คณิ ตศาสตร์พ นื ฐาน ชั นมัธยมศึกษาปี ที 3
เล่ม 2
สารบัญ หนา คําชี้แจง คําชี้แจงการใชคูมือครู กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ บทที่ 1 อสมการ ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป แนวทางในการจัดการเรียนรู 1.1 อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว จุดประสงค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1.2 การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว จุดประสงค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1.3 โจทยปญหาเกีย่ วกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว จุดประสงค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม บทที่ 2 ความนาจะเปน ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป แนวทางในการจัดการเรียนรู 2.1 ความนาจะเปน จุดประสงค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2.2 การทดลองสุมและเหตุการณ จุดประสงค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2.3 ความนาจะเปนของเหตุการณ จุดประสงค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ก ง 1 1 2 2 2 2 3 3 3 4 4 4 5 11 11 12 12 12 12 13 13 13 14 14 15
2.4 ความนาจะเปนกับการตัดสินใจ จุดประสงค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม บทที่ 3 สถิติ ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป แนวทางในการจัดการเรียนรู 3.1 ขอมูลและการนําเสนอขอมูล จุดประสงค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3.2 คากลางของขอมูล จุดประสงค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม บทที่ 4 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป แนวทางในการจัดการเรียนรู 4.1 กิจกรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร จุดประสงค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4.2 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรกบั ตรีโกณมิติ จุดประสงค ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คณะกรรมการจัดทําสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
16 16 16 17 25 25 26 26 26 26 28 28 28 30 43 44 45 45 45 45 48 48 48 49
5 2. เมื่อนักเรียนแกอสมการและหาคําตอบได ครูควรฝกใหนักเรียนตรวจสอบคําตอบที่ไดวาตรง กับเงื่อนไขในโจทยหรือไม และควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาคําตอบของโจทยปญหาอาจเปนเพียงบางคําตอบ ของอสมการที่หาได ทั้งนี้ขนึ้ อยูกับเงื่อนไข เชน ถาเปนความยาวจะเปนจํานวนบวก นักเรียนตอง ตรวจสอบคําตอบและความสมเหตุสมผลของคําตอบตามเงื่อนไขของโจทยแตละขอ 3. กิจกรรม “คิดหนอย” เปนโจทยเชื่อมโยงความรูเรือ่ งอัตราสวนกับอสมการเชิงเสน ตัวแปรเดียว 4. กิจกรรม “อสมการอิงรูปสามเหลี่ยม” เปนกิจกรรมที่แสดงถึงการเชื่อมโยงความรูเรื่อง อสมการไปใชในการแกปญหาทางเรขาคณิต ความรูเรือ่ งอสมการอิงรูปสามเหลี่ยมจะนําไปใชมากใน คณิตศาสตรระดับสูงขึ้นไป
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบแบบฝกหัด 1.1 1. 1) 3x + 6 < 20 2) 3x < 18 3) x + 7 > 25 4) 157 x ≠ 105 5) 43 (x – 2) < 40
6) 2(x – 4) < 5(x + 8) 7) 43 x + 8 < 15 2. 1)
2)
3)
-18
-9
0
9
18
27
-9
-6
-3
0
3
6
-12
-6
0
6
12
18
6 4)
5)
-10
0
10
20
30
40
-6
0
6
12
18
24
3. 1) 2) 3) 4) 5) 6)
จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา -2 จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ 8 จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 15 จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน -6 จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 10 แตนอยกวาหรือเทากับ 30 จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ -150 แตนอยกวาหรือเทากับ 50
คําตอบกิจกรรม “นาคิด” 1. ไมถูกตอง 2. ไมถูกตอง 3. ไมถูกตอง 4. ถูกตอง
5. ไมถูกตอง 6. ไมถูกตอง
ตัวอยางเชน a = 1, b = 2 และ c = -5 จะได 1 < 2 แต (1)(-5) > (2)(-5) หรือ -5 > -10 ตัวอยางเชน a = -10 และ b = 3 จะได -10 < 3 แต (-10)2 > 32 หรือ 100 > 9 ตัวอยางเชน a = 2 และ b = -3 จะได 22 < (-3)2 หรือ 4 < 9 แต 2 > -3 เนื่องจากเมือ่ a, b และ c แทนจํานวนจริงใด ๆ ถา a < b แลว -a > -b (สมบัติการคูณของการไมเทากัน) -a + c > -b + c (สมบัติการบวกของการไมเทากัน) หรือ c–a > c–b ตัวอยางเชน a = -2, b = 1 และ c = 0 จะได -2 < 1 แต (-2)2 – 02 > 12 – 02 หรือ 4 > 1 ตัวอยางเชน a = -5 และ b = 5 จะได -5 ≠ 5 แต (-5)2 = 52 หรือ 25 = 25
7
คําตอบแบบฝกหัด 1.2 1. 1) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ 7 5 า2 6 2) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกว -1
0
7
8
9
1
2
3
3) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ 12 -6
0
6
12
18
2
4
6
8
-7
0
7
14
4) จํานวนจริงทุกจํานวนที่ยกเวน 4 0
5) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 7 -14
6) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ 13 11
12
13
14
15
0
5
10
15
37
74
111
148
7) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 5 -5
8) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน 111 0
15 9) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 14 2
1 15
10) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน 5 -5
14
0
5
10
15
8 2. 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12)
จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 26 จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา -2 จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ 5 จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ -3 จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 1 จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน -83 จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ 31 จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ 72 จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ 3 จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 15 79 จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน -4 จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน 0
คําตอบกิจกรรม “บอกหนอยซิ” 1) ไมมีจํานวนจริงใดเปนคําตอบ ตัวอยางแนวคิด จํานวนใดจํานวนหนึ่งลบดวย 2 ยอมมากกวาจํานวนนัน้ ลบดวย 3 ดังนั้น ไมมจี ํานวนใดลบดวย 2 แลวยังนอยกวาจํานวนนั้นลบดวย 3 2) จํานวนจริงทุกจํานวน ตัวอยางแนวคิด สองเทาของจํานวนใดจํานวนหนึ่ง ยอมมากกวาสองเทาของจํานวนนัน้ ลบดวย 1 3) จํานวนจริงทุกจํานวน ตัวอยางแนวคิด จํานวนใดจํานวนหนึ่งลบดวย 2 ยอมนอยกวาจํานวนนัน้ บวกดวย 1 4) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 0 ตัวอยางแนวคิด สองเทาของจํานวนบวก ยอมมากกวาจํานวนนัน้ หรือ 2y > y 2y – y > 0 ดังนั้น y > 0
9
คําตอบแบบฝกหัด 1.3 1. 2. 3. 4. 5.
249 หนา 48 เหรียญ 11 และ 12 135 ตารางเซนติเมตร จํานวนนักเรียนหอง ก ที่เปนไปไดคือ 24, 30, 36, ..., 48 ( 23 ของจํานวนนักเรียนหอง ก และ 12 ของนักเรียนหอง ข ตองเปนจํานวนนับ) 6. ควรบรรจุมะมวงใสลังอยางนอยลังละ 55 ผล อยางมากลังละ 75 ผล
คําตอบกิจกรรม “คิดหนอย” คําตอบ แนวคิด
เดิมแชมเลีย้ งสัตวไวทั้งหมดเปนจํานวนใดจํานวนหนึ่งในจํานวนตอไปนี้ 1002, 1008, 1014, ..., 1398 ใหแชมเลี้ยงสัตวไวทั้งหมด x ตัว ขายเปดไป 500 ตัว ขายไกไป 200 ตัว ดังนั้น ขายสัตวไปทั้งหมด 700 ตัว นั่นคือ จะเหลือสัตวทั้งหมด x – 700 ตัว แตเหลือสัตวไมถึงครึ่งหนึ่งของจํานวนสัตวเดิม จะได x – 700 < x2 ดังนั้น x < 1400 --------------- (1) จากอัตราสวน เปด : ไก : กระตาย = 3 : 2 : 1 นั่นคือ เมื่อมีสัตวทั้งหมด 6 ตัว จะเปนเปด 3 ตัว ไก 2 ตัว และกระตาย 1 ตัว ดังนั้น ถามีสัตว x ตัว จะเปนเปด 63 x ตัว ไก 26 x ตัว และกระตาย x6 ตัว เนื่องจากขายเปดไป 500 ตัว แสดงวามีเปดอยางนอย 500 ตัว 3 ดังนั้น 6 x > 500 x > 1000 --------------- (2) และขายไกไป 200 ตัว 2 x > 200 ดังนั้น 6 x > 600 --------------- (3)
10 จาก (1), (2) และ (3) จะได 1000 < x < 1400 และจากอัตราสวนของจํานวนเปด ไก และกระตาย เปน 3 : 2 : 1 ดังนั้น จํานวนสัตวทั้งหมดคือ x ตองหารดวย 6 ลงตัว ซึ่งจํานวนทีอ่ าจเปนไปได ไดแก 1002, 1008, 1014, ..., 1398 นั่นคือ แชมเลีย้ งสัตวไวทั้งหมดเปนจํานวนใดจํานวนหนึง่ ดังขางตน
คําตอบกิจกรรม “อสมการอิงรูปสามเหลี่ยม” 1. (1) สวนของเสนตรงในขอ 1) และ 3) สามารถประกอบเปนรูปสามเหลี่ยมได เพราะผลบวกของ ความยาวของดานสองดานใด ๆ จะยาวกวาความยาวของดานที่เหลือ (2) สวนของเสนตรงในขอ 2) และ 4) ไมสามารถประกอบเปนรูปสามเหลี่ยมได เพราะมีผลบวก ของความยาวของดานสองดาน บางคูไมยาวกวาความยาวของดานที่เหลือ ดังนี้ ในขอ 2) ผลบวกของความยาวของดานที่ยาว 7 และ 9 ซึ่งเทากับ 16 เซนติเมตร สั้นกวาความยาวของดานที่เหลือซึ่งยาว 17 เซนติเมตร ในขอ 3) ผลบวกของความยาวของดานที่ยาว 4 และ 11 ซึ่งเทากับ 15 เซนติเมตร ไมยาวกวาความยาวของดานที่เหลือซึ่งยาว 15 เซนติเมตร 2. 1) 6 < AB < 24 2) 23 < AB < 196
17 7. กิจกรรม “ลีลาวดีลูกผสม” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางของการเชื่อมโยงที่นํา ความรูเรื่องความนาจะเปนมาอธิบายปรากฏการณทางวิทยาศาสตร ครูอาจใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและ ตอบคําถามในกิจกรรม
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบกิจกรรม “คิดอยางไร” สถานการณ 1 สถานการณ 2 สถานการณ 3 สถานการณ 4
กองคิดวามีโอกาสที่จะขึ้นรถเมลที่ปายตรงจุด C ไดมากกวาที่ปา ยตรงจุด B แกวคิดวามีโอกาสที่ฝนจะตกในเวลาอันใกล ออคิดวามีโอกาสที่จะเขาเรียนไดในโรงเรียน ข มากกวาในโรงเรียน ก คนเมาแลวขับรถมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุสูง
คําตอบกิจกรรม “ไดเปรียบหรือไม” 1. 2. 3. 4.
ถุงที่สาม เพราะในถุงมีลูกแกวสีแดงมากกวาลูกแกวสีเขียว ถุงที่สอง เพราะในถุงมีลูกแกวสีเขียวอยางเดียว ถุงที่สอง ถุงที่หนึ่ง
คําตอบกิจกรรม “เปนหรือไม” 1. 2. 3. 4. 5. 6.
เปน เปน ไมเปน เปน เปน ไมเปน
คําตอบแบบฝกหัด 2.2 1. 1) ชาย ชาย, ชาย หญิง, หญิง ชาย และ หญิง หญิง
18 2) เตาสวน บัวลอย, เตาสวน ถั่วดํา, เตาสวน กลวยบวชชี, บัวลอย ถั่วดํา, บัวลอย กลวยบวชชี และ ถั่วดํา กลวยบวชชี 3) ไทย พมา, ไทย ลาว, ไทย บรูไน, ไทย มาเลเซีย, พมา ลาว, พมา บรูไน, พมา มาเลเซีย, ลาว บรูไน, ลาว มาเลเซีย และ บรูไน มาเลเซีย 2. ผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการโยนเหรียญ 1 เหรียญ 3 ครั้ง คือ HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH และ TTT 1) ออกกอย 1 ครั้ง มีผลลัพธ คือ HHT, HTH และ THH 2) ออกหัวนอยกวาออกกอย มีผลลัพธ คือ HTT, THT, TTH และ TTT 3) ออกกอยมากกวา 2 ครั้ง มีผลลัพธ คือ TTT 4) ไมมีผลลัพธของเหตุการณออกหัวและออกกอยจํานวนครั้งเทากัน 3. ผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการหมุนแปน 2 แปนพรอมกัน คือ (-1, -4), (-1, +5), (-1, +6), (+2, -4), (+2, +5), (+2, +6), (-3, -4), (-3, +5) และ (-3, +6) 1) ผลบวกเปนจํานวนลบ มีผลลัพธ คือ (-1, -4), (+2, -4) และ (-3, -4) 2) ผลบวกเปน 8 มีผลลัพธ คือ (+2, +6) 3) ไมมีผลลัพธของเหตุการณผลบวกเปน 1 4. เพื่อนจะไดรับลูกอมรสตาง ๆ คือ นม สม, นม องุน, นม สละ, สม องุน, สม สละ และ องุน สละ
คําตอบแบบฝกหัด 2.3 1.
2.
1) 16 2) 63 หรือ 12 3) 63 หรือ 12 4) 46 หรือ 23 1) 158 2) 156 หรือ 25 3) 151 4) 150 หรือ 0
19 3.
4.
5.
1) 87 2) 18 3) 08 หรือ 0 4) 48 หรือ 12 1) 366 หรือ 16 8 หรือ 2 2) 36 9 3) 1 4) 30 36 หรือ 5) 366 หรือ 2 หรือ 1 12 6
5 6 1 6
คําตอบกิจกรรม “คาดการณอยางไร” ตัวอยางคําตอบ สถานการณ 1
สถานการณ 2
สถานการณ 3
จุรีนาจะไดรับประทานสมโชกุน เนื่องจากจํานวนสมโชกุนมากกวาจํานวนสมอื่น ๆ แตละชนิด ทําให ความนาจะเปนที่ลูกชายของจุรีจะหยิบไดสมโชกุนมากกวาความนาจะเปนที่จะ หยิบไดสมสายน้ําผึ้ง และมากกวาความนาจะเปนที่จะหยิบไดสมบางมด เนื่องจากความนาจะเปนที่จะจับฉลากไดเรียนในโรงเรียน ก เทากับ 120 200 หรือ 6 300 10 มากกวาความนาจะเปนที่จะจับฉลากไดเรียนในโรงเรียน ข ซึ่งเทากับ 600 หรือ 105 จากขอมูลเกี่ยวกับรายงานอากาศและเหตุการณที่เห็น ทําใหสรุปไดวา มี ความนาจะเปนสูงที่ฝนจะตกในวันนัน้ ดังนั้นวันเพ็ญควรเตรียมรมหรือเสื้อกันฝน ติดตัวไปโรงเรียน และควรออกจากบานเร็วขึ้นเพื่อเผื่อเวลาในการเดินทาง เพราะ อาจมีปญหาการจารจร หรืออุปสรรคอื่น ๆ
20 สถานการณ 4
สถานการณ 5
สถานการณ 6
ปาละเมียดนาจะเตรียมอาหารมาขายเพิ่มขึน้ เนื่องจากมีความนาจะเปนสูงที่ ผูมาสอบจะตองรับประทานอาหารกลางวันที่โรงเรียน เพราะมีการสอบทั้ง ชวงเชาและชวงบาย เมื่อ 2 ปกอนชัยคาดการณทหี่ วังร่ํารวยจากการผลิตผลแกวมังกรออกมาขายและ เปนการตัดสินใจที่ไมถูกตอง ทั้งนี้เนื่องจากชัยไมไดคิดถึงความนาจะเปนที่ ผลแกวมังกรจะลนตลาด เพราะมีชาวสวนคนอื่น ๆ ตางก็ผลิตผลแกวมังกรออก มาดวย เนื่องจากการผลิตสินคาใด ๆ มีโอกาสเกิดความผิดพลาดในการผลิตดวยเหตุ จากชิ้นสวนดอยคุณภาพ หรือฝมือการประกอบสินคาไมไดมาตรฐาน ดังนั้น มีความนาจะเปนที่รถยนตใหมบางคันจะเกิดปญหาในการใช จนตองสงเขาซอม บอย ๆ
คําตอบกิจกรรม “ชวยกันรณรงค” โครงการรณรงคตาง ๆ ของรัฐบาลมีการนําความรูเกีย่ วกับความนาจะเปนมาใชเปนประโยชน เนื่องจากไดวิเคราะหมาแลววา ถาไมมีการรณรงคก็มีความนาจะเปนสูงที่จะทําใหสังคม หรือ สิ่งแวดลอมเกิดปญหา และการรณรงคตาง ๆ เปนการใหความรูความเขาใจกับประชาชน เมื่อ ประชาชนมีโอกาสไดฟงไดเห็นบอย ๆ ทําใหมีความนาจะเปนสูงที่ประชาชนจะคลอยตาม และ ปฏิบัติตามการรณรงคนั้น ตัวอยางโครงการรณรงค เชน โครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติ และโครงการ ทูบีนัมเบอรวนั
คําตอบกิจกรรม “หวยทอง” 1. คาคาดหมายเทากับ 50 บาท แนวคิดและตัวอยางคําอธิบาย คาคาดหมาย = (ผลตอบแทนที่ถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ถูกรางวัล) + (ผลตอบแทนที่ไมถกู รางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณทไี่ มถูกรางวัล) 2 ) + ( 0 × 98 ) = ( 2,500 × 100 100 = 50 บาท
21 ดังนั้น คาคาดหมายที่ผซู ื้อจะไดเงินจากการซื้อสลากสองหมายเลขเทากับ 50 บาท แสดงวา ในการซื้อหวยทองหมายเลขละ 100 บาทสองหมายเลข มีคาคาดหมายที่จะไดเงิน 50 บาท ซึ่งเสียเปรียบอยู 200 – 50 = 150 บาท นั่นคือ ถาซื้อหวยทองสองหมายเลขหลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ยแลวแตละครั้งผูซื้อจะเสียเปรียบหรือผูขาย มีกําไร 2. ผูขายยังจะไดกําไร แนวคิดและตัวอยางคําอธิบาย คาคาดหมาย = (ผลตอบแทนที่ถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ถูกรางวัล) + (ผลตอบแทนที่ไมถกู รางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณทไี่ มถูกรางวัล) 1 ) + ( 0 × 99 ) = ( 2,500 × 100 100 = 25 บาท ดังนั้น คาคาดหมายที่ผซู ื้อจะไดเงินจากการซื้อสลาก ราคา 50 บาทเทากับ 25 บาท แสดงวา ในการซื้อหวยทองหนึ่งหมายเลขราคา 50 บาท มีคาคาดหมายทีจ่ ะไดเงิน 25 บาท ซึ่ง เสียเปรียบอยู 50 – 25 = 25 บาท นั่นคือ ถาซื้อหวยทองหมายเลขละ 50 บาทหลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ยแลวแตละครั้งผูซื้อจะเสียเปรียบหรือ ผูขายมีกําไร 3. ผูขายยังจะไดกําไร แนวคิดและตัวอยางคําอธิบาย คาคาดหมาย = (ผลตอบแทนที่ถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ถูกรางวัล) + (ผลตอบแทนที่ไมถกู รางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณทไี่ มถูกรางวัล) 1 ) + ( 0 × 99 ) = ( 5,000 × 100 100 = 50 บาท ดังนั้น คาคาดหมายที่ผซู ื้อจะไดเงินจากการซื้อสลากราคา 100 บาท โดยมีรางวัลเปนสรอยทองคําหนัก สองสลึงหนึ่งเสนราคา 5,000 บาทเทากับ 50 บาท แสดงวา ในการซื้อหวยทองที่มีการขายสลากราคาเดิม แตเพิ่มรางวัลเปนสรอยทองคําหนักสองสลึง หนึ่งเสนราคา 5,000 บาท มีคาคาดหมายที่จะไดเงิน 50 บาท ซึ่งเสียเปรียบอยู 100 – 50 = 50 บาท นั่นคือ ถาซื้อหวยทองหลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ยแลวแตละครั้งผูซื้อจะเสียเปรียบหรือผูขายมีกําไร
22
คําตอบกิจกรรม “ไดหรือไม” 1. 1) 82 หรือ 14 2) 86 หรือ 43
3) คาคาดหมาย เทากับ 5 บาท ตัวอยางคําอธิบาย แสดงวา ในการซื้อตั๋วหมุนวงลอเสี่ยงโชคราคา 10 บาท มีคาคาดหมายที่จะไดเงิน 5 บาท ซึ่งเสียเปรียบอยู 10 – 5 = 5 บาท นั่นคือ ถาแกวซื้อตั๋วหมุนวงลอเสี่ยงโชคหลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ยแลวแตละครั้งแกวตาจะ เสียเปรียบหรือผูขายมีกําไร 4) คาคาดหมาย เทากับ 10 บาท ตัวอยางคําอธิบาย แสดงวา ในการซื้อตั๋วหนึ่งใบหมุนวงลอเสี่ยงโชคสองครั้งราคา 10 บาท มีคาคาดหมายที่ จะไดเงิน 10 บาท ซึ่งเสียเปรียบอยู 10 – 10 = 0 บาท นั่นคือ ถาแกวตาซื้อตั๋วหมุนวงลอเสี่ยงโชคหลาย ๆ ใบ โดยเฉลี่ยแลวแตละใบแกวตาจะ เสมอตัว 2. 1) คาคาดหมาย เทากับ 180,000 บาท แนวคิด คาคาดหมาย = (ผลตอบแทนที่ไดงานและมีกาํ ไร × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ไดงาน และมีกําไร) + (ผลตอบแทนที่ไมไดงาน × ความนาจะเปนของเหตุการณ ที่ไมไดงาน) = ( 300,000 × 0.6 ) + ( -200,000 × 0.4 ) = 100,000 บาท 2) ตัวอยางคําตอบ บริษัทชาญชัยกอสรางควรเขาประมูลราคา เพราะมีคาคาดหมายทีจ่ ะไดกําไร 100,000 บาท ทั้งทําใหคนงานมีงานทํา ซึ่งถาไมมีงาน อาจตองปลดออก โดยบริษัทอาจ ตองเสียคาใชจายในการปลดออกเปนเงินจํานวนหนึง่ และไมมีรายไดเขามา สวนในกรณี บริษัทเขาประมูลและไมไดงานดวยความนาจะเปน 0.4 ก็ควรจะถือเปนความเสี่ยงทางธุรกิจที่ จะเสียเงินคาใชจายในการเตรียมขอมูล 200,000 บาท
23
คําตอบกิจกรรม “สลากกินแบงรัฐบาล” คําตอบในตารางเปนดังนี้ เหตุการณ
ผลตอบแทน (บาท)
ถูกรางวัลเลขทาย 2 ตัว
1,000
ถูกรางวัลเลขทาย 3 ตัว
2,000
ถูกรางวัลขางเคียง รางวัลที่หนึ่ง
50,000
ถูกรางวัลที่ 5
10,000
ถูกรางวัลที่ 4
20,000
ถูกรางวัลที่ 3
40,000
ถูกรางวัลที่ 2
100,000
ถูกรางวัลที่ 1
2,000,000
ไมถูกรางวัลเลย
0
ความนาจะเปน 10,000 1,000,000 4,000 1,000,000 2 1,000,000 100 1,000,000 50 1,000,000 10 1,000,000 5 1,000,000 1 1,000,000 985,832 1,000,000
ผลตอบแทน × ความนาจะเปน
1,000 × 10,000
1,000,000 2,000 × 4,000 1,000,000 50,000 × 2 1,000,000 10,000 × 100 1,000,000 20,000 × 50 1,000,000 40,000 × 10 1,000,000 100,000 × 5 1,000,000 2,000,000 × 1 1,000,000 0 × 985,832 1,000,000
คาคาดหมายของการซื้อสลากหนึ่งฉบับ เทากับ ดังนั้น ถาซื้อสลากกินแบงรัฐบาลไปเรื่อยๆ จะขาดทุนฉบับละ 40 – 23 = 17 บาท
= 10 = 8 = 0.1 = 1 = 1 = 0.4 = 0.5 = 2 = 0 23
24
คําตอบกิจกรรม “ลีลาวดีลูกผสม” 1. 1 2. 0 3.
ลีลาวดีดอกสีชมพู RW 4. 42 หรือ 12 5. 42 หรือ 12
R W
ลีลาวดีดอกสีชมพู RW R W RR RW RW WW
30 9. ความคลาดเคลื่อนในการใชสถิติ ในสวนนี้เปนเพียงตัวอยางสถานการณที่เนนเฉพาะความ คลาดเคลื่อนที่เกิดจากการเก็บรวบรวมและการนําเสนอขอมูล ดังปรากฏในกิจกรรม “เชื่อถือไดเพียงใด” และกิจกรรม “ภาพลวงตา” สวนความคลาดเคลื่อนในแงอื่น ๆ เชน ความคลาดเคลื่อนจากการวิเคราะห ขอมูลอันเนื่องจากการใชคากลางที่ไมเหมาะสม ไดมีการสอดแทรกมากอนหนาแลวในหัวขอ 3.2 นี้ 10. กิจกรรม “ประชากรของประเทศไทย” มุงใหนักเรียนไดเห็นการนําเสนอขอมูลในรูป แผนภูมแิ ทงทีม่ ีลักษณะพิเศษ แตกตางจากที่นักเรียนคุน เคย และเพื่อเปนการฝกการวิเคราะหแปล ความหมาย ตลอดจนฝกการคาดการณในอนาคตเกีย่ วกับจํานวนของประชากร ครูอาจใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายและตอบคําถามตามที่เสนอไวหรือคําถามอื่น ๆ เพิ่มเติมตามความเหมาะสม
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบกิจกรรม “มีขั้นตอนอยางไร” ตัวอยางคําตอบ : สุดาและเพื่อนอาจดําเนินการตามลําดับ ดังนี้ 1. สํารวจความคิดเห็นของสมาชิกดวยการถามทุกคนโดยตรง 2. จําแนกจํานวนตามแบบที่เลือก 3. แบบที่มีคนเลือกมากที่สุด คือ แบบที่คนสวนใหญพอใจ
คําตอบกิจกรรม “บอกไดไหม” 1. 2. 3. 4. 5.
ขอมูลเชิงปริมาณ ขอมูลเชิงคุณภาพ ขอมูลเชิงคุณภาพ ขอมูลเชิงปริมาณ ขอมูลเชิงคุณภาพ
คําตอบกิจกรรม “ตารางบอกอะไร” 1. จํานวนครัวเรือนเกษตรและเนื้อที่ถือครองทําการเกษตร เฉลี่ยตอครัวเรือน จําแนกตามภาค ป 2536 ป 2541 และป 2546 2. 5,787,774 ครัวเรือน 19.7 ไร
31 3. ครัวเรือนเกษตรในป 2541 ลดลงจากป 2536 67,447 ครัวเรือน และในป 2546 เพิ่มขึ้นจากป 2541 210,513 ครัวเรือน 4. เนื้อที่ถือครองทําการเกษตรเฉลี่ยตอครัวเรือนเกษตรในป 2541 ลดลงจากป 2536 0.9 ไร และในป 2546 ลดลงจากป 2541 0.2 ไร 5. 17,863,500 ครัวเรือน 6. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รอยละ 45.60
คําตอบกิจกรรม “หมวกกันน็อก” 1. 2. 3. 4.
กลุมอายุ 0 – 14 ป คิดเปนรอยละ 65.8 กลุมอายุ 15 – 24 ป คิดเปนรอยละ 64.2 รอยละของกลุมอายุ 60 ปขึ้นไป และมากกวากันรอยละ 38.7 ลําดับที่ 1 กลุมอายุ 0 – 4 ป (คิดเปนรอยละ 5.5) ลําดับที่ 2 กลุมอายุ 60 ปขึ้นไป (คิดเปนรอยละ 9.4) ลําดับที่ 3 กลุมอายุ 15 – 24 ป (คิดเปนรอยละ 17.2) ลําดับที่ 4 กลุมอายุ 40 – 59 ป (คิดเปนรอยละ 20) ลําดับที่ 5 กลุมอายุ 25 – 39 ป (คิดเปนรอยละ 22.6)
คําตอบกิจกรรม “ตอบไดไหม” 1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2. รอยละ 9 3. 0.5 ลานคน หรือ 5 แสนคน
คําตอบกิจกรรม “ขาวหอมมะลิ” 1. 2. 3. 4.
พ.ศ. 2544 ป 2545 กรกฎาคม สิงหาคม และ ธันวาคม พฤศจิกายน ป พ.ศ. 2546 ประมาณ 290,000 ตัน
32
คําตอบกิจกรรม “วันสงกรานต” 1. ตัวอยางคําตอบ 1) แผนภูมแิ ทง หรือกราฟเสน เพราะ ตองการแสดงการเปรียบเทียบจํานวนผูเสียชีวิต จากอุบัตเิ หตุจราจรในเทศกาลสงกรานต โดยจําแนกตามป พ.ศ. เพียงอยางเดียว 2) นําเสนอดวยแผนภูมิแทง ดังนี้ แผนภูมิแสดงจํานวนผูเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรในเทศกาลสงกรานต ป 2544 – 2548 จํานวนผูเสียชีวิต (คน) 800 700 600 500 400 300 200 100 0
530
2544
606
2545
668
654 522
2546
2547
2548
ป
ที่มา : ขอมูลป 2544 – 2546 จากศูนยนเรนทร กระทรวงสาธารณสุข : ขอมูลป 2547 – 2548 จากหนังสือพิมพมติชน ฉบับวันที่ 19 เมษายน 2548 2. ตัวอยางคําตอบ 1) แผนภูมแิ ทง หรือกราฟเสน เพราะ ตองการแสดงการเปรียบเทียบจํานวนผูเสียชีวิตจาก อุบัติเหตุจราจร โดยจําแนกตามเพศและวันที่ที่เกิดอุบัติเหตุจราจร 2) นําเสนอดวยแผนภูมิแทง ดังนี้
33 แผนภูมิแสดงจํานวนผูเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร แยกตามเพศในชวงเทศกาลสงกรานต ตั้งแตวันที่ 11 – 17 เมษายน 2546 จํานวนคน 200
รวม ชาย หญิง
150 100 50 0
12
11
14
13
15
16
17
วันที่
ที่มา : ศูนยนเรนทร กระทรวงสาธารณสุข 3. ตัวอยางคําตอบ 1) กราฟเสน หรือแผนภูมิแทง เพราะ ตองการแสดงการเปรียบเทียบจํานวนผูเสียชีวิตจาก อุบัติเหตุจราจร ในชวงเทศกาลสงกรานตโดยจําแนกตามป พ.ศ. และวันที่ที่เกิดอุบัติเหตุ 2) นําเสนอดวยกราฟเสน ดังนี้ กราฟเสนแสดงจํานวนผูเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรในชวงเทศกาลสงกรานต ตั้งแตวันที่ 11 – 17 เมษายน 2544 – 2546 จํานวนคน 200 150
2544 2545
100 50 0
2546 11
12
13
14
15
ที่มา : ศูนยนเรนทร กระทรวงสาธารณสุข
16
17
วันที่
34
คําตอบกิจกรรม “แรงงานขั้นต่ํา” 1. 42 บาท 2. 7 + 1 = 8 อันตรภาคชั้น 3. คาจางขัน้ ต่าํ (บาท)
รอยขีด
136 – 141 142 – 147 148 – 153 154 – 159 160 – 165 166 – 171 172 – 177 178 – 183
11 47 8 1 2 – – 7
4. 1) 2) 3) 4)
142 – 147 บาท 67 จังหวัด 9 จังหวัด ไมมี
คําตอบกิจกรรม “เอดส” 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
ความถี่
ไมเทากัน อายุต่ํากวา 15 ป และอายุ 60 ปขึ้นไป 5 ชวง 30 – 34 ป และมีจํานวน 439 คน 403 คน 992 คน 419 คน บอกไมได
35
คําตอบแบบฝกหัด 3.1 1. 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7)
10 คน ชวงเวลา 25 – 30 นาที 13 คน บอกไมได บอกไมได บอกไมได ใช
2. ชวงอายุ (ป)
รอยขีด
ความถี่ (คน)
รวม
11 10 11 18 13 12 5 80
10 – 19 20 – 29 30 – 39 40 – 49 50 – 59 60 – 69 70 – 79 1) 2) 3) 4)
ชวงอายุ 40 – 49 ป 32 คน 17 คน 50 คน
1) 2) 3) 4) 5) 6)
10 คะแนน 64.5 คะแนน 50 – 59 คะแนน 20 คน 85 คน 55 คน
3.
36 7) จํานวน (คน) 90 80 70 60 50 40 30 20
99.5 104.5
89.5
79.5
69.5
59.5
49.5
39.5
0
24.5 29.5
10 คะแนนสอบ
4. สรางฮิสโทแกรมและรูปหลายเหลี่ยมของความถี่ ไดดังนี้ จํานวนหลังคาเรือน 50 40 30 20
100.5
90.5
80.5
70.5
60.5
50.5
40.5
30.5
0
20.5
10 พื้นที่ (ตารางวา)
37 จํานวนหลังคาเรือน 50 40 30 20
100.5 105.5
90.5
80.5
70.5
60.5
50.5
40.5
30.5
0
15.5 20.5
10 พื้นที่ (ตารางวา)
คําตอบกิจกรรม “แบบไหนดี” ตัวอยางคําตอบ 1. แผนภูมิรูปวงกลม เพราะตองการแสดงการเปรียบเทียบการใชจายในการจัดนิทรรศการทางวิชาการ ของโรงเรียน โดยจําแนกตามประเภทการใชจายเพียงอยางเดียว 2. แผนภูมแิ ทง เพราะตองการแสดงการเปรียบเทียบจํานวนผูโดยสารรถไฟฟาบีทีเอส โดยจําแนกเปน รายวันใน 1 สัปดาหเพียงอยางเดียว 3. ตารางแจกแจงความถี่ เพราะปริมาณของขอมูลมีมากและซ้ํา ๆ กัน 4. กราฟเสน เพราะตองการแสดงการเปรียบเทียบมูลคาการสงออกขาวไทยเปนรายไตรมาส โดย จําแนกตาม พ.ศ. ที่กําหนด 5. ตารางแจกแจงความถี่ เพราะปริมาณของขอมูลมีมากและซ้ํา ๆ กัน
คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ก 1. 1) 2) 3) 4)
ประมาณ 7.9 3.2 75.5 246
2. 1) 15 ครั้ง
38 2) 1 ชั่วโมง 3) 40 ชั่วโมง 4) ประมาณ 17.5 ชั่วโมง 3. 1) 510 คะแนน 2) 54 คะแนน 4. ในวันที่ 7 ตองเก็บเงิน 34 บาท 5. ผลการเรียนเฉลี่ย 5 ภาคเรียน ประมาณ 3.46
คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ข 1. 1) 2) 3) 4)
25 5.8 72 12
2. 1) 7 2) ไมมีฐานนิยม 3) 11 3. 1) เบอร 12 2) ประมาณ 7 ตัว 4. คาเฉลี่ยของผลรวมของแตมที่ปรากฏ ประมาณ 6.9 มัธยฐานของผลรวมของแตมที่ปรากฏ คือ 7 ฐานนิยมของผลรวมของแตมที่ปรากฏ คือ 7 5. 1) มัธยฐาน 2) ฐานนิยม 3) มัธยฐาน 4) คาเฉลี่ยเลขคณิต
39 6. 1) คาเฉลี่ยเลขคณิตของรายไดตอเดือนเทากับ 15,840 บาท มัธยฐานของรายไดตอเดือนเทากับ 12,000 บาท ฐานนิยมของรายไดตอเดือนเทากับ 10,000 บาท 2) เจาของบริษัทนาจะเลือกคาเฉลี่ยเลขคณิตซึ่งเทากับ 15,840 บาท โดยจะอางวาเฉลี่ยแลว บริษัทจายคาจางพนักงานสูงถึงเดือนละ 15,840 บาท ตัวแทนพนักงานนาจะเลือกฐานนิยม โดยจะอางวาพนักงานสวนใหญไดรับเงินเดือนจาก บริษัทเพียงเดือนละ 10,000 บาท คนกลางผูไกลเกลี่ยนาจะเลือกมัธยฐาน โดยจะอางหลักการทางสถิติ เพราะรายไดตอเดือน ของพนักงานมีความแตกตางกันมาก
คําตอบกิจกรรม “ตัดสินอยางไร” แนวคิด สีมวง
มีนักวิ่ง 3 คน ใชเวลาวิ่ง 14 วินาที 2 คน และ 15 วินาที 1 คน คิดเวลาวิ่งโดยเฉลี่ยประมาณ 14.33 วินาที สีเหลือง มีนักวิ่ง 3 คน ใชเวลาวิ่ง 14 วินาที 2 คน และ 16 วินาที 1 คน คิดเวลาวิ่งโดยเฉลี่ยประมาณ 14.67 วินาที สีเขียว มีนักวิ่ง 3 คน ใชเวลาวิ่งคนละ 13, 15 และ 16 วินาที ตามลําดับ คิดเวลาวิ่งโดยเฉลี่ยประมาณ 14.67 วินาที สีแดง มีนักวิ่ง 3 คน ใชเวลาวิ่ง 15 วินาที 2 คน และ 16 วินาที 1 คน คิดเวลาวิ่งโดยเฉลี่ยประมาณ 15.33 วินาที สีมวง ควรเปนทีมชนะเลิศ เพราะใชเวลาวิ่งโดยเฉลี่ยนอยที่สุด
40
คําตอบกิจกรรม “หาไดเชนเดียวกัน” คะแนนกลุม B
สวนเบี่ยงเบน
กําลังสองของสวนเบี่ยงเบน
8 16 27 33 34 36 38 38 50 60
-26 -18 -7 -1 0 2 4 4 16 26
676 324 49 1 0 4 16 16 256 676
รวม
2018
คาเฉลี่ยเลขคณิตของกําลังสองของสวนเบี่ยงเบนเทากับ 2018 10 = 201.8 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนกลุม B เทากับ 201.8 ≈ 14.2 คําตอบแบบฝกหัด
1. 1) พิสัยเทากับ 11 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานประมาณ 3.6 2) พิสัยเทากับ 8 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 3 3) พิสัยเทากับ 0 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0 4) พิสัยเทากับ 12 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานประมาณ 3.4 5) พิสัยเทากับ 7 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานประมาณ 2.4 2. คาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 85.5 คะแนน มัธยฐานเทากับ 87.5 คะแนน ฐานนิยมเทากับ 90 คะแนน พิสัยเทากับ 25 คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานประมาณ 7.7 คะแนน
41
คําตอบปญหา “คิดแลวสนุก” 1. ไมได เพราะสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานหาไดในกรณีใดกรณีหนึ่งดังตอไปนี้ 1) ถาคาเฉลีย่ เลขคณิตของกําลังสองของสวนเบี่ยงเบนเปนจํานวนบวก สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะเทากับรากที่สองที่เปนบวกของคาเฉลีย่ เลขคณิต นั้น 2) ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตของกําลังสองของสวนเบี่ยงเบนเปนศูนย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0 2. ได ในกรณีที่ทกุ ๆ ขอมูลของขอมูลชุดหนึ่งมีคา เทากันหมด
คําตอบแบบฝกหัด หนา 140 1. 1) 68.2% 2) 2.3% 2. 1) 3,410 ตัว 2) มี และมี 1,590 ตัว แนวคิด จากโจทย มีคาเฉลี่ยเลขคณิตของความยาวของเข็มหมุด (µ) เทากับ 1.30 นิ้ว และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความยาวของเข็มหมุด (σ) เทากับ 0.03 นิ้ว จํานวนเข็มหมุดที่มีความยาวตามที่โรงงานคํานวณหาไดจากการหาพื้นที่ ใตเสนโคงปกติระหวาง µ – 1σ และ µ + 1σ
คําตอบกิจกรรม “เชื่อถือไดเพียงใด” ตัวอยางคําตอบ แตละสถานการณจะพิจารณาตามขั้นตอนของการดําเนินการทางสถิติ ดังนี้ สถานการณ 1 ขอมูลที่ไดยังไมนาเชื่อถือ เนื่องจากขอมูลที่เก็บรวบรวมได อาจไมใหขอเท็จจริง เพียงพอ เพราะผูตอบคําถามอาจฟนผุอยูก อนใชยาสีฟน ของบริษัทนี้ หรืออาจเพิ่งใชไดเพียงครั้งเดียวเมื่อถูกถาม หรืออาจใชยาสีฟนยีห่ ออื่นดวย สถานการณ 2 ขอมูลที่ไดยังไมนาเชื่อถือ เนื่องจากหญิงสาวเหลานั้นไมสามารถเปนตัวแทน ของผูใชแชมพูยี่หอตาง ๆ กัน และการตัดสินความนุมของผมที่ใชการสัมผัสดวย มือเปนความรูส ึกสวนบุคคล ถือวาไมใชเกณฑวัดทีเ่ ปนมาตรฐาน
42 สถานการณ 3 ขอมูลที่ไดยังไมนาเชื่อถือ เพราะอาจมีความลําเอียงในการกําหนดตัวเลือกให เลือกตอบ และกลุมของผูใหขอมูลไมสามารถเปนตัวแทนของประชาชนทั้งหมด สถานการณ 4 ขอมูลที่ไดมีความนาเชื่อถือ เพราะการตรวจสอบกระทําโดยหนวยงานของ ทางการที่รับผิดชอบโดยตรง การตรวจสอบเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด สถานการณ 5 ขอมูลที่ไดยังไมนาเชื่อถือ เพราะไมทราบขอมูลเกี่ยวกับความจุของถังน้ํามัน การปรับแตงเครื่องยนต อัตราเร็ว และน้ําหนักบรรทุกของรถยนต
คําตอบกิจกรรม “ภาพลวงตา” ขอดีและขอเสียของการนําเสนอขอมูลแบบแผนภูมแิ ทงทัง้ สองแบบเปนดังตัวอยางคําตอบ ดังนี้ แบบที่หนึ่ง ขอดี แสดงขอมูลที่เปนจริงในภาพรวม ขอเสีย ในกรณีที่ตองการทราบเฉพาะรายละเอียดของความแตกตางของ งบประมาณทีแ่ ตละหนวยงานไดรับ จะไมไดขอมูลที่ชัดเจน แบบที่สอง ขอดี สามารถแสดงการเปรียบเทียบสวนที่แตกตางกันของงบประมาณที่ แตละหนวยงานไดรับอยางชัดเจน ขอเสีย อาจทําใหเขาใจผิดวางบประมาณที่แตละหนวยงานไดรับแตกตางกันมาก ทั้งที่ในความเปนจริงเมื่อเปรียบเทียบกับงบประมาณทั้งหมด จะตางกัน เปนสัดสวนทีน่ อยมาก
คําตอบกิจกรรม “ประชากรของประเทศไทย” 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
กลุมอายุ 0 – 4 ป ประมาณ 18% กลุมอายุ 10 – 14 ป ประมาณ 14% ประชากรกลุมอายุในขอ 2 ไดมาจากประชากรกลุมอายุในขอ 1 ลดลงในทุก ๆ 10 ป เพิ่มขึ้นในทุก ๆ 10 ป ตัวอยางคําตอบ : ในชวงอายุ 45 – 49 ป เพศหญิง ตัวอยางคําตอบ : จํานวนประชากรในวัยทารกและวัยเด็กมีแนวโนมลดลง สวนวัยสูงอายุมีแนวโนม เพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะมีอายุยืนขึ้น สืบเนื่องมาจากความเจริญทางการแพทยและการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้น
49 4. กิจกรรม “ลองหาดู” เปนกิจกรรมเพื่อฝกทักษะหาความยาวของดานและขนาดของมุมของ รูปสามเหลี่ยมมุมฉากตามทีก่ ําหนด เพื่อเปนพื้นฐานในการทํากิจกรรม “ลองคิดดู” ซึ่งมีเจตนาให นักเรียนฝกใชความรูเรื่องอัตราสวนตรีโกณมิติแกปญหาที่มักพบในชีวิตจริง เชน การหาความสูงของ ตนไม ความสูงของกําแพงและความกวางของแมน้ํา ครูควรใหนักเรียนแตละคนคิดหาวิธีแกปญ หาของ ตนเอง อาจเปนรายบุคคลหรือกลุมเพื่อนักเรียนจะไดฝกฝนการสื่อสารกับผูอื่นดวย 5. กิจกรรม “คิด” มีเจตนาใหนักเรียนฝกแกปญหาเกี่ยวกับพืน้ ที่โดยเชื่อมโยงความรูตรีโกณมิติ กับเรขาคณิต ครูอาจใหนกั เรียนชวยกันทําและนําเสนอหนาชั้นเรียน 6. กิจกรรม “หอเอนเมืองปซา (Tower of Pisa)” มีเจตนาใหเปนความรูเพิ่มเติมสําหรับ นักเรียนและเชื่อมโยงความรูตรีโกณมิติกบั วิทยาศาสตร ครูอาจใหนกั เรียนหาผลงานของกาลิเลโอเพิ่มเติม และครูอาจชี้ใหนักเรียนเห็นคุณลักษณะของกาลิเลโอ นักวิทยาศาสตรเรืองนามของโลกไดใชทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตรมาชวยในการคนควางานสําคัญตาง ๆ ทางวิทยาศาสตรทเี่ ปนประโยชนกับ ชาวโลก
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม กิจกรรมชุดที่ 1 คําตอบกิจกรรม “มีอยูเทาไร” คําตอบปญหาหนา 154 3. ตัวอยางแนวคิดที่แตกตางจากในหนังสือเรียน จํานวนดินสอที่แจกกลุมที่หนึ่ง อาจเปน 4, 7, 10, 13, 16, 19 , ... จํานวนดินสอที่แจกกลุมที่สอง อาจเปน 7, 11, 15, 19 , 23, ... จํานวนดินสอที่แจกกลุมที่สาม อาจเปน 9, 14, 19 , 24, ... จะไดจํานวนดินสอ 19 แทง สอดคลองกับเงื่อนไขทั้งหมดของปญหา
50 4. 1) จํานวนดินสอ (แทง)
9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
เศษที่ไดจากการหารจํานวนดินสอดวยตัวหาร ตัวหาร 3
ตัวหาร 4
ตัวหาร 5
0 1 2 0 1 2 0 1 2 0 1
1 2 3 0 1 2 3 0 1 2 3
4 0 1 2 3 4 0 1 2 3 4
2) บวรมีดนิ สออยางนอย 19 แทง 3) ตรวจสอบไดโดยนําคําตอบที่ไดแทนในความสัมพันธจากโจทยซึ่งจะพบวา 19 เปนจํานวนที่ นอยที่สุดที่หารดวย 3, 4 และ 5 เหลือเศษ 1, 3 และ 4 ตามลําดับ 5. 1) จากเงื่อนไขที่วาแจกใหเด็กกลุมที่หนึ่งคนละ 3 แทงแลวเหลือเศษ 1 แทง จะไดวาจํานวน ดินสอที่บวรมีอาจเปนไดทั้งจํานวนคูแ ละจํานวนคี่ ดังนี้ ถาจํานวนเด็กที่ไดรับแจกกลุมนี้มีเปนจํานวนคู จะไดวาบวรมีดนิ สอเปนจํานวนคี่ ถาจํานวนเด็กที่ไดรับแจกกลุมนี้มีเปนจํานวนคี่ จะไดวาบวรมีดนิ สอเปนจํานวนคู 2) จากเงื่อนไขที่วาแจกใหเด็กกลุมที่สองคนละ 4 แทง แลวเหลือเศษ 3 แทง จะไดวาบวรมี ดินสอเปนจํานวนคี่เทานั้น ไมวาจํานวนเด็กกลุม นี้จะเปนจํานวนคูหรือจํานวนคี่ก็ตาม 3) จากเงื่อนไขที่วาแจกใหเด็กกลุมที่สามคนละ 5 แทง แลวเหลือเศษ 4 แทง จะไดวาจํานวน ดินสอที่บวรมีอาจเปนไดทั้งจํานวนคูแ ละจํานวนคี่ ดังนี้ ถาจํานวนเด็กที่ไดรับแจกกลุมนี้มีเปนจํานวนคู จะไดวาบวรมีดนิ สอเปนจํานวนคู ถาจํานวนเด็กที่ไดรับแจกกลุมนี้มีเปนจํานวนคี่ จะไดวาบวรมีดนิ สอเปนจํานวนคี่
51 4) ใช 5)
จํานวนดินสอ (แทง)
9 11 13 15 17 19
เศษที่ไดจากการหารจํานวนดินสอดวยตัวหาร ตัวหาร 3
ตัวหาร 4
ตัวหาร 5
0 2 1 0 2 1
1 3 1 3 1 3
4 1 3 0 2 4
6) บวรมีดนิ สออยางนอย 19 แทง
คําตอบกิจกรรม “มีอยูก ี่จํานวน” 1. เลขโดดในหลักพันมีไดหนึ่งตัว คือ 4 เทานั้น เนื่องจากเลขโดดตัวอื่น ๆ ทําใหจํานวนนับทีเ่ กิดขึน้ ไมอยูระหวาง 4,000 กับ 5,000 2. เลขโดดในหลักรอยอาจเปน 5, 6, 7, 8, 9 เนื่องจากเปนเลขโดดที่มากกวา 4 ซึ่งสอดคลองตาม เงื่อนไขในโจทย 3. ถาเลขโดดในหลักรอยเปน 5 เลขโดดในหลักสิบ อาจเปน 6, 7, 8, 9 เนื่องจากเปนเลขโดดที่ มากกวา 5 ซึง่ สอดคลองตามเงื่อนไขในโจทย 4. ถาเลขโดดในหลักสิบเปน 6 เลขโดดในหลักหนวย อาจเปน 7, 8, 9 เนื่องจากเปนเลขโดดที่ มากกวา 6 ซึง่ สอดคลองตามเงื่อนไขในโจทย
52 5. หลักพัน
หลักสิบ
หลักรอย
6 5
7 8
4
7
7 8 9 8 9 9 8
8
9 9
8
9
6 7
หลักหนวย
6. 10 จํานวน คือ 4567, 4568, 4569, 4578, 4579, 4589, 4678, 4679, 4689 และ 4789
กิจกรรมชุดที่ 2 คําตอบกิจกรรม “พื้นที่เปนเทาไร” 1. 4) (1)
PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เพราะสามารถพิสูจนไดวามีมุมทั้งสี่เปนมุมฉาก และมีดานทั้งสี่ยาวเทากัน D
R
C
S
Q
A
P
B
53 แนวการพิสูจน เนื่องจาก ∆ APS ≅ ∆ BPQ ดังนั้น PS = PQ
(ด.ม.ด.) (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน)
∧
∧
และ
A PS = BPQ
(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) เนื่องจาก ∆ APS และ ∆ BPQ แตละรูปเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและ รูปสามเหลี่ยมหนาจัว่ (มีดานประกอบมุมยอดยาวเทากัน)
ดังนั้น
A PS = BPQ = 45o (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมีขนาด เทากัน)
∧
∧
∧
SPQ = 180 – (2 × 45) = 90o (ขนาดของมุมตรง) จะได ในทํานองเดียวกันจะสามารถพิสูจนไดวา PS = SR = RQ = QP ∧
∧
∧
∧
พื้นที่ของ
PQRS
พื้นที่ของ
ABCD = (2x)2 = 4x2 ตารางหนวย PQRS = 12 × พื้นที่ของ ABCD
และ SPQ = PQR = QRS = R SP = 90o นั่นคือ PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส (2) พื้นที่ของ PQRS = 12 × พื้นที่ของ ABCD เนื่องจาก ถาให ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรสั ที่ยาวดานละ 2x หนวย พิจารณาจากรูปขางลางนี้
ดังนั้น
พื้นที่ของ D
x
R
=
(
2
x C 2x x Q
S
x
2x A
(3) 2 ตารางหนวย
2 x ) = 2x2 ตารางหนวย
P
B
54 2. 1) จะตองหาพื้นที่ของรูปเรียงลําดับกันดังนี้ จากพื้นที่ของรูป 6 คูณดวย 2 จะไดพนื้ ที่ของรูป 5 จากพื้นที่ของรูป 5 คูณดวย 2 จะไดพนื้ ที่ของรูป 4 และทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ จนไดพนื้ ทีข่ องรูป 1 ดังแผนภาพ คูณดวย 2
6
คูณดวย 2
5
คูณดวย 2
3
4
2) 160 ตารางหนวย แนวคิด พื้นที่ของ
คูณดวย 2
คูณดวย 2
2
1
ABCD = 5 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = 160 ตารางหนวย
3) 64 ตารางหนวย แนวคิด หาจากความสัมพันธดังตอไปนี้ C
F
A
กําหนด ∆ DEF เกิดจากลากสวนของเสนตรงเชื่อมตอ จุดกึ่งกลางของดานทั้งสามของ ∆ ABC จะพิสูจนไดวา พื้นที่ของ ∆ ABC เทากับ 4 เทาของพื้นที่ของ ∆ DEF ดังนี้
E
D
B
เนื่องจาก ∆ ADF ≅ ∆ BDE จะได DF = DE ในทํานองเดียวกัน ∆ CEF ≅ ∆ BDE จะได EF = DE ดังนั้น DF = DE = EF เนื่องจาก AB = BC = AC จะได AD = AF
(ด.ม.ด.) (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน)
(สมบัติของการเทากัน) (กําหนดให) (ตางมีความยาวเปนครึ่งหนึ่งของความยาวของ ดานที่ยาวเทากัน)
55 ดังนั้น
∧
∧
ADF = A FD ∧
เนื่องจาก DAF = 60o
(มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจัว่ มีขนาด เทากัน)
(มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมดานเทา มีขนาด เทากับ 60 องศา)
ดังนั้น ∆ ADF เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา จะได DF = AD = AF ดังนั้น ∆ ADF ≅ ∆ DEF (ด.ด.ด.) จะได ∆ ADF, ∆ BDE, ∆ CEF และ ∆ DEF เปนรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการทุกคู นั่นคือ พื้นทีข่ อง ∆ ABC = 4 เทาของพื้นที่ของ ∆ DEF จากเหตุผลดังกลาวขางตน จึงสามารถหาพื้นที่ของ ∆ ABC ได จะไดพื้นที่ของ ∆ ABC = 4 × 4 × 4 × 1 = 64 ตารางหนวย
คําตอบกิจกรรม “ไดเทาไร” 1 หนอยจะเปนผูเขียนจุดในครั้งที่ 100 และจํานวนที่เขียนคือ 100 2 แนวคิด พิจารณาจากแบบรูปดังนี้ ครั้งที่ 1 นิดเขียนจุดที่แทน 12 ครั้งที่ 2 หนอยเขียนจุดทีแ่ ทน 14 หรือ 12 2 ครั้งที่ 3 นิดเขียนจุดที่แทน 18 หรือ 13 2 1 ครั้งที่ 4 หนอยเขียนจุดทีแ่ ทน 16 หรือ 14 2 . . .
จะเห็นวานิดเขียนจุดในครั้งที่เปนจํานวนคี่ และหนอยเขียนจุดในครัง้ ที่เปนจํานวนคู ดังนั้น หนอยจึงเขียนจุดในครั้งที่ 100 จากแบบรูปจะสังเกตไดวาตัวสวนของเศษสวนที่เขียนจะมีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเดียวกัน กับจํานวนครั้งที่เขียนจุด 1 ดังนั้น จํานวนที่หนอยเขียนจึงเปน 100 2
56
กิจกรรมชุดที่ 3 คําตอบกิจกรรม “นับอยางไร” 3. รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ควรแจงนับตอไปคือ รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีขนาด 1 × 3 ตารางหนวย ดังแผนภาพ
4. รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ตองพิจารณาอีก คือ รูปที่มีขนาด 1 × 4, 1 × 5, 1 × 6 และ 1 × 7 ตารางหนวย ขนาด (ตารางหนวย)
จํานวนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
1×1 1×2 1×3 1×4 1×5 1×6 1×7 รวม
7 6 5 4 3 2 1 28
5. ใชความรูเกี่ยวกับลักษณะของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก และแจงนับรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแตละขนาด 7. 55 รูป 8. 5050 รูป 9. 1 + 2 + 3 + … + n หรือ n(n2+ 1) รูป
57
คําตอบกิจกรรม “นับไดเทาไร” 1. 16 รูป 2. แผนภาพแสดงการแจงนับรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 2 × 2 ทั้งหมดที่ซอนอยูในรูปที่กําหนดให
3. ผลบันทึกจากการแจงนับรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดตาง ๆ ขนาด (ตารางหนวย)
จํานวนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
1×1 2×2 3×3 4×4 รวม
16 9 4 1 30
4. 100 + 81 + 64 + 49 + 36 + 25 + 16 + 9 + 4 + 1 = 385 รูป 5. 12 + 22 + 32 + ... + n2 รูป
58
กิจกรรมชุดที่ 4 คําตอบกิจกรรม “กี่ตัวกันแน” เขียนคําตอบตามวิธีคิดของแจวไดดังนี้
มาลาย นกกระจอกเทศ
แจวนับมาลายได 12 ตัว และนับนกกระจอกเทศได 35 ตัว
คําตอบกิจกรรม “คิดตามจี๊ด” 1. ตัวอยางคําตอบ ถามาลายมี 30 ตัว จะไดจํานวนขาทั้งหมดของมาลายเปน 120 ขา ซึ่งมากกวาจํานวน ที่โจทยกําหนด ทั้ง ๆ ที่ยังไมไดรวมขาของนกกระจอกเทศอีก 17 ตัว จึงเริ่มเดาใหมีมาลายลดลงเปน 20 ตัว เพื่อใหจํานวนขาที่เกินอยูลดลง 2. ได ตัวอยางคําตอบ อาจเดาครั้งแรกใหมนี กกระจอกเทศ 46 ตัว จะไดขาเพียง 92 ขา เมื่อรวมขาของมาลายอีก 1 ตัว จะไดขาทั้งหมด 96 ขาเทานั้น ซึ่งนอยเกินไป จึงควรเพิ่มจํานวนมาลายและลดจํานวน นกกระจอกเทศ
59 3. เดาครั้ง มาลาย นกกระจอกเทศ ที่ (ตัว) (ตัว) 1 20 27 2 15 32 3 13 34 4 12 35
ขามาลาย
20 × 4 15 × 4 13 × 4 12 × 4
= = = =
ขานกกระจอกเทศ
80 60 52 48
27 × 2 32 × 2 34 × 2 35 × 2
= = = =
54 64 68 70
รวมขา ทั้งหมด 134 124 120 118
ผลสรุป
จากผลในตารางจะไดคําตอบของจี๊ดตรงกับคําตอบของแจว จี๊ดและแจวอาจใชระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร หรือสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว หาคําตอบ ตามตัวอยางแนวคิด ดังนี้ 1) ใชระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร ใหจํานวนมาลายมี x ตัว จํานวนนกกระจอกเทศมี y ตัว จะไดระบบสมการเชิงเสนเปน x + y = 47 4x + 2y = 118
--------------- 1 --------------- 2
เมื่อแกระบบสมการและตรวจสอบคําตอบ จะได จํานวนมาลาย 12 ตัว และจํานวนนกกระจอกเทศ 35 ตัว 2) ใชสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว ใหจํานวนมาลายมี x ตัว จะไดจํานวนนกกระจอกเทศ 47 – x ตัว และจะไดสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว เปน 4x + 2(47 – x) = 118 เมื่อแกสมการและตรวจสอบคําตอบ จะได จํานวนมาลาย 12 ตัว และจํานวนนกกระจอกเทศ 35 ตัว
× × × /
60
คําตอบกิจกรรม “คิดไดหลายวิธี” 1. มีเหรียญบาท 7 เหรียญ เหรียญหาบาท 8 เหรียญ เหรียญสิบบาท 9 เหรียญ หรือ มีเหรียญบาท 2 เหรียญ เหรียญหาบาท 17 เหรียญ เหรียญสิบบาท 5 เหรียญ ตัวอยางแนวคิด 1. ใชการคาดเดาและตรวจสอบคําตอบโดยใชตารางวิเคราะห ดังนี้ เหรียญสิบบาท จํานวน จํานวน เหรียญ เงิน 10 1 100 10 100 10 90 9 80 8 70 7 60 6 50 5
เหรียญหาบาท จํานวน จํานวน เหรียญ เงิน 10 2 20 4 30 6 40 8 50 10 65 13 75 15 85 17
เหรียญบาท จํานวน จํานวน เหรียญ เงิน 21 21 10 10 8 8 7 7 6 6 4 4 3 3 2 2
รวมเงินทั้งหมด
10 + 10 + 21 100 + 20 + 10 100 + 30 + 8 90 + 40 + 7 80 + 50 + 6 70 + 65 + 4 60 + 75 + 3 50 + 85 + 2
= = = = = = = =
41 130 138 137 136 139 138 137
นอยไป นอยไป มากไป พอดี นอยไป มากไป มากไป พอดี
2. สรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรโดยใชสมการ ให x แทนจํานวนเหรียญบาท y แทนจํานวนเหรียญหาบาท z แทนจํานวนเหรียญสิบบาท จะไดระบบสมการ x+y+z = 24 -------------- 1 x + 5y + 10z = 137 -------------- 2 จากสมการ 2 พิจารณาไดวา จาก 5y ไมวา y จะเปนจํานวนนับใด เลขโดดที่อยูในหลักหนวยของผลคูณจะตอง เปน 5 หรือ 0 เทานัน้ และจาก 10z ไมวา z จะเปนจํานวนนับใด เลขโดดทีอ่ ยูในหลักหนวยของผลคูณจะตอง เปน 0 เสมอ
61 ดังนั้น ผลบวก x + 5y + 10z จะเทากับ 137 ได ก็ตอเมื่อ เหรียญบาทจะตองเปน 2 เหรียญ หรือ 7 เหรียญเทานัน้ 1) จากการวิเคราะหขางตน ในกรณีมีเหรียญบาท 2 เหรียญ เมื่อแทน x ดวย 2 ในสมการ 1 และ 2 จะไดระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรเปน 2+y+z = 24 --------- 3 2 + 5y + 10z = 137 --------- 4 จาก 3 ; y + z = 22 --------- 5 จาก 4 ; 5y + 10z = 135 --------- 6 จากการแกระบบสมการที่ประกอบดวยสมการ 5 และ 6 จะได y = 17 และ z = 5 จากการตรวจสอบ จะไดคําตอบของระบบสมการเปนเหรียญบาท 2 เหรียญ เหรียญหาบาท 17 เหรียญ และเหรียญสิบบาท 5 เหรียญ 2) จากการวิเคราะหขางตน ในกรณีมีเหรียญบาท 7 เหรียญ เมื่อแทน x ดวย 7 ในสมการ 1 และ 2 จะไดระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรเปน 7+y+z = 24 --------- 3 7 + 5y + 10z = 137 --------- 4 จาก 3 ; y + z = 17 --------- 5 จาก 4 ; 5y + 10z = 130 --------- 6 จากการแกระบบสมการที่ประกอบดวยสมการ 5 และ 6 จะได y = 8 และ z = 9 จากการตรวจสอบ จะไดคําตอบของระบบสมการเปนเหรียญบาท 7 เหรียญ เหรียญหาบาท 8 เหรียญ และเหรียญสิบบาท 9 เหรียญ 2. เผือกฉาบราคาถุงละ 25 บาท ทุเรียนทอดราคาถุงละ 75 บาท ตัวอยางแนวคิด 1. สรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรโดยใชสมการ ให เผือกฉาบราคาถุงละ x บาท ทุเรียนทอดราคาถุงละ y บาท
62 จะไดระบบสมการ 5x + 10y = 875 10x + 5y = 625
------------- 1 ------------- 2
เมื่อแกระบบสมการและตรวจสอบคําตอบจะได เผือกฉาบราคาถุงละ 25 บาท และทุเรียนทอดราคาถุงละ 75 บาท 2. ใชการคาดเดาและตรวจสอบโดยพิจารณาจํานวนถุงและจํานวนเงินที่จารุวรรณซื้อมา ดังนี้ เผือกฉาบ จํานวน ราคา ถุง ถุงละ 30 5 30 5 30 5 25 5
รวม เงิน 150 150 150 125
ทุเรียนทอด จํานวน ราคา รวม ถุง ถุงละ เงิน 600 60 10 700 70 10 750 75 10 750 75 10
รวมเงินทั้งหมด
150 + 600 150 + 700 150 + 750 125 + 750
= = = =
750 850 900 875
นอยไป นอยไป มากไป พอดี
ตรวจสอบคําตอบกับจํานวนถุงและจํานวนเงินที่นวลจันทรซื้อมา จะได (10 × 25) + (5 × 75) = 250 + 375 = 625 บาท ซึ่งสอดคลองกับเงื่อนไขในโจทย ดังนัน้ ราคาเผือกฉาบถุงละ 25 บาท และทุเรียนทอดราคาถุงละ 75 บาท
กิจกรรมชุดที่ 5 คําตอบกิจกรรม “ลัดขัน้ ตอน” 1. 2. 3.
3 20 115
≈ ≈ ≈
1.732 4.472 10.72
63
กิจกรรมชุดที่ 6 คําตอบกิจกรรม “พื้นที่ใตกราฟ” 7. จํานวนสวนแบงระยะ 2 หนวยบนแกน X 4 8 16
พื้นที่ของแทงสี่เหลี่ยมมุมฉากทั้งหมด (ตารางหนวย) 1.75 2.1875 2.422
8. ประมาณ 2.422 ตารางหนวย ( เมื่อแบงระยะ 2 หนวยบนแกน X ออกเปน 16 สวน เทา ๆ กัน) 9. ประมาณ 10.156 ตารางหนวย (เมื่อแบงระยะ 0 ถึง 2 บนแกน X ออกเปน 16 สวน เทา ๆ กัน) แนวคิด เนื่องจากพาราโบลาที่กําหนดใหเปนรูปสมมาตรและมีแกน Y เปนแกนสมมาตร จึงคํานวณหาพื้นที่สวนทีแ่ รเงาเพียงครึ่งรูปทางขวาของแกนสมมาตรกอน โดยแบงระยะ 0 ถึง 2 บนแกน X ออกเปน 16 สวน Y เทา ๆ กัน จะไดจุดแบงบนระยะ 0 ถึง 2 4 15 จุด และไดคูอันดับ (x, y) ที่สอดคลองกับสมการ y = -x2 + 4 y = -x2 + 4 ดังนี้ -2
2
0 x y = 4 – x2 9 8 175 64
10 8 156 64
1 8 255 64
X
3 8 247 64
2 8 252 64 11 8 135 64
12 8 112 64
5 8 231 64
4 8 240 64 13 8 87 64
14 8 60 64
6 8 220 64 15 8 31 64
เนื่องจากแทงสี่เหลี่ยมมุมฉากแตละแทงมีความกวางเปน 18 หนวย
7 8 207 64
8 8 192 64
64 จะไดพนื้ ที่สวนทีแ่ รเงาทั้งหมดเทากับ 2 × 18 × 641 (255 + 252 + 247 + 240 + 231 + 220 + 207 + 192 + 175 + 156 + 135 + 112 + 87 + 60 + 31) 1 × 2,600 = 256 ≈
10.156 ตารางหนวย
คําตอบกิจกรรม “ใจเย็น ๆ คอย ๆ คิด” 1. ปุยขนาด 5 กิโลกรัม 3 ถุง และปุยขนาด 3 กิโลกรัม 1 ถุง แนวคิด ใชการคาดเดาและตรวจสอบโดยใชตารางวิเคราะหดังนี้ ขนาด 5 กิโลกรัม
ขนาด 3 กิโลกรัม
รวม
จํานวนกิโลกรัม
จํานวนเงิน
จํานวนกิโลกรัม
จํานวนเงิน
จํานวนกิโลกรัม
จํานวนเงิน
1×5 = 5 3 × 5 = 15 2 × 5 = 10
20 60 40
4 × 3 = 12 1×3 = 3 3×3 = 9
60 15 45
17 18 19
80 75 85
จากตาราง จะเห็นวาถาซื้อปุย 17 กิโลกรัม จะตองจายเงิน 80 บาท ซึ่งเปนเงินที่มากกวา ซื้อปุย 18 กิโลกรัม โดยจายเงินนอยที่สดุ เพียง 75 บาท (ไดของมากกวา แตจายเงินนอยกวา) 2. 6, 9, 12, 15, 17, 20, 23, 24, 27, 28, 30, 31, 35, 38, 39, 42, 45, 46, 53 และ 60 แนวคิด โดยใชการแจงนับคะแนน ดังนี้ 2+2+2 = 6 2+2+5 = 9 2 + 2 + 13 = 17 2 + 2 + 20 = 24 2+5+5 2 + 5 + 13 2 + 5 + 20
= 12 = 20 = 27
2 + 13 + 13 2 + 13 + 20 2 + 20 + 20
= 28 = 35 = 42
65 5+5+5 5 + 5 + 13 5 + 5 + 20
= 15 = 23 = 30
5 + 13 + 13 5 + 13 + 20 5 + 20 + 20
= 31 = 38 = 45
13 + 13 + 13 = 39 13 + 13 + 20 = 46 13 + 20 + 20 = 53 20 + 20 + 20 = 60 3. 9 แบบ แนวคิด
แยกพิจารณาเปนกรณีดังนี้ 1. แลกธนบัตรเปนเหรียญแบบเดียวกัน 2. แลกธนบัตรเปนเหรียญสองชนิดที่ตางกัน 3. แลกธนบัตรเปนเหรียญสามชนิดที่แตกตางกัน ผลพิจารณาไดดังตาราง จํานวนเหรียญสิบบาท
จํานวนเหรียญหาบาท
จํานวนเหรียญบาท
2 1 1 1 0 0 0 0 0
0 2 1 0 4 3 2 1 0
0 0 5 10 0 5 10 15 20
66 4. ความยาวของริบบิ้นที่ตัดเปนสามสวนที่เปนไปได คือ 6, 3, 1 ฟุต 6, 2, 2 ฟุต 5, 4, 1 ฟุต 5, 3, 2 ฟุต 4, 4, 2 ฟุต 4, 3, 3 ฟุต 5. 1) เปนไปได ผูที่วางแผนตองการชนะจะตองใหฝายตรงขามเปนผูเลนคนแรกที่หยิบกอน โดยผูเลนคนแรกจะหยิบตุก ตา 1 ตัวหรือ 2 ตัว ก็ได แตผูวางแผนจะตองหยิบ ตุกตาใหครบเปนตัวที่สามของแตละรอบที่หยิบ ตัวอยางการหยิบ
แนวคิด
ตุกตาตัวที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ผูวางแผน ผูเลน
แพ
ในกรณีที่ผูวางแผนตองหยิบเปนคนแรก ผูวางแผนจะตองพยายามหยิบใหไดตุกตาตัวที่ 3 หรือตัวที่ 6 ซึง่ จะทําใหหยิบไดตัวที่ 9 จึงจะชนะ 2) แนวคิด
ผูวางแผนจะตองเลนเปนคนแรกโดยหยิบตุกตาเพียง 1 ตัวในครั้งแรก และ ตองพยายามใหเหลือตุกตาเปนจํานวนที่ 3 หารลงตัว เชน หลังจากผูวางแผน หยิบตุก ตาตัวแรกแลว เมื่อฝายตรงขามหยิบตุกตา 1 ตัว ผูวางแผนตองหยิบ 2 ตัว เพื่อใหไดผลรวมของตุกตาเปน 3 ตัว และเหลือตุกตาอีก 6 ตัว
67 ตัวอยางการหยิบ ตุกตาตัวที่
1
2
3
4
5
6
7
8
ผูวางแผน
9
10 ชนะ
ผูเลน ในกรณีที่ผูวางแผนตองหยิบเปนคนที่สอง ผูวางแผนจะตองพยายามหยิบใหไดตุกตาตัวที่ 4 หรือตัวที่ 7 ซึง่ จะทําใหหยิบไดตัวที่ 10 จึงจะ ชนะ 6. -31 กับ -21 หรือ 21 กับ 31 7. 7 ขอ แนวคิด ใหจํานวนขอที่ทําถูกมี x ขอ ดังนั้นคะแนนที่ไดคือ 5x จํานวนขอที่ทาํ ผิดมี y ขอ ดังนั้นคะแนนที่ไดคือ -2y จากโจทยจะไดระบบสมการ x + y = 10 ---------------- 1 5x - 2y = 29 ---------------- 2 8. หมายเลข 27 ไดรับหมวก หมายเลข 41 ไดรับเสื้อยืด หมายเลข 62 ไดรับกระเปา 9. ปอเลนระนาด จิมเลนขิม แจคเลนจะเข ปองเลนซอ การพิจารณาอาจใชขอมูลประกอบกับตารางวิเคราะหหาคําตอบดังนี้
ชื่อ
เครื่องดนตรี ที่เลน
ปอ จิม แจค ปอง
ขิม
ซอ
จะเข
ระนาด
68
คําตอบกิจกรรม “ลองทําดู” B
A
∧
BC AB
AC AB
BC AC
30o
1 2
3 2
3 3
45o
2 2
2 2
1
60o
3 2
1 2
C
A
B 2 A
30
1
o
C
3
B 2
A
45o
1 1
C B
2
A
60o
3
1
C
3
69
คําตอบกิจกรรม “บอกไดไหม” 1. 1) 2) 3) 4) 5) 6)
0.309 0.866 1.664 0.995 0.906 3.078
1) 2) 3) 4) 5) 6)
35o 75 o 60 o 45 o 37 o 58 o
2.
คําตอบกิจกรรม “ลองหาดู” 1. 2.5 หนวย 2. BC ยาว 3.125 หนวย และ AC ยาว 5.076 หนวย ∧
∧
3. X = 20 o, Z = 70 o และ XY = 9.4 หนวย
คําตอบกิจกรรม “ลองคิดดู” 1. AB ยาว 13.848 เซนติเมตร และ CE ยาว 10.152 เซนติเมตร 2. 18.64 เมตร 3. บันไดทํามุมกับพื้นดินประมาณ 52 องศา กําแพงสูงประมาณ 5.12 เมตร 4. ประมาณ 101.43 เมตร
70
คําตอบกิจกรรม “คิด” ประมาณ 6.763 ตารางหนวย แนวคิด
∧ ∧ ∧ เนื่องจาก DAF = FAE = EAB = 903 = 30o จะไดวา ∆ ABE ≅ ∆ ADF (ม.ด.ม.) ดังนั้น พืน้ ที่ของรูป AFCE = พื้นทีข่ องสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD – 2 (พื้นที่ของ ∆ ABE) ∧
เนื่องจาก BE = AB ( tan EAB ) = 4 tan 30o = 4 × 33 = 4 3 3 หนวย ดังนั้น พืน้ ที่ของ ∆ ABE = 12 × 4 × 4 3 3 = 83 3 ตารางหนวย และ
พื้นที่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD = 4 × 4 = 16 8 ดังนั้น พื้นที่ของรูป AFCE = 16 – 2 2 3 = 16 – 163 3 ตารางหนวย 16 ≈ 16 – × 1.732 3 ≈ 6.763 ตารางหนวย นั่นคือ สวนที่แรเงามีพนื้ ที่ประมาณ 6.763 ตารางหนวย
คําตอบกิจกรรม “หอเอนเมืองปซา (Tower of Pisa)” ประมาณ 5 องศา
ตารางหนวย