บทที่ 3 วัฒนธรรม

Page 1

่ บทที 3 วัฒนธรรม By: อ.นำขวัญ วงศ์ประทุม


Topic; •ความหมาย •ประเภท •คุณลักษณะ •หน้าที่ •แนวคิดที่เกีย่ วข้อง


วัฒนธรรม ( Culture ) วัฒนธรรม มาจากภาษาบาลี

และสันสกฤต

วัฒน มาจาก วฑฒน (บ.) = เจริญเปลีย่ นแปลงในทางที่ดี ธรรม มาจาก ธรม (ส.) = ความเป็ น, ความอยู่, สภาพสิง่ ของ


วัฒนธรรม ( Culture ) มีรากศัพท์มาจาก “Culture” (ลาติน) ว่า Colo-Colete แปลว่า การแตกหน่อ หรือการปรับปรุงดิน

หมายถึง - การเพาะปลูก/การปลูกฝั ง ในที่น้ ี หมายถึง “การปลูกฝั งสิง่ ที่สงั คม เห็นว่าเป็ นสิง่ ดีงาม”


วัฒนธรรม คือ ? พฤติกรรมการเรียนรูร้ ่วมกันซึง่ สืบทอดจาก คนรุ่นหนึง่ มายังอีกรุ่นหนึง่ เพือ่ จุดมุ่งหมายใน การสนับสนุนการดาเนินชีวิตของบุคคลและ สังคม การปรับตัว การเจริญเติบโตและ พัฒนาการ (Marsella, 1994)


อุดมการณ์ ความเชือ่

ค่านิยม รูปแบบการคิด

ปฏิบตั ิ

สังคม

ประดิษฐ์

เลือกสรร

ส่งทอด ปลูกฝั ง อบรม สัง่ สอน


ความหลายหลายทางวัฒนธรรมในประเทศไทย • ภาษา • อาหาร • การแต่งกาย • ที่อยู่อาศัย • วิถชี ีวิต • ประเพณี • ภูมิปัญญาท้องถิน่


วัฒนธรรมเป็ นตัวแทน - สิง่ ที่อยู่ภายนอก เช่น บทบาทของ สถาบัน - สิง่ ที่อยู่ภายใน เช่น ค่านิยม ทัศนคติ ความเชือ่ เป็ นต้น


วัฒนธรรมเป็ นเรือ่ งที่เกีย่ วกับวิถชี วี ิต ของผูค้ น (ways of life) เป็ นเรือ่ งของทุกสิง่ ทุกอย่าง เรือ่ งราวทัง้ หลายทัง้ มวลแห่ง ชีวิตมนุษย์ (totality of life) ซึง่ จาแนกออก ได้เป็ น 3 ประเภทหลัก คือ


ประเภทของวัฒนธรรม

1.มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) 2.วัฒนธรรมร่วมสมัย (Living or Contemporary Culture) 3.ภูมิปัญญาและเทคโนโลยี (Wisdom and Technology)


1. มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) 1.1 มรดกทางวัฒนธรรมที่จบั ต้องได้ หมายถึง อนุสรณ์สถาน กลุ่มอาคารและสถานที่ซง่ึ มีคุณค่าทาง ประวัติศาสตร์ สุนทรียภาพ โบราณคดี วิทยาศาสตร์ ชาติพนั ธุ์ วิทยา หรือมานุษยวิทยา ไม่ว่าจะเป็ นงานทางด้านสถาปั ตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม หรือแหล่งโบราณคดีทางธรรมชาติ เช่น ถา้ หรือสถานที่สาคัญที่อาจเป็ นผลงานจากฝี มือมนุษย์หรือ เป็ นผลงานร่วมกันระหว่างธรรมชาติและมนุษย์



1.2 มรดกทางวัฒนธรรมที่จบั ต้องไม่ได้ ประกอบไปด้วย 1. ภาษพื้นเมืองและการแสดงออกทางภาษา 2. ศิลปะการแสดง รวมถึง ดนตรี การเต้นรา และมหรสพ

3. การปฏิบตั ิทางสังคม พิธีกรรมและประเพณี

4. ความรู ้ การปฏิบตั ทิ ่ีเกีย่ วข้องกับธรรมชาติและสิง่ ต่างๆ รอบตัว 5. หัตถกรรมพื้นบ้าน


2. วัฒนธรรมร่วมสมัย 1] เรือ่ งการทามาหากิน เช่น รูปแบบการดารงชีพ (lifestyles) การ เพาะปลูก การประมง การล่าสัตว์ วัฒนธรรมการบริโภคอาหาร การแต่งกาย การผลิตงานศิลปะ รวมถึงที่อยู่อาศัย การอยู่ ร่วมกันในหมู่เครือญาติ ความสัมพันธ์ของชุมชน



การใช้ตะเกียบ 1.ห้ามปั กตะเกียบแบบเสียบให้ตงั้ บนถ้วยข้าว เพราะการทาแบบนี้จะถือเป็ น ข้าวสาหรับคนที่เสียชีวิตแล้ว 2.ห้ามถือตะเกียบส่ายไปมาบนอาหารหลายชนิด โดยไม่ตดั สินใจเสียที ว่าจะ เลือกอาหารชนิดใด 3.ห้ามนาตะเกียบแทงของกินหรือใช้ตะเกียบชี้คน 4.ห้ามใช้ตะเกียบคุย้ หาอาหารชิ้นที่ตอ้ งการในถ้วยอาหาร 5.ห้ามใช้ตะเกียบเพือ่ ดึงหรือขนย้ายภาชนะอาหาร

6.ห้ามใช้ปากดูดตะเกียบ


2.วัฒนธรรมร่วมสมัย(ต่อ) 2] เรือ่ งของภาษาและวรรณศิลป์ - การพูด - การอ่าน - การเขียน - การแสดงออกถึงกิรยิ ามารยาท บุคลิกภาพนิสยั ใจคอ - การใช้ภาษาชัน้ สูงที่แสดงลาดับชัน้ ของโครงสร้างทาง สังคมหรือฐานันดรทางภาษา


2.วัฒนธรรมร่วมสมัย(ต่อ) 3] เรือ่ งของศาสนา (religion) - ความเชือ่ ทางพิธีกรรม - ขนบธรรมเนียมประเพณี หลักปฏิบตั ิ ค่านิยม คุณธรรม การสืบทอดทางประเพณีปฏิบตั ิ ต่าง ๆ ทัง้ ในระดับสังคมเมืองหรือท้องถิน่



3.ภูมิปัญญาและเทคโนโลยี (Wisdom and Technology

ความหมาย ของภูมิปัญญา คาว่า “ภูมิปัญญา” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า wisdom หมายถึงความรูค้ วามสามารถ ทักษะ ความเชือ่ และ ศักยภาพ ในการแก้ปัญหาของมนุษย์ทไ่ี ด้รบั การ ถ่ายทอดมาจากอดีต-ปั จจุบนั ยังมีคาเรียกอีก เช่น ภูมปิ ั ญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาชาวบ้าน



ภูมิปัญญาไทย หมายถึง องค์ความรูค้ วามสามารถและทักษะของคนไทย อันเกิดการสะสมประสบการณ์ท่ี ผ่านกระบวนการ เรียนรู ้ เลือกสรร ปรุงแต่ง ถ่ายทอดสืบต่อกันมา เพื่อแก้ปัญญาและพัฒนาชีวติ ของคนไทยให้สมดุล กับสภาพแวด ล้อมเหมาะสมกับยุคสมัย



ภูมิปัญญาท้องถิน่ (Local Wisdom ) หมายถึง ความรูป้ ระสบการณ์ทงั้ หลายของ ชาวบ้านในท้องถิ่น ทีใ่ ช้ในการแก้ปัญหาหรือการ ดาเนินชีวติ โดยได้รบั การถ่ายทอดและกลัน่ กรองเป็ น ระยะเวลานาน มีลกั ษณะของการเชือ่ มโยงไปในทุก สาขาวิชา อย่างผสมกลมกลืนกัน ไม่แยกเป็ น วิชาๆ สามารถประยุกต์ใช้ ในการดาเนินชีวติ เศรษฐกิจ และสังคม อย่างดี



การแบ่งประเภทของวัฒนธรรม ตามแนวคิดนักสังคมวิทยาแบ่งวัฒนธรรมออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้ คือ 1.วัฒนธรรมทางวัตถุ (Material) ได้แก่ วัตถุสง่ิ ของเครือ่ งใช้ต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้าง ขึ้นเพือ่ นามาใช้ในสังคม เช่น ที่อยู่อาศัย อาหาร เสื้อผ้า ยารักษาโรค


การแบ่งประเภทของวัฒนธรรม 2. วัฒนธรรมความคิด (Idea) หมายถึง วัฒนธรรมที่ เกีย่ วกับความรูส้ กึ นึกคิด ทัศนคติ ความเชือ่ ต่าง ๆ เช่น ความเชือ่ ในเรือ่ งตายแล้วเกิดใหม่ ความเชือ่ ใน เรือ่ งกฎแห่งกรรม การเชือ่ ถือโชคลาง ตลอดจน เรือ่ งลึกลับ นิยายปรัมปรา วรรณคดี สุภาษิต และ อุดมการณ์ต่าง ๆ เป็ นต้น


การแบ่งประเภทของวัฒนธรรม 3. วัฒนธรรมด้านบรรทัดฐาน (Norm) เป็ นเรือ่ งของการประพฤติปฏิบตั ิตามระเบียบ แบบแผนที่สงั คมกาหนดเอาไว้ไม่ว่าจะเป็ นลายลักษณ์ อักษรหรือไม่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรก็ตาม ซึง่ แบ่ง ออกเป็ นประเภทย่อย ๆ ดังนี้ 3.1 วัฒนธรรมทางสังคม (Social Culture) เป็ น วัฒนธรรมที่เกีย่ วกับความประพฤติ หรือมารยาททาง สังคม เช่น การไหว้ การจับมือทักทาย การเข้าแถว การแต่งชุดดาไปงานศพ เป็ นต้น




การแบ่งประเภทของวัฒนธรรม 3.2 วัฒนธรรมที่เกีย่ วข้องกับกฎหมาย (Legal Culture) เป็ นวัฒนธรรมที่ก่อให้เกิดความเป็ นระเบียบ และกฎเกณฑ์เพือ่ ให้คนในสังคมอยู่ดว้ ยกันอย่างมี ความสุข 3.3 วัฒนธรรมที่เกีย่ วกับจิตใจและศีลธรรม (Moral Culture) วัฒนธรรมประเภทนี้ใช้เป็ นแนวทางในการ ดาเนินชีวิตในสังคม เช่น ความซือ่ สัตย์ สุจริต ความ เมตตากรุณา ความเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ เป็ นต้น


แบ่งวัฒนธรรมตามขนาดของสังคม วัฒนธรรมจะแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ 1. วัฒนธรรมหลักหมายถึง วัฒนธรรมของสังคมใหญ่ สังคมใหญ่เป็ นสังคมที่ประกอบด้วยสังคมย่อยๆ หลายสังคม 2. วัฒนธรรมย่อย หมายถึง รูปแบบพฤติกรรมของ คนกลุ่มใดกลุ่มหนึง่ ที่มีลกั ษณะเด่นเป็ นเอกลักษณ์ ของตนเอง


วัฒนธรรมย่อย 1) วัฒนธรรมย่อยตามเชื้อชาติ (Ethnic-sub-culture) ซึง่ ในสังคมหนึง่ ๆ ย่อมประกอบด้วยคนหลายเชื้อชาติ อยู่ปะปนกัน เช่น กรุงเทพมีทงั้ ชาวไทย ชาวจีน แขก ฝรัง่ มอญ อาศัยอยู่ แต่ละเชื้อชาติดงั กล่าวต่างก็มี วัฒนธรรมเป็ นแบบฉบับของตนเอง



วัฒนธรรมย่ อย 2) วัฒนธรรมย่ อยตามเกณฑ์ อายุ (Age-sub-culture) คนในสั งคมหนึ่งย่ อมมีอายแุ ตกต่ างกัน แต่ ละวัยย่ อม มีแนวทางการปฏิบัตทิ แี่ ตกต่ างกัน เด็กวัยรุ่นก็มี แนวทางปฏิบัตแิ ตกต่ างจากผู้ใหญ่ เช่ น การแต่ งกาย การละเล่ น การพูดจา ตลอดจนความสนใจ ฯลฯ



วัฒนธรรมย่อย 3) วัฒนธรรมย่อยตามท้องถิน่ (Regional-subculture) เนือ่ งจากคนในชาติหนึง่ ย่อมอยู่กระจายกันไป ตามภาคต่าง ๆ ดังนัน้ วิถชี ีวิตในการปฏิบตั ิตาม ขนบธรรมเนียมประเพณีย่อมแตกต่างกัน เช่น คนไทย ในแต่ละภาคมีภาษาพูด ประเพณีท่ีแตกต่างกัน



วัฒนธรรมย่อย 4) วัฒนธรรมย่อยตามอาชีพ (Occupational-sub-culture) คนมีอาชีพอย่างเดียวกันก็จะมีวิถกี ารดาเนินชีวิตที่ เหมือนกัน เช่น ชาวประมง นักร้อง นักหนังสือพิมพ์



วัฒนธรรมย่อย 5) วัฒนธรรมย่อยตามเพศ (Sex-sub-culture) เพศ หญิงเพศชายมีการปฏิบตั ิแตกต่างกันไปหลาย ๆ ด้าน เช่น กิรยิ ามรรยาท หญิงอาจเดินกระตุง้ กระติ้งชอบเย็บ ปั กถักร้อย ชายเดินท่าทางขึงขัง ฯลฯ



สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้แบ่งออกเป็ น 5 สาขา คือ

1. สาขามนุษย์ศาสตร์ ได้แก่ ขนบธรรมประเพณี คุณธรรม ศีลธรรม ศาสนา ปรัชญา ประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี มารยาทในสังคม การปกครอง กฎหมาย เป็ นต้น 2. สาขาศิลปะ ได้แก่ ภาษา วรรณคดี ดนตรี นาฏศิลป์ วิจติ รศิลป์ สถาปั ตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม เป็ นต้น



สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้แบ่งออกเป็ น 5 สาขา คือ 3. สาขาช่างฝี มือ ได้แก่ การเย็บปั กถักร้อย การแกะสลัก การทอ ผ้า การจัดสาน การทาเครือ่ งเขิน การทาเครือ่ งเงิน เครือ่ ง ทอง การจัดดอกไม้ การประดิษฐ์ การทาเครือ่ งปั้ นดินเผา เป็ นต้น 4.สาขาคหกรรมศิลป์ ได้แก่ ความรูเ้ รือ่ งอาหาร การประกอบ อาหาร ความรูเ้ รือ่ งการแต่งกาย การอบรมเลี้ยงดูเด็ก การ ดูแลบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ความรูเ้ รือ่ งบา การรูจ้ กั ใช้ยา ความรูใ้ นการอยู่รวมกันเป็ นครอบครัว เป็ นต้น


สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้แบ่งออกเป็ น 5 สาขา คือ

5.สาขากีฬาและนันทนาการ ได้แก่ การละเล่น มวยไทย ฟั นดาบสอบมือ กระบีก่ ระบอง การเลี้ยงนกเขา ไม้ดดั ต่าง ๆ เป็ นต้น


ลักษณะของวัฒนธรรม 1. วัฒนธรรมเป็ นสิง่ ที่จาเป็ นสาหรับการดาเนินชีวิตในสังคม มนุษย์ อีกนัยหนึง่ คือ “มนุษย์จะอยู่โดยปราศจาก วัฒนธรรมไม่ได้” หรือ “วัฒนธรรมกับมนุษย์จะต้องอยู่ ควบคู่กนั ไป เสมือนเงากับตัวทิ้งกันไม่ได้” 2. วัฒนธรรมไม่ใช่สง่ิ ที่ตดิ ตัวมนุษย์มาแต่กาเนิด และไม่ใช่สง่ิ ที่ อาจถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ ดังนัน้ นิสยั และ ความสามารถต่าง ๆ ของมนุษย์ส่วนใหญ่เป็ นผลมาจาก การเรียนรู ้ หรือขบวนการสังคม (Socialization)


ลักษณะของวัฒนธรรม 3. วัฒนธรรมของแต่ละสังคม มีความแตกต่างกันและ ความแตกต่างนี้ไม่อาจนามาเปรียบเทียบ พิจารณาว่าวัฒนธรรมใดดีกว่ากัน เพราะ วัฒนธรรมแต่ละวัฒนธรรมย่อมมีความเหมาะสม ถูกต้องตามสภาพแวดล้อมของแต่ละสังคม แนวความคิดที่ว่า วัฒนธรรมทุกวัฒนธรรมมี ส่วนดีเป็ นของตนเอง ซึง่ เรียกว่า “วัฒนธรรม สัมพันธ์” แนวความคิดนี้มุ่งที่จะลบล้างความ คิดเห็นที่ว่า วัฒนธรรมของตนดีกว่าวัฒนธรรม ของคนอืน่ (Ethnocentrism)


ลักษณะของวัฒนธรรม 4. วัฒนธรรมเป็ นสิง่ ที่อาจเปลีย่ นแปลงได้ โดยทัว่ ไปการเปลีย่ นแปลงมักจะเป็ นไปได้ 2 วิธีคอื - การเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึ้นภายใน วัฒนธรรมเอง เช่น การประดิษฐ์คดิ ค้น - การเปลีย่ นแปลงที่มาจากภายนอก เช่น การติดต่อกับวัฒนธรรมอืน่ เป็ นการ เลียนแบบวัฒนธรรมอืน่ ๆ มาใช้


ลักษณะของวัฒนธรรม 5. วัฒนธรรมเป็ นผลรวมของแบบแผนและแนว การดาเนินชีวิตของหลาย ๆ อย่างในสังคม เข้าด้วยกัน ถ้าสมาชิกในสังคมส่วนใหญ่ยดึ ถือ เป็ นแบบอย่างเดียวกันเรียกวัฒนธรรมนัน้ ว่า “วัฒนธรรมใหญ่” หรือ “วัฒนธรรมรวม” และภายหลังวัฒนธรรมใหญ่ยงั แบ่งเป็ น “วัฒนธรรมย่อย” หรือ “วัฒนธรรมรอง” ด้วย


หน้าที่ของวัฒนธรรม 1. เป็ นตัวกาหนดรูปแบบของสถาบัน 2.เป็ นตัวกาหนดบทบาท ความสัมพันธ์ของมนุษย์ 3.ทาหน้าที่ควบคุมสังคม 4.ทาหน้าที่เป็ นเครือ่ งหมาย สัญลักษณ์ ที่แสดงว่า สังคมหนึง่ แตกต่างไปจากอีกสังคมหนึง่ เช่น สังคมไทยทักทายด้วยการไหว้ สังคมธิเบตทักทาย ด้วยการแลบลิ้น สังคมตะวันตกทักทายด้วยการ จับมือ เป็ นต้น


หน้าที่ของวัฒนธรรม 5.ทาให้เกิดความเป็ นอันเหนึง่ อันเดียวกันในสังคม เกิดเป็ น ปึ กแผ่นความจงรักภักดี และอุทิศตนให้แก่สงั คม ทาให้ สังคมอยู่รอด 6.วัฒนธรรมเป็ นปั จจัยสาคัญในการสร้างและหล่อหลอม บุคลิกภาพของสังคมให้กบั สมาชิก 7.ทาให้สมาชิกแต่ละคนและแต่ละสังคมได้ตระหนักถึงความหมาย และวัตถุประสงค์ ของการมีชวี ิตของคน เช่น สังคมไทยพุทธ เชือ่ ว่าเกิดมาแล้วต้องชดใช้กรรม ดังนัน้ เมื่อเกิดปั ญหา เกีย่ วกับชีวิตของคน เขาก็เชือ่ ว่าเป็ นเรือ่ งของกฎแห่งกรรม


หน้าที่ของวัฒนธรรม 8.สร้างหรือจัดรูปแบบความประพฤติและการปฏิบตั ิร่วมกัน โดยบุคคลไม่จาเป็ นต้องคิดหาวิธีประพฤติปฏิบตั ิโดย ไม่จาเป็ น รูปแบบความประพฤติท่ีสงั คมเคยกระทา อย่างไร หน้าที่ของสมาชิกในสังคมก็คอื การปฏิบตั ิ ตาม


ปั จจัยที่ทาให้วฒ ั นธรรมเจริญงอกงาม 1.การเรียนรู ้ รับจากผูอ้ น่ื ปรับความคิด ความเชือ่ พฤติกรรม 2.การส่งทอด บรรพบุรษุ ปลูกผัง ความคิด ความรู ้ ค่านิยม วิถชี ีวิต รุ่นลูกหลาน 3.การเผยแพร่วฒ ั นธรรม (Cultural Diffusion) กระจาย Cult. หนึง่ สู่อกี Cult. หนึง่ ทางตรง โดยการติดต่อสัมพันธ์กนั ทางอ้ อม


4. การรับวัฒนธรรม บางส่วน วัฒนธรรมหนึ่ง (ฝ่ ายเผยแพร่)

เผยแพร่

อีกวัฒนธรรมหนึง่ รับ (ฝ่ ายรับ)

ทัง้ หมด


5. การผสมผสานทางวัฒนธรรม (Acculturation)

วัฒนธรรมหนึง่ เผยแพร่

อีก Cult.หนึง่ (รับสิง่ ที่เข้ากับของเดิม)

ผสมผสาน ปรับให้เข้ากับสังคมตน

ทาง Cult. ซึมซาบไม่รตู ้ วั


6. การเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรม การเผยแพร่

ปรับ Cult รับ

Cult.

เปลีย่ นรูปแบบ

ให้เหมาะ

• อัตราการเปลีย่ นแปลงขึ้นอยู่กบั • ถ้าสนองความต้องการสังคมยอมรับเร็ว • ถ้าไม่ตรง/คล้าย Cult. เดิม (คนรับช้า) (นาน) Change

เกิด Cult.

ใหม่ ความคิด ความเชือ่ ของคน สถานที่ เวลา Chanqe เร็ว เผยแพร่ต่อเนือ่ ง

ซึมซาบ


สาเหตุการเปลีย่ นแปลง Cult. 1. การค้นพบ 2. การประดิษฐ์ 3. การเผยแพร่ Cult. ของ สังคมอืน่


สาเหตุท่ีคนยอมรับ และเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม 1. ได้รบั ผลประโยชน์ 2. เข้ากันได้กบั Cult. ดัง้ เดิม 3. Cult. ที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนในการทาตาม ยอมรับ โดยไม่รตู ้ วั /ค่อย เป็ นค่อยไป 4. การค้นพบสิง่ แปลก ๆ ใหม่ ๆ - แรก ๆ คนต่อต้าน - ถ้าสิง่ นัน้ มีอยู่ตลอดเวลา+ ได้รบั ต่อเนือ่ ง ดูดซึม และยอมรับ


ข้อสังเกตในการถ่ายทอดทางวัฒนธรรม 1. Cult.ทางวัตถุ 2. Cult. ทางความคิด ความเชือ่ 3. Cult. ที่ทดแทนกันได้ 4. สมาชิก Soc. ที่เก่าแก่ 5. การรับ Cult. สังคมอืน่

ถ่ายทอดได้ง่าย

ถ่ายทอดได้ยาก เผยแพร่ได้เร็วกว่า สิง่ ที่แทนกันไม่ได้ มักคัดค้าน Cult. ที่แพร่เข้ามา Cult. จะไม่สมบูรณ์ เหมือนเจ้าของเดิม


ประโยชน์ของวัฒนธรรม 1. เป็ นแบบแผนการดารงชีวิตคน (กาหนดรูปแบบพฤติกรรม) 2. เป็ นลักษณะเฉพาะในการดารงชีพแต่ละ Soc.

ร่างกาย 3. สนองความต้องการของมนุษย์

จิตใจ 4. ทาให้มนุษย์เป็ นมนุษย์อย่างแท้จริง 5. แสดงความเป็ นระเบียบเรียบร้อยของ Soc.


สรุป • Cult. คือ สิง่ ที่คนยุคก่อนพัฒนาสิง่ ที่ดงี าม และ ถ่ายทอดมาให้คนรุ่นใหม่ ซึง่ การถ่ายทอดนี้เกิดขึ้นได้ จาก การใช้ชีวิต “Way of life” ของแต่ละ Soc.จะมีความแตกต่างกันตามรูปแบบ พฤติกรรมมนุษย์แต่ละ Soc.ซึง่ แต่ละCult. มีอทิ ธิพล เหนือความคิดและ พฤติกรรมมนุษย์



งานกลุ่ม 1. แบ่ งกลุ่มศึกษาวัฒนธรรมพืน้ บ้ านแต่ ละภูมภิ าคของประเทศไทย โดยแบ่ งกลุ่มเป็ นด้ านดังนี้ 1.1 ภาษาถิ่น 1.2 อาหาร 1.3 การแต่ งกาย 1.4 ศาสนา และความเชื่อ 1.5 ประเพณี 1.6 การแสดงพืน้ บ้ าน ทาเป็ นรูปเล่ มรายงาน แต่ ไม่ ต้อง Print ให้ ส่งเข้ าอีเมล์ wongpatum@gmail.com โดย ใช้ ชื่อในการส่ ง วัฒนธรรม_รหัสนศ. 3 ตัวท้ าย 2. ทาเป็ น PPT. นาเสนอหน้ าชั้นเรียน ในวันจันทร์ ที่ 21 กันยายน 2558


คาถามท้ายบท บทที่ 3 1.

1. วัฒนธรรมหลักกับวัฒนธรรม รอง มีความเหมือนหรือแตกต่าง กันอย่างไรบ้าง พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ ?


ศึกษาวีดที ศั น์ “เรือ่ ง 15 คา่ เดือน 11” ศึกษาวีดที ศั น์ “Outsourced” https://www.youtube.com/watch?v=NKsX-rDBd3o 1) 2) 3) 4)

สรุปเรือ่ งย่อ วัฒนธรรม ในภาพยนตร์คืออะไร พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ? จงบอกสัญลักษณ์ในการสือ่ สารทางวัฒนธรรมที่พบในวีดที ศั น์ ? จากข้อมูลที่ท่านได้ชม อะไรคือวัฒนธรรมหลัก อะไรคือวัฒนธรรมรอง ?


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.