Wordpress Lession (Thai)

Page 1

WordPress 101 รู้ทุกพื้นฐานการใช้งาน WordPress


2

WordPress 101 อานุภาพ ปัญญาศรี พูดคุยกันได้ที่ Website: Facebook:

slatong.com https://www.facebook.com/slatong

สงวนลิขสิทธิ์ © 2014 โดย อานุภาพ ปัญญาศรี สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามนําส่วนหนึ่งส่วนใดในหนังสือ WordPress 101 ไปทําซ้ํา หรือเผยแพร่ในรูปแบบใดๆ หรือด้วยวิธีอื่นใด ไม่ ว่าจะเป็นทางอิเลคทรอนิกส์ ทางกลไก รวมทั้งการถ่ายเอกสาร การบันทึก หรือการเก็บข้อมูลและระบบกู้คืนข้อมูลใดๆ โดยไม่ได้ รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้แต่ง

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


3

สารบัญ เนื้อหา การติดตั้ง WORDPRESS บน LOCALHOST ด้วยโปรแกรม XAMPP ........................................... 5 รู ้จกั DASHBOARD ................................................................................................... 14 POST และ PAGE คืออะไร? .......................................................................................... 22 การใช้งาน WORDPRESS EDITOR ............................................................................... 23 การสร้างและแก้ไข POST ............................................................................................... 27 การใช้งาน CATEGORIES & TAGS ............................................................................... 38 การสร้างและแก้ไข PAGE ............................................................................................... 42 การใส่ รูปภาพใน POST & PAGE ................................................................................... 44 การสร้าง GALLERY รู ปภาพ ........................................................................................... 48 การใส่ วิดีโอใน POST ................................................................................................... 50 การใช้งาน MEDIA ...................................................................................................... 51 การใช้งานและจัดการ COMMENTS ................................................................................. 55 การสร้าง LINK ........................................................................................................... 57 การเปลี่ยน THEME (ธีม) ............................................................................................... 59 การใช้งานหน้า WIDGETS ............................................................................................ 67 การสร้าง MENU ........................................................................................................ 68 การใช้งาน PLUGINS (ปลัก๊ อิน) ........................................................................................ 73 การจัดการและควบคุม USERS (ผูใ้ ช้งาน) .............................................................................. 77 การใช้งาน TOOLS (เครื่ องมือต่างๆ) .................................................................................... 80 SETTINGS แก้ไขและปรับแต่งการตั้งค่าทัว่ ไป ........................................................................ 89 ทิ้งท้าย ..................................................................................................................... 97

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


4

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


5

การติดตั้ง WordPress บน Localhost ด้วยโปรแกรม XAMPP

สิ่งที่ต้องมีก่อนการติดตั้ง WordPress คือ - ติดตั้งโปรแกรมจําลองโฮสต์ ในที่นี่จะใช้ XAMPP o ลิงก์สําหรับดาวน์โหลด XAMPP : https://www.apachefriends.org/index.html - ไฟล์ WordPress โหลดได้จาก WordPress.org o ลิงก์สําหรับดาวน์โหลด WordPress : http://wordpress.org/download/

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


6

วิธีสร้างฐานข้อมูลและผู้ใช้งานสําหรับใช้งาน WordPress - หลังการติดตั้งโปรแกรม ให้เปิดโปรแกรม XAMPP เลือก Start ที่ Apache และ MySQL

- พิมพ์ Localhost ลงในเบราว์เซอร์ จะเข้าสู่หน้าควบคุมฐานข้อมูล

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


7

- เลือก phpMyAdmin

- คลิก Database เพื่อเข้าสู่การสร้างฐานข้อมูล

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


8

- ตั้งชื่อฐานข้อมูล คลิก Create

- คลิกเข้าสู่ฐานข้อมูลที่เราสร้าง จากนั้นเลือก Privileges เพื่อสร้างผู้ใช้งาน

- คลิกที่ Add user เพื่อเพิ่มผู้ใช้งาน

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


9

- ใส่ข้อมูลผูใ้ ช้ (ซึ่งเราเองนี่แหละคือผู้ใช้)

- เลือก Check All เพื่อให้สิทธิ์แก่ผู้ใช้ทั้งหมด จากนั้นคลิก Go เป็นการเสร็จสิ้นการสร้างผู้ใช้งาน

- กลับไปแตกไฟล์ WordPress ที่ดาวน์โหลดมา

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


10

- หลังแตกไฟล์แล้วจะได้โฟลเดอร์หนึ่งมา ให้ตั้งชื่อโฟลเดอร์ให้ตรงกับชื่อฐานข้อมูลที่เราสร้าง (ในตัวอย่างฐานข้อมูลคือ wordpress ดังนั้นโฟลเดอร์ก็ต้องเป็น wordpress)

- ไปที่ Drive C หรือที่ที่เราติดตั้ง XAMPP ไว้ คลิกเข้าไปที่ XAMPP จากนั้นคลิกเข้าไปที่ htdocs จากนั้นคัดลอก โฟลเดอร์ไฟล์ WordPress ที่เราแตกไฟล์และทําการเปลี่ยนชื่อไป มาวางในโฟลเดอร์ htdocs

- กลับไปที่เบราว์เซอร์ พิมพ์ localhost ตามด้วยฐานข้อมูล ก็จะได้เป็น localhost/wordpress ลงในเบราว์เซอร์ - คลิก Create a Configuration File

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


11

- คลิก Let’s go!

- จากนั้นใส่ฐานข้อมูลที่เราสร้างขึ้นมาในตอนแรก ใส่ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านทีเ่ ราสร้างขึ้นในฐานข้อมูล ที่เหลือข้ามไป คลิก submit

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


12

- คลิก Run the install เพื่อติดตั้ง

- ใส่รายละเอียดและข้อมูล

o Site Title – ชื่อเว็บไซต์ o Username – ชื่อผู้ใช้สําหรับ การลงชื่อเข้าใช้เว็บไซต์ o Password – รหัสผ่าน o Your Email – อีเมล o Privacy – ต้องการให้ search engine เข้าถึงเนื้อหาในเว็บไซต์หรือไม่

เมื่อใส่รายละเอียดครบแล้ว คลิกที่ Install WordPress

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


13

- การติดตั้งเสร็จสมบูรณ์!

- คลิก Log In เพื่อลงชื่อเข้าใช้งานได้ทันที

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


14

รู้จัก Dashboard - Dashboard – เป็นหน้าแรกที่เจอเมื่อเข้าสู่ระบบ

- Dashboard มีพื้นที่หลักอยู่สามส่วน o Toolbar – แถบเครื่องมืออยู่ด้านบนสุด o Main Navigation Menu – เมนูหลักอยู่ด้านซ้าย o Main Work Area - เป็นพื้นที่ทํางานหลักในบริเวณพื้นที่ที่เหลือ

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


15

- เมื่อเข้าสู่ระบบครั้งแรก จะพบกล่องข้อความต้อนรับ พร้อมลิงก์สําหรับปรับแต่งเว็บไซต์ หรือเขียน Post และอื่นๆได้ ทันที ถ้าไม่ต้องการใช้งานกล่องนี้ให้คลิก “Dismiss” เพื่อยกเลิกการใช้งาน

- Toolbar จะแสดงอยู่ด้านบนสุดเสมอ o ลิงก์ต่างๆ เกี่ยวกับ WordPress

o เมื่อวางเมาส์เหนือชื่อเว็บไซต์จะมีลิงก์ “Visit Site” สามารถคลิกเข้าไปเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเราได้

o ปุ่ม Updates จะปรากฏเมื่อมีการแจ้งเตือนให้อัพเดทข้อมูล คลิกเพื่อไปหน้า Updates

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


16

o ดูรายชื่อ Comments

o ลิงก์สร้าง Post, Media, Page และ User

o Toolbar จะอยู่ตําแหน่งเดิมเสมอ ทําให้เราสามารถแก้ไข Post ที่เราอ่านได้ทันที หรือสร้าง Post ใหม่ได้ทันที o ด้านมุมขวาบนของ Toolbar เป็นลิงก์สําหรับเข้าไปแก้ไขข้อมูลส่วนตัวหรือออกจากระบบ

o Screen Options & Help - อยู่บริเวณด้านล่างชื่อผู้ใช้บริเวณมุมขวาบน

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


17

o “Help” – อธิบายข้อมูลการใช้งานทั่วไปใน Dashboard

o Screen Options - ใช้สําหรับปรับการใช้งาน Dashboard โดยการคลิ๊กที่ช่องสี่เหลี่ยมจะเป็นการปิด/เปิด กล่องควบคุมต่างๆ

-

Main Navigation Menu o เมื่อนําเมาส์ไปวางเหนือเมนูหลักจะปรากฏเมนูรองสําหรับจัดการและควบคุมอื่นๆ

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


18

o ถ้าต้องการพื้นที่ในการทํางานมากขึ้น สามารถย่อเมนูลงได้โดยการกดที่ปุ่ม “Collapse Menu” ด้านล่าง เมนู จะแสดงเป็นสัญลักษณ์หลังจากที่เรากดย่อเมนู

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


19

- การจัดการ Dashboard o วางเมาส์เหนือไตเติลบาร์ เมาส์จะเปลี่ยนสัญลักษณ์ ทําให้สามารถลากย้ายกล่องควบคุมได้ คลิกแล้วลากไปวาง ช่องที่เป็นเส้นประตามต้องการ

o คลิกย่อหรือขยายกล่องควบคุมได้โดยคลิกทีส่ ามเหลี่ยมมุมขวาบนของกล่องควบคุม หรือคลิกย่อ/ขยายที่แถบ ชื่อได้เลยทันที

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


20

- การใช้งานกล่องควบคุม o At a Glance - แสดงจํานวน Posts, Pages และ Comments ทั้งหมดบนเว็บไซต์ของเรา และแจ้งว่าเรา กําลังใช้ WordPress เวอร์ชันใดและใช้ Theme (ธีม) ใดอยู่

o Activity - แสดง Post ตามตารางเวลา พร้อมแสดง Comments ล่าสุด เราสามารถจัดการความเห็นเหล่านั้น ได้

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


21

o WordPress News - รวบรวมข่าวสารล่าสุดจากโปรเจ็คทางการของเวิร์ดเพรส WordPress Planet รวมไปถึง ข่าวสารของ Plugins ยอดนิยมและล่าสุด

o Quick Draft - ร่าง Post ที่ต้องการได้ทันทีและสามารถกลับมาเขียนให้เสร็จได้ทีหลัง โดยพิมพ์ Title เนื้อหา คลิก “Save Draft” ก็จะปรากฏรายชื่อ Post ของเราด้านล่างของกล่องควบคุม เมื่อเราคลิกที่ Post ก็จะนํา เราเข้าไปยังหน้า WordPress editor สําหรับเขียน Post ให้เสร็จสมบูรณ์

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


22

Post และ Page คืออะไร? - Page – คือหน้าที่ใช้แสดงสําหรับเนื้อหาที่ไม่เปลี่ยนแปลงหรือนานๆครั้งจะเปลี่ยน เช่น About หรือ Contact Us ซึ่ง เราสามารถนํา Page มาใช้เป็นเมนูในหน้าเว็บไซต์ของเราได้ o ตัวอย่าง About Page

- Post - ก็คือบทความหรือเนื้อหาที่เราเผยแพร่ให้ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์อ่าน Post จะแสดงเรียงตามวันเวลาที่เราเขียน เรา สามารถจัดหมวดหมู่ให้กับ Post ได้ o ตัวอย่าง Post ที่มีชื่อ Image alignment

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


23

การใช้งาน WordPress Editor - การเปิดใช้งาน WordPress Editor o ไปที่เมนู Posts เลือก Add New เพื่อเขียน Post

o ไปที่เมนู Page เลือก Add New เพื่อเขียน Page

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


24

- การใช้งาน WordPress Editor คล้ายกับ Dashboard เราสามารถปิด/เปิดกล่องควบคุมโดยเลือกที่ “Screen Options” รวมไปถึงการย่อ/ขยายกล่องควบคุมได้เช่นกัน

- การใช้งาน WordPress Editor คล้ายๆกับการใช้งาน Microsoft Word มีคําสั่งในการเขียน Post ดังนี้

Bold – ตัวหนา

Italic - ตัวเอียง

Strikethrough – ขีดฆ่า

Bulleted List - รายชื่อแบบข้อ

Numbered List – รายชื่อตัวเลข

Blockquote

Horizontal Line – เส้นคั่น

Align Left - จัดตัวอักษรชิดซ้าย

Align Center – จัดตัวอักษรจัดกลาง

Align Right - จัดตัวอักษรชิดขวา

Insert/edit Link - เพิ่ม/แก้ไขลิงก์

Remove Link - เอาลิงก์ออก

Insert Read More Tag – ใส่ลิงก์อ่านเพิ่มเติม

Toolbar Toggle - ปิด/เปิดเครื่องมือเพิ่มเติม

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


25

Distraction Free Writing - เขียน Post แบบอิสระ ขยายเต็มจอ เลือกรูปแบบตัวอักษร Underline – ขีดเส้นใต้ Justify - จัดตัวอักษรหัวท้ายให้เท่ากันทุกบรรทัด Text Color – เลือกสีตัวอักษร

Paste as text - วางเป็นตัวอักษร

Clear Formatting – ล้างรูปแบบ

Special character - ตัวอักษรพิเศษ

Decrease Indent – ลดย่อหน้า

Increase Indent - ใส่ย่อหน้า

Undo – ย้อนกลับ

Redo - กลับไปทําใหม่

Keyboard Shortcuts - ปุ่มลัดคีย์บอร์ด

- ด้านขวาบนของ WordPress Editor มีแถบใช้งานสองแถบ คือ o Visual - เราเขียน Post แบบไหนก็จะแสดงในหน้าเว็บไซต์แบบนั้น

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


26

o Text - คลิกแถบนี้ จะเห็นว่า WordPress ได้ใส่คําสั่งแท็ก HTML ให้เราโดยอัตโนมัติ ซึ่งเราสามารถใช้งาน แท็กได้โดยคลุมดําส่วนที่เราต้องการใช้แท็ก html เสร็จแล้วเลือกคําสั่งแท็ก HTML ที่ต้องการใช้งาน ในส่วนนี้ จะเหมาะสําหรับผู้ที่มีความรูด้ ้านการเขียน HTML

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


27

การสร้างและแก้ไข Post - สามารถคลิกสร้าง Post ใหม่ได้จาก Toolbar ด้านบน เข้าสู่ WordPress editor สําหรับเขียน Post ได้ทันที

- หรือคลิกที่ Posts เลือก “Add New”

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


28

- ใส่ชื่อเรื่อง เนื้อหา

- WordPress จะสร้างลิงก์สําหรับ Post ให้เราโดยอัตโนมัติ ซึ่งเรียกว่า Permalink ซึ่งเป็น URL ของ Post เราสามารถ เปลี่ยนชื่อของ URL ได้ตามต้องการ

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


29

- Categories (หมวดหมู่) o กําหนด “Category” ให้กับ Post หรือสร้าง Category ใหม่ เราสามารถกําหนด Post ให้อยู่ใน Category ได้มากกว่าหนึ่ง Category โดยเลือกจากแถบ “All Categories (ทั้งหมด)” หรือ “Most Used (ใช้บ่อย ที่สุด)”

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


30

- Tags (แท็ก/ป้ายกํากับ) o ใส่ “Tags” เพื่อทําให้การจัดหมวดหมู่ของ Post ได้ดีขึ้น Tags เป็นเหมือนคีย์เวิร์ดของ Post ถ้าเราคลิกลิงก์ Tags ในหน้าเว็บไซต์ จะเป็นการเรียกแสดง Post ที่มี Tags เหมือนกัน o เลือก Tags ที่ใช้มากที่สุดโดยคลิกที่ “Choose from the most used tags”

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


31

- Featured Image o ใส่ Featured Image สําหรับ Post

- Format (รูปแบบ)

เราสามารถกําหนดให้ Post แต่ละ Post แสดงผลตามรูปแบบที่ต่างกันออกไป โดยปกติแล้วเวลาเราสร้าง Post จะเป็น การสร้าง Standard Post แต่เราสามารถเลือก Format อื่นสําหรับ Post ได้ รายชื่อตัวอย่าง Formats o o o o o o o o

Standard Aside Image Video Audio Quote Link Gallery

– -

มาตรฐาน Aside ภาพ วีดีโอ เสียง Quote ลิงก์ แกลลอรี่รูปภาพ WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


32

- Post Format จะแสดงผลต่างกันขึ้นอยู่กับ Theme ที่เราใช้งาน ขึ้นอยู่กับนักพัฒนา Theme ว่าได้ออกแบบ Post Format ไว้หรือไม่ - ตัวอย่าง Post Formats

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


33

- กล่องควบคุม Publish

Save Draft เพื่อกลับมาแก้ไขให้เรียบร้อยอีกครั้งได้ Preview คลิกเพื่อดูว่า Post แสดงผลแบบใดในหน้าเว็บไซต์ คลิกที่ “Edit” เพื่อย่อ/ขยายคําสั่ง Status  Pending Review : กําลังรอการตรวจสอบจากผู้ดูแลทีส่ ามารถ Publish ได้  Drafted : Post ที่ยังไม่พร้อมเผยแพร่ และรอการแก้ไข o Visibility กําหนดให้ Post แสดงผลดังนี้  Public ทุกคนสามารถอ่าน Post นี้ได้ การคลิก “Stick this post to the front page” จะเป็นการ บังคับให้ Post แสดงด้านบนสุดเสมอในหน้าแสดง Post ทั้งหมดของเรา แม้ว่าจะมี Post ใหม่กว่าก็ ตาม  Password Protected ต้องใส่รหัสผ่าน สําหรับการที่จะเข้าไปอ่าน Post นี้ได้  Private แสดง Post นี้สําหรับผู้ดูแล นักเขียน หรือผู้ดูแลคนอื่นๆของเว็บไซต์เท่านั้น ผูใ้ ช้งานทั่วไปไม่ สามารถเห็น Post นี้ได้  * Post จะถูกกําหนดให้เป็น Public โดยมาตรฐาน o Published กําหนดให้ Publish ทันทีหรือกําหนดวันเวลาที่จะ Publish ได้ o o o o

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


34

- เมื่อเขียน Post เสร็จเรียบร้อยดีแล้วให้คลิก “Publish” - ดู Post ที่ Publish ได้ทันที่โดยคลิกที่ “View post”

การแก้ไข Post - คลิกเมนูหลัก “All Posts” จะเห็นรายชื่อและข้อมูล Posts ทั้งหมด ดูรายชื่อ Post หน้าอื่นโดยคลิกที่ pagination ด้านบน หรือค้นหา Post ในกล่องค้นหา

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


35

- วางเมาส์เหนือ Post จะมีลิงก์คําสั่งต่างๆปรากฏขึ้น

o Edit คลิกเพื่อแก้ไขโดยใช้ WordPress editor o Quick Edit เปลี่ยนข้อมูล Posts แต่ละ Posts เช่น

        

เปลี่ยนชื่อ Posts เปลี่ยนวันที่ ใส่รหัสผ่าน เพิ่มหมวดหมู่อื่นๆ เพิ่ม Tags เปิดหรือปิด Comments อนุญาต Pings เปลี่ยน Status ปักหมุด Post ให้อยู่ด้านบนสุดเสมอ WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


36

- แก้ไข Post ได้หลายๆ Post ในคราวเดียว โดยคลิกที่ช่องสี่เหลี่ยมหน้า Post เพื่อเลือก Post ที่ต้องการแก้ไข เลือก “Edit” ตรงเมนู “Bulk Actions” คลิก “Apply”

o สามารถเปลี่ยน Category, Tags, Author หรืออื่นๆ สําหรับ Post พร้อมกันในครั้งเดียว o สําหรับการเอา Post ออกจากการแก้ไขพร้อมกัน คลิกทีก่ ากบาทหน้ารายชื่อ Post คลิก Update

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


37

- เราสามารถลบ Post ได้โดยการคลิกที่ “Trash” หรือลบ Posts ทั้งหมดผ่านคําสั่ง Bulk Actions

- เราสามารถกู้คนื Post ที่ลบกลับมาได้ภายใน 30 วัน โดยไปที่ “Trash” ด้านบน เพื่อดูรายชื่อ Post ที่โดนลบ ถ้าหาก ต้องการกู้คืนให้คลิกที่ “Restore” เราสามารถกู้คืนพร้อมกันทั้งหมดผ่านคําสั่ง Bulk Actions ได้เช่นกัน

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


38

การใช้งาน Categories & Tags - Categories การจัด Post ลงใน Categories ทําให้เราสามารถจัดการและค้นหา Post ได้ง่ายขึ้น ช่วยให้ผู้ใช้สามารถ ค้นหาว่ามี Post ใดบ้างในแต่ละ Categories o คลิกเมนู “ Posts ” แล้วเลือก “Categories”

o ตั้งชื่อ Category จากนั้นคลิก “Add New Category” o เรายังสามารถเลือกให้ Category ที่เราสร้าง อยู่ใน Categories หลัก โดยเลือกจาก “Parent” Post ของ Category ที่อยู่ใน Parent Category จะถือว่าเป็น Post ใน Parent Category ด้วยเช่นกัน

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


39

o นําเมาส์วางเหนือ Category จะมีคําสั่ง Edit, Quick Edit, Delete และเราสามารถดูรายชื่อ Posts ทีอ่ ยู่ใน Category นั้นด้วยการคลิก View o สามารถลบ Categories พร้อมกันโดยคลิกช่องสี่เหลี่ยมหน้ารายชื่อ Category เลือก “Delete” จากเมนู Bulk Actions คลิก “Apply” เพื่อลบ

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


40

- Tags เป็นเหมือนคีย์เวิร์ดของ Post ถ้าเราคลิกลิงก์ Tags ในหน้าเว็บไซต์ จะเป็นการเรียกแสดง Post ที่มี Tags เหมือนกัน o คลิกที่ “Tags” เพื่อเข้าสู่หน้าจัดการ Tags

o ด้านบนซ้ายของหน้าจะแสดงว่าเว็บเรามี Tags ใดบ้าง o เพิม่ Tags โดยพิมพ์ชื่อ Tags คลิกที่ “Add New Tag”

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


41

o มีคําสั่ง Edit, Quick Edit, Delete และ View ได้เหมือนกับหมวดหมู่ o เมือ่ คลิกที่ “View” จะแสดงรายชื่อ Post ทั้งหมดที่มี Tags นั้นๆ o ค้นหา Tags ที่เราต้องการในช่อง “Search Tags”

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


42

การสร้างและแก้ไข Page - Page เป็นหน้าที่มีเนื้อหาที่ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลงมากนัก ยกตัวอย่างเช่น หน้าติดต่อเรา หรือหน้าเกี่ยวกับเรา - ส่วน Post เป็นบทความที่เรา Publish ซึ่งแสดงเนื้อหาตามลําดับเวลา - Page ไม่ได้แสดงเนื้อหาตามลําดับวันเวลา และแสดงแยกออกมาจาก Post - การใช้งานต่างกัน Page ไม่สามารถกําหนด Categories หรือ Tags - สามารถสร้าง Page ได้จากเมนู + New ที่ Toolbar หรือคลิกเมนู “Pages” เลือก “Add New” - คําสั่งการใช้งานต่างๆจะเหมือนกับการสร้าง Posts

- ดูรายชื่อ Pages ทั้งหมด คลิกที่ All Pages สามารถแก้ไขพร้อมกันโดยใช้คําสั่ง “Edit” หรือลบพร้อมกันทั้งหมด โดยใช้ คําสั่ง “Move to Trash” ในเมนู “Bulk Actions” เราสามารถเลือกแก้ไข Author, Parent, Template, ปิดหรือ เปิด Comments, กําหนด Status

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


43

- ส่วนใหญ่แล้วใช้คําสั่งเหมือนกันกับที่ใช้ในการจัดการ Posts

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


44

การใส่รูปภาพใน Post & Page - ในหน้า WordPress Editor คลิก “Add Media” เพื่อเปิดตัวอัปโหลดไฟล์

- จะพบหน้าต่างขึ้นมา เมนูหลักด้านซ้ายประกอบไปด้วย

o Insert Media – เพิ่มไฟล์ที่ต้องการอัปโหลด o Create Gallery - สร้างแกลลอรีรูปภาพ

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


45

o o o o

Create Audio Playlist - เพิ่มไฟล์เสียง Create Video Playlist - เพิ่มวีดีโอ Set Featured Image - ตั้ง Featured Image Insert from URL – เพิ่มภาพโดยใช้ URL

- เราสามารถเลือกอัปโหลดไฟล์ใหม่ หรือเลือกไฟล์ที่เราอัปโหลดไว้อยู่แล้วใน “Media Library” - การอัปโหลดไฟล์ o ดึงภาพที่ต้องการอัปโหลดวางลงในหน้าต่างอัปโหลด ภาพจะอัปโหลดลงไปอัตโนมัติ - เมื่ออัปโหลดไฟล์แล้ว ไฟล์ของเราจะเก็บใน Media Library เราจะสามารถแก้ไขรายละเอียดของภาพได้ ดังนี้ o Title – ชื่อภาพ o Caption – คําบรรยายใต้ภาพ o Alt Text – คําบรรยายภาพสําหรับผู้มีปญ ั หาทางประสาทสัมผัส ให้ใช้งานผ่านซอฟแวร์ Screen Reader o Description – รายละเอียดของภาพ o Alignment - เราสามารถจัดภาพได้ โดยจัดให้อยู่ทางซ้าย ขวา หรือกลาง o Link to - ตั้งให้ไฟล์ลิงค์ไปทีท่ ี่เราต้องการ  Media File – ไปยังไฟล์โดยตรง  Attachment Page – ไปยังหน้าแสดงไฟล์แนบ  Custom URL - ลิงก์ไป URL ที่เราต้องการ o เราสามารถเลือกขนาดของภาพได้  Thumbnail - ขนาดเล็ก  Medium - ขนาดกลาง  Large - ขนาดใหญ่  Full Size - ภาพเต็มขนาด o คลิก “Insert into Post ” o ภาพจะถูกใส่ลงไปใน Post และ จะมี Caption ด้านล่างของภาพ ตามที่เรากําหนด สามารถคลิกที่ Caption เพื่อแก้ไขได้ทนั ที

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


46

o คลิกที่ภาพ จะมีสัญลักษณ์ดนิ สอหรือปากกา คลิกเพื่อเข้าไปแก้ไข o คลิกที่ภาพ คลิกสัญลักษณ์กากบาท จะเป็นการลบภาพออกจาก Post

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


47

- เมื่อเข้าสู่หน้าแก้ไขจะแก้ไขไฟล์ได้ดังนี้

Caption - แก้ไข Caption Alternative Text - แก้ไข Alternative Text Alignment เราสามารถจัดภาพได้ โดยจัดให้อยู่ทางซ้าย ขวา หรือกลาง เราสามารถเลือกขนาดของภาพได้  Thumbnail ขนาดเล็ก  Medium ขนาดกลาง  Large ขนาดใหญ่  Full Size ภาพเต็มขนาด o Link to ตั้งให้ไฟล์ลิงค์ไปที่ทเี่ ราต้องการ  Media File ลิงก์ไปไฟล์โดยตรง  Attachment Page หน้าแสดงไฟล์แนบ  Custom URL ลิงก์ไป URL ที่เราต้องการ

o o o o

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


48

การสร้าง Gallery รูปภาพ o คลิกที่ Add Media เลือก “Create Gallery” และเลือกภาพได้จํานวนที่ต้องการ o คลิก “Create a new gallery”

o o o o o

สามารถเพิ่มภาพเข้าไปใน gallery ได้ เราสามารถกลับลําดับการเรียงภาพโดยคลิกที่ “Reverse Order” หรือคลิกลากภาพเพื่อเรียงลําดับภาพได้ เลือกให้ลิงก์ไปที่ที่เราต้องการ เลือกจํานวนแถวการแสดงภาพ คลิก “Insert Gallery”

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


49

o คลิกที่ Gallery จะมีสัญลักษณ์ดินสอหรือปากกาเพื่อแก้ไข Gallery หรือคลิกกากบาทเพื่อลบ Gallery ออก จาก Post

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


50

การใส่วิดีโอใน Post - คัดลอก URL ของวีดีโอ วาง URL ลงใน WordPress editor จากนั้น WordPress จะแสดงตัวอย่างของวีดีโอทันที ซึ่งเป็น ความสามารถใหม่ของ WordPress 4.0

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


51

การใช้งาน Media - เข้าสู่หน้า Media คลิก Media ที่เมนูหลัก - เราสามารถใช้ Media Library สําหรับเพิ่มไฟล์ แก้ไข ลบ หรือดูไฟล์ของเราได้ ในบทเรียนนี้จะใช้งานหน้า Media แบบตาราง ซึ่งเป็นหน้า Media แบบใหม่ของ WordPress 4.0 (ซึ่งการใช้งานแบบรายชื่อหรือ List View นั้นการใช้งานจะคล้ายๆกับการจัดการ Posts, Pages หรือ Categories)

- เพิ่มไฟล์โดยการลากไฟล์ที่ต้องการวางลงในช่องอัปโหลด ไฟล์จะอัปโหลดโดยอัตโนมัติ

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


52

- การแก้ไขไฟล์ คลิกที่ไฟล์ แล้วเลือก “Edit More Details” เพื่อแก้ไขข้อมูลต่างๆของไฟล์นั้นๆ - ถ้าหากไฟล์เป็นไฟล์วีดีโอ เราสามารถโหลดไฟล์นั้นมาเก็บได้ - ถ้าหากไฟล์นั้นเป็นไฟล์ MP3 เราสามารถกดฟังไฟล์นั้นได้

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


53

- การแก้ไขภาพ คลิกภาพที่ต้องการแก้ไข คลิกที่ “Edit More Details” เพื่อแก้ไขทั้งข้อมูลและขนาดของภาพ

- หน้าแก้ไขภาพ

Crop - ตัดภาพหลังจากลากขนาดที่ต้องการตัดได้แล้ว Rotate Counterเ – Clockwise - หมุนทวนเข็มนาฬิกา Rotate Clockwise - หมุนตามเข็มนาฬิกา Flip Vertically – พลิกแนวตั้ง

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


54

Flip Horizontally – พลิกแนวนอน Undo - ย้อนกลับ Redo – กลับไปทําใหม่

- คลิก Crop เพื่อตัดภาพให้ได้ขนาดที่ต้องการ คลิก Save จะได้ขนาดภาพที่เราตัด - สามารถกู้คืนภาพเดิมได้ตลอดเวลา โดยคลิกที่ “Edit Image” เพื่อกลับไปหน้าแก้ไขภาพอีกครั้ง คลิก “Restore Original Image” คลิกที่ “Restore Image” จะได้ภาพเดิมของเรากลับคืนมา

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


55

การใช้งานและจัดการ Comments - ในกล่อง Activity ใน Dashboard จะแจ้ง Comments ล่าสุดให้เราทราบ - เราสามารถเลือก Approve/Unapprove (อนุมัติ/ไม่อนุมัติ), Reply (ตอบกลับ), Edit (แก้ไข), แจ้งว่าเป็น Spam หรือ ลบโดยคลิก Trash

- คลิก # เพื่ออ่าน Comment ใน Post

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


56

- ในส่วนเมนูหลัก Comments เราสามารถ Approve, Reply, Quick Edit, Edit, แจ้งว่าเป็น Spam หรือลบ Comments ผ่าน Bulk Actions พร้อมกันได้หลาย Comments

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


57

การสร้าง Link - คลุมดําคําที่ต้องการให้เป็นลิงก์ใน WordPress Editor - คลิก Insert/edit link

- จะปรากฏหน้าต่างขึ้นมา ให้ใส่ URL ที่เราต้องการลิงก์ไป ใส่ Title ที่จะแสดงเวลานําเมาส์ไปวางค้างไว้ - คลิกช่องสี่เหลีย่ มหน้า Open link in a new window/tab เพื่อเลือกที่จะให้เปิดลิงก์ในหน้าต่างใหม่หรือแท็บใหม่ - ลิงก์ไปยังเนื้อหาที่มีอยู่ในเว็บไซต์ของเราคลิกที่ “Or link to existing content” - พิมพ์ค้นหาเนื้อหาที่เราต้องการได้ - คลิก “Add Link”

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


58

- เราสามารถทําให้รูปภาพเป็นลิงก์ได้โดย o เลือกแก้ไขไฟล์ภาพ

o เลือก Link To ไปที่ “Custom URL” ใส่ URL ที่เราต้องการให้ลิงก์ไป

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


59

การเปลี่ยน Theme (ธีม) - ธีม คือรูปแบบหรือดีไซน์ของเว็บไซต์เรา ซึ่งทําให้เว็บไซต์เรามีความแตกต่างจากเว็บไซต์อื่นๆ ซึ่งเราสามารถติดตั้งธีม ใหม่ๆได้ตลอดตามที่เราต้องการ - คลิก “Appearance” ที่เมนูหลัก เข้าไปยังหน้าจัดการ Theme

- คลิก “Theme Details” เพื่อเข้าไปอ่านรายละเอียด

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


60

- หน้าแสดงรายละเอียดของธีม

- คลิก “Live Preview” เพื่อดูตัวอย่างของธีมก่อนการเปิดใช้งาน - ปรับแต่ง Theme ได้ตามความสามารถที่ Theme สนับสนุน - แก้ไขส่วนต่างๆตามที่เราต้องการ ซึ่งการปรับแต่งหรือแก้ไขนี้จะต่างกันไปแต่ละ Theme ขึ้นอยู่กับนักพัฒนา Theme นั้นๆ ถ้าปรับแต่งจนพอใจรูปแบบของ Theme ที่เลือก คลิก “Save & Activate” เพื่อใช้งาน

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


61

- การปรับแต่งธีมใน WordPress 4.0 จะเพิ่มส่วนของการแสดงตัวอย่างของ Widgets ที่เราเปิดใช้งานทันที คลิกที่ “Widgets”

- หน้าปรับแต่ง Widgets ซึ่งตําแหน่งการแสดงผลและตําแหน่งของ Widgets จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับธีมที่เราใช้งาน

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


62

- คลิก “Add a Widget” เข้าไปยังหน้าจัดการ Widgets และเพิ่ม Widget ที่เราต้องการ

การติดตั้ง Theme - ติดตั้ง Theme ใหม่ คลิกที่ “Add New”

- โดยเราสามารถเลือก Theme ตามตัวกรองที่มีอยู่ คือ o Featured - Theme พิเศษ o Popular - Theme ยอดนิยม o Latest - Theme พิเศษ

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


63

o Feature Filter - เลือก Theme โดยใช้ตัวกรอง

- หน้าแสดงผลการค้นหา Theme ตามลักษณะที่เลือกผ่าน Feature Filter

o Search Theme – ค้นหา Theme

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


64

- คลิก “Details & Preview” เพื่อดูรูปแบบ Theme ก่อนการติดตั้ง

- หน้าแสดงรายละเอียดและตัวอย่างเสมือนจริงของเว็บไซต์ o คลิกที่ “Install” เพื่อทําการติดตั้ง Theme

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


65

- แก้ไข Theme โดยคลิกที่เมนูรอง “Editor” เหมาะสําหรับผู้มีความรู้ด้านการเขียนโค๊ดที่ต้องการปรับแต่ง Theme

- เราสามารถติดตั้ง Theme ทีซ่ ื้อหรือโหลดมา ที่อยู่ในรูปแบบไฟล์ .zip คลิกที่ “Upload Theme”

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


66

- เลือกไฟล์ของธีมที่เราต้องการติดตั้ง (ธีมที่ติดตั้งต้องเป็นไฟล์ .zip)

- หลังการติดตั้งเราสามารถดู Live Preview หรือ Activate เพื่อเปิดใช้งาน Theme

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


67

การใช้งานหน้า Widgets - Widgets จะแตกต่างกันออกไปในแต่ละ Theme ขึ้นอยู่กับนักพัฒนา Theme - คลิก Widgets ที่เมนูหลักเพื่อเข้าใช้งานหน้า Widgets - ลาก Widgets ที่ต้องการลงในบริเวณกล่องสําหรับใส่ Widgets ตําแหน่งการแสดง Widgets ขึ้นอยู่กับ Theme - คลิกที่สามเหลีย่ มด้านขวาของ Widgets เพื่อแก้ไข - เปลี่ยนตําแหน่ง Widgets โดยการลากแล้ววางบริเวณที่ต้องการ - ลาก Widgets ที่ไม่ต้องการออกจากกล่องด้านข้างหลัก หรือ ตําแหน่งอื่น

- หรือถ้าต้องการหยุดใช้งาน Widgets แต่ยังต้องการเก็บค่าที่แก้ไขไว้ ให้ลาก “Widgets” ไปไว้ที่ส่วนของ “Inactive Widgets” บริเวณด้านล่างสุด

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


68

การสร้าง Menu - คลิกเมนูหลัก “Appearance” คลิกสร้างเมนูที่ “Menus” คลิก “Create a new menu”

- ตั้งชื่อเมนูตามต้องการ

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


69

- เลือกว่าจะเพิ่ม Page ใดลงในเมนู โดยคลิกช่องสี่เหลี่ยม คลิก “Add to menu”

- สร้างเมนูให้ลิงก์ไป URL ที่ต้องการ

- ทําให้ Category เป็นเมนู เมื่อคลิกเข้าไปใน Category ทีอ่ ยู่ในเมนูก็จะแสดง Posts ที่อยู่ใน Category นั้น

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


70

- เลือกว่าจะใช้เมนูบริเวณตําแหน่งใดบ้าง ตําแหน่งของเมนูขึ้นอยู่กับ Theme ที่เปิดใช้งาน

- หรือเลือกแสดงเมนูตามตําแหน่งได้ที่หน้า “Manage Locations”

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


71

- เปลี่ยนตําแหน่งเมนูได้โดยการลากแล้ววางเรียงลําดับเมนู - สร้างเมนูดรอปดาวน์ได้ โดยลากไปวางเข้าไปด้านขวาอีกชั้นหนึ่งของเมนูด้านบน (ในกรณีที่ Theme สนับสนุนเมนูดร อปดาวน์)

- คลิกที่สามเหลีย่ มด้านขวาเพื่อทําการแก้ไขหรือปรับแต่งเมนู

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


72

- เสร็จแล้วคลิก ”Save menu” - ตัวอย่างเมนูในหน้าเว็บไซต์

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


73

การใช้งาน Plugins (ปลั๊กอิน) - Plugins เป็น โปรแกรมเสริมชนิดหนึ่ง ที่จะเพิ่มความสามารถให้กับ Theme ของเรา ซึ่งเราจะติดตั้งเพื่อใช้งาน หรือไม่ ติดตั้งก็ได้ โดย Plugins ถูกออกแบบให้มคี วามสามารถเฉพาะอย่าง ซึ่งเป็นความสามารถเสริมที่ช่วยให้ Theme มี ความสามารถมากขึ้น - เข้าหน้าจัดการ Plugins ที่เมนูหลัก - เมนู “Installed Plugins” จะแสดงรายชื่อ Plugins ที่ติดตั้งอยู่แล้ว พร้อมแสดงรายละเอียดต่างๆ

- เพิ่ม Plugins คลิกที่ “Add New”

- ค้นหา Plugins โดยการพิมพ์ชื่อ หรือค้นหาโดยใช้ตัวกรองคล้ายกับการค้นหาธีม - ดูรายละเอียดเพิ่มเติมของ Plugins คลิก More Details - คลิก Install เพื่อติดตั้ง

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


74

- หน้า More Details

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


75

- หลังจากการติดตั้ง คลิก “Activate Plugin” เพื่อเปิดใช้งาน

- ลบ Plugins โดยคลิกที่ Delete

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


76

- หน้าลบ Plugins

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


77

การจัดการและควบคุม Users (ผู้ใช้งาน) - คลิก “Users” ที่เมนูหลัก เพือ่ เข้าใช้งานหน้าจัดการ Users - ในหน้ารายชื่อผู้ใช้งาน เราสามารถแก้ไข หรือลบผู้ใช้งาน หรือลบผู้ใช้งานพร้อมกันผ่านคําสั่ง Bulk Actions

- สถานะบทบาทของผู้ใช้งานมีดังนี้ o Administrator - ผู้ดูแล o Editor - ผู้เขียน แก้ไข และ เผยแพร่ Post ทั้งของตนเองและผู้อื่น o Author - ผู้เขียน แก้ไข และ เผยแพร่ Post ของตนเองเท่านั้น o Contributor - ผู้เขียนและจัดการ แต่ไม่สามารถ เผยแพร่ Post ได้ ได้แต่เขียนและรอให้ผู้ดูแลอนุมัติเท่านั้น o Subscriber - สามารถจัดการโปรไฟล์ตนเอง และอ่านเนื้อหาได้เท่านั้น - เมื่อคลิก Edit สามารถตั้งค่า User ตามลําดับได้ดังนี้ o Personal Options  Visual Editor  Disable the visual editor when writing - ยกเลิกแก้ไขเสมือนจริง ใช้ได้แค่ Text เท่านั้น  Admin Color Scheme – เปลี่ยนชุดสีการใช้งานของผู้ใช้งาน  Keyboard Shortcuts  Enable keyboard shortcuts for comment moderation – อนุญาตให้ใช้ปุ่มลัดในการ จัดการ comments  Toolbar  Show Toolbar when viewing site – แสดง Toolbar ขณะดูเว็บไซต์

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


78

o Name  Username - ชื่อผู้ใช้ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้  Role - เปลี่ยนบทบาทผู้ใช้งาน  First Name – ชื่อจริง  Last Name - นามสกุล  Nickname (required) – ชื่อเล่น (ต้องมี)  Display name publicly as – เปลี่ยนชื่อที่แสดงสาธารณะ o Contact Info  Email (required) – อีเมล (ต้องมี)  Website – เว็บไซต์ o About the user - ข้อมูลเกีย่ วกับผู้ใช้งาน  Biographical Info – ข้อมูลชีวประวัติผู้ใช้งาน  New Password – ตั้งรหัสผ่านใหม่  Repeat New Password – ป้อนรหัสผ่านใหม่อีกครั้ง - การเพิ่ม User o คลิก Add New

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


79

o ใส่รายละเอียดข้อมูลของ User ที่เราต้องการเพิ่ม

- แก้ไขโปรไฟล์ของเราเองได้เช่นกันโดยคลิกที่ “Your Profile” ในเมนูรอง ของเมนูหลัก Users

- แก้ไขโปรไฟล์ของเราเองโดยคลิกที่ “Edit My Profile” ด้านมุมขวาบนใน Toolbar

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


80

การใช้งาน Tools (เครื่องมือต่างๆ) - คลิก Tools ที่เมนูหลัก เพื่อใช้งานหน้า Tools - ใช้ “Press This” เก็บข้อมูล หรือ ภาพจากเว็บไซต์อื่นๆที่นา่ สนใจ เพื่อสร้าง Post ที่ต้องการ WordPress จะสร้างลิงก์ ใน Post ที่เราเขียนกลับไปยังเว็บไซต์ที่เป็นเจ้าของเนื้อหาโดยอัตโนมัติ

ตัวอย่างการใช้งาน Press This - คลุมดําบทความที่ต้องการคัดลอก

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


81

- ลาก Press This ไปวางตรงแถบชื่อของเว็บไซต์หรือบทความ

- จะมีกล่อง WordPress Editor ขึ้นมาสําหรับแก้ไขบทความ โดยข้างในจะมีบทความที่เราคลุมดําเพื่อคัดลอกไว้ และใน บทความนั้น WordPress จะสร้างลิงก์กลับไปยังบทความนั้นๆโดยอัตโนมัติ คลิก Publish เพื่อเผยแพร่บทความที่เรา ต้องการ

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


82

การ import (นําเข้า) และ Export (ส่งออก) เนื้อหา วิธีการนําเข้าเนื้อหาจาก WordPress โดยใช้งาน WordPress Importer - คลิก Import ในเมนูรองของเมนูหลัก Tools เลือกติดตั้งเครื่องมือนําเข้าเนื้อหาสําหรับ WordPress

- คลิก Install Now เพื่อติดตั้ง

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


83

- คลิกเปิดใช้งาน WordPress Importer

ก่อนที่เราจะนําเข้าเนื้อหาเราต้องมีไฟล์เนื้อหาก่อน - ค้นหาเนื้อหาสําหรับทดสอบ

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


84

- คลิกลิงก์เนื้อหาทดสอบ

- คัดลอกโค๊ดทั้งหมดเพื่อนํามาวางลงใน Code Editor หรือ Text Editor

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


85

- วางโค๊ดลงไปใน Code Editor หรือ Text Editor จากนั้นบันทึกไฟล์เป็นนามสกุล .xml

- กลับมายังหน้า WordPress Importer คลิกเลือกไฟล์ที่ต้องการนําเข้า

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


86

- เลือกไฟล์ .xml ที่บันทึกไว้ก่อนหน้า

- คลิกนําเข้าเนื้อหา

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


87

- สําหรับเนื้อหาทดสอบเราสามารถกําหนดให้นําเข้าผู้ใช้งานใหม่หรือมอบหมายให้ Posts ของผู้ใช้งานที่เราจะนําเข้าคน นั้นกลายเป็นบทความของผู้ใช้งานที่เราเลือก คลิก submit เพื่อตกลงนําเข้าเนื้อหา

- WordPress จะแสดงรายชื่อ Posts, Pages, และไฟล์อื่นๆว่านําเข้าได้สมบูรณ์หรือล้มเหลว

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


88

การ Export หรือส่งออกเนื้อหาเพื่อย้ายไปนําเข้าเว็บไซต์อื่น - เราสามารถส่งออกเนื้อหาของเราเพื่อนําเข้าเว็บไซต์อื่นเช่นกัน โดยเราจะได้ไฟล์นามสกุล .xml เพื่อใช้ WordPress Importer นําเข้าเนื้อหาแก่เว้บไซต์ที่เราต้องการ การส่งออกเนื้อหามีวิธีการดังนี้ - คลิก Export ในเมนูรองของเมนูหลัก Tools

o All content - บทความทั้งหมด จะเป็นการส่งออกทั้ง Posts, Pages, Comments และอื่นๆ o Posts – เลือกส่งออกเฉพาะ Posts  Categories - เลือกหมวดหมูท่ ี่ต้องการส่งออก  Author - เลือกผู้เขียนที่ต้องการส่งออก  Date range - เลือก Post ระหว่างช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง  Status - เลือก Post ตามสถานะ o Pages – เลือกส่งออกเฉพาะ Page  Author – เลือก Page ตามผูเ้ ขียน  Date range - เลือก Page ระหว่างช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง  Status - เลือก Page ตามสถานะ - ไฟล์เนื้อหาส่งออกของ WordPress นั้นเมือ่ โหลดมาจะได้เป็นไฟล์ .XML ซึ่งสามารถนําเข้าผ่านการใช้งาน WordPress Importer ในหน้า Import

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


89

Settings แก้ไขและปรับแต่งการตั้งค่าทั่วไป - General – ทั่วไป o Site Title – ชื่อเว็บไซต์ o Tagline – คําอธิบายเว็บไซต์ o WordPress Address (URL) – URL ของเว็บไซต์ o Site Address (URL) - URL ของเว็บไซต์ o E-mail Address – อีเมลหลัก o Membership  Anyone can register – ให้ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์สมัครสมาชิกได้ o New User Default Role – กําหนดบทบาทมาตรฐานของผู้เยี่ยมชมที่สมัครสมาชิก o Timezone – เลือกเขตเวลา o Date Format – เลือกรูปแบบการแสดงวัน เดือน ปี o Time Format – เลือกรูปแบบการแสดงเวลา o Week Starts On – เลือกวันแรกเริ่มของสัปดาห์

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


90

- Writing – การเขียน o Formatting  Convert emoticons like :-) and :-P - แปลงสัญลักษณ์อารมณ์เช่น :-) และ :-P ให้เป็นรูปภาพ แสดงอารมณ์  WordPress should correct invalidly nested XHTML automatically – WordPress แก้ไข Nested XHTML โดยอัตโนมัติ o Default Post Category – กําหนดหมวดหมู่มาตรฐานสําหรับการเขียน Post o Default Post Format – เลือก Format มาตรฐานสําหรับ Post o Post Via Email ตั้งค่าการเขียน Post ผ่านอีเมล (ผู้เขียนขอข้ามส่วนนี้ไปเพราะยุ่งยากสําหรับผู้เริ่มต้นใช้งาน) o Updates Services - บริการอัปเดท แจ้งเตือนเว็บไซต์บริการอัปเดทเมื่อเรา Publish Post ใหม่

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


91

- Reading – การอ่าน o Front page displays - เลือกหน้าแรกที่จะแสดง เป็น Post ล่าสุด หรือ Page เฉพาะที่เราต้องการ o Blog pages show at most – ต้องการแสดงจํานวน Posts ในหน้าแรกหรือหน้าแสดง Posts เท่าใด o Syndication feeds show the most recent – ต้องการแสดงจํานวน Post ล่าสุดเท่าใดใน Syndication feeds o For each article in a feed, show - แสดง Post ใน feed แบบแสดงข้อความเต็มหรือแบบย่อ o Search Engine Visibility  Discourage search engines from indexing this site – ไม่ต้องการให้ Search engine เข้าถึง เนื้อหาในเว็บไซต์

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


92

- Discussion – การสนทนาและแสดงความคิดเห็น o Default article settings  Attempt to notify any blogs linked to from the article – เตือนว่ามีบล็อกใดๆที่ลิงก์มาหา บทความในเว็บไซต์ของเรา  Allow link notifications from other blogs (pingbacks and trackbacks) – อนุญาตให้เตือนว่า มีลิงก์มาจากบล็อกอื่นๆ (pingbacks and trackbacks)  Allow people to post comments on new articles – อนุญาตให้ผเู้ ยี่ยมชมแสดงความคิดเห็น ในบทความใหม่ได้ o Other comment settings  Comment author must fill out name and e-mail – ผู้แสดงความเห็นต้องเขียนชื่อและอีเมล์  Users must be registered and logged in to comment - ผู้ใช้ต้องลงทะเบียนและเข้าสู่ระบบ ก่อนจะแสดงความเห็น  Automatically close comments on articles older than 14 days - ปิดการแสดงความเห็น ของบทความที่เก่ากว่า 14 วันโดยอัตโนมัติ  Enable threaded (nested) comments levels deep - เปิดใช้ threaded (nested) ระดับความ ลึกของความเห็น  Break comments into pages with 50 top level comments per page and the last/first page displayed by default – แสดงความเห็น 50 ความเห็นในแต่ละหน้า และให้แสดงหน้าแรก หรือหน้าสุดท้ายโดยมาตรฐาน  Comments should be displayed with the older/newer comments at the top of each page – แสดงความเห็นที่เก่ากว่าหรือใหม่กว่า o E-mail me whenever – ให้ส่งอีเมลหาเมือ่  Anyone posts a comment – มีคนแสดงความคิดเห็น  A comment is held for moderation – มีความคิดเห้นที่รอให้อนุมัติ o Before a comment appears – ก่อนความเห็นจะแสดง  Comment must be manually approved – ความเห็นต้องได้รับการอนุมัติ  Comment author must have a previously approved comment – ผู้แสดงความเห็นต้องเคย ได้รับการอนุมัติความเห็นมาก่อนหน้านี้

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


93

- Comment Moderation – การจัดการความเห็น

o ถ้าความเห็นมีคําเหล่านี้(ระบุลงกล่องข้อความด้านล่าง)ในเนื้อหา, ชื่อ, URL, อีเมล์ หรือ IP ความเห็นนั้นจะถูก เก็บไว้ในคิวรอการจัดการ คําหนึ่งคําสามารถจับคู่กับคําอื่นได้ ดังนั้น คําว่า “press” ก็จะถูกจับคู่กับคําว่า “WordPress” ด้วย - Comment Blacklist

o ถ้าความเห็นมีคําเหล่านี้(ระบุลงกล่องข้อความด้านล่าง)ในเนื้อหา, ชื่อ, URL, อีเมล์ หรือ IP ความเห็นนั้นจะถือ ว่าเป็นความเห็นสแปม คําหนึง่ คําสามารถจับคู่กับคําอื่นได้ ดังนั้น คําว่า “press” ก็จะถูกจับคู่กับคําว่า “WordPress” ด้วย

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


94

Avatars – รูปประจําตัว รูปประจําตัว เป็นรูปภาพที่ปรากฏอยู่ข้างๆ ชื่อของคุณ เมื่อคุณแสดงความคิดเห็นลงบนเว็บไซต์ที่เปิดให้แสดงรูปประจําตัวได้ - Avatar Display – ให้แสดงรูปประจําตัวหรือไม่ - Maximum Rating – การอันดับการรับชม o G — Suitable for all audiences – เหมาะสําหรับทุกวัย o PG — Possibly offensive, usually for audiences 13 and above – อาจมีเนื้อหาไม่เหมาะสม เหมาะ สําหรับผู้มีอายุ 13 ปีขึ้นไป o R — Intended for adult audiences above 17 - เหมาะสําหรับที่มอี ายุ 17 ปีขึ้นไป o X — Even more mature than above – เหมาะสําหรับผู้ที่บรรลุนิติภาวะแล้ว Default Avatar – เลือกรูปประจําตัวสําหรับผู้ใช้ที่ไม่มี avatar ของตัวเอง

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


95

- Media – ไฟล์สื่อ

o Image sizes – ตั้งค่าขนาดมาตรฐานของรูปภาพแต่ละขนาดเมื่ออัปโหลดลงใน Media Library  Thumbnail size – ภาพขนาด Thumbnail  Medium size - ภาพขนาดปานกลาง  Large size - ภาพขนาดใหญ่ o Uploading Files – การอัปโหลดไฟล์  Organize my uploads into month- and year-based folders - เลือกให้เรียงไฟล์ตามลําดับวัน เวลาที่เราอัพโหลดไฟล์ลง Media Library

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


96

- Permalinks – ลิงก์ URL

o Common Settings ตั้งค่ารูปแบบ URL สําหรับ Post หรือ Page  Default – ค่าเริ่มต้น  Day and name -วันและชื่อ  Month and name – เดือนและชื่อ  Numeric - จํานวนเลข  Post name – ชื่อ Post  Custom structure – แบบที่เราต้องการ o การใช้ชื่อ Post เป็น URL ที่ส่งผลดีต่อ SEO สําหรับเว็บไซต์เรา o Optional  ในส่วนนี้ ส่วนใหญ่แนะนําให้ใช้คา่ เริ่มต้น โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงอะไร

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


97

ทิ้งท้าย

ถึงตรงนี้ผมหวังว่าหลายๆคนก็คงมีพื้นฐานการใช้งาน WordPress ไปไม่น้อยแล้ว ถ้าหากหนังสือเล่มนี้มีข้อผิดพลาด ตรงไหน หรือหากผู้อ่านท่านใดที่ยังมีข้อสงสัยสามารถเข้ามาพูดคุยกันได้ทั้งทางเว็บไซต์และทาง Facebook ได้เลยครับ ยินดี ตอบทุกคําถามและทุกข้อสงสัยครับ ขอบคุณมากครับ, อานุภาพ ปัญญาศรี

Website: Facebook:

slatong.com https://www.facebook.com/slatong

WordPress 101 by SlaTong ‐ Anubhap Panyasri


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.