XXXX

Page 1

United Kingdom’s withdrawal from the European Union

Present by นางสาวปวีณา โล่ห์มหาเดช 6020224148

นางสาวอังคณา บุญพลอย 6020224154


Page 1 ความหมายของ Brexit สาเหตุที่สหราชอาณาจักรเสนอถอนตัวออกจากสหภาพยุโรป

Page 2

สารบัญ

การเจรจาข้อตกลง Brexit ระหว่างนายกรัฐมนตรีเทเรซา เมย์ และ EU

Page 3 ผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกหากเกิด Brexit

Page 7 ผลกระทบจากเหตุการณ์ Brexit ต่อภาคธุรกิจในสหราชอาณาจักร

Page 8 เงินเฟ้อที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว

Page 9 อัตราเงินเฟ้อที่รวมค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบ้าน CPIH

Page 10 ผลประโยชน์ของไทยที่มีโอกาสได้รับจากการเกิดเหตุการณ์ Brexit


ความหมายของ Brexit Brexit มาจากการรวมคำ�ว่า British + Exit คือ การประชามติออกจากการเป็นสมาชิกภาพ สหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร

สาเหตุที่สหราชอาณาจักรเสนอถอน ตัวออกจากสหภาพยุโรป

การกำ�เนิดของสหภาพยุโรป หรือ EU เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มประเทศ สมาชิกในยุโรปภายใต้กรอบเศรษฐกิจการค้าเสรี เป็นพัฒนาการของกลุ่มประเทศ เศรษฐกิจเสรี ที่ต้องการรวมกลุ่มการค้าให้มีความเข้มแข็งมีฐานที่กว้างขวาง และ ความเป็นหนึ่งเดียวกันของกลุ่มประชาคมโดยเริ่มต้นจากการเปิดเสรีทางการค้า ทยอย ลดกำ�แพงภาษีการค้าระหว่างกันจนไม่มีภาษีซึ่งเป็นกำ�แพงกีดกันสินค้าของประเทศ อื่น และ เปิดเสรีการลงทุน การเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างกัน การเคลื่อนย้ายแรงงาน ระหว่างกันอย่างเสรี และ มีการใช้เงินสกุลเดียวกัน สำ�หรับสาเหตุที่สหราชอาณาจักร อยู่ๆก็อยากออกจาก EU หรือสมาชิก สหภาพยุโรปขึ้นมานั้น เกิดจากปัญหาของเศรษฐกิจในกลุ่ม EU เนื่องจาก สมาชิกเองก็ มีความแตกต่างกันไปมีทั้งประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่และร่ำ�รวย อย่าง เยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศษ และประเทศสมาชิกที่ยังสร้างเนื้อสร้างตัว โดยเฉพาะประเทศยุโรปตะวันออก ที่เพิ่งเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจจากเดิมที่เป็นแบบสังคมนิยมมานานมาสู่ เศรษฐกิจเสรี และเมื่อประเทศสมาชิก เกิดปัญหาเศรษฐกิจขึ้นโดยเฉพาะ กรีซ ที่เผชิญปัญหาจนเกือบ ล้มละลาย และยังมีสมาชิกอีกหลายประเทศทีมีปัญหาเศรษฐกิจเช่นเดียวกัน ปัญหา เศรษฐกิจนี้ทำ�ให้ประเทศร่ำ�รวย จำ�เป็นต้องใช้งบประมาณในการเข้าไปช่วยเหลือฟื้นฟู เพื่อพยุงไม่ให้ปัญหาลุกลาม ซึ่งสหราชอาณาจักรเป็นประเทศหนึ่งที่ต้องเป็นช่วยเหลือ ทางการเงิน นำ�มาซึ่งการสูญเสียงบประมาณไปจำ�นวนมาก ทำ�ให้คนอังกฤษรู้สึกไม่ พอใจ ว่าทำ�ไม่รายได้ของพวกเขาต้องเอาไปช่วยเหลือคนอื่น และซ้ำ�ร้ายการไหลเข้า มาของแรงงานจากสมาชิกในกลุ่มEU ได้หลั่งไหลเข้าไปในสหราชอาณาจักรจำ�นวน มาก ทำ�ให้เกิดปัญหาการแย่งงานจากคนอังกฤษจำ�นวนมาก และการเข้ามาทำ�งานของ คนนอกประเทศโดยเฉพาะคนจากยุโรปตะวันออก นั้นยังได้รับสวัสดิการ การดูแล เหมือนกับแรงงานคนอังกฤษ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ต้องใช้งบประมาณของรัฐบาลอังกฤษทั้ง สิ้น กระแสความไม่พอใจเหล่านั้น บวกกับปัญหาอื่นทั้งเรื่องอำ�นาจการลงทุนนอกกลุ่ม ฯ อำ�นาจในการตัดสินใจบางอย่างที่ต้องขอความเห็นชอบจากกลุ่ม EU ทำ�ให้ประชาชน คนอังกฤษอยากออกจากการเป็นสมาชิก EU เพราะเห็นว่าประโยชน์ที่เขาได้ไม่คุ้มเสีย

-1-


การเจรจาข้อตกลง Brexit ระหว่างนายกรัฐมนตรีเทเรซา เมย์ และ EU สามารถเกิดได้ 2 กรณี คือ

-2-


ผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกหากเกิด Brexit

หากสหราชอาณาจั ก รตั ด สิ น ใจที่ จ ะ ออกจากกลุ่ม EU นั่นจะส่งผลให้การฟื้นตัวของ เศรษฐกิจ EU จะล่าช้าออกไปอีกนาน และอาจ จะเป็นการสั่นคลอนสถานะของกลุ่มประชาคม เศรษฐกิจ ของกลุ่มการค้าเสรีที่ยุโรป เป็นต้น แบบล่มสลายลงไป และร้ายแรงถึงขึ้นต้องมาเซต ระบบกันใหม่เลยทีเดียว และในส่วนของสหราช อาณาจักรเอง เศรษฐกิจจะเกิดการหดตัวอย่าง รุนแรง เนื่องจากจะมีการเคลื่อนย้ายทุนออกจาก อังกฤษจำ�นวนมาก ซึ่งจะส่งผลให้เงินปอนด์ของ อังกฤษ อ่อนค่าลงอย่างมาก สำ�หรับผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจโลก แน่นอนว่าเหตุการณ์นี้อาจส่ง ผลให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกล่าช้าออกอีก

-3-


ผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก หากเกิด Brexit

สหราชอาณาจักรจะออกจาก EU รูปแบบใดทั้ง Soft Brexit หรือ Hard Brexit ต่าง ส่งผลกระทบโดยตรงต่อเศรษฐกิจสหราชอาณาจักร แต่ในกรณีแบบ Hard Brexit จะเกิดผลก ระทบค่อนข้างมาก โดยธนาคารกลางของอังกฤษคาดการณ์ว่า มีผลทำ�ให้เศรษฐกิจของสห ราชอาณาจักรจะหดตัวลงประมาณร้อยละ 7-10 เนื่องจากสหราชอาณาจักรมีสัดส่วนการ ส่งออกไปยังสหภาพยุโรปในปี 2561 ถึงร้อยละ 46.6 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด สินค้าที่ ส่งออกไป สหราชอาณาจักรจะถูกเก็บภาษีนำ�เข้าและมาตรการกีดดันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี เหมือนประเทศนอกกลุ่มสหภาพยุโรป ทำ�ให้สินค้าของสหราชอาณาจักรมีราคาสูงขึ้นอาจจะ ส่งผลทำ�มห้รายได้จากการส่งออกของสหราชอาณาจักรลดลง และในด้านการนำ�เข้าสินค้า จากสหภาพยุโรปจะมีราคาสูงขึ้น และอาจส่งผลต่อต้นทุนและความสามารถในการแข่งขัน ของสหราชอาณาจักร

เศรษฐกิจสหภาพยุโรปได้รับผลกระทบค่อนข้างน้อย เนื่องจาก สัดส่วนการส่งออกและนำ�เข้าของสหภาพยุโรปไปสหราช อาณาจักรในปี 2561 มีประมาณร้อยละ 6.53 และ 4.32 ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม การที่ราคาสินค้าจากสหราชอาณาจักรมีราคาสูงขึ้นอัน เป็นผลจากอัตราภาษี อาจส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงโครงสร้างธุรกิจของสหภาพยุโรปและสหราชอาณาจักรที่มีห่วงโซ่อุปทานเชื่อมโยงกัน

-4-


ผลกระทบต่อประเทศไทยหากสหราชอาณาจักรออก จากกลุ่ม EU นักวิชาการหลายสำ�นักมองตรงกันว่า ผลกระ ทบระยะสั้นที่เกิดขึ้นและกระทบต่อไทยนั้น คือค่าเงินจะเกิด ความผันผวน ด้วยเหตุที่ค่าเงินปอนด์จะอ่อนค่าลงมาก เงินทุน จะไหลเข้าตลาดสหรัฐฯ หรือญี่ปุ่น ทำ�ค่าเงินเอเชีย รวมทั้งเงิน บาทผันผวนไปด้วย ต้องเตรียมรับมือให้ดี การหดตัวของเศรษฐกิจหราชอาณาจักรอาจเป็นผลมาจาก Brexit ซึ่งอาจส่งผลต่อการค้าส่งออกของไทยไปยัง สหราช อาณาจักร แต่ไม่ว่าสหราชอาณาจักรมีการตกลง Brexit แบบ ใด จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยค่อนข้างน้อย เนื่องจาก สัดส่วนการส่งออกและนาเข้าของไทยกับสหราชอาณาจักรมี ไม่มากนัก โดยในปี 2561 มีเพียงร้อยละ 1.6 และ 1.2 ตามลำ�ดับ

สินค้าส่งออกของไทยไปสหราชอาณาจักรที่สำ�คัญ ได้แก่ รถยนต์และส่วนประกอบ เนื้อสัตว์ และอุปกรณ์ไฟฟ้าและส่วน ประกอบ สำ�หรับสินค้านำ�เข้าของไทยจากสหราชอาณาจักรที่สำ�คัญ ได้แก่ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ อุปกรณ์ไฟฟ้าและส่วน ประกอบ และเชื้อเพลิงที่ได้จากแร่

-5-


เศรษฐกิจของไทยอาจจะได้รับ ผลกระทบทางอ้อมจากเศรษฐกิจสหภาพ ยุโรปซึ่งได้รับผลกระทบจาก การหดตัวของ เศรษฐกิจสหราชอาณาจักร อย่างไรก็ตาม ตลาดการเงินไทยน่าจะได้รับผลกระทบตาม ความผันผวนในตลาดการเงินโลกที่สูงขึ้น โดยเฉพาะค่าเงินปอนด์และค่าเงินยูโรที่คาด ว่ามีแนวโน้มอ่อนค่าลง เนื่องจากอาจชะลอ แผนการใช้นโยบายการเงินแบบเข้มงวด ซึ่ง จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกและนำ�เข้า ของไทย โดยจะเห็นว่าค่าเงินปอรด์อ่อนค่า ลงมากหลังจากช่วงลงประชามติในวันที่ 23 มิถุนายน 2016

-6-


ผลกระทบจากเหตุการณ์ Brexit ต่อภาคธุรกิจใน สหราชอาณาจักร

ธุรกิจร้านอาหาร ในเดือนกันยายน 2559-2560 ภัตตาคารเลิกกิจการไปมาก ถึง 985 แห่ง และกันยายน 2560-2561 ในปี 2561 มีภัตตาคารเลิก กิจการไปอีก 1,219 แห่ง คนอังกฤษรู้ว่าต่อไปในอนาคต ผู้คนจาก ประเทศอื่นในสหภาพยุโรปจะเข้ามาเยือนอังกฤษได้ยากขึ้น เรื่องการ ค้าขายก็จะต้องจ่ายภาษีศุลกากรในอัตราที่สูง เศรษฐกิจจะแย่ ทำ�ให้ คนอังกฤษระมัดระวังการใช้จ่ายจึงไม่ไปทานข้าวนอกบ้าน

ธนาคารและบริษัทการเงิน ธนาคารและบริษัทการเงินหลายแห่งกำ�ลังย้ายทรัพย์สิน และงานออกจากสหราชอาณาจักร เนื่องจากอยู่ในช่วงใกล้ออกจาก เบร็กซิทบรรดาบริษัทให้บริการทางการเงินประกาศแผนย้ายเงิน ลงทุนถึง 1 ล้านล้านปอนด์ หรือราว 42.6 ล้านล้านบาทไปที่สหภาพ ยุโรป ธนาคารหลายแห่งย้ายไปตั้งสำ�นักงานใหม่ในเยอรมนี ฝรั่งเศส ไอร์แลนด์ และประเทศอื่นๆในอียูเพื่อปกป้องความมั่นคงของธุรกิจ ในภูมิภาคหลังเบร็กซิท หมายความว่าพวกเขาต้องย้ายทรัพย์สิน สำ�คัญไปด้วยเพื่อทำ�ให้หน่วยงานที่กำ�กับดูแลของอียูพอใจบริษัท อื่นๆกำ�ลังเคลื่อนย้ายทรัพย์สินเพื่อให้ความคุ้มครองลูกค้าของพวก เขาจากความผันผวนของตลาด และความเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เรื่องกฎระเบียบที่อาจทำ�ลายสหราชอาณาจักรและอียู ซึ่งเป็นกลุ่ม ประเทศคู่ค้าที่ใหญ่ที่สุด ทั้งนี้ อุตสาหกรรมบริการทางการเงินคิด เป็นประมาณ 12% ของเศรษฐกิจสหราชอาณาจักร และมีการจ้าง งานถึง 2.2 ล้านคนโดย EY ได้ติดตาม 222 บริษัทที่ให้บริการการเงิน ที่ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร ตั้งแต่การลงประชามติในเดือนมิ.ย. 59 โดยระบุว่า “ มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีเสถียรภาพ” ของจำ�นวนบริษัท ที่ประกาศว่าจะย้ายพนักงาน การดำ�เนินการ และทรัพย์สินไปที่อียู เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมรับเบร็กซิทจำ�นวนงานที่ย้ายออกจากสห ราชอาณาจักรในอนาคตอันใกล้อยู่ที่ 7,000 อัตรา จากการประเมิน ของ EY ซึ่งประเมินว่าจะสร้างความเสียหายให้กับอังกฤษอย่างน้อย 600 ล้านปอนด์จากภาษีที่หายไป

-7-

อุตสาหกรรมยานยนต์ นายทากาฮิโระ ฮาจิโง ประธานและซีอีโอของฮอนด้า มอเตอร์ ประกาศว่าแผนการปิดโรงงานในเมืองสวินดอน ประเทศอังกฤษในปี 2021 ในการแถลงข่าวในวันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ 62 โรงงานแห่งนี้เป็นฐานการผลิตแห่งเดียวของ ฮอนด้าในยุโรป และผลิตยานยนต์ 160,000 คันต่อปี ราวร้อยละ 35 ของจำ�นวนนี้ได้ส่งขายยังยุโรป ขณะที่ส่วนที่เหลือจะนำ�ส่ง ออกยังญี่ปุ่น สหรัฐ ฟอร์ด มอเตอร์ ผู้ผลิตยานยนต์รายใหญ่จากสหรัฐฯ ประกาศ แผนปิดโรงงานผลิตเครื่องยนต์ในเวลส์ สหราชอาณาจักร ภายใน เดือนกันยายนปี 2020

การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของประเทศพัฒนา กลุ่มสหภาพยุโรปมีแนวโน้มขาดดุลบัญชีเดินสะพัด มากขึ้นจากการบริโภคสูงที่เกินกว่าศักยภาพที่ประเทศผลิตได้ ทำ�ให้มีการนำ�เข้าสินค้าและบริการจากต่างประเทศและมีการนำ� เข้าสูงกว่าการส่งออก ภาครัฐเองก็มีการจัดทำ�งบประมาณแบบ ขาดดุล ซึ่งจะต้องมีการกู้ยืมจากต่างประเทศอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้ การขาดดุลงบประมาณและการขาดดุลการค้ากลายมาเป็นปัญหา ที่สะสมมายาวนาน ดังนั้นประเทศที่ขาดดุลบัญชีเดินสะพัดก็จะ มีเงินไหลออก และเงินดังกล่าวไหลเข้าสู่ประเทศที่เกินดุลบัญชี เดินสะพัดนั่นเอง หรือกล่าวได้ว่ามีการไหลออกของเงินทุนจาก สหรัฐอเมริกาและยุโรปเข้าสู่ จีน ญี่ปุ่น และประเทศเอเชียอื่นที่ มีการเกินดุลบัญชีเดินสะพัด ส่งผลให้ค่าเงินของประเทศที่มีเงิน ทุนไหลเข้าเหล่านี้มีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นอีกด้วย

ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account Balance) เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2562 ไตรมาส 4/61 สหราช อาณาจักร ขาดดุลบัญชีเดินร้อยละ 4.4/GDP ลดลงจากร้อยละ 5.0/GDP ในไตรมาสก่อนหน้า ทั้งในรูปของมูลค่า (23.7 พันล้าน ปอนด์) และสัดส่วนของ GDP และเมื่อเปรียบเทียบกับการขาด ดุลบัญชีเดินสะพัด 2561 เท่ากับร้อยละ 3.9/GDP ในขณะที่ขาด ดุลในปี 2560 เท่ากับร้อยละ 3.3/GDP


UK current account balances as a percentage of gross domestic product, Quarter 1 (Jan to Mar) 2016 to Quarter 4 (Oct to Dec) 2018

เงินเฟ้อที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว หลังจากที่ค่าเงินปอนด์อ่อนค่าอย่างต่อเนื่องประกอบกับบัญชีเดินสะพัดขาดดุลมาอย่างต่อเนื่องส่งผลให้การนำ�เข้า สินค้าของประเทศอังกฤษมีต้นทุนที่สูงขึ้นส่งผลทำ�ให้สินค้าภายในประเทศต้องปรับสูงขึ้นก่อให้เกิดเงินเฟ้อที่ปรับตัวขึ้นอย่าง รวดเร็ว จาก 0.3% ในเดือนมกราคม ปี 2016 กลายเป็น 2.7% ในเดือนเมษายน 2017 ทำ�ให้ค่าใช้จ่ายของประชาชนชาวอังกฤษต้อง เพิ่มสูงขึ้น จากการที่ต้องจ่ายไปกับปัจจัยพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็นค่าเช่าบ้าน อาหาร หรือค่าสาธารณูปโภคทำ�ให้เงินเหลือใช้ลดลง

-8-


อัตราเงินเฟ้อที่รวมค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบ้าน CPIH (Consumer Prices Index including owner occupiers’ housing costs) แยกแต่ละ Sector Contributions to the CPIH 12-month rate, UK, Jan 2016 to April 2019

UK Retail Sales Volume Including Fuel

เนื่องจากเศรษฐกิจส่วนใหญ่ผูกกับแรงซื้อของผู้บริโภค ด้านสำ�นักงานสถิติแห่งชาติได้ย้ำ�เตือนถึงการพึ่งพาการใช้จ่ายของผู้บริโภคต่อ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สภาวะดังกล่าวทำ�ให้ผู้บริโภคต้องหาทางลดรายจ่าย โดยสอดคล้องกับอีกผลสำ�รวจหนึ่งที่ระบุว่า ผู้บริโภคมีมุมมองเชิง ลบต่อการใช้จ่าย ดูได้จากช่วง 3 เดือนที่ผ่านมาของต้นปี 2017 ที่ยอดค้าปลีกตกต่ำ�ลงอย่างมากในรอบหลายปีแน่นอนว่า การลดรายจ่ายของผู้ บริโภคจะส่งผลต่อธุรกิจค้าปลีก

-9-


ผลประโยชน์ของไทยที่มีโอกาสได้รับจากการเกิดเหตุการณ์ Brexit

ภาคเอกชน ผู้นำ�เข้าส่งออก

นักลงุทน

Brexit ถือเป็นโอกาสที่ไทยจะได้กระชับความ สัมพันธ์กับทั้งอังกฤษและสหภาพยุโรปมากขึ้นเนื่องจาก Brexit จะทำ�ให้ระบบการค้าของอังกฤษและยุโรปเกิดการ หยุดชะงักชั่วคราว ทำ�ให้ไทยได้มีโอกาสพูดคุยกับอังกฤษ เรื่องการเจรจาความตกลงเปิดเขตการค้าเสรี (FTA) ทั้ง สหภาพยุโรปและอังกฤษ หากมีการจัดทำ� FTA กับไทย จะเป็นกลไกหนึ่งที่จะช่วยขยายมูลค่าการค้าระหว่างกัน ในอนาคต โดยสภาผู้นำ�นักธุรกิจไทย-สหราชอาณาจักร (TUBLC) พร้อมอำ�นวยความสะดวกให้ภาคเอกชนไทย เข้าไปลงทุนในอังกฤษ

- 10 -

จากเหตุการณ์ Brexit ไม่ชัดเจนอาจทำ�ให้จีดี พีของสหภาพยุโรปและอังกฤษไม่ขยายตัวจากเดิม ซึ่ง ปัจจัยดังกล่าวจะส่งผลให้ค่าเงินปอนด์ เงินยูโรรวมถึง ค่าเงินบาทก็มีความผันผวนมาก โดยค่าเงินปอนด์และ ยูโรมีแนวโน้มอ่อนค่าลง ส่วนค่าเงินบาทแข็งค่าอย่าง ต่อเนื่อง ทำ�ให้นักลงทุนอังกฤษและยุโรปเข้ามาลงทุน ในอาเซียนถึง 10%



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook

Articles inside

Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.