ า ง อุปกรณ์ส�ำนักงาน อุปกรณ์การตกแต่งเพื่อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานนั้ น อาคารเอสซีจี 100 ปี เป็นอาคารแห่งความ ยั่งยืนอย่างแท้จริง เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการ ก่อสร้าง ด้วยการเลือกใช้วัสดุก่อสร้างที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมในทุกขั้นตอนการผลิต รวมถึงใช้วัสดุรีไซเคิล ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นสินค้า SCG eco value ตลอดจนควบคุมงานใน ระหว่างก่อสร้างและก�ำจัดเศษวัสดุต่างๆ July 2014 71 Energy#68_p70-72_iMac5.indd 71

6/21/2557 BE 3:30 PM


Green Building รังสรรค์ อรัญมิตร

(ที่ 2 จากซ้าย) คุณรุ่งโรจน์ รังสิโยภาส รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ เอสซีจี และกรรมการผู้จัดการใหญ่เอสซีจี เปเปอร์

นอกจากนี้ แ ล้ ว ยั ง ได้ ล ดการใช้ ท รั พ ยากร และของเสี ย โดยการใช้ ก ระเบื้ อ งปู พื้ น COTTO ECO Rockrete ผลิตภัณฑ์ที่มีวัสดุ รี ไซเคิ ลเป็ น ส่ ว นประกอบ 60% ประตู ไม้ มาตรฐาน FSC ใช้ไม้จากป่าปลูกที่ผ่านการ รับรองจากคณะกรรมการรับรองมาตรฐาน การปลูกป่า (The Forest Stewardship Council: FSC) มากกว่าร้อยละ 50 รวมถึง การแยกของเสีย ที่จัดให้มีระบบการคัดแยก ของเสียในการก่อสร้างประเภทต่าง ๆ เพื่อ น� ำ ไปรี ไซเคิ ล รวมถึ งการขยายไปสู ่ ร ะบบ การคัดแยกของเสียในอาคารต่อไป เอสซีจีมีระบบการบริหารจัดการน�ำ้ (Water Management) โดยน�้ำที่ใช้รดต้นไม้ มาจาก น�้ ำ เสี ย ที่ ไ ด้ รั บ การบ� ำ บั ด แล้ ว และน�้ ำ ฝน 100 % ด้ ว ยเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย รวมถึ ง เลือกใช้อปุ กรณ์สขุ ภัณฑ์และก็อกประหยัดน�ำ้ ที่สามารถลดการใช้น�้ำจากอัตราการใช้น�้ำ ปกติ ได้ ก ว่ า 30% ท�ำ ให้ โ ดยรวมสามารถ ประหยัดน�ำ้ ได้ 6,000,000 ลิตรต่อปี หรือ คิดเป็นลดการใช้น�้ำประปาได้ถึง 74 % คิด เป็นเงิน 84,000 บาทต่อปี 72 Energy#68_p70-72_iMac5.indd 72

เพื่อการเป็นต้นแบบอาคารอนุรักษ์พลังงาน อาคารแห่งนี้ยังถูกออกแบบให้มีการจัดท�ำ SCG Smart Office เพิ่มประสิทธิภาพการ บริ หารจั ด การอาคารด้วยระบบ Building Automation System (BAS) อาทิ ระบบปรับ อากาศ ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ติดตั้งและ เลื อกใช้ อุปกรณ์ ส� ำ นักงาน Energy Star ที่ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าโดยรวมของ อาคาร เลือกใช้พรมที่เป็นมิตรต่อสุขภาพ ใช้สี กาว และสารเคมีที่มีส่วนประกอบของ สารอิ น ทรี ย ์ ร ะเหยง่ า ยต�่ ำ (Low VOCs) รวมถึ ง ติ ด ตั้ ง พรมดั ก ฝุ ่ น เพื่ อ ช่ ว ยลดฝุ ่ น ละอองเข้าสู่ตัวอาคาร รวมถึงมุ่งเน้นเรื่อง Green Activities ลดการ เดินทางของพนักงานโดยใช้การสื่อสารแบบ VDO Conference มีบริเวณที่จอดรถ ที่จอด รถจักรยานเพือ่ ส่งเสริมสุขภาพและลดมลพิษ จากการใช้ ร ถยนต์ ส ่ ว นบุ ค คล ตลอดจน ที่จอดรถพิเศษส�ำหรับ Eco Car ที่อยู่ใกล้ ทางเข้าเป็นสิทธิประโยชน์แก่ผู้ใช้รถที่ใส่ใจ สิ่งแวดล้อม

July 2014 6/21/2557 BE 3:30 PM


R1_Energy#67_p17_iMac5.indd 17

5/22/2557 BE 8:32 PM


Energy Management กองบรรณาธิการ

ารอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมปัจจุบัน ช่ ว ยอานิ ส งส์ ต ่ อ ทั้ ง ในด้ า นเศรษฐกิ จ และประเทศชาติได้เป็นอย่างดี ซึ่งนอกจากช่วยให้ เกิดการประหยัดพลังงานแล้วการอนุรักษ์พลังงาน ยั ง สามารถพั ฒ นาเข้ า สู ่ ร ะบบการขายคาร์ บ อน เครดิตแปลเป็นรายได้อีกทางหนึ่ง หรือเป็นการเอื้อ ต่อภาพลักษณ์ดีขององค์กรนั้น ๆ ซึ่งในปัจจุบัน ผู ้ ป ระกอบการส่ ว นใหญ่ จ ะตระหนั ก ถึ ง การ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม พร้อมกับมีการ ปรั บ เปลี่ ย นมาใช้ เ ทคโนโลยี ที่ ช ่ ว ยลดการใช้ พลั ง งานและพั ฒ นาระบบประหยั ด พลั ง งานให้ มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

การจัดการพลังงานในอาคาร.... แบบเข้าใจง่ายไม่ซับซ้อน

ในการอนุรักษ์พลังงานของแต่ละองค์กร อาจจะมีจุดเริ่มต้นที่แต่ต่างกันแต่ก็มี จุดหมายปลายทางที่เหมือนกัน คือ การลดต้นทุนด้านพลังงาน ซึ่งการจัดการ พลั ง งานในอาคารนั้ น มี ห ลากหลายวิ ธี ก ารด้ ว ยกั น ขึ้ น อยู ่ กั บ บริ บ ทของ แต่ละอาคารนั้นๆ ว่าจะปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีด้านการประหยัดพลังงาน อย่างไร หรือเจ้าของอาคารจะมีนโยบายอย่างไรในการบริหารจัดการพลังงาน รวมถึงงบประมาณในการลงทุนก็เป็นปัจจัยส�ำคัญอีกอย่างหนึ่ง เพราะหาก ลงทุนไปแล้วอาจจะไม่คมุ้ ค่าในการลงทุนก็ตอ้ งค�ำนวณให้ละเอียดถึงจุดคุม้ ทุน ในการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีที่ช่วยประหยัดพลังงาน

74 Energy#68_p74-75_iMac5.indd 74

July 2014 6/24/2557 BE 1:10 AM


อย่างไรก็ตามการจัดการพลังงานในอาคารนัน้ ไม่ได้หมายถึงการปรับเปลี่ยนมาใช้ อุปกรณ์ หรือเทคโนโลยีด้านการประหยัดพลังงาน หรือการพัฒนาให้ได้มาซึ่งมาตรฐด้านการ จัดการพลังงานเพียงอย่างเดียว แต่ยงั หมายถึง ระบบการจัดการพลังงานที่มีประสิทธิภาพ และประสบความส�ำเร็จด้วย โดยต้องก�ำหนดไว้ ในนโยบายด้านพลังงานขององค์กร เพือ่ ให้ บุคลากรขององค์กรทุกๆ ระดับมีการปฏิบตั ิ ไปในแนวทางเดียวกัน ซึ่งจะเอื้ออ�ำนวยต่อ การประหยัดพลังงานขององค์กร รวมทัง้ เป็น แนวทางในการจัดการด้านพลังงานส�ำหรับ ผู้จัดการพลังงาน (Energy Management) ขององค์กรด้วย เพื่อสร้างจิตส�ำนึกให้แก่ บุ ค ลากรหรื อ พนั ก งานในองค์ ก รให้ เ กิ ด จิตส�ำนึกทีจ่ ะร่วมกันประหยัดพลังงาน เพือ่ ให้ เกิดการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการสร้ า งที ม ขึ้ น มาดู แ ลด้ า นพลั ง งาน โดยเฉพาะ เพื่อสร้างทีมเวิร์คแก่พนักงาน ช่ ว ยกั น หาข้ อ บกพร่ อ งแล้ ว แก้ ไ ขให้ มี การประหยัดพลังงานในเรื่องต่างๆ ทั้งเรื่อง การใช้นำ�้ ใช้ไฟฟ้า ในระบบต่างๆ ของอาคาร และในบางองค์กรอาจจะจ้างทีป่ รึกษาเข้ามา ช่วยดูแลด้านการบริหารจัดการพลังงาน ทั้งนี้ ระบบการจัดการพลังงานในอาคารนั้น ต้องเป็นการควบคุมการใช้พลังงานในอาคาร อย่างชาญฉลาด ไม่ว่าจะเป็นการวิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์ด้านพลังงานของ องค์กรในปัจจุบัน เพื่อน�ำข้อมูลต่างๆ ที่ได้ ไปใช้ในการก�ำหนดรูปแบบของระบบการ จั ด การด้ า นพลั ง งานที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ แต่ละองค์กร มีการควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ ส่ ว นกลาง โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก คื อ การปรับปรุงประสิทธิภาพของอาคาร และ การลดต้นทุนในการใช้งานอาคารให้ต�่ำที่สุด

โดยการจัดการพลังงานในอาคารนัน้ ต้องมีการตรวจสอบพืน้ ทีภ่ ายในอาคารทีไ่ ม่มกี ารใช้งาน เพื่อปิดการใช้ไฟฟ้าแสงสว่างและการปรับอากาศในพื้นที่นั้นๆ การควบคุมอุณหภูมิน�้ำเย็น ในขดท่อน�้ำเย็นให้สอดคล้องกับความเย็นที่ต้องการ รวมถึงการปิดปัีมน�้ำเย็นในช่วงที่ภาระ การท�ำความเย็นต�่ำ ต้องมีกำ� หนดหรือรณรงค์ให้มีการปิดไฟฟ้าแสงสว่าง เครื่องปรับอากาศ ลิฟต์ ฯลฯ ในช่วงเวลาที่ไม่ใช้งานอาคาร พร้อมกันนี้อาจจะต้องมีการควบคุมความเร็วของ พัดลมเพื่อเปลี่ยนแปลงความต้องการอากาศ ระบบเก็บสะสมน�้ำเย็นหรือน�้ำแข็งในช่วงที่มี ความต้องการใช้ไฟฟ้าต�่ำ และน�ำมาใช้ในช่วงที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง เพื่อประหยัดค่า ไฟฟ้า ตลอดจนควบคุมการปิด-เปิด อุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม นโยบายด้านพลังงานขององค์กร ควรครอบคลุมประเด็นต่างๆ - ก�ำหนดวัตถุประสงค์ขององค์กรและก�ำหนดเป้าหมายของอุปกรณ์ต่าง ๆ และสื่อสาร ข้อผูกมัดจากผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานเกี่ยวกับการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ - ก�ำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรที่ใช้อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ - ก�ำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่จัดซื้ออุปกรณ์และเพื่อให้จัดซื้ออุปกรณ์ที่มี ประสิทธิภาพด้านพลังงานและคุ้มค่าด้านการลงทุน - ก�ำหนดหน้าทีค่ วามรับผิดขอบของผูอ้ อกแบบ เพือ่ ให้คำ� นึงถึงผลของการใช้อปุ กรณ์กบั ระบบ ต่าง ๆ ของอาคาร - ก�ำหนดมาตราฐานการใช้พลังงานไฟฟ้า มีการกระตุน้ ให้ปฏิบตั ติ ามนโยบาย โดยการสือ่ สาร ภายในองค์กร(โปสเตอร์ การประชุมกลุ่ม การเพิ่มแรงจูงใจ การรายงานความส�ำเร็จ ฯลฯ) - ทบทวนนโยบายระดับองค์กรเป็นประจ�ำทุกปี และเปลี่ยนแปลงปรับปรุงตามความจ�ำเป็น

และนี้ก็เป็นหลักวิธีการบริหารจัดการพลังงานแบบเข้าใจง่ายหากน�ำไปประยุกต์ใช้ใน องค์กรของท่าน และมีการวางแผนกันอย่างชัดเจนเชื่อว่าจะช่วยให้องค์กรของท่าน สามารถประหยัดพลังงานได้เป็นอย่างดีครับ ส�ำหรับเล่มหน้าจะพูดถึงการเหลือใช้ อุปกรณ์ประหยัดพลังงานภายในอาคารครับ

July 2014 75 Energy#68_p74-75_iMac5.indd 75

6/25/2557 BE 10:13 AM


Building Management

โดย : ผศ.ดร.จตุวัฒน์ วโรดมพันธ์ LEED AP, TREES Founder / ปาริณี ศรีสุวรรณ TREES-A

การป้องกันสารปนเปือ้ นในอากาศกับการด�ำเนินงาน เพือ่ คุณภาพชีวติ ของผูใ้ ช้งานอาคาร

อาคารเขียว

ารด�ำเนินงานอาคารเขียวนอกจากจะช่วยส่งเสริมให้อาคาร มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและลดการใช้พลังงานในภาค อาคารลงยั ง ส่ ง ผลโดยตรงต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู ้ ใ ช้ ง านอาคาร ทั้งด้านการคมนาคมที่สะดวกสบายจากการเข้าถึงของระบบขนส่ง มวลชน มีระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการโดยรอบโครงการ ที่ครบครัน ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าและค่าการบ�ำรุงรักษาระบบ ลดลง ความสบายที่เกิดจากสภาพอากาศภายในอาคาร ที่ส�ำคัญ ยังช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่จะได้รับผ่านระบบหายใจของ มนุษย์หรือโรคอาคารป่วย (Sick Building Syndrome)

ร่างกายของเราเปรียบได้กับอาคารที่มีระบบหายใจเป็นระบบระบายอากาศ ซึ่งมีการท�ำงาน อยู่ตลอดเวลา อีกทั้งเราต้องใช้ชีวิตอยู่ ภายในอาคารเกือบตลอดทั้งวัน จึงมีความเสี่ยงสูง ที่เราจะได้รับอากาศที่ปนเปื้อนสารพิษต่าง ๆ ผ่านทางระบบหายใจ ไม่ว่าจะเป็นสารปนเปื้อน ที่เป็นอนุภาคขนาดเล็ก (Particles) ประมาณ 0.1-10,000 ไมครอน เช่น ฝุ่น ควันบุหรี่ เป็นต้น สามารถก�ำจัดได้โดยการกรองอากาศผ่านแผงกรองอากาศประสิทธิภาพสูง (Hepa Filter) หากเข้าสู่ร่างกายจะถูกก�ำจัดผ่านทางการไอหรือจาม ส่วนสารปนเปื้อนอีกประเภท หนึ่งอยู่ในรูปของสารระเหย (Vapors) และก๊าซ (Gases) อนุภาคเล็กกว่า 0.001 ไมครอน เช่น สารระเหยอินทรีย์ (VOC) และคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นต้น แผงกรองอากาศ ไม่สามารถกรองได้ หากเข้าสู่ร่างกายก็จะแทรกซึมเข้าสู่กระแสเลือด ยากต่อการก�ำจัด การด�ำเนินงานอาคารเขียวจึงมีการป้องกันสารปนเปื้อนในอากาศทั้งที่เป็นข้อบังคับและ ข้ อ คะแนน เริ่ ม ตั้ ง แต่ ก ระบวนการออกแบบ ก่ อ สร้ า ง ไปจนถึ ง การใช้ ง านอาคาร โดยสารปนเปื้อนที่เป็นอนุภาคขนาดเล็ก เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะก่อให้เกิดการระคายเคืองใน ระบบทางเดินหายใจ มีลักษณะการป้อ งกันที่ไ ม่ซับซ้อ น ได้แก่ การด�ำเนินการตามแผน การป้ อ งกั น ฝุ ่ น ละอองที่ เ กิ ด จากการก่ อ สร้ า งและการใช้ ง านอาคาร การก� ำ หนดพื้ น ที่ ห้ามสูบบุหรีภ่ ายในอาคารและห่างจากทางเข้าช่องเปิดหรือช่องน�ำอากาศเข้า (Outdoor Air Intake) ภายในระยะ 10 เมตร การใช้แผงกรองอากาศที่มีค่าประสิทธิภาพสูงตั้งแต่ 13 (Merv 13) ขึ้นไป ซึ่ง ลักษณะการป้อ งกันดัง กล่าวมีค่าาใช้จ ่ายในการด�ำ เนินการต�่ำกว่า การป้องกัน สารปนเปื้อนที่เป็นสารระเหยหรือก๊าซ 76 Energy#68_p76-77_iMac5.indd 76

July 2014 6/25/2557 BE 10:18 AM


สารปนเปอนที่เปนสารระเหยหรือกาซ เชน ฟอรมัลดีไฮด (Formal dehyde) สารระเหยอิ น ทรี ย  คาร บ อนมอนอกไซด (CO) และคารบอนไดออกไซด เปนตน เมื่อเขาสูรางกายจะสงผลกระทบ ตอระบบประสาทสวนกลาง ทําใหเกิดอาการงวง เซื่องซึม มึนงง หรื อ อาจเป น อั น ตรายถึ ง ชี วิต หากได รั บ ในปริมาณมากเกินกวา กําหนด และหากไดรับเปนระยะเวลายาวนาน จะสงผลตอระบบกําจัด ของเสียในรางกาย เชน ตับและไต เปนตน อีกทั้งยังเพิ่มความเสี่ยง ตอการเปนมะเร็งได การปองกันสารปนเปอนที่เปนสารระเหยและกาซ สามารถทําได ทั้งการลดปริมาณการใช การควบคุมการแพรกระจาย และการเจือจาง ใหมีระดับความเขมขนลดลงทั้งกอนและหลังการเขาใชงานอาคาร เชน การใชวัสดุตกแตงอาคาร กาว สี และสารยาแนวที่มีคาการ ระเหยของสารระเหยอินทรียตํ่า (Low VOC) โดยมีคาขีดจํากัด (VOC Limit) แตกตางกันไปตามประเภทวัสดุ การกั้นหองถายเอกสาร หองเก็บสารเคมี พรอมออกแบบใหหองดังกลาวมีความดันอากาศ เปนลบ การ Flush Out อากาศกอนการเขาใช งานอาคาร การเจือจาง ระดั บ ความเข ม ข น ของคาร บ อนไดออกไซด ใ นอาคารซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ได ตลอดเวลาจากการหายใจของผู  ใช อ าคารเอง ดวยการนําอากาศ ภายนอกเขาสูพื้นที่ใชสอยภายในอาคาร เปนตน เพื่อใหมีระดับ ความเขมขนของสารปนเปอนอยูในเกณฑที่ยอมรับไดและไมเปน อันตรายตอสุขภาพผูใชอาคาร

ตัวอยางมาตรฐานรับรองผลิตภัณฑ Low VOC และองคกรที่ออกกฎหมายควบคุมมลพิษทางอากาศ

การเจือจางระดับคารบอนไดออกไซดดวยการนํา อากาศภายนอกเขาสูพื้นที่ภายในอาคาร

หากแตลักษณะการนําอากาศภายนอกเขามาในอาคารมีผลกระทบ โดยตรงตอการใชพลังงานในอาคาร กอใหเกิดภาระการทําความเย็น ที่ สู ง ขึ้ น ในระบบปรั บ อากาศ ส ง ผลให ค  าใช จ  ายในการดําเนินงาน สูงขึ้น ดังนั้น ควรคํานึงถึงความสมดุลระหวางคุณภาพอากาศที่เกิด ขึ้ น ให ส อดคล อ งกั บ ค า ใช จ  า ยทางพลั ง งานในระบบปรั บ อากาศ ซึ่งจะสงผลใหผูใชงานอาคารเขียวมีคุณภาพชีวิตที่ดีไดอยางแทจริง

July 2014 77 Energy#68_p76-77_iMac5.indd 77

6/25/2557 BE 10:18 AM


Green Logistics

โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

แนวทางปฏิบัติโลจิสติกสในชวงเคอรฟว µÒÁËÅÑ¡¡ÒèѴ¡ÒúÃÔËÒøØáԨÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁÀÒ¹͡໚¹»˜¨¨Ñ·Õ่¤Çº¤ØÁäÁ‹ä´Œ «Ö่§ÁÕͧ¤ »ÃСͺÍÂÙ‹ËÅÒÂÍ‹ҧ ᵋÊํÒËÃѺ¡ÒúÃÔËÒçҹã¹Âؤ¹Õ้ÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ ÀÒ¹͡àÃ×่ͧ¡ÒÃàÁ×ͧ àÈÃÉ°¡Ô¨ Êѧ¤Á áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ÁÕº·ºÒ·ÊํÒ¤ÑÞÍ‹ҧÁÒ¡ µ‹Í¡ÒûÃѺµÑǢͧ¸ØáԨ â´Â੾ÒÐ㹪‹Ç§ÃÐÂÐàÇÅÒ 9 »‚ ·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ ¤ÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§ ·Ò§¡ÒÃàÁ×ͧ¡ÅÒÂ໚¹»˜¨¨Ñ ˹Ö่§·Õ่·ํÒãËŒ¡ ÒèѴ ¡ÒÃâŨÔÊµÔ¡Ê áÅÐˋǧ⫋ÍØ»·Ò¹ µŒÍ§ÁÕ¡ÒûÃѺà»ÅÕ่¹Ἱ¡Ò÷ํÒ§Ò¹ÍÂÙ‹º‹Í¤ÃÑ้§ â´Â੾ÒÐÀÒ¤¡Òâ¹Ê‹§·Õ่µŒÍ§ »ÃѺµÑÇÍ‹ҧ˹ѡµ‹Íà˵ءÒó µ‹Ò§ æ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹¡Òû ´¶¹¹ ¡ÒûÃзŒÇ§ ¡Òû ´ ¡ÒèÃҨà ໚¹µŒ¹ à¾×่ÍãËŒ¡ÒÃÅํÒàÅÕ§Çѵ¶Ø´ÔºËÃ×ÍÊÔ¹¤ŒÒä»Âѧ¨Ø´ÁØ‹§ËÁÒ·ѹàÇÅÒ Ê‹ §Áͺ ¹Í¡¨Ò¡¹Õ้Âѧʋ§¼Å¡Ãзºµ‹Í¡Ô¨ ¡ÃÃÁÍ×่¹ æ ¢Í§âŨÔÊµÔ¡Ê áÅÐˋǧ⫋ ÍØ»·Ò¹ ÍÒ·Ô ¤ÅѧÊÔ¹¤ŒÒ Èٹ ¡ÃШÒÂÊÔ¹¤ŒÒ ¡ÒüÅÔµ ໚¹µŒ¹

ลาสุดทีเ่ กิดการรัฐประหารมีการประกาศเคอรฟว และปรับเปลีย่ นเวลาจากเดิม 22.00 - 05.00 น. มาเปนเวลา 00.01 - 04.00 น. ตองยอมรับวาภาคการขนสงและโลจิสติกสสวนอื่น ๆ เกิดอาการขลุกขลักอยูบาง โดยเฉพาะการขนสงสินคาทางบก ซึ่งผูประกอบการสวนใหญใช การขนส ง วั ต ถุดิบ หรือ สิน คาในชวงเวลากลางคื น เนื่ องจากจะช ว ยประหยั ด พลั งงาน ลดการสึกหรอของเครือ่ งยนตทที่ าํ งานหนักภายใตความรอนบนทองถนนทีส่ งู เกือบ 40 องศา และลดการสึกหรอของยางรถยนตอีกดวย เมื่อเทียบกับการขนสงในชวงกลางวัน กลับกลาย เปนวาการลดตนทุนดังกลาวไมสัมฤทธิ์ผลในการจัดการโลจิสติกสเลย เพราะทําใหเกิด ตนทุนแฝงเพิ่มมากขึ้น

78 Energy#68_p78-79_iMac5.indd 78

สําหรับแนวทางในการจัดการโลจิสติกสใน ชวงเคอรฟว หรือ อนาคตจะมีการยกเลิก ก็ตาม แตสงิ่ ทีต่ อ งติดตามตอ คือการประทวง ตอตานการรัฐประหารทีย่ งั คงมีประปรายนัน้ จะทําใหการดําเนินการดานโลจิสติกสข อง ธุ ร กิ จ เกิ ด ผลกระทบอย า งไร ซึ่ ง ผู  เขี ย น มีขอเสนอแนะ ดังนี้ 1. ตองจัดใหมเี จาหนาทีท่ ใี่ หบริการประสาน งานกับคลังสินคาและศูนยกระจายสินคา หรือสํานักงาน/สาขาตาง ๆ เพิม่ ขึน้ สงผลให ผูป ระกอบการมีตน ทุนแฝงเกิดขึน้ เชน การ จายคาตอบแทนในการทํางานลวงเวลา หรือ จางพนักงานชัว่ คราว เปนตน 2. ตองมีการปรับตารางเวลาการขนสงให เร็วขึน้ โดยจะตองดําเนินการตัง้ แต 20.00 น. เปนตนไป หากเปนจังหวัดที่อยูใกลวิ่งเพียง 3-4 ชัว่ โมง สวนระยะไกลเริม่ ออกวิง่ ตอนตี 4 เพื่ อ จะให สิ น ค า ถึ ง จุ ด หมายปลายทาง ตางจังหวัดในชวงเวลาทีพ่ อดี 3. ตองปรับรูปแบบขนาดรถขนสงทีจ่ ากเดิม เป น รถ 10 ล อ อาจปรับเปนรถกระบะ รถยนต ส  ว นบุ ค คล หรื อ รถมอเตอร ไซค โดยจัดตามลักษณะของคําสัง่ ซือ้

July 2014 6/25/2557 BE 10:45 AM


4. ระดมความคิดเห็น กับ ผู้ที่เ กี่ยวข้อ งใน ระบบโลจิ ส ติ ก ส์ ทั้ ง หมดที่ อ าจได้ รั บ ผล กระทบโดยตรงและโดยอ้อม เพือ่ หาแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ซึ่งคนที่รู้ดีและมีความเข้าใจ ในงานชัดเจน ก็คือ คนที่อยู่หน้างานและ สัมผัสกับลูกค้าหรือซัพพลายเออร์ ดังนั้น การจ้ า งที่ ป รึ ก ษามาแก้ ไ ขปั ญ หาอาจ ไม่ จ� ำเป็ น เท่ า กับ การฟัง เสียงสะท้อ นการ ท�ำงานจากคนข้างใน 5. จั ด ตั้ ง หน่ ว ยศู น ย์ เ ฉพาะกิ จ ติ ด ตาม สถานการณ์ตา่ ง ๆ จากหลากหลายสือ่ เช่น หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ ทัง้ ในและต่าง ประเทศ โดยมีการน�ำเทคโนโลยีโทรศัพท์ สมาร์ทโฟนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดใน การสัง่ การหรือแก้ไขปัญหาให้กบั ลูกค้า 6. ท�ำความตกลงร่วมมือกับซัพพลายเออร์ หรือลูกค้าของบริษัทที่มีอาณาเขตใกล้กับ พื้นที่เป้าหมายในการจัดส่งสินค้า/วัตถุดิบ จัดตั้งเป็นศูนย์กลางในการกระจายสินค้า ชั่วคราวหรือศูนย์จอดพักเพื่อกระจายสินค้า ต่ อ ไป โดยให้ ส ่ ว นลดหรื อ จู ง ใจท� ำ ธุ ร กิ จ ร่วมกัน

อย่างไรก็ดี แนวทางนี้เป็นเพียงข้อคิดเบื้องต้น แต่การลงทุนระบบเทคโนโลยีหรือการมี ต้นทุนแฝงที่เกิดขึ้นนั้น หากเมื่อเทียบกับการรักษาฐานลูกค้าและท�ำให้ลูกค้าเกิดความ เชื่อมั่นในระบบการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัทได้ ถือว่าเป็นการลงทุนหรือเป็นต้นทุน ส่วนเพิ่มที่คุ้มค่า อนึ่ง จากปรากฏการณ์หลายต่อหลายครั้งที่เกิดผลกระทบและเป็นอุปสรรคในการจัดการ โลจิสติกส์ของธุรกิจ ท�ำให้ผู้บริหาร/ผู้ประกอบการต้องหันมาค�ำนึงถึงและให้ความส�ำคัญ ต่อการจัดการความเสี่ยงที่ไม่ได้มองเพียงแต่ตัวเลขก�ำไร-ขาดทุน หรือ ผลประกอบการใน แต่ ล ะไตรมาสเท่ า นั้ น แต่ จ ะต้ อ งมองความเสี่ ย งที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ในทุ ก ๆ ช่ ว งของ สถานการณ์ที่อยู่ล้อมรอบขณะด�ำเนินธุรกิจด้วย

July 2014 79 Energy#68_p78-79_iMac5.indd 79

6/25/2557 BE 10:45 AM


Environment Alert

โดย : อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิง่ แวดล้อมช�ำนาญการพิเศษศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึ กอบรมด้านสิง่ แวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม

การท่องเทีย่ วทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมโดยชุมชนเพือ่ ชุมชน

นสภาวะการปัจจุบันชุมชนมีความ ส�ำคัญในการให้ความร่วมมือรักษา สิ่งแวดล้อม จากที่ผ่านมาด�ำเนินการโดย ภาครั ฐ ท้ อ งถิ่ น ที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อการด�ำรงชีวิต สุ ข ภาพที่ ดี และจั ด การกั บ ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น ในเมื่อจะเข้าสู่ AEC การท่องเทีย่ วทีเ่ กิดขึน้ จึงเป็นการท่องเทีย่ ว ที่เปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการเข้า มามี บ ทบาทเป็ น เจ้ า ภาพ เช่ น การท� ำ Home stay การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศ การท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ การรั ก ษาสุ ข ภาพ โดยใช้ ภูมิ ป ั ญ ญาท้องถิ่น และอีก หลาย รูปแบบที่ชุมชนเป็นตัวหลักในการจัดการ

80 Energy#68_p80-81_iMac5.indd 80

จากที่ ก ล่ า วถึ ง การท่ อ งเที่ ย วมาผนวกกั บ การเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม หมายถึ ง การปรับตัวของแหล่งท่องเทีย่ วในหลายแหล่ง ทัง้ แหล่งท่องเทีย่ วในอุทยาน ในป่า ชายทะเล แหล่งธรรมชาติตา่ ง ๆ และสถานบริการ ทีพ่ กั โรงแรม รีสอร์ท ต่างต้องปรับตัว เนื่องจาก ลู ก ค้ า หรื อ นั ก ท่ อ งเที่ ย วจากต่ า งประเทศ สนใจที่จะใช้บริการกับแหล่งท่องเที่ยวที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ที่ผ่านมาการให้ ความส� ำ คั ญ ต่ อ การบริ ก ารที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อมจะต้องผ่านการตรวจสอบและ ขอการรับรองมาตรฐานการท่องเที่ยวที่เป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อม เช่น มาตรฐานใบไม้เขียว ส�ำหรับโรงแรมขนาดใหญ่ หรือ Green Hotel ของ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ที่ให้ การรับรองกับสถานบริการในพืน้ ทีท่ อ่ งเทีย่ ว ส�ำคัญ เช่น เกาะสมุย เกาะพงัน เป็นต้น การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทยเองก็ ใ ห้ ความส�ำคัญ กับ 7 Green เป็นหลักปฏิบัติ ในการท่องเที่ยวเช่นกัน

ส�ำหรับชุมชนเอง ส�ำนักงานการท่องเที่ยว จังหวัด มองปัญหาเชื่อมโยงจากสิ่งที่เกิดขึ้น เป็ น ปั ญ หาในชุ ม ชนก่ อ นที่ จ ะพั ฒ นาสู ่ เกณฑ์มาตรฐานต่าง ๆ ผู้เขียนได้มีโอกาส เป็ น วิ ท ยากรให้ กั บ กลุ ่ ม จั ง หวั ด ภาคกลาง ตอนบน ซึ่งเป็นพื้นที่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา โดยใช้กจิ กรรมการค้นหาปัญหาการท่องเทีย่ ว ที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการ โดยเงื่อนไข ของการพัฒนาสู่การท่องเที่ยวที่เป็นมิตรต่อ สิ่ ง แวดล้ อ มและการเปิ ด ประเทศรองรั บ นักท่องเที่ยวต่างชาติ เมื่อเข้าสู่ AEC พบว่า น�้ ำ เสี ย ชุ ม ชนเป็ น ปั ญ หาส� ำ คั ญ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในทุกชุมชน เนื่องจากขาดการจัดการที่ดี ขาดระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียที่รองรับของเสียจาก บ้านเรือน จากชุมชน และระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียรวม ส� ำ หรั บ ชุ ม ชนขนาดใหญ่ โดยได้ รั บ ฟั ง เสี ย งสะท้ อ นจากผู ้ น� ำ ชุ ม ชนที่ มี ส ่ ว นใน การจัดการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศให้ความส�ำคัญ ต่อการฟืน้ ฟูคุ ณ ภาพน�้ ำ ในแหล่ ง น�้ ำ ส� ำ คั ญ เช่น แม่น�้ำเจ้าพระยา และล�ำคลองต่าง ๆ ที่ มี ก ารแปรสภาพเป็ น ที่ ร องรั บ น�้ ำ เสี ย ทัง้ นีห้ วั ใจส�ำคัญต่อการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว ทีเ่ ป็นชุมชน คือ การปรับปรุงสภาพแวดล้อม ให้เหมาะสม มีความสวยงาม สะอาด โดยการ มี ส่ ว นร่ ว มของชุ ม ชน ทั้ง นี้ รวมถึง แหล่ง ท่องเที่ยวส�ำคัญ ๆ ทางประวัติศาสตร์ ทาง วัฒนธรรม และความเป็นตัวตนของชุมชน ที่ต้องรักษาสภาพแวดล้อม

July 2014 6/21/2557 BE 3:36 PM


ล้อม

ยกตัวอย่างเช่น จังหวัดปทุมธานี ทีม่ สี ถานทีท่ าง ประวัตศิ าสตร์สมัยสงครามโลก ครัง้ ที่ 2 และ เป็นแหล่งทีอ่ ยูข่ องนกแก้วประจ�ำถิน่ การอนุรกั ษ์ และรักษาสภาพแวดล้อมในพืน้ ทีด่ งั กล่าว จึงมี ความส�ำคัญ ชุมชนจะต้องร่วมมือกันในการ พั ฒ นาพื้ น ที่ แ ละที่ พั ก อาศั ย ให้ เ หมาะสม จัดเส้นทางการท่องเทีย่ วส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว ทัง้ ด้านวัฒนธรรมและประวัตศิ าสตร์ และจัด สถานทีร่ องรับนักท่องเทีย่ วในชุมชน จะต้อง พัฒนาไปด้วยกัน ซึง่ อาศัยความร่วมมือของ ประชาชนในชุมชน สิง่ ส�ำคัญคือประชาชนต้อง มีจติ ส�ำนึกในการรักษาสิง่ แวดล้อมและร่วมมือ กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ หลักการส�ำคัญ คือการปรับปรุงสภาพแวดล้อม โดยการมี ส่วนร่วมการวางระบบการบริการท่องเทีย่ วที่ ประสานความร่วมมือ ในภาคส่วนต่าง ๆ การติดตั้งบ่อดักไขมันในร้านอาหารช่วยลด ความสกปรกอย่างมาก และการรักษาล�ำน�ำ้

คูคลองการรณรงค์กำ� จัดขยะในแหล่งน�ำ้ โดยการไม่ทิ้งขยะลงแหล่งน�ำ้ และเก็บผักตบชวา ช่วยรักษาสภาพแวดล้อมในแหล่งน�ำ้ ให้ดขี นึ้ แม่นำ�้ เจ้าพระยาเป็นแหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญเชือ่ มโยง วิถชี วี ติ กับการท่องเทีย่ วอย่างเป็นระบบ ความเป็นตัวตนของชุมชนที่รักษาสภาพแวดล้อม เป็นสิง่ ดึงดูดนักท่องเทีย่ ว การจัดการน�ำ้ เสียชุมชนเป็นจุดเริม่ ต้นส�ำคัญทีจ่ ะพัฒนาสูค่ วามเป็น แหล่งท่องเที่ยวที่สมบูรณ์ ไม่จ�ำเป็นต้องอาศัยมาตรฐานของต่างประเทศ ซึ่งการขอฉลาก ด้านการท่องเที่ยวที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง น่าจะเป็นความยัง่ ยืนของการท่องเทีย่ วทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่างแท้จริง ทัง้ นีก้ ารท่องเทีย่ ว ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมจะต้องรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม ความเป็นตัวตนของชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนประวัติศาตร์ส�ำคัญที่จะส่งต่อรุ่นลูกรุ่นหลาน ไม่ท�ำลายความส�ำคัญ และคุณค่าของชุมชนที่เหมาะสมต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

July 2014 81 Energy#68_p80-81_iMac5.indd 81

6/21/2557 BE 3:37 PM


Renergy

โดย : คุณพิชยั ถิน่ สันติสุข ประธานกลุ่มอุ ตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุ ตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

Green Tech สวีเดน-ฟินแลนด์ สุดยอดโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ RDF ปั

ญหาการจั ด การขยะด้ ว ยการให้ ภาคเอกชนเป็นผูล้ งทุน โดยภาพรวม ดู เ หมื อ นจะยั ง หาค� ำ ตอบสุ ด ท้ า ยไม่ ไ ด้ ทั้งด้านเทคโนโลยีและความคุ้มค่าในการ ลงทุน อีกทั้งปัญหาในแต่ละท้องถิ่นก็อาจ แตกต่างกัน แต่มีปัญหาหนึ่งที่ทุกโครงการ ต้องประสบคือ ความคุ้มค่าของการลงทุน ซึ่งภาครัฐโดยกระทรวงพลังงานได้มีการ ส่งเสริมให้มีส่วนเพิ่มในการจ�ำหน่ายไฟฟ้า ต่ อ หน่ ว ย (Adder) ไว้ โดยเริ่ ม ตั้ ง แต่ หน่วยละ 2.50 บาท และเพิม่ เป็น 3.50 บาท ในปัจจุบัน แต่ก็ยังไม่มีโครงการใดประสบ ความส�ำเร็จอย่างจริงจัง และ WIN WIN ทั้ ง ท้ อ งถิ่ น เจ้ า ของขยะตามกฎหมายและ ภาคเอกชนซึง่ เป็นผูล้ งทุน ดังนัน ้ ส�ำนักงาน นวัตกรรมแห่งชาติ (องค์กรมหาชน) จึงได้ น� ำ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งและนั ก ลงทุ น ลั ด ฟ้ า ไปชม โรงไฟฟ้ า ที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ จากการ คั ด แยกขยะเพื่ อ น� ำ มาใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง สะอาดผลิตไฟฟ้า (RDF/SRF) อย่างได้ ผลดี ด้ ว ยเทคโนโลยี ก ารผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ แตกต่างกัน แต่ได้ผลดีเหมือนกัน และทัง้ สอง โครงการจัดว่าเป็นโครงการใหญ่ระดับโลก ทั้งคู่...เราจะพาท่านไปเรียนรู้สองโครงการ ดังกล่าว ที่ประเทศสวีเดนและฟินแลนด์ ในกลุม่ ประเทศทางยุโรปเหนือ โดยเริม่ ด้วย การท�ำความรู้จักกับสองประเทศนี้ก่อน

82 Energy#68_p82-83_iMac5.indd 82

ประเทศสวีเดน หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรสวีเดน (THE KINGDOM OF SWEDEN) ประเทศสวีเดนอยู่ในกลุ่มสแกนดิเนเวียตอนเหนือของยุโรป มีพื้นที่น้อยกว่า ประเทศไทยประมาณ 20% แต่ประชากรมีเพียง 9 ล้านกว่าคน และมีรายได้มากกว่าคนไทย โดยเฉลีย่ ประมาณ 10 เท่า จึงไม่นา่ แปลกใจทีค่ า่ ใช้จา่ ยในการเยือนยุโรปเหนือจะสูงกว่ายุโรปใต้ เกื อบเท่ า ตั ว ที เ ดี ยว นั ก อุ ต สาหกรรมจะรู ้ จัก สวี เ ดนในฐานะผู ้ ผ ลิตเหล็กกล้า คุณ ภาพดี และสินค้าส่งออกส่วนใหญ่ของสวีเดนที่มีชื่อเสียงจะใช้เหล็กคุณภาพสูงเป็นวัตถุดิบเสียเป็น ส่วนใหญ่ เช่น เครนยกของ รถยนต์ นอกจากนี้ ยังมีเหล็กแผ่นเหล็กกล้าอีกหลายชนิดที่ ไทยเราน�ำเข้าจากสวีเดน แต่ถา้ เป็นนักประวัตศิ าสตร์จะจดจ�ำได้วา่ อัลเฟรด โนเบล เจ้าของ สิทธิบัตรระเบิดไดนาไมต์ ซึ่งในอดีตใช้ประโยชน์ในการสร้างบ้านแปลงเมืองไม่ใช่อาวุธ สงครามเหมือนในปัจจุบัน ประโยชน์ของไดนาไมต์ในสมัยก่อน คือ การใช้ระเบิดสร้าง อุโมงค์ลอดเทือกเขาต่าง ๆ ในประเทศนอร์เวย์ จนปัจจุบนั นอร์เวย์มคี วามเจริญไม่แพ้ประเทศ อื่น ๆ ในสแกนดิเนเวีย และเป็นประเทศที่มีอุโมงค์มากที่สุดในโลก เมื่อทรัพย์สินทางปัญญากลายเป็นอาวุธร้ายแรงที่มนุษย์ใช้ประหัตประหารกันเอง อัลเฟรด โนเบล ก่อนเสียชีวิต ในปี ค.ศ. 1899 ได้บริจาคทรัพย์สินส่วนตัวทั้งหมด ตั้งรางวัลโนเบลขึ้น 6 สาขา โดย 5 สาขา แจกในกรุงสต๊อกโฮม ประเทศสวีเดน ส่วนสาขาสันติภาพแจกกันที่ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ อาจเพื่อร�ำลึกว่าไดนาไมต์ไม่ใช่เพื่อสงครามแต่เพื่อสันติภาพ

July 2014 6/21/2557 BE 3:40 PM


ปั จ จุ บั น ชาวสวี เ ดนมี ค วามเป็ น อยู ่ แ บบ ครอบครัวเดีย่ ว ค่าแรงสูง นิยมการท่องเทีย่ ว คาดว่า ชาวสวีเดน 70% เคยมาเทีย่ วประเทศไทย ส่วนคนไทยก็ไปพักอาศัยอยูใ่ นสวีเดนมากกว่า 100,000 คน มีวัดไทยถึง 4 แห่ง ถ้าใคร อยากคุยกับชาวสวีเดนในไทย ลองไปบ้านพัก ตากอากาศอ�ำเภอหัวหิน ซึ่งเป็นเสมือนบ้าน หลังที่ 2 ของชาวสวีเดน

ฟินแลนด์คอื ต้นก�ำเนิดของมือถือ NOKIA ซึง่ ปัจจุบนั ถูกซือ้ กิจการไปแล้ว เรารูจ้ กั ฟินแลนด์วา่ มี ซานตาคลอส กวางเรนเดียร์ และตอนเหนือสุดมีแหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญ คือ “แสงเหนือ” (AURORA BOREALIS) ซึง่ หาดูได้ยาก แต่สงิ่ หนึง่ ทีค่ นทัว่ ไปมักมีคำ� ถาม ก็คอื ตลอดสองข้างทาง ทีร่ ถวิง่ ผ่านในฟินแลนด์ เราจะเห็นต้นไม้ทดี่ คู ล้ายต้นสน ตลอดสองข้างทางคือต้นอะไร และใช้ ท�ำอะไร หากท่านมีโอกาสไปฟินแลนด์ลองใช้ความสังเกตจะเห็นได้ว่ามีพันธุ์ไม้ 3 ชนิด สาเหตุหนึง่ ทีช่ ว่ ยให้คนสวีเดนฉลาดกว่าคนไทย คล้ายต้นสนบ้านเรา คือ ถ้าล�ำต้นสีขาวมีจดุ ด�ำคล้ายต้นยูคาลิปตัส แต่ลำ� ต้นเล็กเหมือนต้นสน อาจเนือ่ งจากระบบการศึกษา เช่น เด็กอนุบาล เป็นไม้ผลัดใบ มีชอื่ ว่า ต้น BIRCH ใช้ผลิตเยือ่ กระดาษ ส่วนล�ำต้นสีสม้ กับสีดำ� เป็นไม้สนไม่ผลัดใบ จะเรียนเฉพาะการใช้ชวี ติ อยูร่ ว่ มกัน ห้ามสอน ล�ำต้นสีสม้ ชือ่ PINE ล�ำต้นสีดำ� ชือ่ SPRUCE หรือทีค่ นไทยเรียกว่าต้นสนคริสต์มาส การอ่านเขียนแม้แต่ทอ่ งสูตรคูณก็ไม่อนุญาต ชาวสวี เ ดนจึ ง เป็ น นั ก สร้ า งนวั ต กรรมที่ ดี ท่านคงพอจะรูจ้ กั ประเทศสวีเดนและฟินแลนด์มากขึน้ แล้ว แต่อาจคิดไม่ถงึ ว่าสุดยอดเทคโนโลยี ด้านโรงไฟฟ้าพลังงานขยะของโลกจะมาอยู่ที่นี่ จะขออธิบายความแตกต่างของเทคโนโลยี อีกประเทศหนึ่ง ทัง้ สองประเทศเพิม่ เติม ดังนี้ ประเทศฟินแลนด์ หรือชือ่ เต็ม ๆ ว่า สาธารณรัฐ ฟินแลนด์ ได้รบั การขนานนามว่า “เทพธิดา สวีเดน ใช้เทคโนโลยีแบบ Boiler เหมือนโรงไฟฟ้าชีวมวลทัว่ ไปในประเทศไทย โดยมีโรงงาน แห่งบอลติก” อันเนือ่ งมาจากอยูต่ ดิ กับทะเล คัดแยก และปรับปรุงคุณภาพให้เป็น RDF/SRF ของตนเอง และมีขยะจากประเทศเพือ่ นบ้าน บอลติก หรือแผนทีป่ ระเทศฟินแลนด์ดคู ล้าย ส่งเข้ามาก�ำจัดร่วมด้วย รูปหญิงสาว หรืออาจเป็นเพราะความน่าอยู่ ของฟินแลนด์ทสี่ ะดวก ปลอดภัย ต�ำรวจไม่ตอ้ ง ฟินแลนด์ ใช้เทคโนโลยี Gasification ในการผลิตไฟฟ้า ส่วนเชือ้ เพลิง RDF/SRF รับซือ้ จาก พกพาอาวุธ จะด้วยเหตุผลใดก็ตาม วันนี้ โรงงานผลิตทีอ่ ยูไ่ ม่ไกลจากโรงไฟฟ้า ประเทศฟินแลนด์ติดอันดับโลกเมืองน่าอยู่ เป็นประจ�ำ ฟินแลนด์มีพื้นที่ประมาณ 60% จากการร่วมเดินทางไปเยี่ยมชม 2 สุดยอดเทคโนโลยีโรงไฟฟ้าพลังงานขยะระดับโลก ซึ่งมี ของประเทศไทย มีประชากรราว 5 ล้านกว่าคน ทัง้ เจ้าของขยะ นักลงทุน นักวิชาการ นักพัฒนาโครงการ และเจ้าของเทคโนโลยี ต่างมีความเห็น รายได้ตอ่ หัวโดยเฉลีย่ สูงกว่าคนไทยประมาณ เป็นเสียงเดียวกันว่า หากจะให้ขยะเมืองไทยหมดไป กลายเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ SRF 12 เท่า ฟินแลนด์ไม่ได้อยู่ในกลุ่มของสแกน เหมือนอย่างสวีเดนและฟินแลนด์แล้วละก็ รัฐคงต้องควักกระเป๋าช่วยภาคเอกชนมากกว่านี้ เพือ่ สิง่ แวดล้อมและพลังงานทดแทนของประเทศไทย ดิเนียเวีย เพียงแต่มีพื้นที่ติดกับสวีเดน July 2014 83 Energy#68_p82-83_iMac5.indd 83

6/21/2557 BE 3:40 PM


O waste idea

โดย : รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปญหาขยะอิเล็กทรอนิกส

อีกประเด็นรอนของการจัดการขยะของสังคมไทย

»˜

ÞËÒ¢ÂÐÍÔàÅ็¡·ÃÍ¹Ô¡Ê à»š¹Íա˹่֧ »ÃÐà´็¹ÃŒÍ¹¢Í§¡ÒèѴ¡Òà ¢ÂÐÁÙŽÍ¢ͧÊѧ¤Áä·Â à¹×Í่ §¨Ò¡¢ÂÐÍÔàÅ็¡·ÃÍ¹Ô¡Ê ÊÇ‹ ¹ãËÞ‹ ÁÕͧ¤ »ÃСͺ¢Í§ÊÒþÔÉ»ÃÐàÀ·âÅËÐ˹ѡ 䴌ᡋ ᤴàÁÕÂÁ â¤ÃàÁÕÂÁ »ÃÍ· ໚¹µŒ¹ ¡µÑÇÍ‹ҧઋ¹ â·Ã·Ñȹ ÃØ‹¹à¡‹ÒÁÕÊÒõСÑ่Ç໚¹ ÊÒûÃСͺ㹡ÃÇÂᡌǷÕÍ่ ÂÙ´‹ ÒŒ ¹ËÅѧ¨ÍÀÒ¾áÅÐã¹Ç§¨ÃÍÔàÅ็¡·ÃÍ¹Ô¡Ê Ê‹Ç¹â·Ã·Ñȹ ª¹Ô´¨ÍáÍÅ«Õ´Õ¨ÐÁÕ»ÃÍ·ã¹ËÅÍ´ä¿·Õ่ãËŒ¤ÇÒÁÊÇ‹Ò§ ¡ÑºÀÒ¾ «Ö§่ ·Ñ§้ ÊÒõСÑÇ่ áÅÐÊÒûÃÍ·ÁÕâÍ¡ÒÊá¾Ã‹¡ÃШÒÂÊÙÊ‹ §Ô่ áÇ´ÅŒÍÁ ¨Ò¡¡Ò÷ԧ้ ¢ÂÐËÃ×Í¡ÒèѴ¡ÒâÂзÕä่ Á‹¶¡Ù ÇÔ¸Õ Ê‹§¼Å¡Ãзº¡ÑºÊØ¢ÀÒ¾ ͹ÒÁÑÂáÅÐÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ ËҡࢌÒÊًËҧ¡ÒÂÁ¹ØÉ ·Ò§Ë‹Ç§â«‹ÍÒËÒà ÍÒ¨ÁÕ ¼ Å¡Ãзºµ‹ Í ÃкºàÂ×่ Í ÊÁͧʋ § ¼Åµ‹ Í ¡Ò÷ํ Ò §Ò¹¢Í§äµ ÃÇÁ¶Ö§ÍÒ¨ÁÕ¡Òû¹à»„œÍ¹¢Í§âÅËÐ˹ѡã¹áËÅ‹§¹ํ้Òä´ŒÍÕ¡´ŒÇÂ

เมือ่ ไมนานมานีท้ าง กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ไดตดิ ตาม เสนทางขยะอิเล็กทรอนิกสทะลักเขาภาคอีสาน โดยไดมกี ารลงพืน้ ที่ ต.แดงใหญ และ ต.บานเปา จ.บุ รี รั ม ย และในพื้ น ที่ ฆ  อ งชั ย จ.กาฬสิ น ธุ  หลังกระทรวงสาธารณสุขเผยมีคนเจ็บปวยจาก ขยะอิเล็กทรอนิกสสงู ขึน้ เพือ่ สํารวจและติดตาม ปญหาเศษซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาหรือ ขยะอิเล็กทรอนิกสในพืน้ ทีด่ งั กลาว จากขอมูล การสํ า รวจพื้ น ที่ ใ นจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย พบว า ชาวบ า นใน 11 หมู  บ  า น ของทั้ ง 2 ตํ า บล กวา 500 ครัวเรือน มีการเปดรานรับซือ้ ของเกา ในหมูบ า น รวมถึงตระเวนรับซือ้ ตามบาน และ รับเหมามาจากโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่ ตาง ๆ นํามาคัดแยกชิน้ สวนอุปกรณเครือ่ งใช ไฟฟา กอนนําไปขายหารายไดเสริม โดยไมมี การปองกันตนเองอยางถูกวิธี ในสวนของพืน้ ที่ ฆองชัย จ.กาฬสินธุ มีผูประกอบการอาชีพ 84 Energy#68_p84-85_iMac5.indd 84

รับซือ้ ขายและคัดแยกของเกาประเภทซากเครือ่ งใชไฟฟา อิเล็กทรอนิกส แบตเตอรี่ และเครือ่ งยนต เปนจํานวนมากเชนกัน เมือ่ มองในแงมมุ ดานเศรษฐกิจ ชุมชนสามารถมีรายไดมาก แตเมือ่ มองถึง ปญหาสุขภาพและสิง่ แวดลอมในพืน้ ที่ กลาวไดวา มีปญ  หาดานสิง่ แวดลอมทัง้ ฝุน และมีความเสีย่ ง ของการปนเปอ นของตะกัว่ สารปรอท และโลหะหนักอืน่ ๆ ซึง่ จะสงผลกระทบตอสิง่ แวดลอมในระยะยาว และยังเสีย่ งเปนอันตรายตอสุขภาพจากการสัมผัสสารพิษโลหะหนักทีม่ าจากขยะอิเล็กทรอนิกส ประเภทตาง ๆ เชน ความเสีย่ งของการเกิดโรคระบบทางเดินหายใจ ภูมแิ พ หอบหืด เปนตน จากรายงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดแจงถึงปญหาการลักลอบนําเศษซากขยะ อิเล็กทรอนิกสทไี่ มสามารถขายได เชน กระจกจอทีวี โฟม ซึง่ ยอยสลายยาก ไปทิง้ ตามปาชุมชน ใกลหมูบาน ที่ตกคางไมสามารถจํากัดไดในปริมาณที่คอนขางมาก ทั้งยังมีการเผาสายไฟเพื่อ เอาลวดทองแดงไปขาย ซึ่งทางกรมควบคุมมลพิษไดเขาไปตรวจสอบจุดที่มีการเผาหรือลักลอบ นําขยะไปทิ้ง พรอมใหเจาหนาที่ทําการตรวจวัดคามาตรฐานในดินตรงบริเวณจุดที่มีการทิ้งและ เผาขยะ ซึ่งผลการตรวจพบวา มีสารตะกั่วมากถึง 8,600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม สูงเกินคามาตรฐาน ที่กําหนดไวถึง 20 เทา (คามาตรฐานที่กําหนดไว 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม) รวมทั้งตรวจพบ สารหนูหรืออาเซนิก 191 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ซึ่งสูงเกินคามาตรฐานกวา 50 เทา อาจกอใหเกิด มลพิษในดิน นํ้า และอากาศ ซึ่งในปจจุบันชาวบานไมกลาดื่มนํ้าฝนจากแหลงนํ้าธรรมชาติ ในพื้นที่ ตองซื้อนํ้ากิน เพราะเกรงจะมีสารเคมีตกคาง ซึ่งเปนปญหาที่เกิดสะสมมานานหลายป

July 2014 6/21/2557 BE 3:47 PM


สถานการณ์ของปัญหาขยะอิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน ในปัจจุบนั ถ้ากล่าวถึงโรงงานรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ทีม่ กี ระบวนการคัดแยกและบดย่อยชิน้ ส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ อย่างถูกวิธนี นั้ ยังถือได้วา่ มีจำ� นวนน้อยมากและไม่เพียงพอกับปริมาณ ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากนีย้ งั พบว่ามีการลักลอบขนขยะอิเล็กทรอนิกส์จากต่างประเทศ เข้ามายังประเทศไทยเป็นจ�ำนวนไม่นอ้ ย โดยมีการส่งขยะอิเล็กทรอนิกส์ เหล่านีไ้ ปยังชุมชนเพือ่ ให้ชาวบ้านน�ำไปคัดแยก ถอดชิน้ ส่วนเพือ่ น�ำโลหะ ไปขาย เศษทีเ่ หลือของขยะอิเล็กทรอนิกส์จะน�ำไปท�ำลายโดยการเผาหรือ ฝังกลบ ทัง้ นีก้ ารเผาและท�ำลายขยะอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ถกู สุขลักษณะ เช่นนี้ ย่อมก่อให้เกิดปัญหาต่อสิง่ แวดล้อม ชุมชน และต่อสุขภาพ รวมทัง้ ความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของผูท้ เี่ กีย่ วข้องโดยตรง นอกจากนี้ ทาง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้มรี ายงานถึงความเสีย่ ง เช่นกันว่าได้พบปัญหาสารโลหะหนักสะสมในร่างกายของชาวบ้าน หลายราย และมี ก ารปนเปื ้ อ นของโลหะหนั ก ในแหล่ง น�้ำในชุมชน จากรายงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ พบว่า จากการสุม่ เจาะเลือด ของชาวบ้านทีท่ ำ� อาชีพคัดแยกขยะ มีสารตะกัว่ ปนเปือ้ นในเลือดเกือบ ทุกราย บางรายมีเกินกว่าค่ามาตรฐาน โดยเฉพาะในเด็กอายุ 1 – 5 ปี ดังนั้นปัญหาการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ถูกวิธีจึงเป็นปัญหา เร่งด่วนอีกประเด็นหนึ่งที่ไม่ควรมองข้ามในการจัดการขยะมูลฝอย ชุมชนของประเทศไทย นอกจากนี้ จ ากประเด็ น ร้ อ นของปั ญ หาขยะอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ล ้ น โลก ท�ำให้หลายประเทศทั่วโลกเกิดการตื่นตัวในการเตรียมความพร้อม รับมือขยะอิเล็กทรอนิกส์ โดยทาง คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) ที่ดูแลด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ได้มีการจัดท�ำร่างกฎ ระเบียบเกี่ยวกับซากของผลิตภัณฑ์อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการป้องกันและการจัดการซากของผลิตภัณฑ์ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างเหมาะสม เพือ่ ลดผลกระทบสูส่ งิ่ แวดล้อม รวมทั้งให้มีการน�ำซากผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่หมดอายุ การใช้งานแล้วนํากลับมาใช้ใหม่ (Re-use and Recycle) เพื่อลดความ เสี่ยงจากปัญหาขยะต่อสิ่งแวดล้อม

ข้อเสนอแนะด้านการ รีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกส์ วิธกี ารแก้ปญ ั หาทีต่ น้ ทางเพือ่ ลดจ�ำนวนขยะอิเล็กทรอนิกส์ นั้น ควรมีการคัดแยกขยะ อิเล็กทรอนิกส์ออกจากขยะ ทั่วไป แล้วทิ้งลงในถังขยะที่ จัดให้เข้าร่วมโครงการก�ำจัด ขยะอิเ ล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ นอกจากนีผ้ บู้ ริโภคควรเลือก ใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ทเี่ ป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม ทีเ่ รียกว่า Eco หรือ Green Product ในปัจจุบนั มีบางประเทศ ได้ออกกฎหมายห้ามน�ำขยะอิเล็กทรอนิกส์ไปฝังกลบ เนื่องจากขยะ อิเล็กทรอนิกส์มสี ว่ นของขยะพิษประเภทโลหะหนักต่าง ๆ สหภาพยุโรป หรือ อียู ก็ได้เสนอระเบียบ WEEE และ RoHS ส�ำหรับการใช้ควบคุม ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ในปี ค.ศ. 2005 และ 2006 นอกจากนี้ แนวทางการแก้ ปัญหาที่ยั่งยืนนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย โดยเฉพาะ ผู้ผลิตและและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ ซึ่งมีเทคโนโลยีที่ก้าวล�ำ้ หน้าอยู่แล้ว ย่อมรูม้ าตรการและขัน้ ตอนการก�ำจัดขยะเหล่านีเ้ ป็นอย่างดี สหภาพยุโรป เกาหลีใต้ ญีป่ นุ่ รวมทัง้ ไต้หวัน ได้รเิ ริม่ ให้มกี ารก�ำหนดแนวทางให้ผขู้ าย และผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต้องมีส่วนรับผิดชอบในการรีไซเคิล ขยะอิเล็กทรอนิกส์จากผลิตภัณฑ์ของตนเอง หรือที่เรียกว่า Extended Producer Responsibility ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ อีกแนวทางหนึ่ง นอกจากนี้ทางภาครัฐควรมีการส่งเสริมการสร้างระบบสาธารณูปโภค ด้านโรงงานรีไซเคิลส�ำหรับขยะอิเล็กทรอนิกส์ ให้เพียงพอและมีระบบ การจัดการขยะที่ถูกวิธี เพื่อลดผลกระทบต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมใน ระยะยาว รวมทั้งเป็นการช่วยน�ำกลับทรัพยากรโลหะที่มีค่า เพื่อให้ สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ใหม่อีกด้วย July 2014 85

Energy#68_p84-85_iMac5.indd 85

6/21/2557 BE 3:47 PM


Special Scoop รังสรรค์ อรัญมิตร

ซ่อมแหล่งก๊าซ JDA-A18

บทเรียนส�ำคัญในการรับมือไฟฟ้าดับ สูแ่ นวทางการสร้างโรงไฟฟ้าเสริมความมัน่ คงไฟฟ้าภาคใต้

ช่

วงระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมานั้นได้เกิด ปัญหาไฟฟ้าในพื้นภาคใต้ขัดคล่อง มาโดยตลอด ซึง่ ปัญหาไฟฟ้าภาคใต้เกิดขึน้ ในช่วงทีก่ ารไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มีแผนด�ำเนินการสร้างโรงไฟฟ้า ถ่านหินทีจ่ งั หวัดกระบี่ และเกิดการต่อต้าน จากเอ็นจีโอ และประชาชนบางกลุ่มที่อยู่ ในพื้ น ที่ คั ด ค้ า นไม่ ใ ห้ ส ร้ า งโรงไฟฟ้ า โดยไม่ ย ่ อ มรั บ ฟั ง เหตุ ผ ลที่ ท� ำ ให้ มี ค วาม จ�ำเป็นต้องสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่ ดังกล่าว จากปัจจัยนี้หลายคนจึงตั้งข้อ สังเกตุว่า เหตุที่ไฟฟ้าภาคใต้ดับ หรือเกิด ความขัดคล่องช่วงปีที่แล้วและปีนี้ก็มีแนว โน้มจะเกิดขึ้นอีกนั้นเป็นเพราะการสร้าง สถานการณ์ ใ ห้ เ กิ ด ไฟฟ้ า ดั บ ของหน่ ว ย งานภาครั ฐ เอง สร้ า งกระแสให้ เ กิ ด การ ยอมรับจากประชาชนภาคใต้ในการสร้าง โรงไฟฟ้าถ่านหินที่ จ.กระบี่

แต่ในความเป็นจริงแล้วก�ำลังการผลิตไฟฟ้าในพืน้ ทีภ่ าคใต้ยงั ไม่เพียงพอต่อความต้องการถึงแม้ จะมีการเชื่อมต่อสายส่ง 700 เควี จากภาคกลางไปเสริมไฟฟ้าในภาคใต้ก็ตาม โดยปัจจุบัน นั้นพื้นที่ภาคใต้มีโรงไฟฟ้าอยู่ทั้งหมดจ�ำนวน 6 แห่ง ได้แก่ โรงไฟฟ้าเขื่อนรัชชประภา (เชี่ยวหลาน) จ.สุราษฎร์ธานี ก�ำลังการผลิตจ�ำนวน 240 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้าขนอม จ.นครศรีธรรมราช ก�ำลังการผลิตจ�ำนวน 410 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้ากระบี่ จ.กระบี่ ก�ำลังการผลิต จ�ำนวน 300 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้าจะนะ จ.สงขลา ก�ำลังการผลิตจ�ำนวน 700 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้าเขือ่ นบางลาง / ควนสันติ จ.ยะลา ก�ำลังการผลิตจ�ำนวน 73 เมกะวัตต์ และ โรงไฟฟ้า กัลฟ์ยะลากรีน จ.ยะลา ก�ำลังการผลิตจ�ำนวน 20 เมกะวัตต์ ยังไม่เพียงพอต่อความ ต้องการ และความมั่นคงด้านไฟฟ้าของพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ จากปัญหาดังกล่าวเมื่อหยุดซ่อมท่อก๊าซ หรือเกิดขัดคล่องเรื่องระบบสายส่งจะท�ำให้เกิด ผลกระทบต่อความมั่นคงของระบบไฟฟ้าภาคใต้ทันที นั่นหมายถึงว่าอาจจะท�ำให้ไฟฟ้าใน พื้นที่ภาคใต้ดับบางพื้นที่ อย่างเช่นที่เคยเกิดเหตุการณ์ไฟฟ้าดับในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ นานกว่า 2 ชั่วโมงเมื่อย�ำ่ ค�่ำวันที่ 21 พฤษภาคม 2556 ซึ่งเป็นข้อวิพากษ์ที่สร้างความกังขา ให้แก่สังคมไม่น้อย แม้รัฐบาลในขณะนั้นและหน่วยงานที่รับผิดชอบจะชี้แจงถึงปมเหตุ อันเกิดจากสายส่งขนาด 500 กิโลวัตต์ ที่ อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขัดข้องก็ตาม อย่างไรก็ตามในปีนี้พื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ก็ต้องเสี่ยงต่อไฟฟ้าดับอีกครั้งเมื่อแหล่งผลิต ก๊าซธรรมชาติ (JDA-A18) หยุดซ่อมบ�ำรุง ในระหว่างวันที่ 13 มิถนุ ายน - 10 กรกฎาคม 2557 รวม 28 วัน ส่งผลให้โรงไฟฟ้าจะนะ จังหวัดสงขลา ซึ่งใช้ก๊าซธรรมชาติจากแหล่งดังกล่าว เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าต้องหยุดผลิต ท�ำให้ไฟฟ้าหายไปจากระบบถึง 710 เมกะวัตต์ และส่งผลต่อภาพรวมของการผลิตไฟฟ้าภาคใต้เหลือแค่ 2,300 เมกะวัตต์ ในขณะทีค่ าดการณ์ ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดโดยเฉลี่ยในพื้นที่ภาคใต้ช่วงเดือนมิถนุ ายน - กรกฎาคม 2557 ประมาณ 2,450 เมกะวัตต์ นั่นหมายถึงไฟฟ้าจะขาดหายไปประมาณ 150 เมกะวัตต์

86 Energy#68_p86-88_iMac5.indd 86

July 2014 6/25/2557 BE 10:22 AM


ทั้ ง นี้ ก ารหยุ ด ซ่ อ มบ� ำ รุ ง แหล่ ง ผลิ ต ก๊ า ซ ธรรมชาติ JDA-A18 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต่างเร่งด�ำเนินการแก้ไขปัญหาเพื่อรับมือกับ ไฟฟ้าที่อาจจะดับ โดยล่าสุด ส�ำนักงาน นโยบายและแผนพลั ง งาน กระทรวง พลังงาน ได้พานักข่าวเยี่ยมชมความพร้อม โรงไฟฟ้ า กระบี่ โรงไฟฟ้ า ที่ จั ง หวั ด ตรั ง พร้อมรณรงค์การประหยัดไฟฟ้าให้กับภาค ประชาชน และภาคธุรกิจ อุต สาหกรรม ต่างๆ เพื่อในการรับมือไฟฟ้าดับ โดย นายเสมอใจ ศุขสุเมฆ ผู้อำ� นวยการ ส� ำ นั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน เปิ ด เผยว่ า “กระทรวงพลั ง งาน ได้ ห า แนวทางและมาตรการรองรับเพื่อป้องกัน ความเสี่ยงที่จะเกิดไฟฟ้าดับในพื้นที่ภาคใต้ อาทิ การเตรี ยมความพร้อ มระบบไฟฟ้า ทั้งระบบส่ง โรงไฟฟ้า และเชื้อเพลิงส�ำรอง การตรวจอุปกรณ์ระบบส่งไฟฟ้า การบริหาร จัดการด้านความต้องการใช้ เพิม่ การส่งไฟฟ้า ผ่านสายส่งจากภาคกลาง การเตรียมแผน ปลดโหลด หรือแผนไฟฟ้าดับร่วมกับการ ไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค (PEA) การเจรจาซื้ อ ไฟฟ้ า จากมาเลเซีย นอกจากนี้ ยัง ได้ข อ

คุณสมพงษ์​ตั้งถึงถิ่น

ความร่วมมือประชาชน “เลี่ยงและลดใช้” พร้อม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดใช้พลังงานด้วยการ ปิดแอร์ 1 เครื่อง ปรับแอร์เพิ่ม 1 องศา ปิดไฟ 1 ดวง (3-1) รวมทั้งขอความร่วมมือภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรม ในภาคใต้ ล ดใช้ ไ ฟฟ้ า และเปลี่ ย นเวลาปฏิ บั ติ ง าน ในวันที่มีการหยุดจ่ายก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะช่วง เวลา 18.30 ถึง 22.30 น. ซึ่งเป็นชั่วโมงที่มีความ ต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดของวันในภาคใต้ หากทุกภาค ส่วนให้ความร่วมมือตามแผนที่วางไว้คาดว่าก็จะช่วย ลดการใช้ ไ ฟฟ้ า ได้ ป ระมาณ 234 เมกะวั ต ต์ และสามารถฝ่าวิกฤตพลังงานไฟฟ้าในครั้งนี้ไปได้” ด้าน นายสมชัย ชัยโรจน์นพ ิ ฒ ั น์ หัวหน้ากองควบคุม คุณสมชัย ชัยโรจน์นิพัฒน์ ระบบ ฝ่ายปฏิบัติการภาคใต้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย กล่าวว่า “ความต้องการใช้ไฟฟ้าในภาค ใต้มีปริมาณสูงขึ้นทุกปี เนื่องจากภาคใต้มีอุตสาหกรรมทางด้านการประมง อุตสาหกรรมที่ เกี่ยวเนื่องกับยางพารา และอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดยมีแนวโน้มใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นประมาณ ร้อยละ 6 ต่อปี ปัจจุบันภาคใต้มีความต้องการพลังงานไฟฟ้าสูงสุดอยู่ที่ 2,468 เมกะวัตต์ ในขณะที่ภาคใต้มีก�ำลังผลิตไฟฟ้าอยู่เพียง 2,359 เมกะวัตต์ จากโรงไฟฟ้าในพื้นที่ อาทิ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมจะนะ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมขนอม โรงไฟฟ้าพลังน�้ำ เขือ่ นรัชชประภา เป็นต้น ส่วนทีเ่ หลือต้องพึง่ พาการส่งกระแสไฟฟ้าจากภาคกลาง โดยปัจจุบนั ได้ควบคุมการส่งพลังงานไฟฟ้าผ่านสายส่งไม่เกิน 700 เมกะวัตต์ เพื่อให้เหมาะสมกับก�ำลัง สายส่งที่สามารถรองรับได้ หากเกินขีดความสามารถของสายส่งฯ หรือสายส่งจากภาคกลาง ที่ส่งกระแสไฟฟ้ามายังภาคใต้เกิดขัดข้อง ก็จะส่งผลให้เกิดไฟฟ้าดับในพื้นที่ภาคใต้ได้ ดังเช่น เหตุการณ์เมือ่ วันที่ 21 พฤษภาคม 2556 ทีเ่ กิดเหตุการณ์ไฟฟ้าดับในพืน้ ทีภ่ าคใต้ทงั้ 14 จังหวัด เป็นเวลายาวนานถึง 4 ชั่วโมง July 2014 87

Energy#68_p86-88_iMac5.indd 87

6/25/2557 BE 10:22 AM


Special Scoop รังสรรค์ อรัญมิตร

นายสมพงษ์​ตั้ ง ถึงถิ่น ผู้อ�ำนวยการกองควบคุมและบ�ำรุงรักษา การไฟฟ้าส่ วนภู มภิ าค หรือ PEA กล่าวว่า “ในช่วงของการหยุดซ่อม บ�ำรุงฯ ในส่วนที่ PEA รับผิดชอบนั้นได้เตรียมมาตรการรองรับใน ทุกด้าน ทั้ งในด้านความพร้อมเสริมความมั่นคงด้านการให้บริการ การป้องกันเสริ ม ความมั่นคงด้านพลังานไฟฟ้า การแก้ไขเพื่อลด ผลกระทบกรณี เกิ ด วิกฤต และการแก้ไขปัญหากรณีเกิดไฟฟ้าดับ เป็นบริเวณกว้างในพื้นที่ภาคใต้ PEA ได้ซักซ้อมและจัดเตรียมแผนด้านการบริหารจัดการสภาวะ วิกฤตระหว่า งศู น ย์ควบคุมการจ่ายไฟฟ้า มีการจัดประชุมชี้แจง และประชาสัม พัน ธ์ภายในองค์กรให้กบั การไฟฟ้าในเขตพืน้ ทีท่ คี่ าดว่า จะได้ รั บ ผลก ระท บ รวมถึ ง ได้ ส นั บ สนุ น ข้ อ มู ล การรณรงค์ และประชาสัม พัน ธ์เพื่อลดความต้องการใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลา 18.30 ถึง 22.30 น. ให้กับประชาชนด้วย ซึ่งหากทุกฝ่ายให้ความร่วมมือ ก็จะท�ำให้พื้นที่ภาคใต้ผ่านวิกฤตครั้งนี้ไปได้”

ทั้งนี้ กฟผ. ได้เตรียมมาตรการรองรับทั้งการปรับแผนตรวจสอบ และบ�ำรุงรักษ า โรงไฟฟ้าภาคใต้ ไม่ให้มีการหยุดบ�ำรุงรักษาช่วงที่ แหล่ง JDA-A18 ปิดซ่อม การเตรียมความพร้อมโรงไฟฟ้าภาคใต้ ทุกเครื่อง แล ะ ที่ส�ำคัญได้ตรวจสอบอุปกรณ์ระบบส่ง และระบบ ป้องกันให้พร้ อ มใช้งาน และในกรณีเกิดเหตุที่ไม่พึงประสงค์ก็ได้มี การซักซ้อมแผนกู้คืนระบบเพื่อกระทบต่อผู้ใช้ไฟให้น้อยที่สุด”

88 Energy#68_p86-88_iMac5.indd 88

อย่างไรก็ตามเชือ่ ว่าทุกฝ่ายต่างคาดหวังว่าการแก้ไขปัญหาจะผ่านพ้น ไปด้วยดีไม่เกิดไฟฟ้าขัดคล่องหรือดับในช่วงดังกล่าว และจะไม่เกิด ความเสี่ยงไฟฟ้าดับในพื้นที่ภาคใต้ หรือทุกภาคของประเทศไทย ซึ่งการสร้างความเชื่อมั่นและความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้านั้น หน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบต้องเร่งด�ำเนินสร้างโรงไฟฟ้าเพิ่มเติม โดยเฉพาะพืน้ ที่ 14 จังหวัดภาคใต้ ทีม่ คี วามต้องการใช้ไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องทุกปี

July 2014 6/25/2557 BE 10:23 AM


Energy#68_p89_iMac5.indd 89

6/24/2557 BE 11:15 PM


Viewpoint กูรู พลังงาน

กระแสการเรียกรองปฏิรปู พลังงาน 2 ขัว้ ....

แบบยั่งยืน หรือแบบแบงกันกิน ÀÒÂËÅѧ¨Ò¡·Õ่¤³ÐÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁÁÑ่¹¤§áË‹§ªÒµÔ (¤Êª.) ä´ŒÂÖ´ÍํÒ¹Ò¨ ¡Òû¡¤Ãͧ¨Ò¡ÃÑ°ºÒŢͧ ¹Ò§ÊÒÇÂÔ่§ÅÑ¡É ªÔ¹Çѵà ʹյ¹Ò¡ ÃÑ ° Á¹µÃÕ ¹Í¡¨Ò¡¡ÒÃàÃÕ Â ¡á¡¹¹ํ Ò ½† Ò Âµ‹ Ò § æ ࢌ Ò ÃÒ§ҹµÑ Ç Í‹ Ò §µ‹ Í à¹×่ Í §áÅŒ Ç ÊÔ่ § ·Õ่ ¤Êª. ä´Œ ´ํ Ò à¹Ô ¹ ¡ÒÃÍ‹ Ò §àË § ´‹ Ç ¹ ¤× Í ¡ÒÃàË § ¨‹ Ò Âà§Ô ¹ ¤Œ Ò §¨ํ Ò ¹ํ Ò ¢Œ Ò ÇªÒÇ¹Ò ¡ÒÃÊÃŒ Ò §¤ÇÒÁࢌ Ò ã¨ãËŒ ¡Ñ º »ÃЪҪ¹·Ñ้§»ÃÐà·ÈãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁÊÒÁѤ¤Õ »Ãͧ´Í§¡Ñ¹ áÅзÕ่ÊํÒ¤ÑÞ ¤×Í ¡ÒÃà˧´ํÒà¹Ô¹¡ÒâѺà¤Å×่͹àÈÃÉ°¡Ô¨ «Ö่§·Ñ้§ËÁ´à»š¹¡Òä׹ ¤ÇÒÁÊØ ¢ ãËŒ ¡Ñ º »ÃЪҪ¹ (äÁ‹ ã ª‹ à ¾Õ Â §á¤‹ ¡ ÒõÑ้ § àÇ·Õ Ã Œ Í §à¾Å§ãËŒ »ÃЪҪ¹¿˜§)

90 Energy#68_p90-91_iMac5.indd 90

การดําเนินการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ โดยเรียกผูบ ริหารจากกระทรวงตาง ๆ ที่ ดู แ ลด า นเศรษฐกิ จ เข า มารายงานตั ว เพื่ อ รายงานความคื บ หน า การดํ า เนิ น งาน โดยกระทรวงพลั ง งานดู จ ะมี ก ระแสข า วมากที่ สุ ด เพราะการดําเนินงานที่ผานมามีกระแสจากผูที่ไมเห็นดวยหลายเรื่อง ในการบริหารงานของกระทรวงพลังงาน และเมือ่ คสช. ยึดอํานาจ ยิง่ เปดชองวาง ใหมขี อ เรียกรองเกิดขึน้ มากมาย ทัง้ องคกรอิสระ นักวิชาการ บริษทั เอกชน ดวยการสรางกระแสสังคมออนไลนผานชองทางโซเชียลเน็ตเวิรคเสนอ ขอเรียกรองให คสช. เรงปฏิรูปโครงสรางพลังงานไทย การลดราคานํ้ามัน เกือบทุกชนิดลง 10 บาทตอลิต ร การยกเลิกกองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิง การยกเลิกการขึ้นราคาแอลพีจีทั้งภาคครัวเรือน และภาคขนสง การยุติ การดําเนินการสรางโรงไฟฟาถานหิน ขอเรียกรองตาง ๆ นานา ผานชอง ทางโซเชียลเน็ตเวิรคสรางกระแสสังคม เพียงเพื่อหวังวา คสช. จะนําขอ เรียกรองของกลุมตนเองไปดําเนินการ แตการสรางกระแสผานชองทาง โซเชียลเน็ตเวิรคนั้นไดสรางความสับสนใหกับประชาชนทั่วไปวาทิศทาง พลังงานที่เปนปจจัยสําคัญของคนในประเทศจะเปนอยางไร

July 2014 6/21/2557 BE 3:50 PM


นอกจากนีย้ งั เกิดกระแสการเรียกรองให เลิกการผูกขาดดานพลังงานใหบริษทั ปตท. จํ า กั ด (มหาชน) แยกธุร กิจ ทอกาซธรรมชาติออกมาเปนอีกบริษทั เพื่ อ เป ด โอกาสให บ ริ ษั ท เอกชน รายอื่น ๆ ไดมีโอกาสใชทอกาซดวย แล ว คณะกรรมการกํา กับ กิจการ พลังงาน (กกพ.) เปนผูกําหนดราคา นัน่ ก็เปนอีกกระแสหนึง่ ทีท่ าํ ใหบอรด บริหาร ของ ปตท. ตองออกมาพูดถึง แนวคิดทีจ่ ะแยกธุรกิจทอกาซออกมานัน้ ตรงตามนโยบายที่ ปตท. วางไวอยูแ ลว ซึ่งขณะนี้อยูระหวางเตรียมแผนการแยกธุรกิจ ไวแลว ซึง่ แหลงขาวบอกวาการแยกธุรกิจทอกาซ ออกในครัง้ นีม้ แี นวโนมความเปนไปได เพราะได เตรียมแผนการกันมานานแลว เพียงแตยงั ไมไดทาํ ขณะเดี ย วกั น ก็ เ กิ ด กลุ  ม ปฏิ รู ป พลั ง งาน หลากหลายกลุม เพือ่ เสนอแนวคิดและแนวทาง ปรับโครงสรางพลังงานของประเทศ ทัง้ กลุม ของ นายปยสวัสดิ์ อัมระนันทน อดีตรัฐมนตรีวา การ กระทรวงพลังงาน ภายใตชอื่ กลุม ปฏิรปู พลังงาน เพือ่ ความยัง่ ยืน อีกกลุม ทีเ่ ปนเหลาเกาในขวดใหม นําโดย น.ส.รสนา โตสิตระกูล อดีตวุฒสิ มาชิก กรุงเทพฯ จัดตัง้ กลุม ปฏิรปู พลังงานไทย (จปท.) หรือ Thai Energy Reform Watch (TER Watch) ขึน้ ประกอบดวย นักวิชาการ กลุม เอ็นจีโอ หลายคน อาทิ นายเดชรัตน สุขกําเนิด นายประสาท มีแตม นายอิฐบูรณ อนวงษา เรียกรองให คสช.ลดราคา กาซหุงตม (แอลพีจ)ี ภาคครัวเรือน ใหกลับมา เทากับราคาภาคขนสงหรือปรับลดลง 1.25 บาท ตอกิโลกรัม แตทหี่ ลายฝายจับตามอง คือ กลุม ปฏิรปู พลังงาน เพือ่ ความยัง่ ยืน ของ “นายปยสวัสดิ์ อัมระนันทน” เพราะรวมกลุม กันมากอนทีจ่ ะเกิดการยึดอํานาจ ของคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) มีโอกาส ไดนาํ เสนอขอมูลกันมานาน โดยไดเสนอใหปรับ ขึน้ ราคาพลังงานสะทอนกลไกตลาดโลก และให ปตท. แยกธุรกิจทอกาซ พรอมทัง้ ลดการถือหุน โรงกลั่นนํ้ามันลง เพื่อลดการผูกขาดดานธุรกิจ นํ้ามัน และใหผูบริหารภาครัฐหยุดเขาไปเปน กรรมการในองคกรที่ตัวเองตองเขาไปกํากับ นโยบาย เพราะจะทําใหเกิดผลประโยชนทบั ซอนขึน้

น.ส.รสนา โตสิตระกูล จากกระแสขอเรียกรองตาง ๆ นานา ตองติดตามกัน ดูวา ภายหลังจากที่ พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา ผูบัญชาการทหารบก (ผบ.ทบ.) ในฐานะหัวหนา คณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ไดออกคําสั่ง นายปยสวัสดิ์ อัมระนันทน คสช.ที่ 54/2557 เรือ่ ง แตงตัง้ คณะกรรมการนโยบาย พลังงานแหงชาติ ประกอบดวย ประธาน และกรรมการ 18 คนเมื่อเดือนมิถุนายน 2557 ที่ผานมา เพือ่ ใหการบริหารนโยบาย แผนงาน และมาตรการดานพลังงานของประเทศใหเปนไปอยางตอเนือ่ ง และมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะมีการดําเนินการตามขอเรียกรองของแตละกลุมหรือไม อยางไรก็ตาม ในการบริหารงานดานพลังงานของ คสช. ไดประกาศวาจะเนนถึงความสําคัญของ โครงสรางราคาพลังงานที่เปนตนทุนพื้นฐานของคาครองชีพประชาชน แตประชานิยมจะกลายเปน ความเสียหายไดหากทําอยางไมระมัดระวัง จึงตองมีการตรวจสอบขอมูลตัวเลขตาง ๆ ใหดี เพือ่ ลด ขอผิดพลาดในเรื่องการปฏิรูปพลังงาน และใหเกิดความโปรงใส ไมอิงกับฝายใด ดังนั้น ศึกปฏิรูปพลังงานคราวนี้ที่แตละฝายเสนอแนวทางกันคนละขั้ว คือ ทําแบบสบายระยะสั้น แตเสียหายระยะยาว หรือ จะยอมเจ็บวันนี้ เพื่อยั่งยืนไปถึงรุนลูกรุนหลาน นั้น ตองถามใจ พลเอกประยุทธ หัวหนา คสช.วาจะเลือกหยิบขนมหวาน กินอรอยแตฟนผุ หรือจะเลือกหยิบยาขม แข็งใจกลืนหนอย ไมกี่วันก็หาย เพราะชวยเสริมภูมิตานทานโรคประชานิยม

พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา July 2014 91

Energy#68_p90-91_iMac5.indd 91

6/21/2557 BE 3:50 PM


Energy Report

โดย : ชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุ โส ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

จากต้นทุนทักษะเดิม...สูผ่ ลิตภัณฑ์ใหม่ ด้วยความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ และเทคนิค

Upcycling ต

ราบใดที่ผู้ประกอบการยังมองเห็น โ อ ก า ส ท า ง ธุ ร กิ จ ด ้ ว ย ก า ร น� ำ ต้นทุนทักษะเดิมมาผสมผสานกับการใช้ วัสดุ แรงงาน และเครื่องจักรอุปกรณ์ที่มี ในโรงงาน ผนวกเข้ า กั บ ความคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้างสรรค์และเทคนิคใหม่ ๆ ย่อมสร้าง ความแตกต่างให้กับผลิตภัณฑ์ รู้ช่องทาง การแข่งขัน และสามารถผลิตสินค้าที่มี คุณค่าในสายตาผู้บริโภคได้ในที่สุด

บริษทั อีลทิ ดีไซน์ จ�ำกัด เป็นอีกหนึง่ ผูป้ ระกอบการทีเ่ ข้าร่วมโครงการ “อั พไซคลิ่ ง : สร้างคุณ ค่าให้วัสดุเหลือใช้ด ้ ว ยการออกแบบ (Upcycling : Value Creation with Design)” ที่หน่วยงาน iTAP ภายใต้ ศู น ย์ บ ริ ห ารจั ด การเทคโนโลยี ภ ายใต้ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นา วิทยาศาสตร์และเทคโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ริเริ่มขึ้น เพือ่ สนับสนุนผูป้ ระกอบการ ที่ ต ้ อ งการเพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ กับเศษเหลือใช้ หรือขยะ โรงงานผ่านกระบวนการ และเทคนิ ค วิ ธี ใ หม่ ๆ สร้ า งมู ล ค่ า ให้ กั บ เศษ เหลื อ ใช้ จ ากการผลิ ต รวมถึงแก้ไขปัญหาการมี เศษเหลื อ ใช้ จ นต้ อ งมี ค่าใช้จ่ายด้านการจัดเก็บ และการบริ ห ารจั ด การ เศษเหลือใช้เหล่านั้น

92 Energy#68_p92-93_iMac5.indd 92

ด้วยการท�ำงานเชิงรุกของ สวทช. จึงได้รว่ มมือกับ ผศ.ดร.สิงห์ อินทรชูโต นักวิชาการในฐานะนักวิชาการและผู้น�ำกระแสการออกแบบเพื่อ สิง่ แวดล้อม อาจารย์ประจ�ำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เดิ น หน้ า กระชั บพื้ น ที่ เ พื่ อแก้ปัญหาให้กับ บริษัท อีลทิ ดีไซน์ จ�ำกัด ซึง่ ผลิตสินค้าประเภทเฟอร์นเิ จอร์หนังแท้ หนังเทียม และผ้า ซึง่ ในทุกการผลิตมักมีเศษเหลือจากการผลิตเป็นจ�ำนวนมาก และถึงแม้ว่าทางบริษัทจะได้ท�ำการคัดแยกวัสดุเหลือใช้น�ำกลับมา ใช้ใหม่ แต่ยังพบว่ามีเศษวัสดุที่ไม่สามารถน�ำมาใช้ผลิตสินค้าหลักได้ และวัสดุคงเหลือก็ยังคงมีมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งหลังจากบริษัทฯ ได้เข้า ร่วมโครงการฯ จึงได้แนวความคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ สามารถผลิตสินค้าในรูปแบบที่แตกต่างออกไปจากเดิม แต่ยังคงใช้ วัสดุที่ทางบริษัทมีอยู่ ซึ่งผลิตภัณฑ์แบบใหม่ ๆ ที่ออกมาสามารถ น�ำไปต่อยอดในการขายสินค้าเพิ่มเติมให้กับบริษัทได้ หลังจากเข้า ร่วมโครงการฯ บริษทั สามารถน�ำวัสดุซงึ่ ปกติจะน�ำไปขายในราคาเศษ หรือเสียค่าใช้จ่ายในการก�ำจัดทิ้ง เปลี่ยนเป็นการน�ำวัสดุเหลือใช้ เหล่านั้น มาท�ำเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างให้มีมูลค่าขึ้นมาได้ นั่นคือ คอนเซ็ปต์ของค�ำว่า “Upcycling”

July 2014 6/21/2557 BE 3:55 PM


และกิจกรรมสุดทายของการเขารวมโครงการฯ บริษทั มีโอกาสนําผลงานตนแบบไปนําเสนอ ใหผูคนไดยลโฉมครั้งแรก ในงาน Thailand Internation Furniture Fair 2014 หรือ TIFF2014 ที่ ศูนยการจัดแสดงสินคาอิมแพค เมืองทองธานี เมือ่ เดือนมีนาคมทีผ่ า นมา ดวยการสนับสนุน งบประมาณสําหรับการสรางบูธนิทรรศการ จาก สวทช. ซึ่ ง ถื อ เป น การส ง เสริ ม และ ประชาสัมพันธใหลูกคาทั้งในประเทศและ ตางประเทศอีกชองทางหนึ่ง

หากทานตองการเขารวมโครงการฯ ยังมีที่วางเหลือสําหรับทานที่ตองการจะเขาสูธุรกิจผลิต สิ น ค า รั ก ษ โ ลกและต อ งกสนมี ส  ว นร ว มในการลดป ญ หาโลกร อ น ติ ด ต อ มาที่ คุ ณ ชนากานต สั น ตยานนท โทรศั พ ท 0-2564-7000 ต อ 1381 หรื อ ทางอี เ มล chanaghan@tmc.nstda.or.th แล ว คุ ณ จะได รั บการสนั บสนุ น ใหส รา งฝนใหเปนจริง เชนเดียวกับผูประกอบการรายอื่น ๆ ที่ประสบความสําเร็จมาแลว

เบาะนั่งเอนกประสงค ในชื่อคอลเลคชั่นวา “Zen” ไดแรงบันดาลใจมาจากรูปทรงของ ก อ นหิ น ซึ่ ง มีอ ยูใ นการตกแตง สวนแบบ ญี่ปุน ผลิตจากเศษหนังแทเหลือใชที่มีขนาด แตกตางกัน แลวนํามาเชื่อมตอกันใหเปน รูปรางดูเกไกแปลกตา

หมายเหตุ: คําวา “Upcycling” เปนที่รูจักอยางกวางขวางจากหนังสือชื่อ Cradle to Cradle: Remaking the Way We Make Things ซึ่งเขียนโดย William McDonough และ Michael Braungart โดยใหคําจํากัดความ “Upcycling” วา “การทําใหวัสดุที่ไมสามารถใชประโยชนได แลวนํามาทําใหมีมูลคาหรือใชไดดีกวาเดิม” หรือการนําวัสดุที่ผานการใชงานแลวมาทําใหมี คุณภาพและมูลคาเพิ่มขึ้น

ฉบับหนา ผูเขียนจะนําเสนอผูประกอบการ 2 รายสุดทาย สําหรับป 2557 เพื่อแบงปน ประสบการณหลังการเขารวมโครงการฯ ในการสรางมูลคาใหเศษวัสดุแบบ Upcycling รวมถึง การผลิตผลิตภัณฑใหมที่มีคุณภาพ มีมูลคาสูงขึ้น ทั้งยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมตามกระแส ที่กําลังฮอตฮิตในปจจุบัน โปรดติดตามอานในฉบับหนาคะ

เบาะนั่งรูปทรงดอกไม ในชื่อคอลเลคชั่นวา “Blume” ซึ่งเปนภาษาเยอรมนี แปลวา “ดอกไม” ผลิตจากผาที่เหลือใชจากการผลิต และผา Dead Stock นํามาเย็บถุงใสเม็ด โฟมดานใน July 2014 93 Energy#68_p92-93_iMac5.indd 93

6/21/2557 BE 3:55 PM


Energy Invention นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

สถาบันวิจัยพลังงาน ม.เชียงใหม่ น�ำร่องโรงจอดรถพลังงานแสงอาทิตย์

ม่ว่าจะนานเท่าไหร่ เรื่องของพลังงาน ทดแทนก็ยังเป็นเรื่องที่หลายฝ่ายยัง ให้ความส�ำคัญ โดยเฉพาะพลังงานที่ได้ จากแสงอาทิตย์ เพราะถือว่าเป็นพลังงาน ได้ เ ปล่ า อยู ่ ที่ ว ่ า เราจะบริ ห ารจั ด การ อย่างไร เพื่อ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ การลงทุนหนึ่งครั้ง ล่าสุดสถาบันวิจัย พลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้นำ� ร่อง โครงการโรงจอดรถพลังงานแสงอาทิตย์ แห่งแรกขึ้น เพื่อ ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้าน พลังงานให้ได้ 50 เปอร์เซ็นต์

ผศ.ดร. พฤกษ์ อักกะรังสี รองผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดเผยถึงความเป็นมาในการน�ำร่องโรงจอดรถพลังงานแสงอาทิตย์วา่ ที่ผา่ นมา สถาบันฯ ต้องรับภาระค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงเห็นว่าควร แสวงหาแหล่งพลังงานทดแทนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และจากการพิจารณาเบื้องต้น ทางออกที่ดีที่สุดคือพลังงานที่ไม่มีวันหมดอย่างพลังงานจากแสงอาทิตย์ บวกกับปัจจุบัน ค่าใช้จ่ายในการลงทุนระบบผลิตไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์หรือพลังงานแสงอาทิตย์มีมูลค่าต�่ำ ลงมาก สามารถคืนทุนในเวลาไม่นานคุม้ ค่าต่อการลงทุนและประสิทธิภาพก็สงู มากในปัจจุบนั สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในด้านระบบผลิต ไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ โดยปัจจุบัน สถาบันฯ จึงได้มีการจัดสรรงบประมาณ 3.7 ล้านบาท สร้างโรงจอดรถพลังงานแสงอาทิตย์ต้นแบบน�ำร่องประหยัดพลังงาน เพื่อน�ำพลังงานที่ ได้จากโรงจอดรถมาใช้ในองค์กร มาช่วยลดค่าใช้จ่ายในอาคารได้เกือบ 50 เปอร์เซ็นต์ โดยมอบหมายให้ รศ.ประเสริฐ ฤกษ์เกรียงไกร ผอ.สถาบันวิจยั และพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ท�ำการวิจัยและน�ำงบที่มีอยู่แล้วมาใช้ด�ำเนินการ โดยให้ ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ท�ำการออกแบบโครงสร้าง

ผศ.ดร.พฤกษ์ อักกะรังสี

94 Energy#68_p94-95_iMac5.indd 94

July 2014 6/21/2557 BE 3:58 PM


คาดว่าพลังงานที่ได้ก็จะอยู่ที่ 37 กิโลวัตต์ หรือ ผลิตไฟฟ้าเฉลี่ย 52 MWh/ ปี ซึ่งเพียง พอต่ อ การน� ำ มาใช้ ภ ายในอาคารเพื่ อ ลด ปริ ม าณการซื้ อ ไฟฟ้ า จากระบบโครงข่ า ย ไฟฟ้า (Grid) พร้อมทั้งท�ำวิจัยต่าง ๆ จาก ระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ โดยการก่อสร้างโรงจอดรถในระยะแรกจะ รองรั บ รถยนต์ ไ ด้ จ� ำ นวน 16 คั น และ สามารถลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้มากถึง 29 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ต่อปี

โครงการน� ำร่ องโรงจอดรถพลั งงานแสงอาทิ ต ย์ แห่ งนี้ จะเป็ น โรงจอดรถที่ใช้พ ลัง งาน ไฟฟ้าที่ได้จากโซล่าเซลล์มาเป็นระบบแสงสว่าง ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบซ่อมบ�ำรุง ระบบอื่นเพื่อเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายพลังงานไฟฟ้าหลักโดยมีระบบซอร์ฟแวร์ที่ทาง สถาบันวิจัยฯ ได้คิดค้นและท�ำเป็นลิขสิทธิ์ขึ้นมา สามารถค�ำนวณได้ว่าในแต่ละวันจะได้ พลังงานจากแผงโซล่าเซลล์เท่าไหร่ สามารถน�ำไปใช้ในจุดไหนของอาคารให้เกิดประโยชน์ สูงสุด โดยระบบจะบอกทุก ๆ นาที จึงท�ำให้มั่นใจว่า พลังงานที่ได้มานั้นสามารถน�ำไปใช้ได้ อย่างคุ้มค่า และการสร้างในครั้งนี้ เชื่อว่าโรงจอดรถแห่งนี้จะสามารถลดค่าใช้จ่ายให้กับ ทางสถาบันวิจัยฯได้กว่า 50 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ ยั งเตรี ย มต่ อยอดให้ เ ป็ น แหล่ งเรี ย นรู ้ เรื่ องการประหยัด พลัง งาน หากทาง ห้างสรรพสินค้า โรงแรม หรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สนใจก็สามารถจะท�ำได้ เพือ่ เป็นการประหยัดพลังงานให้กบั หน่วยงานได้เป็นอย่างดี เพราะมหาวิทยาลัยมีซอร์ฟแวร์ ที่ คิ ด ค้ น และสามารถควบคุ ม ได้ เ ป็ น อย่ า งดี แ ละหากต้ อ งการสอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ก็สามารถติดต่อมาได้สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หมายเลขโทรศัพท์ 053 - 942007 ได้ในวันและเวลาราชการ

July 2014 95 Energy#68_p94-95_iMac5.indd 95

6/21/2557 BE 3:58 PM


Energy Loan อภัสรา วัลลิภผล

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

เปิดบริการเงินทุนหมุนเวียน งบประมาณกว่า 40 ลบ. ในปัจจุบันมีการสนันสนุนสินเชื่อด้านพลังงานกันมากขึ้น ไม่เว้นแม้แต่ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็ น หน่ ว ยงานหนึ่ ง ที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งของการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน จึ ง ได้ มี ก ารส่ ง เสริ ม ภาคอุ ต สาหกรรมให้ มี ก ารประกอบการที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มและสั ง คมหรื อ เรี ย ก อีกอย่างหนึ่งว่า อุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ซึ่งทาง “ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี” ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ได้ให้ความส�ำคัญในส่วนนี้มาก ทั้งนี้จึงได้มีโครงการที่ช่วยเหลือ ผู ้ ป ระกอบการด้ า นเงิ น ทุ น ขึ้ น เป็ น บริ ก ารให้ กู ้ ยื ม ส� ำ หรั บ ผู ้ ป ระกอบการภาคอุ ต สาหกรรม ที่ต้องการปรับปรุง และพัฒนาหน่วยงานให้เป็นอุตสาหกรรมสีเขียว

คุณวิฑูรย์ สิมะโชคดี ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคด

ดร.วิฑรู ย์ เผยว่า โครงการเงินทุนหมุนเวียนเพือ่ การประกอบการอาชีพ นั้ น เป็ น การให้ บ ริ ก ารส� ำ หรั บ ผู ้ ป ระกอบการภาคอุ ต สาหกรรม ด้วยงบประมาณรวมกว่า 40 ล้านบาท ตั้งเป้าเสริมสภาพคล่องทาง การเงินแก่ผู้ประกอบการกว่า 300 ราย โดยแบ่งวงเงินกู้และอัตรา ดอกเบี้ยออกเป็น 4 ระดับคือ 1. วงเงินกู้รายละไม่เกิน 50,000 บาท 2. สามารถกู้เกินได้ 50,000 บาท แต่ไม่เกิน 100,000 บาท 3. กู้เกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 300,000 บาท 4. กู้เกิน 300,000 บาท แต่ไม่เกิน 1,000,000 บาท และกรณีหลักทรัพย์เป็นประกัน ให้ใช้หลักทรัพย์เป็นประกันอย่างใด อย่างหนึ่งและ/หรือหลายอย่างรวมกัน คือ 1. ที่ดินหรือที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างที่มีโฉนดที่ดิน หรือ น.ส.3ก. ซึง่ เป็นของตนเอง หรือของบุคคลอืน่ ทีย่ นิ ยอมให้ไว้เป็นประกัน และ หลักทรัพย์ดงั กล่าวต้องปลอดจ�ำนองและภาระติดพันใด ๆ 2. เครื่องจักรที่จดทะเบียนกับส�ำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง ตามพระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร พ.ศ. 2514 แล้วมีมูลค่า มากเพียงพอและเคลื่อนย้ายได้ยาก 3. หนังสือค�้ำประกันของธนาคาร 4. หลักประกันเสริมทีค่ ณะกรรมการยอมรับเป็นหลักประกันในวงเงิน ที่คณะกรรมการก�ำหนด

โดยมีอตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 6 ต่อปี ทัง้ นี้ ตัง้ แต่ปี 2527 จนถึงปัจจุบนั สามารถสนับสนุนสินเชื่อแก่ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน แล้วกว่า 23,000 ราย คิดเป็นจ�ำนวน เงินกว่า 1,600 ล้านบาท และจากการเก็บข้อมูลของกรมส่งเสริม อุตสาหกรรมตัง้ แต่ปี 2545 - 2556 โครงการดังกล่าวก่อให้เกิดการจ้าง แรงงานใหม่แล้วกว่า 35,000 คน นอกจากนี้ ในส่วนของ สสว. ก็มี กลยุ ท ธ์ ใ นการเสริ ม สร้ า งระบบและเตรี ย มความพร้ อ มเพื่ อ ให้ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม สามารถเข้าถึงเงินทุนและเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการทางการเงิน โดยพัฒนาเครื่องมือ บริหารจัดการทางการเงินในการเตรียมความพร้อมเข้าถึงแหล่งเงินทุน เพือ่ การสร้างโอกาสและอ�ำนวยความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน และขณะที่ BOI เองก็มนี โยบายในการส่งเสริมการลงทุนในด้านต่าง ๆ อาทิ มาตรการส่งเสริมการลงทุนให้สอดคล้องกับข้อตกลงด้านการค้า สนับสนุนการลงทุนเป็นพิเศษในภูมิภาคหรือท้องถิ่นที่มีรายได้ต�่ำ และมีสิ่งเอื้ออ�ำนวยต่อการลงทุนน้อย โดยให้สิทธิและประโยชน์ ด้านภาษีอากรสูงสุด เป็นต้น อย่างไรก็ตาม โครงการดังกล่าวคาดว่า จะสามารถช่วยผู้ประกอบการให้มีเงินทุนเพื่อการพัฒนาธุรกิจสู่ อุตสาหกรรมสีเขียวได้ พร้อมกับส่งผลต่อการพัฒนาธุรกิจอย่าง ยั่งยืน ส�ำหรับผูท้ สี่ นใจติดต่อสอบถามเพิม่ เติม ได้ที่ ส่วนบริหารเงินทุน ชัน้ 4 ส�ำนักบริหารกลาง โทร. 0-2202-4409-10 เว็บไซต์ : htt://credit.dip.go.th อีเมล : credit@dip.go.th

96 Energy#68_p96_iMac5.indd 96

July 2014 6/21/2557 BE 4:01 PM


Energy#62_p59_Pro3.indd 79

12/18/13 10:30 PM


Green 4U

ภิรายุ เจียมศุภกิตต์

02

01 “Palmleather” ÇÑÊ´ØãËÁ‹¨Ò¡ãº»ÒÅ Á

Palmleather ໚¹ÇÑÊ´ØãËÁ‹·Õ่Í͡Ẻâ´Â´Õ䫹 à¹Íà ªÒǴѵª ·Õ่ª×่Í Studio Tjeerd Veenhoven ໚¹¡ÒùํÒãºáÅСҺ¢Í§ »ÒÅ Á·Õ่ËǧËÅ‹¹ ºÇ¡¡Ñºá¹Ç¤Ô´¡ÒùํÒ¡ÅѺÁÒ㪌ãËÁ‹ ÁÒ໚¹ ÇÑ µ ¶Ø ´Ô º á»ÃÃÙ » 㺻ÒÅ Á ãËŒ Í Í¡ÁÒ໚ ¹ ¡ÃÐ້ Ò Ë¹Ñ § »ÒÅ Á ÊÁØ ´ »¡»ÒÅ Á áÅÐÃͧ෌ Ò áµÐãÊ‹ à ´Ô ¹ àÅ‹ ¹ «Ö่ § 㺻ÒÅ Á ¹Ñ้ ¹ ÁÕ ¤Ø³ÊÁºÑµÔÂ×´ËÂØ‹¹ ¤§·¹ ¤ÅŒÒ¡Ѻ˹ѧÊÑµÇ áÅÐÂÒ§ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.creativemove.com)

CURRENT TABLE âµ ÐÃÑ¡É âÅ¡ ÊÒÁÒöªÒà ¨äÍ⿹䴌

໚¹à¿Íà ¹Ôà¨Íà ·่Õ·ํÒ¨Ò¡äÁŒ ẺàÃÕº§‹Ò ¨Ø´à´‹¹¢Í§âµ еÑǹÕ้ ¤×Í ãªŒªÒà ¨ä¿ ãËŒ¡Ñº iPhone, iPad ËÃ×Í ÊÁÒà ·â¿¹Í×่¹ æ ä´Œ â´ÂäÁ‹ ¨ํ Ò à»š ¹ µŒ Í §àÊÕ Â º»ÅÑ๊ ¡ à¾ÃÒÐ Current Table ÁÕ á¼§â«Å‹Òà à«ÅŠẺ Dye Sensitised Solar Cell µÔ´ÍÂÙ‹·Õ่µÑÇâµ Ð áÅÐÊÒÁÒöÊÐÊÁ¾ÅÑ § §Ò¹¨Ò¡áËÅ‹ § ¡ํ Ò à¹Ô ´ áÊ§ã¹µÑ Ç ÍÒ¤Òà ·Õ่ÁÕà¾Õ§ËÅÍ´ä¿ â´Â·Õ่àÃÒäÁ‹µŒÍ§¢¹ä» ¹Ñ่§µÒ¡á´´ ¢ŒÒ§¹Í¡àÅ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.iphoneapptube.com)

“àÃ×Í䢋ÂÑ¡É ” ÃÑ¡É âÅ¡

໚¹ËŒÍ§·ํÒ§Ò¹ÃÙ»·Ã§ä¢‹·Õ่໚¹ÁԵáѺÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ ·ํÒ¨Ò¡ÇÑÊ´Ø·Õ่໚¹ äÁŒ·Ñ้§ËÅѧ «Ö่§¼ÙŒÍ͡Ẻ䴌áçºÑ¹´ÒÅ㨨ҡ¤ÇÒÁàª×่Í·Õ่Ç‹Ò äÁ‹Ç‹Ò¨Ð ¡Õ่Ì͡Õ่¾Ñ¹»‚ Á¹ØÉ ¡็äÁ‹ÊÒÁÒö˹աÒþÖ่§¾Ô§¸ÃÃÁªÒµÔä´Œ ÊํÒËÃѺ â¤Ã§ÊÃŒ Ò §àÃ× Í ä¢‹ ÂÑ ¡ É ÁÕ ÃÙ » Ẻà´Õ Â Ç¡Ñ º ¡ÒÃÊÃŒ Ò §àÃ× Í â´ÂºÃÔ à dz ´Œ Ò ¹¢Œ Ò §¨ÐÁÕ » Ãе٠Êํ Ò ËÃÑ º ໚ ¹ ·Ò§à¢Œ Ò -ÍÍ¡áÅÐ㪌 ¨ Í´à·Õ  º·‹ Ò àÃ× Í ´Œ Ò ¹º¹¨ÐÁÕ ª ‹ Í §ËÅÑ § ¤ÒÃÙ » ǧ¡ÅÁãËŒ á ʧᴴʋ Í §à¢Œ Ò ÁÒâ´Â¡ÃÐáÊ ä¿¿‡Ò·Õ่㪌ÀÒÂã¹¹Ñ้¹ÁÒ¨Ò¡¾Åѧ§Ò¹áʧÍҷԵ ·Ñ้§ËÁ´ (¢ŒÍÁÙŨҡ http//www.mtpclub.com)

03

98 Energy#68_p98-99_iMac5.indd 98

04 Iphone 5 “Earth Case”

“Earth Case” ÀÒÂ㵌ª×่ÍáºÃ¹´ Luxa2 ¼ÅÔµ¨Ò¡ÇÑÊ´ØÃÕä«à¤ÔŠ໚ ¹ ÁÔ µ õ‹ Í ÊÔ่ § áÇ´ÅŒ Í Á ÁÕ ¨Ø ´ à´‹ ¹ ¤× Í ÁÕ ¹ํ้ Ò Ë¹Ñ ¡ àºÒ àËÁÒÐÁ× Í ´ŒÒ¹ã¹à¤ÊºØ´ŒÇ¼ŒÒÊÑ¡ËÅÒ´ ª‹Ç¡ѹ¡ÃÐá·¡ »‡Í§¡Ñ¹ÊÔ่§Ê¡»Ã¡ áÅÐÃÍ¢մ¢‹Ç¹º¹Ë¹ŒÒ¨Í ÁÕÊÒ¤Ōͧ¢ŒÍÁ×Íà¤ÊᵋÅдŒÒ¹¨ÐÁÕ ¡ÒÃàÂ็ º ·Õ่ » ÃÐ³Õ µ ÃÇÁ·Ñ้ § ÁÕ ¡ ÒÃÍ͡Ẻ´Œ Ç Âá¹Ç¤Ô ´ ÃÑ ¡ É â Å¡ ÍÕ¡´ŒÇ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://smallroomgadget.com)

July 2014 6/21/2557 BE 4:06 PM


“Water Bench” ÁŒÒ¹Ñ่§ ª‹ÇÂà¡็º¡Ñ¡¹ํ้Ò

05

“Flash Drive” ÃÑ¡É âÅ¡

Water Bench Í͡Ẻâ´Â Mars Architects â´Â¹ํ Ò àÍÒ ¾ÅÒʵԡ·Õ่ÃÕä«à¤ÔŨҡᷧ¤ ¹ํ้ÒÁÒ¢Ö้¹Ãٻ໚¹ÁŒÒ¹Ñ่§ ·Ñ้§Âѧ໚¹ÁŒÒ¹Ñ่§ à¾×่ Í ¤ÅÒÂàÁ×่ Í Âã¹¾×้ ¹ ·Õ่ Ê Ò¸ÒóР¢³Ðà´Õ Â Ç¡Ñ ¹ ¡็ Ê ÒÁÒöª‹ Ç Â ¡Ñ¡à¡็º¹ํÒ้ áÅÐÁÕ¡ÒÃÍ͡ẺÀÒÂ㹢ͧÁŒÒ¹Ñ§่ ãˌ໚¹ª‹Í§¡Åǧ à¾×Í่ 㪌 à¡็º¡Ñ¡¹ํÒ้ ½¹·Õµ ่ ¡Å§ÁÒ¼‹Ò¹Ã͵Ðà¢็ºº¹¾×¹ ้ ¼ÔǢͧ·Õ¹ ่ §Ñ่ 䴌͡ Õ ´ŒÇ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http//www.creativemove.com)

06

µÑ Ç ä´Ã ¿ ·ํ Ò ¨Ò¡ÂÒ§·Õ่ ä Á‹ à »š ¹ ¾Ô É µ‹ Í ÊÔ่ § áÇ´ÅŒ Í Á Í͡Ẻâ´Â «Ù©Õ «Ùà»Íà ʵÒà ÊÒǪÒÇ䵌ËÇѹ áÅШÔÁÁÕ่ ¹Ñ¡ÇÒ´ÀÒ¾ªÒÇ䵌ËÇѹ â´ÂµÑÇËÑǢͧµÑÇ¡Òà µÙ¹·Õ่໚¹ÃÙ»âÅ¡¹Ñ้¹¨Ð໚¹µÑÇ USB äÇŒàÊÕº 㪌§Ò¹¡Ñº¾Íà µ USB 2.0 ¹Í¡¨Ò¡¹Õ้ÂѧÁÕÀÒ¾¡Òà µÙ¹à¤Å×่͹äËÇ ·Õ่ºÑ¹·Ö¡ÍÂÙ‹ã¹µÑÇä´Ã ¿ à¾×่͵͡Âํ้Ò¶Ö§¤ÇÒÁÊํÒ¤Ñޢͧ¡ÒÃÍÃØÃÑ¡É ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http//www.quickpcextreme.com)

07

Gigs 2 Go á¿Åªä´Ã¿ŠÊํÒÃͧẺ©Õ¡

â´ÂÃÙ»Åѡɳ ¢Í§ Gigs 2 Go ÁÒã¹ÃٻẺ¢Í§ËպˋͷÕ่¼ÅÔµ ¨Ò¡¡ÃдÒɼ‹Ò¹¡ÒÃÃÕä«à¤ÔÅÁÒáŌǫÖ่§¤Ø³ÊÒÁÒö©Õ¡ÍÍ¡ÁÒ à»š¹á¿Åªä´Ã¿Šà¾×่Í㪌§Ò¹ä´ŒáººµÑ´áº‹§¢Ò·ѹ·Õ¶Ö§ 4 Íѹ ·Ñ้§¹Õ้ Gigs 2 Go ¨ÐÁÕãËŒàÅ×Í¡·Ñ้§ÃØ‹¹¤ÇÒÁ¨Ø 1GB, 8GB áÅÐ 16 GB µÒÁÅํҴѺ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.techxcite.com/)

¾ÃÁÃÑ¡É âÅ¡ ·ํÒ¨Ò¡àÈɼŒÒÂÕ¹Ê

¾ÃÁà¡Ž æ ¼× ¹ ¹Õ้ ·ํ Ò ÁÒ¨Ò¡àÈɼŒ Ò ÂÕ ¹ Ê ·Õ่ à ËÅ× Í ã¹äŹ ¡ ÒüÅÔ µ ¢Í§¡Ò§à¡§ÂÕ¹Ê ª×่ʹѧÍ‹ҧ “Nudie” ÊÑÞªÒµÔÊÇÕà´¹ ໚¹¡ÒùํÒ ¼ŒÒÂÕ¹Ê ÁҵѴ໚¹àÊŒ¹áÅÐàÂ็ºµÔ´¡Ñ¹·Ñ้§¼×¹´ŒÇ´ŒÒ·Õ่ÁÕÊÕÊѹµ‹Ò§¡Ñ¹ ·ํÒãËŒ¾ÃÁᵋÅм׹ÁÕÅѡɳзÕ่â´´à´‹¹äÁ‹àËÁ×͹¡Ñ¹ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.forfur.com)

08 July 2014 99

Energy#68_p98-99_iMac5.indd 99

6/21/2557 BE 4:06 PM


Green 4U อภัสรา วัลลิภผล

“¼È.´Ã.ÊÔ§Ë ÍÔ¹·ÃªÙâµ” ÍÒ¨Òàʶһ˜µÂ Ï Á.à¡ÉµÃ ¹Ñ¡Í͡ẺÃÑ¡É âÅ¡

“¼È.´Ã.ÊÔ§Ë ÍÔ¹·ÃªÙâµ” ÍÒ¨ÒळÐʶһ˜µÂ¡ÃÃÁÈÒʵà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà¡ÉµÃÈÒʵà áÅмٌ¡‹ÍµÑ้§ºÃÔÉÑ· OSISU ¨ํÒ¡Ñ´ ໚¹ÍÕ¡ ¤¹Ë¹Ö่§·Õ่¹Í¡¨Ò¡¨Ð໚¹ÍÒ¨ÒàÊ͹㹤³Ðʶһ˜µÂ Ï áÅŒÇÍÒ¨ÒàÂѧ໚¹¹Ñ¡Í͡Ẻà¾×่ÍÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁµÑǧ ·Õ่·ํÒà¿Íà ¹Ôà¨Íà Ẻ “Green Design” ¤×Í ¡ÒùํҢͧàËÅ×Í㪌ÁÒ·ํÒãˌ໚¹ÊÔ่§¢Í§ÁÕ¤‹ÒÍÕ¡¤ÃÑ้§¹Ö§

ผศ.ดร.สิงห เลาถึงจุดเริม่ ตนของการทําเฟอรนเิ จอร แบบ “Green Design” วา จุดเริม่ ตนมี 2 อยาง คือ ในเชิงธุรกิจ กับ เชิงการศึกษา ซึ่งใน ตอนแรกเลยผมรับออกแบบงานสถาปนิก ทั่วไป แตผมสนใจเรื่องการออกแบบอาคาร ทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม โดยในชวงนัน้ เมือง ไทยเนนเรื่องการประหยัดพลังงานเปนหลัก การใชพลังงานแสงธรรมชาติตา ง ๆ ผมก็เลย เริ่มสงสัยวา อาคารที่ประหยัดพลังงานที่ใช แสงจากธรรมชาตินนั้ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม จริง ๆ หรือเปลา ถาจะทําใหประหยัดพลังงาน จริง ๆ ตองอาศัยอะไรเปนหลักในการประหยัด พลังงาน ซึง่ ตามความจริงแลวอาคารจะทําให ประหยัดพลังงานไดนั้นสวนหนึ่งจะตองมา จากวัสดุที่นํามาใชตางหาก แตสวนใหญเรา มักมองหามและบางครั้งอาจจะลืมใสใจใน เรือ่ งของวัสดุไป

ผศ.ดร.สิงห อินทรชูโต

100 Energy#68_p100_iMac5.indd 100

ผมเริม่ ทําธุรกิจขึน้ ในป 2005 และไดกอ ตัง้ บริษทั OSISU จํากัด ขึน้ ในป 2006 ในชวงแรกเริม่ มี เฟอรนเิ จอรอยูไ มถงึ 40 ชิน้ สวนใหญจะเปนเฟอรนเิ จอรทที่ าํ จากเศษไมสกั ไมมะคา ไมอดั และเศษเหล็ก และหลังจากนัน้ จะเปนเศษจากโรงงานอุตสาหกรรม โดยผมไดแบงเศษวัสดุออกเปน 3 กลุม คือ กลุม ที่ 1 ขยะจากการกอสราง กลุม ที่ 2 ขยะโรงงาน พวกเศษวัสดุจากโรงงาน และกลุม ที่ 3 กลุม ขยะทีม่ อี ยูใ นปจจุบนั เรียกวา ขยะที่ไดจากชุมชน เรียกไดวา ตอนนีเ้ ราครบทัง้ 3 กลุม แลว สําหรับสินคาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมทีค่ นสนใจ และ ซือ้ เยอะทีส่ ดุ ในขณะนี้ ถาเปนคนไทยก็ มักชอบเฟอรนเิ จอรจากเศษไม คนตางชาติชอบเฟอรนเิ จอรทมี่ าจากวัสดุแปลก ๆ หนาตาแปลก ๆ เชน สินคาทีท่ าํ จากกากกาแฟ ถุงนํา้ เกลือ ถุงลางไต ซึง่ ตอนนีเ้ ราจะทําทัง้ 3 แบบไปพรอม ๆ กันเลย ราคาเริม่ ตนของสินคาอยูท ี่ 35 บาท และจะมีสนิ คาพวกกระเปาใสเศษสตางคทที่ าํ จาก ยางในรถยนต ทําจากถุงนํา้ ยาลางไต อายุการใชงานนัน้ ขึน้ อยูก บั วัสดุทใี่ ชทาํ สุดทายอาจารยไดฝากถึงทานผูอ า นในการเลือกสินคาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมวา “ของทุกอยาง ไมเกีย่ วกับวาจะถูกหรือแพง ผมคิดวาทรัพยากรในโลกนีม้ นั เหลือนอยมาก เชน ปลาขนาดใหญ ในทะเลตอนนีถ้ กู จับไปแลว 99% นัน่ หมายความวาทรัพยากรในธรรมชาติทเี่ ราเคยมีอยูใ นอดีต มันเหลือนิดเดียว เพราะฉะนั้นคนรุนใหมตองหาวิธีการใชทรัพยากรที่ถูกกระทําออกมาแลว ถูกสกัดออกมาแลว เพราะวาพวกเรา อยางผม และรุน พอแม ปูยา ตายาย เอาไปใชหมดแลว จึงทําใหรนุ หลังจากนีต้ องใชของที่เหลือ ๆ จากพวกเราทิง้ ขวางนีล่ ะ โดยเอาของทีอ่ ยูใ นเมือง นํากลับเอามาใชใหได ยังไงตองฝากใหคนรุนใหมโปรดคิดถึงการเอาของที่อยูรอบตัวมาใช แลวเรื่องจะถูกหรือแพงนั้นจะเปนประเด็นรอง เพราะในยุคนี้คุณไมมีสิทธิที่จะเลือกวาแพง หรือถูกแลว พวกเราทําลายไปเยอะแลวครับ ”

July 2014 6/21/2557 BE 4:09 PM


Energy#68_p101_iMac5.pdf

1

6/25/2557 BE

10:38 AM


Energy Gossip กองบรรณาธิการ

สมเปนผูบริ หาร คิวทองจริงๆ สําหรับ 2 บอสใหญ “พนม ควรสถาพร” และ “อภิสิทธิ รุ จิเ กียรติกําจร” แหงบมจ. เอเชีย กรีน เอน เ นอจี หรื อ AGE ทีเ่ ลนอัดตารางดูงาน ดานธุรกิจพลังงาน ทัง้ ในและตางประเทศ ลาสุดแอบซุม เงียบ บินไปดูงานที่เกาหลีใต ไมรูวาแอบไป ดู ง านเกี่ ย วกั บ ไบโอแมสหรื อ เปล า พนม ควรสถาพร เพราะเปนพลังงานทดแทนที่มีความ ตองการสูงในเกาหลีใตอยูในขณะนี้ ทุม เทขนาดนีไ้ มตอ งบอกก็รวู า อนาคตของ AGE จะโดดเดนในวงการธุรกิจพลังงานอยางไร มิหนําซํา้ ยิง่ มีสองผูบ ริหารทีเ่ คมีตรงกัน ในเรือ่ งการทํางานขนาดนี้ดวยแลว บอกไดคําเดียววา AGE ยังโลดแลนในวงการพลังงานอีกนาน ถื อ ว า ประสบความ สํ า เร็ จ เป น อย า งยิ่ ง สํ า ห รั บ โ ค ร ง ก า ร “พลังคิด สะกิดโลก” ของ สํานักงานนโยบาย และแผนพลังงาน (สนพ.) ถ า เป น ละครก็ เ ป น ละครที่มีเรตติ้งดี เพราะไดรับการตอบรับจากโรงเรียน สถานศึกษา เขารวมโครงการจํานวนมาก แตละโรงเรียนก็ทําผลงานประหยัด พลังงานไดตามมาตรฐานที่กําหนดไว ซึ่งปจจุบันก็มีหลายโรงเรียน ที่ ไ ด รั บ รางวั ล ระดั บ จั ง หวั ด และผ า นเข า รอบในระดั บ ภู มิ ภ าค กวา 152 โรงเรียนเพื่อชิงชัย ระดับภูมิภาค และ ระดับประเทศ สูเสนทางการเปนแชมปประเทศตอไป หลังจากประชุมหารือเรือ่ งปฏิรปู พลังงาน และปรับโครงสรางพลังงานกันนานกวา 7 ชัว่ โมง เมือ่ วันที่ 20 มิ.ย. 57 ทีผ่ า นมา พล.อ.อ.ประจิน จัน่ ตอง ผูบ ญ ั ชาการ ทหารอากาศ (ผบ.ทอ.) ในฐานะรอง หัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ฝายเศรษฐกิจ บอกวาแนวทาง พล.อ.อ.ประจิน จัน่ ตอง การปฏิรปู พลังงานทีเ่ ปนประโยชนนนั้ จะมีความชัดเจนภายในสิน้ เดือน มิ.ย. 57 นีแ้ นนอน สวนการปรับ โครงสรางพลังงานทั้งระบบเพื่อใหเกิดความเปนธรรมและประโยชน สู ง สุ ด จะมี ค วามชั ด เจนใน 3-6 เดื อ นข า งหน า โดยอาจตั้ ง คณะกรรมการรวม 3 ฝาย ซึ่ง ประกอบดวย ภาครั ฐ เอกชน และภาคประชาชนเขามารวมพิจารณาดวย ก็ตอ งติดตามดูกนั ตอไปวา การปฏิรปู พลังงานและปรับโครงสรางพลังงานจะออกหมูห รือจา 102 Energy#68_p102_iMac5.indd 102

ไม แ ปลกใจเลยที่ ช  ว งนี้ เ ห็ น เสี่ย... “สมโภชน อาหุนัย” CEO บมจ.พลั ง งานบริ สุ ท ธิ์ (EA) หนาตาสดใส...ก็แหมๆๆ ธุรกิจพลังงานทดแทนกําลังไป ไดสวย รับรายไดจากโครงการ โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย จังหวัดนครสวรรค เขามาอยาง ตอเนื่อง สงผลใหนักลงทุนแห สมโภชน อาหุนัย เขาลงทุน ดันราคาหุน พุง กระฉูด เกื อบเท า ตั ว ในช ว งเวลาไม กี่เ ดื อน... เป นใครก็อ ารมณดีเนอ ะ แอบปลื้มใจแทนผูถือหุนจริงๆๆ ในยุคของ คณะรักษา ความสงบแหงชาติ (คสช.) ยุคของการปฏิรปู พลังงาน ผูบริหารหลายคนหรือ แมแตข  า ราชการที่ มี ชื่อเปนคณะกรรมการ ดร.ปานปรีย พหิทธานุกร ใน ปตท. ตองยอมหลีกทาง ให คสช. ไดเขามาบริหารจัดการเพื่อวางแผนปฏิรูปพลังงานกัน แมแต ดร.ปานปรีย พหิทธานุกร ก็ตองยอมยื่ น ใบลาออกจาก ตํ า แหน งประธานบอร ด ปตท. เช น กั น เพื่ อเปด ทางใหกับ คสช. เข า มาปฏิ รู ป พลั ง งานตามนโยบายโดย ดร.ปานปรีย ก็อ อกมา ปฏิ เ สธว า ไม ได โ ดนกดดั น ให ลาออก แตเปนการตัดสินใจลาออก เองเพื่อเปดทางให คสช.ปฏิรูปพลังงานไดสะดวก.....แตก็ไมรูในใจ ดร.ปานปรีย คิดอะไรอยู...อิอิ แวะเวียนนั่งเรือบินเหินฟา ไปไกล เพื่อไปยังสนามบิน ในตัวจังหวัดทีไ่ มคอ ยนาคบ สักเทาไหร เพราะ “ติดตรัง” มาตลอดอย า ง “กระบี่ ” เพือ่ รวมสัมมนาและเรียนรู การเตรียมความพรอมของ โรงไฟฟาภาคใตและหนวยงานที่เกี่ยวของตอวิกฤตการหยุดจายกาซ “JDA” ทีห่ ลายคนเปนหวง งานนีท้ า น ผูช ว ยผูว า การผลิตไฟฟา 3 “นายพล คงเสือ” ยืนยันเปนมั่นเปนเหมาะวา ไฟฟาเพียงพออยาง แนนอน แตกแ็ อบมีแซวสักเล็กนอยวา “ยังไงเสีย... ชวงเวลาทีด่ บู อลโลก กันอยูนั้น ก็อยากใหแอบเดินไปปดไฟเพิ่มสักบานละดวงแลวกัน” เผื่อจะลดการใชไฟฟาไดในอีกระดับหนึ่งครับผม !!!

July 2014 6/25/2557 BE 10:39 AM


Energy#68_p103_iMac5.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/25/2557 BE

9:15 PM


Energy Movement กรีนภัทร์

เซเว่น อีเลฟเว่น เปิดตัวร้านประหยัดพลังงานแห่งแรกของเมืองไทย

เอสเอ็มอีแบงก์ ผนึกก�ำลังพันธมิตร 21 หน่วยงาน ช่วย SMEs ไทย

คุณ สุวิทย์ กิ่งแก้ว รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส บมจ.ซีพี ออลล์ พร้อมด้วย คุณวิเชียร จึงวิโรจน์ รองกรรมการผู้จัดการ และ คุณอ�ำพา ยงพิศาลภพ รองกรรมการผู้จัดการ บมจ.ซีพี ออลล์ เปิดตัวร้านเซเว่น อีเลฟเว่นต้นแบบประหยัดพลังงานแห่งแรกของไทย ทีผ่ า่ นการรับรองอาคารตามเกณฑ์ประเมินระดับสูงสุด แพลทตินมั่ (Platinum) จากสถาบันอาคารเขียวไทย นับเป็นร้านค้าปลีกแห่งแรก ของเมืองไทย ณ ร้านเซเว่นอีเลฟเว่น สาขาธาราสแควร์ ถ.แจ้งวัฒนะ เมือ่ เร็วๆ นี้

เมื่อเร็ว ๆ นี้ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย (เอสเอ็มอีแบงก์) จัดพิธีลงนามความร่วมมือ และการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการ “สินเชื่อเพื่อสนับสนุน ผู้ประกอบการตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม” โดย ดร.วิฑรู ย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธาน ในพิธี พร้อมด้วย คุณปาริฉัตร เหล่าธีระศิริวงศ์ รักษาการกรรมการ ผู้จัดการ และ พันธมิตร 21 หน่วยงานร่วมลงนาม เพื่อช่วยเหลือ ด้านการเงิน และการพัฒนาปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การ พัฒนาขีดความสามารถผูป้ ระกอบการ SMEs ไทย ณ ส�ำนักงานใหญ่ SME Bank Tower

ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดตัวกองทุนใหม่ เชิญนักลงทุนไทยลงทุนในหุ้นเกาหลี

คุณสุภคั ศิวะรักษ์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน) Mr. Kim Mi Seob กรรมการ ผูจ้ ดั การอาวุโสด้านธุรกิจต่างประเทศ Mirae Asset Global Investments คุณจุมพล สายมาลา ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บลจ. ซีไอเอ็มบี-พรินซิเพิล จ�ำกัด ร่วมพิธลี งนามบันทึกข้อตกลง (MOU) ระหว่าง ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน) กับ Mirae Asset Global Investments ซึง่ เป็นบริษทั บริหาร สินทรัพย์ใหญ่อนั ดับที่ 1 ของประเทศเกาหลีใต้ พร้อมทัง้ เปิดตัวกองทุน “CPAM Korea Equity Strategic Fund (CPAM KEQ)” โดยมีปจั จัย สนับสนุนจากความเป็นผูน้ ำ� ด้านเทคโนโลยี ภาคการส่งออกขยายตัวตาม เศรษฐกิ จ โลก นั ก ลงทุ น ที่ ส นใจสามารถจองซื้ อ และขอหนั ง สื อ ได้ ตัง้ แต่วนั ที่ 1-8 เม.ย. 2557 ที่ ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย ทุกสาขาทัว่ ประเทศ สอบถามรายละเอีย ดเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท หลัก ทรัพ ย์จัดการกองทุน ซีไอเอ็มบี-พรินซิเพิล โทร. 0 - 2686 - 9595 www.cimb-principal.com

104 Energy#68_p104-105_iMac5.indd 104

มิตรผล ไบโอ-เพาเวอร์ ผ่านการรับรอง มาตรฐานระบบการจัดการพลังงาน ISO 50001

มิ ต รผล ไบโอ-เพาเวอร์ ได้ รั บ การรั บ รองมาตรฐานระบบ การจัดการพลังงาน ISO 50001 จากบริษัท ลอยด์ส รีจิสเตอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งมอบให้แก่ โรงไฟฟ้า ชีวมวลมิตรผล ไบโอ-เพาเวอร์ ซึง่ เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน แห่งแรกในประเทศไทยที่ได้รับมาตรฐานดังกล่าว อันแสดงให้เห็น ถึงความมุ่งมั่นของ มิตรผล ไบโอ-เพาเวอร์ ในการบริหารจัดการ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และมุ่งส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน อย่างยั่งยืน

July 2014 6/24/2557 BE 10:31 PM


มูลนิธิไทยรักษ์ป่า จัดโครงการ “อนุรักษ์ไม้หมายเมือง ครั้งที่ 7”

ปตท. ได้เป็น 1 ใน 180 บริษัทยักษ์ใหญ่ Forbes Global 2000

มูลนิธิไทยรักษ์ป่า องค์กรสาธารณกุศลที่บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุ๊ป ก่อตั้งและสนับสนุนการด�ำเนินงานเพื่อ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์ปา่ ต้นน�ำ้ น�ำโดย คุณสุวพันธ์ ฉ�ำ่ เฉลิม กรรมการ และเหรัญญิกมูลนิธิไทยรักษ์ป่า และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่บัญชี เอ็กโก กรุ๊ป ผนึกก�ำลังหน่วยงานราชการในจังหวัดเชียงใหม่ ชุมชนบ้านต้นเกว๋น และองค์กรเครือข่ายด้านการอนุรักษ์ ร่วมกัน ปลู ก “ต้ น มะเกว๋น ” หรือ ต้น ตะขบป่า ต้น ไม้ เ อกลั ษณ์ ท ้ องถิ่ น ของชุมชนบ้านต้นเกว๋น ต�ำบลหนองควาย อ�ำเภอหางดง จังหวัด เชียงใหม่

ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) เผยว่า ปตท. ได้รับการ จัดอันดับเป็นล�ำดับที่ 180 จาก 2,000 บริษัทชั้นน�ำทั่วโลกที่มี ขนาดใหญ่ที่สุด ประจ�ำปี 2014 และยังเป็นบริษัทเพียงแห่งเดียว ในไทยที่ได้รับการพิจารณาอยู่ใน 500 อันดับแรก จากการส�ำรวจ Forbes Global 2000 โดยนิตยสารฟอร์บ ซึ่งเป็นนิตยสารการเงิน และการธนาคารชั้นน�ำของโลก

กฟผ. เปิดตัวโครงการปลูกป่า 1 หมื่นไร่

ฟอร์ด ตอกย�้ำความเป็นผู้น�ำ กับงาน “Caring for Tomorrow”

ดร.คุรจุ ติ นาครทรรพ รองปลัดกระทรวงพลังงาน คุณอุกฤช พึง่ โสภา ผูว้ า่ ราชการจังหวัดน่าน ร่วมด้วย คุณสมยศ ธีระวงศ์สกุล รองผูว้ า่ การผลิตไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และบริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมเปิดโครงการ ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพือ่ ถวายเป็นราชสักการะในโอกาสทีท่ รงเจริญ พระชนมายุครบ 60 พรรษา ในปี 2558 ด้วยการปลูกป่าในพืน้ ทีป่ า่ ต้นน�ำ้ จังหวัดน่านจ�ำนวน 1 หมืน่ ไร่ ภายในปี 2558 ณ บ้านน�ำ้ ปูน อ�ำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน ร่วมสร้างเมืองน่านน่าอยู่ คูป่ า่ ต้นน�ำ้

เมือ่ เร็ว ๆ นี้ ฟอร์ด ประเทศไทย จัดงาน “Caring for Tomorrow ความปลอดภัยเพื่อคนที่คุณรัก” เป็นนิทรรศการที่รวบรวมเอา เทคโนโลยีด้านความปลอดภัยของฟอร์ด ที่ถูกออกแบบมาเพื่อ สร้างประสบการณ์ทดี่ ขี นึ้ บนท้องถนน ช่วยผูข้ บั ขีภ่ ายใต้สถานการณ์ คับขัน และที่ส�ำคัญในราคาคุณเป็นเจ้าของได้ เทคโนโลยีต่าง ๆ ที่น�ำมาแสดงในงานนี้มีทั้งเทคโนโลยีที่มีอยู่แล้วในปัจจุบันรวมทั้ง เทคโนโลยีในอนาคตอีกด้วย

July 2014 105 Energy#68_p104-105_iMac5.indd 105

6/24/2557 BE 10:31 PM


Event Calendar ภิรายุ เจียมศุภกิตต์

นิทรรศการ งานประชุม และอบรมสัมมนา ด้านพลังงานที่น่าสนใจ ประจ�ำเดือน กรกฎาคม 2557

3 กรกฏาคม 2557 ชื่องาน : อบรมหลักสูตร “แนวทางการตรวจวัด ประเมินสภาพแวดล้อม และสภาพแวดล้อมที่มีสารเคมีในการท�ำงาน” รายละเอียด : Siamsafety ได้จัดอบรมหลักสูตรนี้ขึ้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมได้ทราบ แนวทางในการตรวจวัดและประเมินระดับความร้อน แสงสว่าง ระดับเสียง และระดับไอระเหยของสารเคมีว่ามีค่าที่ไม่เกินค่ามาตรฐาน ตามที่กฎหมายก�ำหนด รวมทั้งสามารถตรวจสอบการท�ำงานของบริษัท หน่วยงานที่เข้ามาตรวจวัดและประเมินผลสภาพแวดล้อมให้บริษัท ผู้เข้าอบรมได้ สถานที่ : โรงแรม ปริ๊นส์ตั้น พาร์ค ดินแดง เวลา : 8.30 - 16.00 น. ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : โทร. 086-304-3676, Email : admin@siamsafety.com 7 – 11 กรกฎาคม 2557 ชื่องาน : โครงการฝึกอบรม “ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2004” (แบบหลักสูตร 5 วัน) รายละเอียด : ISO 14001:2004 เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมและลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากองค์กร ที่อาจส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร ดังนั้นการนําระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14001:2004 มาใช้จะก่อให้เกิดประโยชน์กับองค์กรในการลด ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับวัตถุดิบ พลังงาน และการบําบัดมลพิษภายในโรงงาน สถานที่ : มหาวิทยาลัยมหิด คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล ห้องประชุมรองศาสตราจารย์ (พิเศษ) เล็ก มอญเจริญ อาคาร 4 ชั้น 2 (4218) ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายงานวิจัยและบริการวิชาการ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โทร. 0-2441-5000 ต่อ 2110, E-mail : vilinthorn.xut@mahidol.ac.th, เว็บไซต์ : www.en.mahidol.ac.th 18 กรกฎาคม 2557 ชื่องาน : สัมมนาเรื่อง “การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม” รายละเอียด : เพื่อจัดการปัญหาการใช้พลังงาน ควบคู่ไปกับการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้ จากผู้เชี่ยวชาญโดยตรง รวมทั้งได้แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ร่วมกัน และน�ำไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงงานให้ดียิ่งขึ้น สถานที่ : โรงแรม โกลเด้น ซิตี้ จังหวัดระยอง เวลา : 8.00 – 17.00 น. ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : บริษทั ฟอร์เวิรด์ พับบลิคเคชัน่ จ�ำกัด โทร. 086-309-9861, แฟกซ์ 0-2171-5165, E-mail : yuthana.editor@gmail.com 18-20 กรกฎาคม 2557 ชื่องาน : “มหกรรมทีวีรักษ์โลก 360 องศา 2014 Save The World Expo” ครั้งที่ 2 ภายใต้แนวคิด “Learn to Live in The World of Change” รายละเอียด : ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทางธรรมชาติและ คุณภาพชีวิตของประชากรโลกเป็นอย่างมาก จึงมีความจ�ำเป็นที่ต้องเร่งสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้เกิดขึ้นในทุกภาคส่วน ทั้งนี้ภายในงาน มีแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งเหล่าดาราจิตอาสารักษ์โลกเข้าร่วมงานอีกด้วย สถานที่ : ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ห้องเพลนารี ฮอลล์ 1 2 3 ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : www.tv360expo.com 21 – 25 กรกฎาคม 2557 ชื่องาน : อบรบหลักสูตร “เทคนิคการพัฒนาด้านก๊าซชีวภาพ” รายละเอียด : สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดหลักสูตรเจาะลึกพื้นฐานด้านก๊าซชีวภาพขึ้น เพื่อให้ทราบถึงคุณสมบัติและเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ พร้อมทั้งหลักการทํางานของระบบบําบัดน�้ำเสียแบบไร้อากาศ ที่สามารถผลิต ก๊าซชีวภาพจากน�้ำเสียตามโรงงานอุตสาหกรรมและฟาร์มปศุสัตว์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สถานที่ : โรงแรมบุษราคัม จังหวัดขอนแก่น ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : คุณอรณิชชา อาชีวะ / คุณมาลาริน ประจําดี โทร. 084-176-4960 106 Energy#68_p106_iMac5.indd 106

July 2014 6/24/2557 BE 1:37 AM




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.