ภาพวาดโดยศิลปิ น ไพโรจน์ พิเชฐเมธากุล ในโครงการ Project our beloved King
เรื่องและภาพ > ฌาน เพิ่มพู ล
The ONE we love
เริ่มต้นจากการเป็นนักเรียนโรงเรียนศิลปะทั่วไป ใช้ชีวิตประจ�ำวันเหมือคนทั่วไป ตื่นเช้า ไปเรียน ตกเย็นกลับมาพักผ่อนนี่คือชีวิตธรรมดาๆของ ขวัญ - รดาณัฐ ขมะณะรงค์ ผู้ที่ริเริ่มท�ำ หนังสือรวมภาพครั้งประวัติศาสตร์ของคนไทยในนิวยอร์ก “จ�ำได้ว่าวันนัน ้ เป็นวันพฤหัสบดี หลังจากทีเ่ ราได้เห็นข่าวการสวรรคตของในหลวงรัชกาลที่ 9 เราก็เห็นหลายๆรัฐจัดงานถวายอาลัย เริ่มตั้งแต่บอสตั้นและซานฟรานซิสโก แล้วท�ำไมไม่เห็นมีที่ นิวยอร์กเลย หลังจากนัน ้ ก็โทรไปทีว่ ด ั ทางวัดก็บอกมีจด ั งานสวดตอนเย็น แต่เพือ ่ นๆหลายคนบอก ว่าไม่เห็นมีที่เราจะไปจุดเที่ยนร่วมกันเลย” จุดเล็กๆจุดนี้นี่เอง ที่เป็นจุดร่วมต้นของการจัดงานครั้งประวัติศาสตร์ “วันนั้นเราเลยไป ที่สถานกงศุลไทยในนิวยอร์ก เพื่อไปวางดอกไม้เพื่อถวายอาลัย หลังจากนั้นเราก็ถ่ายรูปมารูปนึง แล้วก็โพสลงในชมรมคนไทยในนิวยอร์ก ว่ามีใครสนใจไปด้วยกันไหม” จากหนึ่งคน เริ่มเป็นสองคน จนมาถึงหกสิบคน เริ่มขยับจ�ำนวนคนขึ้นมาเรื่อยๆ ซึ่งเธอ บอกกับเราว่าคนเริ่มสนใจมากขึ้น เธอเลยต้องหาสถานที่ๆสามารถรวมคนได้มากขนาดนั้น “เช้าวันเสาร์เราเลยโพสชวนพลังประชาชนคนไทยในนิวยอร์กไปรวมตัวกันเพือ ่ จุดเทียน ถวายอาลัยทีย ่ เู นีย ่ น สแควร์ จากหกสิบคนหลังจากทีเ่ ราโพสฯไป กลายเป็นเกือบๆพันคน ซึง่ มัน ใหญ่มากเลย แต่เราเริม ่ แล้วเราก็ต้องเดินหน้าต่อไป”
“วันนั้นเราได้รับการช่วย
เหลือจากหลายๆคนมากเลยนะ ทั้ง ติดต่อมา โทรมาว่ามีอะไรให้ช่วยไหม ก็ได้พก่ี ฟ ิ๊ กับพีแ่ อน ซึง่ เขาท�ำร้านอาหาร ซึ่งรู้จักร้านเครือหลายๆสาขา เขาก็ ชวนทุกๆคนมา ร่วมและยังปิดร้าน เร็วเพือ ่ ให้ทก ุ ๆคนได้มาร่วมงานกัน ในครั้งนี้” “ถามว่าวันนั้นงานส�ำเร็จ ด้วยตัวเองไหม ตอบเลยว่าไม่ เพราะ มีการร่วมมือร่วมใจของทุกคนแต่มัน มีความประทับใจหลายๆอย่างที่ว่า มันเป็นการช่วยเหลือกันของคนไทย ที่ เ ราไม่รู ้จั ก กั น เลย มี พี่ ค นนึ ง เป็น เจ้าของร้านดอกไม้ ซึ่งเขาจะกลั บ ไทยในวั น จั น ทร์ ซึ่ ง วั น นั้ น เป็น วั น อาทิตย์ เขาก็ถามเราว่ามีอะไรให้พี่ ช่วย มีอะไรทีพ ่ ส ่ี ามารถท�ำให้ในหลวง ได้บ้าง ซึ่งมันเป็นความประทับใจ ของเราอย่างมาก”
ได้ฟังแค่นี้เราก็รู้สึกประทับใจเป็นอย่างมาก ว่าคนไทย ยังไงเรารักกันเสมอ มีปัญหาอะไรเราช่วย เหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น เสมอ เธอเล่า ให้ฟ ัง ต่อ ถึ ง โปรเจค การร่วมภาพครั้งประวัติศาสตร์ที่เกิ ดขึ้นในวันนั้น “หลังจากที่งานจบ ภาพหลายๆภาพที่เราได้ เห็นกันตามหน้าสื่อต่างๆ ตามโซเชี่ยมีเดีย เลยคิดว่า เราน่าจะสามารถท�ำอะไรสักอย่างหนึ่ง เพื่อให้บางคน ที่ ยั ง ไม่เ คยเห็ น ภาพบางภาพ มุ ม บางมุ ม ได้มี เ ก็ บ ไว้ เป็นทีร่ ะลึก มันเป็นงานๆแรกด้วยมัง้ ทีค ่ นไทยในนิวยอร์ก มารวมตัวกันได้เยอะขนาดนี้ เลยอยากท�ำหนังสือเล่ม นึงเพื่อร�ำลึกถึงในหลวงและได้เก็บภาพประวัติศาสตร์ ของงานในวันนั้น” แต่สงิ่ ทีส ่ ำ� คัญของหนังสือเล่มนี้ ไม่ได้เป็นเพียง หนังสือโฟโต้บุ๊คทั่วไป แต่ทุกบาททุกสตางค์จากรายได้ ในการขาย เราจะได้ร่วมท�ำบุญไปพร้อมๆกัน “คือหนังสือเล่มนี้เราท�ำออกมาเพื่อให้ทุกคน ได้เก็บไว้เป็นที่ระลึกร่วมถึงจะได้ท�ำบุญร่วมกัน เพราะ รายได้หลังหักค่าใช้จ่าย เรามอบให้กบ ั มูลนิธชิ ย ั พัฒนาใน พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชที่ เมืองไทยซึ่งเป็นมูลนิธิที่สืบสานโครงการพระราชด�ำริ”
สนใจสั่งจองหนังสือรวมภาพประวิัติศาสตร์ติดต่อได้ท่ีร้านน�้ำตาล สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม โทร. 1(203)554-9619
11 >
edito’s editor’stalk talk คงได้เวลาที่เราจะปล่อยความเป็นตัวเอง อีกครั้ง ปล่อยให้หัวใจมันท�าในสิ่งที่มันรัก ความวิตกกังวลเกิ ดขึ้นมากมาย ก่อนที่ เราจะกลับมาเริ่มต้นเขียนคอลัมน์ แค่บทนี้บทเดียว เรายังใช้เวลาคิดนานมาก ไม่รู้ว่าเป็นเพราะอะไร คงเป็นเพราะใช้สมองในการคิดมากเกินไป เลยไม่ ได้เปิดโอกาสให้หัวใจได้ลองท�าบ้าง “เอาวะ” ค�านีค ้ า� เดียวทีท ่ า� ให้เริม ่ ต้นเปิดใจ จับปากกาขึ้นมาอีกครั้ง ความสนุกมันก�าลังจะเริ่ม ต้นใหม่อีกครั้ง เล่มนี้เราตั้งใจทีจ่ ะค่อยๆสร้างมันขึ้นอย่าง ช้าๆ ค่อยเดิน ค่อยขยับ ไม่รีบไม่เร่ง ปล่อยให้หัวใจ มันได้ท�างานคู่กับสมองและสองมือ เวลาล่วงเลยมาเกือบหนึง่ ป กับบทสัมภาษณ์ ทีเ่ ราปล่อยมันค้างไว้อยู่ในเครือ ่ งอัดเสียง อย่าปล่อย ให้บทสัมภาษณ์ดีๆต้องกลืนหายไปอย่างงั้นเลย นิตยสารเล่มนี้คงกลับมาไม่ได้แน่ๆถ้าไม่มี ผู้ใหญ่ใจดีหลายๆท่าน พี่ชาย พี่สาว ลุง ปา น้า อา ในทีน ่ ไี้ ม่ได้หมายถึงญาติของผมนะ แต่หมายถึงคนไทย ในนิวยอร์ก เพราะทุกคนเปรียบเหมือนครอบครัว ของผม ทั้งให้ก�าลังใจในการท�า บางคนก็ให้ข้อคิด บางคนก็ออกความเห็น บางคนก็ช่วยในด้านทีต ่ วั เอง ถนัด มากน้อยก็ว่ากันไป ลึกๆแล้วคนไทยที่นี่รักกันมากนะ แค่เรา ไม่แสดงออกมาเท่านั้นเอง เอาเป็นว่าผมขอบคุณทุกๆคน ทัง้ เบือ ้ งหน้า และเบื้องหลัง ที่มีส่วนช่วยในการผลักดันนิตยสาร เล่มนี้ให้ออกมาสู่สายตาชาวไทยในนิวยอร์ก ฌาน เพิ่มพูล บรรณาธิการนิตยสาร here Instagram @Chaanofficial
<6
FROM THE COVER หน้าปก here ฉบับนี้วาดโดยศิลปิน รุ่นใหม่อย่าง ก้อง-กันตภณ เมธีกล ุ ซึง่ เรียน จบจากคณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร “เริ่มวาดภาพตั้งแต่เด็กเพราะชอบการ ระบายสีและดูการ์ตน ู เนือ ่ งจากเป็นคนชอบ คิดมุมมองแปลกๆและได้ท�าอาชีพ เป็น Art Director ที่บริษัทโฆษณาเป็นเวลา 4 ป จึงได้มุมมองการคิดใหม่ๆ” “ส่วนภาพในหลวงทีอ่ ยู่บนปก here ฉบับนี้ ผมได้แรงบันดาลใจว่า อยากวาดอะไรทีเ่ กีย่ วกับ ไทยและต่างประเทศ จึงวาดพระองค์ในสมัยทีพ ่ ระองค์ได้ไปศึกษา ต่อทีต่ ่างประเทศ เพราะการไปศึกษาต่างประเทศ และได้ใช้ชวี ต ิ ส่วนหนึง่ ในต่างแดน ท�าให้เรานึก กับไปถึงตัวเองทีก ่ า� ลังอยุ่ในต่างแดนเช่นกัน มันไม่ได้สวยหรูทั้งหมด อีกด้านมันไม่ใช่ ประเทศของเรา เราต้องปรับตัว บางครัง้ ก็ท้อ แต่ถ้าเรารู้จก ั คว้าประสบการณ์กจ็ ะมีประโยชน์ ต่อตัวเรามาก และทีส ่ า� คัญไม่ลม ื ว่าตัวเองคือ คนไทยและรักประเทศไทยของตนโดยน�าเอา ประสบการณ์ไปใช้อย่างมีประโยชน์ เหมือน กับพระองค์ทไี่ ด้ใช้ความสามารถทัง้ หมดแก่ ประชาชนของพระองค์”
ดูผลงานเพิ่มเติมของ GongKan ได้ท่ี Instagram : @Gongkan_ หรือ www.facebook.com/gongkanstudio
ดื่มบาร์ Present here MINIMAL PARTY ปาร์ตี้เล็กๆตามสไตล์คนมินิมอล คุณจะได้พบกับแนวเพลงอะคูสติกที่ถูกเรียบเรียงใหม่โดยวงดนตรีร้านดื่ม พร้อมแขกรับเชิ ญพิเศษ งานนี้จัดเต็มการแต่งตัวตามสไตล์มินิมอลในแบบขาว-ด�า แล้วเจอกันในวันอาทิตย์ท่ี 11 ธันวาคมนี้ ประตูเปิ ดเวลา 11.30 P.M. ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ท่ี www.facebook.com/newyorkishere, www.facebook.com/deum.bar 13 >
- CONTENTS team columnist Hatsalak Tanasootr Kamonchanok Phon-ngam Sasipim Pongchalerm Chnat Wudhiwigaigarn photographer Chaan Phoemphoon Usanee Saechua graphic designer Chaan Phoemphoon Peeradon Rapeepantadon marketing & sale Noraset Kudnampornlert Mananya Chinbutarnon proofreader Prynlada Arbhabhirama staff Peeranuth Aroonrungsikon Nattapol Sangwongwattana Apitchapa Ratana editor in chief Chaan Phoemphoon
www.facebook.com/newyorkishere instagram @newyorkishere newyorkisheremag@gmail.com #NEWYORKISHERE 1(646)954-4256
10 I’M HERE 20 TANY (Thai Artist in New York) 28 All Around 32 Hungry Diary 32 ยักษ์คิ้วท์ 36 นิวยอร์กมึงหลอกกู 41 Showroom 42 instagram 43 New York is Here
Consultant Pairoj Pichetmetakul Apiwich Bangrapimolpong Chirawat Withanwattana Chanut Wudhiwigaigarn Kendo Kokanot Santis Srichiangrap
เมือ ่ 2-3 ปก่อน เราได้บงั เอิญไปรู้จก ั กับ อมตา จิตตะเสนีย์หรือแพรีพ ่ าย (Pearypie) จากโพสแชร์ของเพื่อนสักคนในแฟซบุ๊คของเรา ในช่วงนั้นคนติดตามแพรี่พายยังไม่เท่าไหร่ นั่งดู รูปไปเรื่อยๆ เต็มไปด้วยการแนะน�าเรื่องความสวยความงาม การแต่งหน้าแบบฮาวทูในสไตล์ ต่างๆ ไปจนถึงค�าพูดหรือคติที่เป็นแรงบันดาลใจในการใช้ชีวิต เราแอบชื่นชอบในความเท่ห์ของผู้ หญิงคนนี้ รู้สึกว่าไม่เหมือนใคร แถมยังมีเคล็ดลับดีๆมาสอนเสมอ
< 10
จากวันนั้นจนถึงวันนี้ เราก็เป็น แฟนคลับคนนึงทีต ่ ด ิ ตามและมองการเติบโต ของเมคอัพอาร์ทติสคนนี้ และปฎิเสธไม่ได้ เลยว่าแพรี่พาย เป็นเมคอัพอาร์ทติสที่มา แรงมากจริงๆ เราจะเห็นได้จากนิตยสารหลายๆ เล่ม โฆษณาทีเ่ กีย ่ วกับเครือ ่ งส�าอางค์ต่างๆ การโชว์ตัวตามงานอีเว้นท์ หรือแม้กระทั่ง ในแฟชั่นวีคระดับโลก แพรี่พายก็ได้เป็น หนึ่งในทีมงานเหล่านั้นมาแล้ว ซึ่งตอนที่ เรารู้ว่าจะได้มาสัมภาษณ์แพรในวันนี้ก็อด ตื่นเต้นไม่ได้
Student life กว่าจะมาเป็นแพรีพ ่ ายในวันนี้ “เราเริม ่ แต่งหน้านางแบบมาตัง้ แต่อายุ 22 รู้สก ึ ว่าชอบ ศิลปะ ส่วนตัวชอบอาร์ทชอบศิิลปะอยู่แล้วและ รู้สก ึ ว่าการแต่งหน้ามันเป็นงานอาร์ทด้วย เราชอบ เพ้นท์ ชอบวาดรูป แต่เราชอบเครื่องส�าอางค์ มันไม่ใช่แค่ลุคสวยๆ การเป็นช่างแต่งหน้าก็ถือ เป็นงาน Creative ได้เหมือนกัน” ด้วยความทีช่ น ื่ ชอบศิลปะมาตัง้ แต่เด็ก หลังจบ ม.3 จากโรงเรียนมาแตร์เดอี แพรจึง ย้ายไปเรียนที่อังกฤษ ที่ St.mary’s school Cambridge “ตอนนั้นเค้าถามเราว่าความ ฝันเราคืออะไร เราก็บอกว่าอยากไปเรียนต่อ ที่ Centre saint martins มั น ก็ เ หมื อ น กั บ โรงเรี ย น Parson ที่ นิ ว ยอร์ก นี่ แ หละ จะโด่งดังทางด้านศิลปะมาก ก็ไม่รู้นะ อาจจะ เป็นเพราะเราเป็นคนเอเชียด้วยรึเปล่า ทาง โรงเรียนก็แบบ อย่างเราจะท�าได้เหรอ เราก็ เลยฝังใจมาตั้งแต่ตอนนั้น” แล้วแพรก็จบที่ Centre saint martins ตามทีต ่ งั้ ใจไว้จริงๆ “ตอนเรียนทีน ่ น ั้ สนุกมากนะ เค้าปล่อยให้เราท�าโปรเจคอะไรก็ได้ อะไรทีอ่ ยากท�า ให้เราตั้งค�าถามอยู่กับโปรเจคของเราเอง < 14
อย่างโรงเรียนที่อเมริกากับอังกฤษมันต่างกัน ที่ อ เมริ ก ามั น จะ Commercial มากกว่า ที่อังกฤษจะชอบให้ดิบๆอาร์ทๆไปเลย ก่อนจะ เข้าเซนต์มาร์ติน ได้รับประกาศนียบัตรตอนจบ เป็น The best of art student นะ ซึ่งทั้ง โรงเรี ย นได้ค นเดี ย ว เราก็ ภู มิ ใ จมาก แต่อ ้า ว ทุกคนก็ได้เหมือนกันนีห ่ ว่า มันไม่ใช่เราทีเ่ ก่งคน เดียวล่ะ ฮ่าาา”
11 >
“เอาจริงๆ ทุกๆที่บนโลกนี่ การแต่งหน้าในแต่ละที่มัน แตกต่างกันนะ” แพร-อมตา จิตตะเสนีย์
< 12
Work life งานแรกที่แพรได้รับเชิญในฐานะ make up artist ครั้งแรกที่ลอนดอนและชิลี “แรกๆจ�าได้ว่า โชว์แรกที่เราท�าเราผิด เราเข้าผิดห้อง คือที่เราเข้ามันเป็นลุค Natural เราก็แต่งหน้านางแบบจนเสร็จล่ะ มองดูผลงานตัวเองก็ใช่ได้เหมือนกันนี่นา อยู่ๆก็มีคนเดิน เข้ามาบอกว่า จริงๆเราต้องอยู่อก ี ห้องนึงไม่ใช่เหรอ เราก็อ้าว ไม่เห็นรู้เรือ ่ งเลย พอเราเข้าไป อีกห้องนึง เค้าก็ก�าลังวีนแตกพอดี” แพรยังเล่าต่อว่าทีมงานบางคนเค้าก็มาจาก Mac หรือมาจาก Bobbi brown บางคนเค้าก็ไม่ได้เป็นครีเอทีฟ “ตอนนั้นที่เราเข้าไปมันเป็นลุคแบบ Tribal เค้าก็เข้ามาด่า เลยว่าท�าไมมาผิดโชว์ คือจริงๆเราไม่รู้จักเค้าเลย เค้าเป็นใคร อีกอย่างเราเป็นเอเชียด้วย เค้าก็ยิ่งชอบว่า ซึ่งเป็นอย่างนึงในอังกฤษ เราไม่ค่อยชอบเท่าไหร่” หลังจากนัน ้ แพรก็จบ ั นางแบบมาแก้ไข “จนตอนจบเค้าก็เดินมาขอบคุณเรา อารมณ์ ฟิลแบบถ้ายูไม่มางานก็ล่มไปแล้ เพราะงานมันต้องใช้ไหวพริบ หลังจากโชว์นั้นปุป make up artist ที่เป็น head งานก็เริ่มจับเราไปที่นู่นที่นี่” “การแต่งหน้าระหว่างที่ลอนดอนกับนิวยอร์กต่างกันมากนะ” เป็นอีกค�านึงที่แพร พูดกับเรา “ตอนนัน ้ ท�างานแฟชัน ่ วีคทีอ ่ งั กฤษมันก็จะแบบเป็นงานครีเอทีฟ เยอะๆทัง้ หน้าทัง้ คิว้ แต่ทใ่ี นนิวยอร์ก มันจะเหมือนแบบเป็น Girl next door เค้าไม่ชอบการคัดเบ้าเปะๆเหมือน ทีไ่ ทยนะ ชอบแบบ after party หรือการทาปากแบบเหมือนจิบไวน์มาหลายๆรอบ ดูสบายๆ เอาจริงๆก็คือทุกที่ของบนโลกนี่การแต่งหน้ามันต่างกัน” “พอเราได้เริ่มท�างาน ก็ได้เจอเพื่อนเยอะมาก ด้วยความที่แพรเป็นคนชอบปลูกฝัง ให้น ้อ งๆหรื อ คนที่ ติ ด ตามที่ เ มื อ งไทย ไม่อ ยากให้ทุ ก คนต้อ งแต่ง หน้า แบบที่ มี คิ้ ว บลอค แบบนี้ ใช้ขนตาสองชั้น คือแพรพยายามให้ทุกคนออกจากกรอบ แต่มันก็ยากเพราะสไตล์ ความชอบแต่ละคนมันไม่เหมือนกัน”
13 >
เรื่อง > หรรษลักษณ์ ธนะสูตร ภาพ > ฌาน เพิ่มพู ล
Acceptation อย่างทีร่ ้ๆ ู กันด้วยความทีเ่ ป็นคนเอเชีย การยอม รับจากคนต่างชาติถอ ื ว่าเป็นเรือ ่ งยากเสมอ “อย่างของแพร แพรรู้สก ึ ว่าอย่างเราเป็นคนไทย วัฒนธรรมเอเชียมันปราณีต อยู่แล้ว อย่างเวลาท�าลิปสวอต เราจะค่อนข้างแคร์กบ ั ฟอร์แมต แบบถ้าชือ ่ เราต้องไปปรากฎในตรงนัน ้ แล้ว เราปราณีต กับงานมาก มีโลโก้การจัดวางที่ดี ส�าหรับเราเรารู้สึกว่า คนไทยด้วยความที่ภาษาอังกฤษเราไม่ได้ดีแบบเค้า ท�าให้ เราต้องครีเอทอย่างอืน ่ ขึน ้ มาแทนอย่างสไตล์ลงิ่ การวางตัว หรืออะไรแบบนี้” < 14
15 >
< 16
Acceptation การมาต่า งประเทศไม่ใ ช่เ รื่ อ งง่า ย หลายๆคนมี Passion มีความฝัน ยิ่งมาอยู่ที่ นิวยอร์กเมือง top 10 ของโลก ซึ่งค่าใช้จ่าย ค่าครองชีพสูงมาก บางคนต้องท�ำงาน 7 วัน ต่อ สั ป ดาห์ หรื อ บางคนก็ มี ตั ว เลื อ กไม่ม าก อย่างต้องมาท�ำร้านอาหารหรือท�ำในครัว “มานิวยอร์กแล้วมันควรท�ำอะไรสัก นิดนึง เข้าใจนะว่ามันมีพาร์ทไทม์จ๊อบ แต่เราก็ไม่ได้ ท�ำตลอดเวลา คือเราต้องให้อะไรกับชีวิตบ้าง” “นิวยอร์กมันเหมือนเป็นเมืองที่อย่าง น้อยต้องมาอยู่สักครั้งนึงในชีวิต เรารู้สึกว่าเต็ม ที่ไปเลย คือคนประเทศนี้ไม่มีใครแคร์ แล้วเรา จะมาแคร์ท�ำไม มันต้องแสดงออกมาจริงๆ เรา ต้องกล้าพูด กล้าแสดงออก ไม่งน ั้ เราก็จะจมปลัก อยู่แต่แบบเดิมไปตลอด”
“ให้คุณยิ้มอย่างมั่นใจ” ทันตแพทยหญิง ศยมล (หมอโบ) DDS.NY Graduate รักษาโรคฟั นทั่วไป
อุ ดฟั น ถอนฟั น ฟอกฟั นขาว ผ่าฟั นคุด รักษารากฟั น ครอบฟั น ขู ดหินปู น การจัดฟั นแบบใส (invisible braces) พร้อมผ่อนจ่ายดอกเบี้ย 0% นาน 18 เดือน
SMILING VILLAGE DENTISTRY Office Hours | Friday Saturday Sunday Monday 10 a.m.-5 p.m. 35-65 86 Street 37 Ave. Apt1B, Jackson Height, NY 11372
We accepts most insurance and care credit. โทร. 1(718)476-3068, 1(845)558-1179
www.smilingvillagedentistry.com | www.facebook.com/SmilingVillageDentistry
เงื่อนไข : 1.กรุณาแสดงคูปองกับพนักงานก่อนสั่งอาหาร 2.คูปองนี้ใช้ได้เฉพาะรับประทานที่ร้านเท่านั้น
< 26
3.คูปอง 1 ใบต่อการใช้ 1 ครั้ง 1 โต๊ะ 4.คูปองไม่สามารถแลกเปลี่ยนเป็นเงินสดได้
เสน่ห์ของธรรมชาติไม่ได้เป็นความงดงามแค่เปลือกนอก หรือเป็นเพียงแค่สีสันให้ แก่โลกใบนี้เท่านั้น แต่ทว่าสิ่งที่ปรากฏกลับแฝงเร้นมิติบางอย่างเข้าเอาไว้ มิติที่ว่านั้นคงเป็น การได้ส�ารวจตัวเองและย้อนมองถึงคุณค่าของจิตใจ ความดี ความจริง และชีวิตอันงดงาม ซึ่งชีวิตไม่อาจจะหลีกหนีธรรมชาติที่แท้จริงของตนเองได้ และสิ่งนี้คงเป็นค�าสอนของธรรมชาติ ที่จะท�าให้เราค้นพบกับความสมดุลแห่งชีวิต เช่นเดียวกับ คุณเก-ศิริกุล ปตตะโชติ
< 20
เรื่อง > กมลชนก ผลงาม ภาพ > ฌาน เพิ่มพู ล
ศิลปินสาวมาดเท่ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะศิลปินไทย ที่พ�านักอยู่ในนิวยอร์ก โดยมีผลงานโด่งดังทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ กับภาพผลงานจิตรกรรมในรูปแบบของดอกไม้ ทั้งแตกขยาย ตูม บาน และร่วงโรย กับการรังสรรค์ด้วยเทคนิค อันหลากหลาย ไม่วา่ จะเป็นดินสอ สีน�้า หรือสีน�้ามันซึ่งสีเหล่านี้เป็น สี จ ากธรรมชาติ ที่ ศิ ล ปิน ได้ท� า และผสมขึ้ น เอง โดยสะท้อ น เรื่องราวของอารมณ์ในยามที่ดอกไม้สวยบานสะพรั่งและเริ่ม โรยราเหี่ยวเฉาอันเหลือไว้ซึงรูปลักษณ์ภายนอกที่บ่งบอกถึง สัจธรรมของสังขาร โดยสื่อออกมาได้อย่างลึกซึ้งและสวยงาม อั น สะท้อ นให้เ กิ ด สภาพจิ ต ใจที่ ส งบและสมดุ ล อั น จะน� า ไปสู ่ การด�าเนินชีวิตที่เป็นปกติสุขและทางสายกลาง 21 >
< 22
“จริงๆแล้วพีช่ อบวาดรูปแบบสวยงาม อยู่แล้ว เช่นดอกไม้ คน ผู้หญิง หรือวิวทิวทัศน์ แต่มันมีจุดเปลี่ยนคือตอนนั้นพี่ไม่สบาย ก็นอน ปว ยอยู ่โ รงพยาบาลนานถึ ง 6 เดื อ น เดิ น ก็ ไม่ได้และต้องเทสยาอยู่เรื่อยๆ และเราก็ไม่รู้ ว่า จะได้อ อกมาจากโรงพยาบาลในรู ป แบบ ไหนและเมื่ อ ไร งานก็ ไ ม่ไ ด้ท� า ตอนนั้ น ก็ คิ ด ว่า สิ่ ง ที่ เ ราท� า ได้ค งเป็น การวาดรู ป นี่ แ หละที่ จะช่วยรักษาตัวเราเองและจิตใจให้มันดีขึ้นได้ และก็ ไ ปสะดุ ด กั บ ดอกไม้ที่ ทุ ก คน เอามาให้ตอนมาเยี่ยม เราก็เฝามองมันทุกวัน ก็ ไ ด้เ ห็ น ถึ ง ความไม่จี รั ง ความไม่แ น่น อนใน หลายอย่างๆ แล้วตอนเวลาเราวาดใจเราก็เหมือน ไปคอนเนคกับสิ่งที่เราชอบ ใจเราก็จะคิ ด วน อยู ่แ ค่นี้ มั น มี ส มาธิ ใจเรานิ่ ง ขึ้ น ไม่ก ระวน กระวาย เหมือนเราเอางานศิลปะมาพัฒนา จิตใจ” คุณเกได้เล่าถึงจุดเริม ่ ต้นอย่างเป็นกันเอง
23 >
< 24
“ตอนนัน้ พี่ไม่สบายนอนป่ วยอยู ่ เราไม่รู้ว่ า จะได้ อ อกมาจาก โรงพยาบาลเมื่ อไร ตอนนั้ น ก็ คิดว่าสิ่งที่เราท�าได้ คงเป�นการ วาดรู ป นี่ แ หละที่ จ ะช่ วยรั ก ษา ตัวเราเองและจิตใจให้มันดีขึ้นได้” ศิริกุล ปตตะโชติ
โดยคุณเกได้เล่าต่อว่า “พี่เป็นคนที่สวดมนต์และนั่งสมาธิด้วย เหมือนใจเราไม่วอกแวก จิตใจเราแข็งแรง พอท�าบ่อยๆก็เหมือนเราทุกข์น้อยลง ใจเย็นขึ้น เราได้หยุดนิ่งเพื่อฟังเสียงจิตใจ ของตัวเอง มันเป็นการอยู่กับตัวเองอย่างมีสติ อยากให้มันได้ส่งพลังจากภายในเข้าไปสู่ตัวผลงาน อยากให้คนดูรู้สึกอย่างที่เราอยากแสดงออกมา” สภาวะแวดล้อมนั้นเป็นส่วนที่มีอิทธิพลและมีความส�าคัญมากต่อผลกระทบทางความ รู้สึก และการรับรู้ซึ่งสัมผัสได้ด้วยการมองเห็นและประสาทสัมผัสอื่นๆ ความคุ้นเคยและวิถีชีวิตที่ อยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมใดๆ ในที่สุดก็จะถูกซึบซับสั่งสมเก็บไว้ภายในเป็นประสบการณ์และ จินตนาการส่วนตัว จนกระทั่งเกิดการตอบโต้กับทัศนะคติและอารมณ์ความรู้สึก ท�าให้เกิดเป็นแรงผลักดัน ภายในที่มีความต้องการที่จะแสดงออกอย่างสร้างสรรค์จนออกมาเป็นผลงานศิลปะที่ซ่อนนัยยะ ให้เกิดการค้นหาการโต้ตอบถึงสัจธรรมบางอย่างในชีวิต การตกผลึกทางความคิด เป็นอะไรที่ดู เรียบง่ายและสงบ ซึ่งเป็นผลของความคิดและการไตร่ตรองอย่างซื่อตรง ลองหาความหมายและ ความสมดุลชีวิตของตัวเองดู แล้วเราจะค้นพบด้วยตนที่แท้จริงที่มาพร้อมด้วยสติปัญญา 25 >
TANY.NYC TANY Thai Artists in New York
TANY (Thai Artists in New York) คือกลุ่มศิลปินไทยในนิวยอร์ก ที่มุ่งหวังจะสร้างเครือข่ายศิลปินไทยในหลากหลายสาขา เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมและผลักดันการท�ำงานศิลปะร่วมกัน เพื่อพัฒนาศักยภาพของ ศิลปินไทยในนิวยอร์ก ผ่านกิจกรรมต่างๆของ TANY โดย TANY มุ่งเน้น ทีจ่ ะเป็นพืน ้ ทีห ่ ลักในการแลกเปลีย ่ นข้อล ู ข่าวสารในวงการศิลปะและผลงาน ของสมาชิก รวมถึงเป็นศูนย์กลางข้อมูลส�ำหรับศิลปินและผู้ทส ี่ นใจผลงาน หรือต้องการสนับสนุนศิลปินไทย
THAI&SUSHI
718.672.5266 718.310.1104 w w w .s picy s hal lot. com 77-01 Woodside Ave. Elmhurst,New York 11373
< 16
เรื่องและภาพ > ฌาน เพิ่มพู ล
เมืองนิวยอร์กไม่ได้เป็นแค่เมืองของแฟชั่นเท่านั้น แต่นิวยอร์กเป็นศูนย์รวมของทุกๆอย่างทาง ด้านศิลปะ จนได้รับฉายาว่า “New York City Art is everywhere.” ไม่ว่าเราจะไปมุมไหน จุดไหน ทุกสถานีรถไฟใต้ดน ิ ของนิวยอร์ก เรามักจะเห็นงานศิลปะแปลกๆ ทัง้ Street Art ศิลปะรูปปัน ศิลปะทางการ แสดงและยังมีอื่นๆอีกมากมาย จุดนี้เองที่เป็นต้นก�าเนิดของโรงเรียนสอนศิลปะที่เปิดมายาวนานกว่า 30 ป อย่าง P.I. Art Center โรงเรียนสอนศิลปะทุกแขนงที่มีสาขาเรียนมากพอๆกับศิลปะในนิวยอร์ก here magazine ได้รบ ั การติดต่อจากทางโรงเรียนให้เข้าไปเยืย ่ มชมการเรียนการสอน ก้าวแรก ที่เราเข้าไป สัมผัสได้ถึงความอบอุ่นจากการต้อนรับของ “คุณซัน” รวมถึงคนไทยที่เรียนที่นี่ มองไปมองมารอบๆทีน ่ ด ี่ ไู ม่ค่อยเหมือนโรงเรียนซักเท่าไหร่ แต่เหมือนบ้านของคนทีร่ ก ั งานศิลปะมาอยู่ รวมๆกัน คอยให้คา� ปรึกษา คอยช่วยเหลือซึง่ กันและกัน ท�าให้เราสัมผัสได้ถงึ ความอบอุ่นทีม ่ ากขึน ้ ของบ้านหลังนี้
< 28
บ้านหลังนี้มีถึง 3 ชั้นซึ่ง แต่ละชั้นก็มีห้องเรียนที่แตกต่างกัน ออกไป ในชั้นแรกอย่างชั้น 7 โดย ส่วนมากจะเป็น Fine Art หรือที่เรา เรี ย กกั น ว่า “วิ จิ ต รศิ ล ป” เช่น การ วาดภาพเบือ ้ งต้น การวาดภาพระบาย สีนา�้ สีนา�้ มันและสีอคิลลิส รวมถึงเรือ ่ ง ของแฟชัน ่ การออกแบบเสือ ้ ผ้า การตัด เย็ บ เสื้ อ ผ้า ซึ่ ง ในแต่ล ะขั้ น ตอนจะมี อาจารย์ผ้สู อนคอยดูแลและให้คา� แนะน�า อย่างใกล้ชิด พู ด ได้เ ต็ ม ปากเลยว่า แค่ ชั้ น แรกที่ เ ราไปเยื อ น ก็ สั ม ผั ส ได้ถึ ง ความใส่ใจการเรียนและการสอน ซึ่ง เห็นแล้วประทับใจเราเป็นที่สุด คุณซันพาเรากดลิฟท์ขึ้นไปยังชั้น 14 ในชั้นนี้จะเป็นการ เรียนการสอนในส่วนของการถ่ายภาพ กราฟฟิกดีไซน์ และคอมแลป คุณซันบอกกันเราว่าตอนนี้ทางโรงเรียนเปิดคอร์สการสอนใหม่ชื่อว่า Adobe Certified Associate เป็นคอร์สสอนโฟโต้ชอป (Photoshop) และอิลาสเตเตอร์ (Illustrator) ซึง่ ใครทีเ่ รียนจบคอร์สนี้ จะได้รบ ั ใบรับรอง (Certified) จากอะโดบีซิสเต็มส์ (Adobe Systems) ซึ่งเป็น บริษัทที่ได้รับการยอมรับจากทั่วโลก เรียกได้ว่าได้ทั้งใบรับรองจาก บริษัทชั้นน�าและยังได้งานง่ายขึ้นอีกด้วย จากการที่เรามองดูแล้ว ที่นี่มีการสอนอย่างละเอียดในทุก ขั้นตอน นักเรียนแต่ละคนก็ได้รับความรู้กันอย่างเต็มที่ จากชั้ น 14 คุณ ซั น พาเรากลับ ลงมาชั้ น 12 ในส ว่ นของ ชั้นนี้เป็นส่วนของสถาบันสอนภาษาก่อนเข า้ มหาวิทยาลัย ดูไปดูมา ที่นใี่ ส่ ใจในทุกๆด า้ นจริงๆ ทั้งด า้ นศิลปะที่เนื้อหาและการสอนแน่น มากเป็นพิเศษ แถมยังมีการสอนภาษาทีใ่ ห น ้ ักเรียนเตรียมพร อ้ ม ก่อนที่จะเข า้ มหาวิทยาลัย เรียกได ว้ า่ มาที่เดียวครบเลย คุณซันพาเราเดินไปรอบๆและชมการเรียนการสอนที่เป็น กันเอง อาจารย ส์ อนนักเรียนเหมือนเป็นคนในครอบครัว เราได พ ้ ู ด คุยและสอบถามกั บ นั กเรีย นคนไทยที่เรีย นที่ นี่ หลายๆคนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า “จากวันแรกทีเ่ ข า้ มาทีไ่ ม่มพ ี น ื้ ฐาน การวาดภาพอะไรเลย จนมาถึงวันนี้ P.I. Art Center สอนเราให ้ เข า้ ใจในพืน ้ ฐานของศิลปะ ไม่ ใช่แค่ทฤษฐีแต่ยังรวมไปถึงจิตวิญญาณ ของศิลปะที่เราต อ้ งใช ้ ใจในการถ่ายทอดมันออกมา” ได ฟ ้ ังแค่นี้แล ว้ เราถึงกับขนลุกกับสิ่งที่สถาบันแห่งนี้มอบ ให ก้ ับทุกๆคน เรียนที่นไี่ ด อ้ ะไรมากกว่าการวาดภาพบนแผ่นกระดาษ แน่นอน
29 >
ด้วยประสบการณ์กว่า 30 ปของ P.I. Art Center จึ ง ท� า ให้เ ข้า ใจในทุ ก ๆ ด้านของนักเรียนที่สนใจในการเริ่มต้น งาน ด้านศิลปะ ที่นี่มีหลักสูตรมากมายให้เลืิอก เริ่ ม ตั้ ง แต่ห ลั ก สู ต รพื้ น ฐานหรื อ Intro Art Program จนถึ ง หลั ก สู ต รขั้ น สูงหรือ Advanced Art Program รวมไป ถึ ง หลั ก สู ต รการเรี ย นด้า นศิ ล ปะและการ เรียนภาษาเพือ ่ เตรียมตัวก่อนเข้ามหาวิทยาลัย
< 30 32
นอกจากงานศิลปะแล้ว ทีน ่ ย ี่ งั มีคอร์สอืน ่ ๆ อีกมากมายให้คุณเลือก ไม่ว่าจะเป็น Fashion & Sewing, A New Fashion, Sewing Techniques, Accessory Design, Silkscreen Printing, Jewelry Art Design, Photography-Film, Urban Life Photography, Computer Arts, Intro to MAYA, Graphic Design, Photoshop and Illustration, Fine Art, Drawing basic, Multi-Level Studio, Sculpture/Paper-Making, 3D Design Music for Artists, Art History, Visual Thinking, Avant Grede บอกได้เลยว่าสาขาเรียนทีน ่ ม ี่ เี ยอะมากจริงๆ
ใครทีส่ นใจเรียนที่ P.I. Art Center สามารถ ติดต่อได้โดยตรงที่คุณซัน โทร. 1(212)584-5470 หรือ 1(212)695-2085 ดูรายละเอียดเพิม ่ เติมได้ที่ www.PIARTCENTER.com www.facebook.com/PIARTCENTER E-mail : Sunnie@piartcenter.com หรือสามารถ ไปดูการเรียนการสอนได้ที่ P.I. Art Center 38W 32 Street 7 Floor, New York, NY 10001
P.I. Art Center
Paint a brighter Future
29 >
เรื่อง > pimpsterz
<< 432
หากจะพู ด ถึ ง ร้า นอาหารไทยใน New York เชื่อว่าทุกคนคงคิดชื่อขึ้นมาได้ไม่ ต�่ากว่า 10 ร้านแน่ๆ แต่จะมีกรี่ ้านทีบ ่ รรยากาศและรสชาติ ท�าให้เราหวนนึกถึงอาหารต้นต�าหรับแท้ๆของ บ้านเรา แน่นอนส�าหรับ here แล้วร้าน Thaism อยู่อันดับต้นๆเลยทีเดียว ร้า น Thaism อยู ่ที่ Smith St, Brooklyn สามารถนัง่ ซับเวย์สาย F หรือสาย G ลงทีส่ ถานี Carroll หากขับรถประมาณ 30 นาที จาก Queens เป็นร้านเล็กๆ บรรยากาศอบอุ่น เรียกได้ว่าเป็นร้านอาหารขวัญใจย่านนั้นเลยก็ เป็นได้ เมื่อเดินเข้าไปในร้านเราก็จะได้พบ กับการต้อนรับอย่างอบอุ่น ยิ้มแย้มแจ่มใสจาก พนักงานและเจ้าของร้าน การตกแต่งภายใน ร้านด้วยภาพวาดฝาผนังลายหุนมานโดยศิลปิน ไพโรจน์ พิเชฐเมธากุล ดูแล้วไม่เชย แต่กลับมี เอกลักษ์และทันสมัย เราได้เปิดดูเมนู อาหารมีหลากหลาย เช่นกัน ชวนให้อยากจะสั่งทุกๆ รายการเด็ดใน เมนู อาทิเช่น Thai Roti Pancake, Currypuff, Green Curry, Duck Tamarind ที่บอกได้ เลยว่ารสชาติไม่ธรรมดาจริงๆ แต่ที่ เ ด็ ด ที่ สุ ด ที่ here ของยกให้ เป็น จานเด็ ด ประจ� า Hungry Diary คื อ Drunken Noodle Udon ทางร้านใช้เส้นอูด้ง แทนเส้นใหญ่ ซึง่ เส้นอูด้งเหนียวนุ่ม ไม่เลีย ่ นเลย เผลอแปปเดียวเราก็รบ ั ประทานอาหาร จานเด็ดของร้านจนเกลีย้ งไม่เหลือ ของเค้าดีจริงๆ หากใครมี โ อกาสแวะเวี ย นไปแถว Brooklyn Smith st. ก็อย่าลืมแวะไปร้าน Thaism ลองพิ สู จ น์อ าหารจานเด็ ด รั บ รอง เลยว่าทุกคนต้องประทับใจอย่างแน่นอน < 30
“Thaism believes in bringing our guests the most authentic Thai flavors possible. We are excited to be a part of the long history of great food in Carroll Gardens. Along with the experience from our successful restaurants in Thailand, we bring our generations old secret family recipes. Major focuses of our cuisine include a wide variety of vegetarian, vegan and healthy options. For us, the health and happiness of our customers is priority number one.” - Thaism visions for all value customers
33 >
< 34
Brief สัน� ๆ : รายการยักษ์ควิ � ท์ in New York ถ่ายทําโดยเด็กเสิร์ฟอาหาร ‘ขีอ� ิจฉา’ ออกอากาศทาง Youtube เริม่ 1st December 2016 นี � ติดตามได้ทาง Facebook page : ยักษ์ควิ � ท์ Yakcute
คนขี้อิจฉา
เผลอเแป�บเดียว 4 ปี แล้วครับ ที่ผมกลับ มาจากมหานครนิวยอร์ก โคตรคิดถึง เซ�นทรัลพาร์ค ในฤดูใบไม้ร่วง, พิซซ่ า 1 เหรียญ, กลิ่นฉี่ในซั บเวย์ และประธานาธิบดีคนเก่า อุ ๊บส์! ในสมัยที่ผมยังวิ่งเสิรฟ ์ ผัดไทยไก่อยู ใ่ นย่าน Time Square - เข้างานเช้า - หุงข้าว Bฺ rown rice ชง Thai Ice tea - เลิกงานค�่า - นั่งข้างโฮมเลสใน ซับเวย์รอบดึก - หอบร่างซอมบีข้ องตัวเองไปทิง้ ตัวลง ในห้องขนาดเท่ารู หนู...ชี วิตวนเวียนแบบนี้ ด้วย ความอิจฉา ผมอิจฉาคนที่อยู ่ข้างนอกร้านนั่น ที่มี เวลาไปเสพศิลปะ ไปเล่นดนตรี ในขณะที่ผมก�าลังโรย ผักชี ลงบนต้มย�ากุง้ ผมอิจฉาที่เขาได้มเี วลา มีโอกาส ไปท�าในงานที่เขารัก สิ่งที่เขาถนัด ได้เจิดจรัสบน เวทีระดับโลก แล้วท�าไมเราจึงไม่ได้โอกาสเหล่านัน้ บ้าง เพราะเรามันห่วยหรือ? ผมปาดน�้าตา ขณะที่ช่วยพ่อครัวเม็กซิ กันหั่นหัวหอม ชี วิต 2 ปี ในนิวยอร์ก ผมจึงกลายเป�น เด็กมีปัญหา ติดยา(ดม) เป�นเด็กขี้อิจฉาชาวบ้าน เขามาตลอด ผมอิจฉาที่รถในเมืองนี้หยุ ดให้คนข้าม ถนนก่อน ผมอิจฉาที่คนจู งหมาที่น่นั ก้มลงเก็บอึทุก ก้อนที่หมาเขาทิ้งไว้ ผมอิจฉาที่เขามีรถเข็นอาหาร ริมทางเท้ามากมาย แต่ไม่มีเก้าอี้พลาสติกสีแดงมา ตั้ ง เกะกะขวางทาง ผมอิ จ ฉาที่ เ ขามี ซั บ เวย์ ท่ี ว่ิ ง ตลอด 24 ชั่ วโมง อิจฉาที่ค นพิ ก ารได้ ขึ้ น รถเมล์ อิจฉาที่เขามีพิพิธภัณฑ์สุดยอดมากมายรวมไว้ใน เมืองเล็กๆ แห่งนี้
ความอิ จ ฉาที่ บ่ ม เพาะในตั ว ผมนั้ น แทนที่จะเกิดเป�นความริษยา วิ่งไปซื้ อปื น แล้วออก ไปกราดยิ ง ผู ้ ค นที่ Grand Central ไม่ ค รั บ ! ผมเก็ บ รวบรวมเงิ น ทิ ป ส์ ท่ี ไ ด้ ม าหลายเดื อ น วิ่งเข้าร้านกล้อง แล้วออกไปกราดยิง เก็บภาพ เรื่องราวเหล่านี้มาเก็บไว้ด้วยความอิจฉา นาน วันเข้าความอิจฉาก็เริ่มบานปลาย จากเก็บแค่ภาพ ก็กลายเป�นเขียนบท ออกไปสัมภาษณ์ ไปค้นคว้า ไปหาสถิติข้อมู ล แล้วยังชวนเด็กเสิร์ฟขี้อิจฉาจาก 2 คน เป�น 5 คน เป�น 10 คน เป�นหลายต่อหลาย คน มาร่วมท�าภารกิจขี้อิจฉาครัง้ นี้ร่วมกันด้วย จึงเกิดเป�นรายการ online ของกลุ่มคน ขีอ้ จิ ฉาขึน้ ชื่อว่ารายการ ‘ยักษ์ควิ � ท์ อิน นิวยอร์ก’ ซึ่ งจะออกอากาศให้ ดู กั น ฟรี ๆ ทาง Youtube Channel ‘Yakcute TV’ ตอนแรก 1 ธันวาคมนี้ 2 ทุ่ม เวลาไทย หรือสามารถเข้าไปติดตามเรา ง่ายๆได้ท่ี Facebook page ‘ยักษ์ควิ� ท์’ (Yakcute) ด้วยทุกคนมีจุดมุ ่งหมายที่จะแปรเปลี่ยน ความอิจฉานี้ เป�นแรงบันดาลใจดีๆที่ส่งต่อไปยัง ‘คนที่บ้าน’ ได้ดู แล้วเกิดความอิจฉาเหมือนกับ เรา แล้วลุกขึ้นมาท�าอะไรสักอย่าง ให้บ้านเราไม่ ต้องคอยแต่น่ังอิจฉาเขาอยู ่ร่ �าไป Chnat Wudhiwigaigarn Producer / Host Yakcute in New York kongto eye view 35 >
< 36
เรื่อง > New York มึงหลอกกู @Newyorkyoufoolme
ฮายยย....คุณผู้อ่าน ผู้ติดตาม หาย หน้าหายตากันไปพักใหญ่และเราก็ได้กลับมา พบกันอีก พูดจริงๆ การกลับมาครั้งนี้ ทีแรกก็ นึกว่าเราจะมาตลกโปกฮากันเหมือนเดิม จน กระทั่ง ทั้ง Feed ของ Facebook ในเช้า ของวันที่ 13 ตุลาคม 2559 เพื่อนทุกคนบน Facebook แชร์สิ่ง ต่างๆที่เราเองไม่อยากเชื่อสายตานั้นคือการ เสด็จสวรรคตของในหลวงรัชกาลที่ 9 วันนั้นทั้งวันในใจเต็มไปด้วยความ อึนๆ บวกกับค�าถามที่ถามกับตัวเองในหัว “ใช่ หรอวะ” บรรยากาศของนิวยอร์กที่ไม่เคยไม่ สดใส มันขัดกับใจคนไทยมากๆ เดินไปไหนถ้า เห็นใครหน้าเศร้าๆ ใส่ชุดด�าคือรู้เลยว่าคนไทย เรื่องที่เราจะเสนอในเล่มนี้ เป็นเรื่อง ทีเ่ คยเขียนขึน ้ เมือ ่ เดือนทีแ่ ล้วบนเพจ New York มึงหลอกกู (หาได้ใน facebook ) เป็นเรื่อง ของคุณลุงผิวสีคนหนึ่ง ณ ย่า น Bed-stuy, Brooklyn ชุมชนคนผิวสี (พี่มืด) มีลุงคนนึงชื่อ อัลเฟรด อายุ 69 ป เป็นคน Caribbean เมือ ่ 5-6 เดือน ก่อน ลุงเดินผ่านหน้าร้าน พร้อมเข้ามาทักทาย พอลุงรู้ว่าเราเป็นคนไทย ลุงพูดค�าแรกว่า “Oh Thailand, i know King Bhumibol and Queen Sirikit” บอกตรงๆว่าอึ้งมากคุณลุง บอกว่าในหลวงยังอยูใ่ นวังทีม ่ พ ี ระแก้วมรกตไหม คิงส์ของเธอเล่นดนตรีด้วย การสนทนาราวครึ่งชั่วโมง เราพูดกัน แต่เรื่องในหลวง และประเทศไทยหลังจากนั้น คุณลุงก็หายไป ...
จนวันนี้ (15 ตุลาคม 2559) คุณลุง เดินเข้ามาพร้อมพูดว่า “จ�าฉันได้ไหม” วินาที นั้นบอกตรงๆ ดีใจและก็ตกใจในเวลาเดียวกัน ยังไม่ทน ั ได้เอ่ยอะไร กับคุณลุงพูดขึน ้ มาทันทีว่า “I heard about your King that’s why i’m here” อะหือออออออออออออออออ ..... ได้ยิ น แล้ว น�้ า ตาจะไหล ความรู ้สึ ก มั น ตื้ อ ๆ แบบเห้ยเค้ามาเพือ ่ สิง่ นี้ มาเพือ ่ แสดงความเสียใจ เค้าเป็นใครก็ไม่รู้ เราไม่เคยรู้จักกันมาก่อน แต่ วันที่เรารู้สึกสูญเสีย เค้ากลับเดินเข้ามาแสดง ความเสียใจ คุณลุงอัลเฟรด พูดว่า “Your King playing saxophone” แล้ว ณ ตอนนั้ น เราเปิดเพลงบรรเลงพระราชนิพนธ์อยู่ เลยบอก ว่า “นีไ่ ง เพลงทีท ่ ่านแต่ง” คุณลุงตัง้ ใจมาซือ ้ คุ้กกี้ เราให้ฟรี ลุงบอกว่าไม่ .. เพราะฉันจะซื้อ เรา เลยบอกว่าครั้งนี้ฉันให้เธอเพราะฉันทราบซึ้งใจ มากๆที่เธอมาให้ก�าลังใจคนไทย.... ใจนึงก็คิดอะไรท�าให้ลุงโผล่มาวันนี้ คงเป็นเพราะความดีของในหลวง คงเป็นเพราะ สิง่ ทีใ่ นหลวงท�าต่อสายตาชาวโลก #นิวยอรกเธอไมหลอกฉัน #หนูรักรัชกาลที่9 #เหตุการณทงั้ หมดเปนเรือ ่ งจริงลานเปอเซนต หลังจากเหตุการณ์นี้ผ่านไป เราย้อน ดูความสัมพันธ์ระหว่างในหลวงรัชกาลที่ 9 ต่อ โลกและประเทศเพือ ่ นบ้าน ท�าให้ร้เู ลยว่าในหลวง ท่านทรงงานอย่างหนักในขณะเดียวกันท่านทรง ท�าให้ประชาชนชาวไทยภูมิใจและคนที่ไม่ใช่ คนไทยก็ยังนับถือท่านเช่นกัน “มีทุกอยางที่ดีเพราะใคร … ฉันไมเคยลืม” 37 >
Our collective experiences living in one of the best cities in the world Facebook : www.facebook.com/newyorknotmyhome IG : @Newyorknotmyhome
“
“
ทุกเรื่องร้ายที่ผ่านเข้า ......ดีหมด
Titapond Kunna(เดี ย ร )
Facebook | Tita Dear Instagram @tita_kunna www.facebook.com/titakunna www.titakunna.com
33 41 >>
here magazine เปิ ดพื้นที่ให้กับคนที่รักการถ่ายภาพ โดยการแชร์ภาพผ่านแอพพลิเคชั่ นอินสตาแกรม พร้อมติด Hashtag #Newyorkishere และ #LAishere พร้อมระบุ สถานที่
< 42
พื้นที่ของคนอยากเขียน
เรื่องและภาพ > ตัวย่อ เราเดิ น ทางไปนิ ว ยอร์ก พร้อ มกั บ พ่อ แม่ เพื่อไปหาพี่ ช ายและน้อ งชาย โดยที่ พ วกเราก็ เ หมื อ น คนไทยทั่วไปที่มีโอกาสได้ไปเที่ยวในนิวยอร์ก เดินดูวิ ถี ชีวิตของ New Yoker เรียกได้ว่าตลอดระยะเวลา 1 เดือนที่ได้อยู่ ที่นิ ว ยอร์ก พวกเราไปครบทุ ก ที่ ที่ เ ป็น สถานที่ ส� า คั ญ ของนิวยอร์ก แต่สิ่งที่ต่างออกไปคือการที่พวกเราได้ ไปด้วยกัน เรือ ่ งเล็กๆน้อยๆทีพ ่ วกเราต้องเจอ กลายเป็น เรือ ่ งใหญ่ๆ ที่ท�าให้เราจดจ�าว่าครั้งหนึ่ง พวกเราเคยไปอยู่ตรงนั้น ร่วมหัวจมท้ายกัน ที่ต่างถิ่นต่างแดน มีเหตุการณ์หนึ่งที่ท�าให้เราจดจ�าได้ดี วันนั้น เราไปเที่ยวที่โซโหกัน พวกเราเข้าไปในร้านขายรองเท้า แบรนด์หนึ่งที่คุณพ่ออยากได้มานาน เมื่อเข้าไปได้พัก หนึ่ง ในขณะที่คุณพ่อก�าลังเลือกรองเท้า จู่ๆฝนก็ตกลง มาอย่างหนักและไม่มีทีท่าว่าจะหยุด พี่ชายโทรมาบอก ว่าบางแห่งในแมนฮัตตันมีนา�้ ท่วม พวกเราจึงไม่กล้าออก จากร้านไป พนักงานจึงบอกให้พวกเรารออยู่ในร้านจน กว่าฝนจะหยุด เราเคยคิดว่าการติดอยู่ที่ไหนนานๆเป็น เรื่องเสียเวลานะ จนวันนัน ้ ทีพ ่ วกเราติดฝนอยู่ในร้านเล็กๆเพือ ่ รอจนกว่าฝนจะหยุด พวกเราจึงได้อยู่ด้วยกันพูดคุยถึง เรื่องเล็กๆน้อยๆในแต่ละวันที่เราเจอที่นิวยอร์ก พูดถึง เมืองไทย พูดถึงญาติคนอื่นๆที่รอของฝากอยู่ ช่วงเวลา นั้นมันมีความสุข ความอบอุ่นเกิดขึ้นในร้านเล็กๆนั้น แม้ร้านรองเท้าร้านนัน ้ จะไม่ได้เป็น Landmark ของนิวยอร์ก แต่มน ั กลายเป็น Landmark ของพวกเรา ถ้าในอนาคตได้กลับไปนิวยอร์กก็อยากกลับทีร่ ้านรองเท้า ร้านนั้นอีกครั้ง เราชอบนิวยอร์กในแบบทีม ่ น ั เป็นมัน นิวยอร์ก เหมือนคนคนนึงที่มีหลากหลายอารมณ์ มีหลายด้านอยู่ ที่เราจะเลือกมองมัน มันมีเสน่ห์ในแบบที่คนอื่นไม่มี ถ้าคุณโชคดีได้นิวยอร์กเป็นเพื่อนสนิท ชีวิต ของคุณจะไม่มค ี า� ว่าหยุดเดิน คุณจะได้ก้าวไปหาสิง่ ใหม่ๆ อยู่เสมอ ถ้าใครถามเราว่านิวยอร์กเป็นยังไง เราจะบอก ให้เขาไป....ไปถึงจะรู้ว่านิวยอรกมันนิวยอรกแค่ไหน
43 >
www.facebook.com/newyorkishere www.issuu.com/newyorkishere Instagram @newyorkishere
Click
1.646.954.4256
.com