Cultural Heritage Management of Wat Kuhapimook, Muang, Yala Province

Page 1

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา

ธนกร สุ ธีรศักดิ์

วิทยานิพนธ์ นเี้ สนอต่ อมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อเป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตาม หลักสู ตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การจัดการศิลปะและวัฒนธรรม

คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีนาคม พ.ศ. 2564


กิตติกรรมประกาศ วิทยานิ พนธ์หัวข้อรื่ อง การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิ มุข อําเภอเมื องยะลา จังหวัดยะลา ได้รับการสนับสนุ นทุนในการศึกษาวิจยั จากโครงการทุนวิจยั มหาบัณฑิตสกว. ด้าน มนุษยศาสตร์–สังคมศาสตร์ รุ่ นที่ 15 แก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการศึกษาวิจยั ประจําปี 2562 โดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ สุ รพล ดําริ ห์กุล เป็ นอย่างสู ง ที่เป็ นผูจ้ ุดประกาย ในประเด็นการศึกษาวิจยั ในวิทยานิพนธ์ ตลอดจนให้คาํ ชี้แนะและแนวทางการศึกษา ตลอดจนข้อคิด ที่ดีในการจัดทําวิทยานิพนธ์มาโดยตลอด ขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสู ง ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.สื บศักดิ์ แสนยาเกียรติคุณ อาจารย์ที่ปรึ กษาหลัก และ รองศาสตราจารย์ ดร.วรลัญจก์ บุณยสุ รัตน์ อาจารย์ที่ปรึ กษาร่ วม ที่ คอยชี้ แนะแนวทาง ให้คาํ ปรึ กษา และข้อเสนอแนะอันเป็ นประโยชน์ต่อการทําวิทยานิ พนธ์ ด้วยดีเสมอมา จึ งขอกราบขอบ พระคุณเป็ นอย่างสู ง และขอกราบขอบพระคุณ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นันทวรรณ ม่วงใหญ่ ที่ให้ ความกรุ ณาช่วยชี้แนะ ให้คาํ แนะนํา และตรวจทานเนื้ อหาในส่ วนภาษาอังกฤษ ขอกราบขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณสํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา และหอจดหมายเหตุแห่ งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัด ยะลา องค์การบริ หารส่ วนตําบลหน้าถํ้า และวัดคูหาภิมุข (วัดหน้าถํ้า) ที่ให้ความอนุ เคราะห์ขอ้ มูลที่ สําคัญและเป็ นประโยชน์ต่อการทําวิทยานิพนธ์ ตลอดจน เอกสารหนังสื อที่เกี่ยวข้อง ขอขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณ สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร และ มหาวิทยาลัยราชภัฏรยะลา ที่เอื้อเฟื้ อและให้ความอนุ เคราะห์เพื่อใช้สืบค้นข้อมูล หนังสื อ ตํารา และ เอกสารงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องอันเป็ นประโยชน์ต่อวิทยานิพนธ์ ท้ายนี้ ผูศ้ ึกษาขอกราบขอบพระคุณมารดา และครอบครั ว ที่ สนับสนุ นและให้โอกาสได้รับ การศึกษาเล่าเรี ยน และผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวของในการศึกษาลวิจยั ตลอดจนคอยช่วยเหลือ และให้กาํ ลังใจ เสมอมา ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ธนกร สุ ธีรศักดิ์


หัวข้ อวิทยานิพนธ์

การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา

ผู้เขียน

นายธนกร สุ ธีรศักดิ์

ปริญญา

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการศิลปะและวัฒนธรรม)

อาจารย์ ที่ปรึกษา

รองศาสตราจารย์ ดร.สื บศักดิ์ แสนยาเกียรติคุณ

บทคัดย่ อ วิทยานิ พนธ์เรื่ อง การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา เป็ นการศึกษาวิจยั ที่มีจุดประสงค์ของการศึกษาเพื่อ 1) ศึกษาถึงบริ บททางประวัติศาสตร์ ของดินแดน คาบสมุทรภาคใต้และประวัติความเป็ นมา ตลอดจนลักษณะสังคมและวัฒนธรรมของจังหวัดยะลา เพื่อให้ทราบถึงภูมิหลังและบริ บททางการเปลี่ยนแปลงของตัวพื้นที่ และลักษณะทางกายภาพของ สังคมและวัฒนธรรมของพื้นที่ในการศึกษา 2) ศึกษาชุมชน สังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนศักยภาพ และความเข้มแข็งของชุมชนบ้านหน้าถํ้า เพื่อทําให้ทราบถึงลักษณะทางภายภาพและสภาพของชุมชน ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของผูค้ นในพื้นที่ชุมชน ตลอดจนศักยภาพและความเข้มแข็ง ของ ชุมชนบ้านหน้าถํ้า ในการมีส่วนร่ วมกับการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ และ 3) เพื่อ เสนอรู ปแบบแนวทาง และวิธีการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัด ยะลา เพื่อให้เกิดเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ของผูค้ นในพื้นที่และตลอดคนในพื้นที่ใกล้เคียง ให้สามารถเข้ามา ศึกษาและค้นคว้า เกิดเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ซึ่งแนวทางในการจัดการภายใต้แนวคิดและทฤษฎี ดังนี้ 1) แนวคิดการจัดการมรดกวัฒนธรรม คือการดูแลอย่างเป็ นระบบที่นาํ มาใช้เพื่อรักษาและธํารงคุณค่าทางวัฒนธรรมของทรัพย์สินหรื อแหล่ง มรดกนั้น ๆ เพื่อให้ยงั คงอยูส่ ื บไปในภายภาคหน้า 2) แนวคิดการจัดการแหล่งเรี ยนรู ้ แหล่ง ที่รวม หรื อ ศูนย์รวมที่ส่งเสริ มให้เกิดการเรี ยนรู ้และ 3) แนวคิดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยจากการศึกษาวิจยั ในครั้งนี้ได้นาํ แนวคิดและทฤษฎีท้ งั สามมาเป็ นแนวทางในการประยุกต์ใช้เพื่อหารู ปแบบและแนวทาง ในการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข เพื่อให้เกิดเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ของผูค้ นในพื้นที่และ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม


ผลการศึกษาพบว่า จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ของพื้นที่ชุมชนบ้านหน้าถํ้า อําเภอเมื อง ยะลา จังหวัดยะลา สามารถเป็ นตัวบ่งชี้ และแสดงให้เห็นถึงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ของตัวพื้นที่ได้ อย่างชัดเจนผนวกกับร่ องรอยของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม โบราณสถาน และโบราณวัตถุ ที่มีการ ขุดค้นพบภายในบริ เวณตัวชุมชนบ้านหน้าถํ้า และภายในวัดคูหาภิมุข ซึ่งแสดงถึงร่ อยรอยอารยธรรม ของวัฒนธรรมที่สืบเนื่ องมาอย่างยาวนานตั้งแต่ยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ เรื่ อยมาจนปั จจุบนั โดย แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมทั้งหลายนี้ ถือเป็ นเครื่ องยืนยันและแสดงให้เห็นถึงความเจริ ญรุ่ งเรื องของ เมืองในคาบสมุทรทางตอนใต้ของประเทศ และบ่งบอกถึงลักษณะวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ ตลอดจนคติ ความเชื่ อของผูค้ นในพื้ นที่ ซึ่ งผลกระทบจากปั จจัยในปั จจุ บ ันที่ หลากหลายส่ ง ผลให้แหล่ง มรดก วัฒนธรรม โบราณสถานและโบราณวัตถุที่สําคัญในเขตพื้นที่วดั คูหาภิมุขเกิดความเสื่ อมโทรมตาม กาลเวลา ถูกปล่อยปละละเลย และยังขาดความรู ้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และความภาคภูมิใจจาก คนในพื้นที่ จึงส่ งผลให้คุณค่าทางประวัติศาสตร์ ยิ่งลดน้อยลงตามกาลเวลา โดยหากแหล่งมรดกทาง วัฒนธรรมแห่ งนี้ ขาดการดูแลรักษา และการเอาใจใส่ อาจส่ งผลกระทบต่อไปได้ในระยะยาว ถือเป็ น การสู ญเสี ยแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่สาํ คัญแห่งหนึ่งของชาติ จากการศึกษาข้อมูลสามารถชี้ให้เห็น ได้ถึ ง จุ ด เด่ น ของรู ป แบบแหล่ ง มรดกทางวัฒ นธรรมที่ สํ า คัญ ในจัง หวัด ยะลา เป็ นเขตพื้ น ที่ ที่ มี หลากหลายทางด้านกลุ่มวัฒนธรรม ซึ่ งถือเป็ นเอกลักษณ์เด่น และส่ งเสริ มเพื่อให้เกิดประโยชน์ท้ งั ทางด้านการศึกษา การท่องเที่ยว ตลอดทั้งด้านเศรษฐกิจของจังหวัดยะลา ให้กลายเป็ นที่รู้จกั และเป็ น พื้นที่สาํ หรับการสร้างแหล่งเรี ยนรู ้ในรู ปแบบทางประวัติศาสตร์ และการท่องเที่ยวให้แก่เขตพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนใต้ต่อไป คําสํ าคัญ : แหล่งมรดกทางวัฒนธรรม / แหล่งเรี ยนรู ้ / การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม / คาบสมุทรภาคใต้


(Thesis/Independent Study) Title

Cultural Heritage Management of Wat Kuhapimook, Muang, Yala Province

Author

Mr. Thanakorn Suteerasak

Degree

Master of Arts (Art and Culture Management)

Advisor

Assoc. Prof. Suebsak Saenyakiatikhun, Ph.D.

ABSTRACT The research “Cultural Heritage Management of Wat Kuhapimook, Mueang District, Yala Province” aims at study the background knowledge of southern peninsula of Thailand including social and cultural context of Yala province. Moreover, it also studies social and cultural context of Ban Na Tham community, as well as the residents’ potential of participating the cultural heritage management of the area, in order to provide the plan for cultural heritage management of Wat Kuhapimook, Mueang District, Yala province, to be a learning center and cultural tourist attraction. The management process will go along with 3 major concepts, 1) cultural heritage management concept, a sustainable conservation and development for the cultural heritage site and precious objects, 2) learning resource management concept, meaning of the learning center is a place that gathering information, and 3) cultural tourism concept. Regarding to the history of Ban Na Tham community, Mueang District, Yala province, shows clearly historical values itself, while the ancient remains and priceless antiques were also found in the area of Ban Na Tham community and in Wat Kuhapimook. These cultural heritages indicate the civilization that inherited since prehistorical period until present day. Moreover, they obviously show the prosperity of the southern peninsula of Thailand involving people’s way of life and their beliefs. Now, because of many factors including lacking of knowledge and understanding the historical values, these cultural heritages have been deteriorated. If people still ignore this problem and not realize about the conservation, they may lose their important heritages. According to the information found in this research, cultural diversity is one of the outstanding points of Yala province, which


should be supported to make more benefit for many issues, like education, tourism and economic. This area should be known as a cultural learning center and one of tourist attraction of southern Thailand. Key word : Cultural heritage site / Learning Resource / Cultural tourism / Southern peninsula


สารบัญ หน้า กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ ABSTRACT สารบัญ สารบัญรู ปภาพ

ง จ ฉ ซ ฒ

บทที่ 1 บทนํา

1

1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 บทที่ 2

ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการศึกษา ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา นิยามศัพท์เฉพาะ การนําเสนอผลการวิจยั

1 5 5 5 5 5

แนวคิดทฤษฏี เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง

8

2.1 สถานะภาพความรู ้ที่เกี่ยวกับคาบสมุทรภาคใต้ 2.1.1 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในคาบสมุทรมลายู 2.1.1.1 ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 2.1.1.2 สมัยประวัติศาสตร์ 2.1.1.3 ยุคอาณาจักรและรัฐชาติ 2.1.2 ประวัติศาสตร์ จากสยามสู่ จงั หวัดยะลา 2.1.2.1 สมัยการจัดการปกครองแบบหัวเมือง (พ.ศ. 2351-2445) 2.1.2.2 สมัยมณฑลเทศาภิบาล (พ.ศ. 2440-2475) 2.1.2.3 สมัยการปกครองแบบจังหวัด (พ.ศ. 2474-ปัจจุบนั ) 2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา 2.2.1. แนวคิดการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม 2.2.2 แนวคิดการจัดการแหล่งเรี ยนรู ้ ซ

9 9 11 12 13 20 21 22 24 36 36 41


สารบัญ (ต่ อ) 2.2.3 แนวคิดจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 2.3 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 2.3.1 เอกสารและหนังสื อ 2.4 กรอบแนวคิดการวิจยั

หน้า 44 49 49 60

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย 3.1 รู ปแบบการวิจยั 3.2 การศึกษาภาคเอกสาร ทบทวนวรรณกรรม และแนวคิดทฤษฏี 3.3 การศึกษาชุมชนและแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 3.4 การศึกษาเพื่อหาทิศทางที่เหมาะสมของการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 3.5 การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ชุมชนหน้าถํ้า สู่ การเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

61 61 62 62

บทที่ 4 การศึกษามรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตลอดจนศักยภาพและความเข้ มแข็ง ของชุมชนหน้ าถํา้ อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 4.1 การศึกษาชุมชนบ้านหน้าถํ้า ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 4.1.1 ประวัติและการตั้งถิ่นฐาน 4.1.2 ที่ต้ งั ลักษณะทางกายภาพ และเส้นทางคมนาคม 4.1.2.1 ที่ต้ งั 4.1.2.2 ลักษณะภูมิประเทศ 4.1.2.3 ลักษณะภูมิอากาศ 4.1.2.4 การปกครอง 4.1.2.5 อาณาเขตติดต่อของบ้านหน้าถํ้า 4.1.2.6 ประชากร

68

65 66

69 69 71 71 71 71 72 72 74


สารบัญ (ต่ อ) หน้า 4.1.2.7 การศึกษา 74 4.1.2.8 สาธารณสุ ข 75 4.1.2.9 ระบบเศรษฐกิจ 75 4.1.2.10 การพาณิ ชย์และกลุ่มอาชีพ 75 4.1.3 สภาพทางสังคม กิจกรรม ความเชื่อ ประเพณี ทางวัฒนธรรม 76 4.1.3.1 การนับถือศาสนา 76 4.1.3.2 กิจกรรม ความเชื่อ ประเพณี ทางวัฒนธรรม 76 (1) กลุ่มประชากรชาวไทยพุทธ 76 (1.1) ประเพณี รับเทวดาหรื อเทียมดา 76 (1.2) ประเพณี การแก้บน 78 (1.3) พิธีมหามงคลห่มผ้าไสยาสน์ 78 (1.4) พิธีตกั บาตรเทโว ตําบลหน้าถํ้า 79 (1.5) งานบุญชักพระ 80 (1.6) ประเพณี วนั สารทเดือน 10 (ชิงเปรต) 81 (2) กลุ่มประชากรชาวไทยมุสลิม 82 (2.1) ประเพณี วนั อาซูรอ 82 (2.2) ประเพณี วนั เมาลิด 83 (2.3) ประเพณี วนั ฮารี รายอ 84 (2.4) พิธีการแต่งงาน 87 (2.5) พิธีกรรมเกี่ยวกับความตาย 88 4.1.4 วิเคราะห์ศกั ยภาพและความเข้มแข็งของชุมชนหน้าถํ้า 89 4.1.4.1 ศักยภาพและความเข้มแข็งทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม 89 4.1.4.2 ผูน้ าํ ชุมชน และผูน้ าํ องค์กร 89 4.1.4.3 ความสัมพันธ์และความร่ วมมือทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน 90 4.2 การศึกษาแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 93 4.2.1 ประวัติความเป็ นมาและตํานานของวัดคูหาภิมุข 93 4.2.2 มรดกวัฒนธรรมของวัดคูหาภิมุข 100 (1) พระพุทธไสยาสน์ 100 ซ


สารบัญ (ต่ อ) (2) ถํ้าศิลป (3) พิพิธภัณฑ์ หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข (4) ถํ้า ปปร (5) พระพิมพ์ดินดิบ (6) ถํ้ามืดและบ่อนํ้าศักดิ์สิทธิ์ 4.2.3 วิเคราะห์คุณค่าความสําคัญและความสําเร็ จและปัญหาของการจัดการ แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขในฐานะเป็ นปูชนียสถานและ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (1) คุณค่าและความสําคัญของวัดคูหาภิมุขในเชิงพื้นที่ศกั ดิ์สิทธิ์ และแหล่งโบราณสถานสําคัญของจังหวัดยะลา (2) คุณค่าและความสําคัญของวัดคูหาภิมุขในเชิงแหล่งท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมสําคัญของจังหวัดยะลา (3) ความสําเร็ จและปัญหาของการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดคูหาภิมุขในฐานะเป็ นปูชนียสถานและแหล่งท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม

หน้า 104 119 124 127 130 133

133 134 135

บทที่ 5 การจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข 139 การเป็ นแหล่ งเรียนรู้ และท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 5.1 การศึกษาเพื่อหาทิศทางที่เหมาะสมของการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม 139 วัดคูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา 5.1.1 การศึกษาเก็บข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชน 139 ผูน้ าํ ท้องถิ่น และนักวิชาการต่อทิศทางที่เหมาะสมของการจัดการ แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข 5.1.2 การศึกษาวิเคราะห์เพื่อหาทิศทางที่เหมาะสมของการจัดการ 141 แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมขุ 5.2 การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 145 สู่ การเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม


สารบัญ (ต่ อ) 5.2.1 การจัดการอนุรักษ์ พัฒนา และปรับปรุ งภูมิทศั น์พ้นื ที่แหล่งมรกดก ทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 5.2.2 การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การการเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ 5.2.3 การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

หน้า 145 158 160

บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ 6.1 สรุ ปผลการศึกษา 6.2 อภิปรายผล 6.3 ข้อเสนอแนะ

169 169 175 176

บรรณานุกรม ภาคผนวก

177 181

ภาคผนวก ก

แบบสํารวจข้อมูลแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข

182

ภาคผนวก ข

ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ประกาศคณะกรรมกาศอนุรักษ์และพัฒนากรุ งรัตนโกสิ นทร์ และเมืองเก่า เรื่ อง ประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่ายะลา

186

ประวัติผูเ้ ขียน

189


สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 2.1 ภาพที่ 2.2 ภาพที่ 2.3 ภาพที่ 2.4 ภาพที่ 2.5 ภาพที่ 2.6 ภาพที่ 2.7 ภาพที่ 2.8 ภาพที่ 2.9 ภาพที่ 2.10 ภาพที่ 2.11 ภาพที่ 2.12 ภาพที่ 2.13 ภาพที่ 2.14 ภาพที่ 2.15 ภาพที่ 2.16 ภาพที่ 2.17 ภาพที่ 2.18 ภาพที่ 2.19 ภาพที่ 2.20 ภาพที่ 4.1 ภาพที่ 4.2 ภาพที่ 4.3 ภาพที่ 4.4 ภาพที่ 4.5

แผนที่ทางภูมิศาสตร์แสดงลักษณะทางกายภาพของภาคใต้และคาบสมุทรมลายู ภาพถ่ายชนพื้นเมืองภาคใต้เมื่อราว 100 ปี ที่ผา่ นมา ภาพภ่ายชาวซาไก ถ่ายปี 1929 ภาพถ่ายมานิ (ซาไก) ที่อาํ เภอธารโต จังหวัดยะลา แผนที่เส้นทางการค้าทางทะเลสมัยโบราณ แผนที่เส้นทางข้ามคาบสมุทรมลายูบริ เวณภาคใต้ของไทย แผนที่อาณาจักรฟูนนั และรัฐต่างๆบนคาบสมุทรมลายู แผนที่อาณาจักรศรี วิชยั และการขยายอํานาจบนคาบสมุทรมลายู แผนที่คาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะต่าง ๆ ในเอกสารเปอร์เซีย แผนที่คาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะต่าง ๆ แผนที่อาณาจักรสยาม สมัยต้นรัตนโกสิ นทร์ แผนที่ต้งั ชุมชนในเขตเมืองเก่ายาลอทางฝั่งซ้ายของแม่น้ าํ ปัตตานี ตรงข้ามกับเมืองยะลาในปัจจุบนั แผนที่ตาํ บลยะลา แผนที่ตาํ บลท่าสาป ชุมชนบ้านท่าสาป ชุมชนบ้านท่าสาป ภาพเก่าแพข้ามฟากแม่น้ าํ ปัตตานี สะเตง-ท่าสาป ปี พ.ศ 2493-2494 แผนที่การประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่ายะลา อําเภอเมือง จังหวัดยะลา พ.ศ. 2561 ผังเมืองจังหวัดยะลาปัจจุบนั ผังเมืองจังหวัดยะลาปัจจุบนั ภาพภูมิศาสตร์ ตาํ บลหน้าถํ้า ภาพแสดงแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา แผนที่ตาํ บลหน้าถํ้า แผนที่แสดงอาณาเขตตําบลหน้าถํ้า บรรยากาศประเพณี รับเทวดาหรื อเทียมดาตําบลหน้าถํ้า ฒ

9 11 11 12 13 14 15 16 18 19 20 26 28 28 29 30 31 33 35 36 69 70 71 73 77


สารบัญภาพ (ต่ อ) หน้า ภาพที่ 4.6 ภาพที่ 4.7 ภาพที่ 4.8 ภาพที่ 4.9 ภาพที่ 4.10 ภาพที่ 4.11 ภาพที่ 4.12 ภาพที่ 4.13 ภาพที่ 4.14 ภาพที่ 4.15 ภาพที่ 4.16 ภาพที่ 4.17 ภาพที่ 4.18

ภาพที่ 4.19 ภาพที่ 4.20 ภาพที่ 4.21 ภาพที่ 4.22 ภาพที่ 4.23 ภาพที่ 4.24 ภาพที่ 4.25 ภาพที่ 4.26

บรรยากาศประเพณี แก้บนพ่อท่านเจ้าเขา การจุดประทัด และเล่นหนังตะลุงแก้บน 78 บรรยากาศการแห่ผา้ ขึ้นห่มองค์พระพุทธไสยาสน์ วัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า 79 บรรยากาศประเพณี ตกั บาตรเทโว วัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า 80 เรื อพระของตําบลหน้าถํ้าและบรรยากาศงานบุญชักพระ 81 บรรยากาศประเพณี วนั สารทเดือน 10 (ชิงเปรต) ตําบลหน้าถํ้า 82 บรรยากาศการทําบูโบร์ อาชูรอของชาวมุสลิมตําบลหน้าถํ้า ในวันอาซูรอ 83 โครงการงานส่ งเสริ มประเพณี วนั เมาลิด โดยองค์การบริ หารส่ วนตําบลหน้าถํ้า 84 บรรยากาศในวันฮารี รายออิดิลฟิ ตรี ของชาวมุสลิมตําบลหน้าถํ้า 85 การรวมญาติและการแจกจ่ายแบ่งปันขนมแก่เด็ก ๆ ในพื้นที่ บรรยากาศชาวมุสลิมร่ วมทําพิธีละหมาดในวันฮารี รายอ 86 ณ ศูนย์เยาวชน จังหวัดยะลา บรรยากาศพิธีการแต่งงานชาวมุสลิม 87 พิธีกรรมฝังศพทางศาสนาอิสลาม 88 ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างประชากรชาไทยพุทธ-ไทยมุสลิม 91 จากการจัดกิจกรรมประเพณี และการดําเนินวิถีชีวิต ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานองค์กรความมัง่ คงในพื้นที่ 92 กับประชากรชาไทยพุทธ-ไทยมุสลิมจากการจัดกิจกรรมประเพณี และการดําเนิ นวิถีชีวิต วัดคูหาภิมุข (วัดหน้าถํ้า) ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยลา 93 ภาพลายเส้นแสดงอาณาเขตและองค์ประกอบวัดคูหาภิมุข (วัดหน้าถํ้า) 94 วัดคูหาภิมุขเมื่อแรกสร้างเป็ นสํานักสงฆ์ในบริ เวณบ้านหน้าถํ้า 95 วัดคูหาภิมุขเมื่อแรกสร้างเป็ นสํานักสงฆ์ในบริ เวณบ้านหน้าถํ้า 96 วัดคูหาภิมุข (วัดหน้าถํ้า) ในปัจจุบนั 97 พระพุทธรู ปที่ประดิษฐานในถํ้าแจ้ง วัดคูหาภิมุข (วัดหน้าถํ้า) 98 ภาพลายเส้นแสดงลักษณะทางกายภาพปังแสดงแนวเขตโบราณคดีภูเขาหน้าถํ้า 99 พระพุทธไสยาสน์ หรื อ พ่อท่านบรรทม (พระนอน) 100 ประดิษฐานภายในโถงถํ้าแจ้ง วัดคูหาภิมุข


สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่ 4.27 องค์พระพุทธไสยาสน์องค์เดิม ก่อนได้รับการบูรณะโดยการก่ออิฐโบกปูนทับ ภาพที่ 4.28 ภาพองค์พระพุทธไสยาสน์ บันทึกจากการวัดคูหาภิมุข โดยเสด็จของสมเด็จกรมพระยานริ ศรานุวตั ิวงศ์ ภาพที่ 4.29 องค์พระพุทธไสยาสน์ในปัจจุบนั ภายหลังได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์ ภาพที่ 4.30 แหล่งโบราณคดีถ้ าํ ศิลป หมู่ที่ 2 บ้านนังลูวา ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ภาพที่ 4.31 แผนที่แสดงที่ต้ งั แหล่งโบราณคดีถ้ าํ ศิลป ภาพที่ 4.32 ภาพลายเส้นแสดงลักษณะทางกายภาพแหล่งโบราณคดีถ้ าํ ศิลป ภาพที่ 4.33 ภาพลักษณะทางกายภาพปากทางเข้าโถงถํ้าศิลป ภาพที่ 4.34 ภาพลักษณะทางกายภาพภายในโถงถํ้าศิลป ภาพที่ 4.35 ภาพลายเส้นแสดงลักษณะทางกายภาพแหล่งโบราณคดีถ้ าํ ศิลป ภาพที่ 4.36 แผนผังแสดงการขุดค้นพบโบราณสถานและโบราณวัตถุภายในถํ้าศิลป ภาพที่ 4.37 ภาพแสดงตําแหน่งภาพเขียนสี ภายในโถงถํ้าศิลป ภาพที่ 4.38 กลุ่มภาพเขียนสี บริ เวณผนังด้านทิศตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ภายในถํ้าศิลป ภาพที่ 4.39 กลุ่มภาพเขียนสี บริ เวณผนังด้านทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือ ภายในถํ้าศิลป ภาพที่ 4.40 ภาพกลุ่มคนเป่ าลูกดอกและยิงธนู ภาพที่ 4.41 กลุ่มภาพสัญลักษณ์ และพระพุทธประวัติ ภาพที่ 4.42 กลุ่มสัญลักษณ์ดวงตราแปดดวง ภาพที่ 4.43 ภาพคน 2 คน นัง่ หันหน้าเข้าหากัน ภาพที่ 4.44 กลุ่มภาพพระพุทธเจ้าและพุทธประวัติ ภาพที่ 4.45 ภาพพระพุทธรู ปประทับนัง่ เรี ยงแถวต่อกันไปประมาณ 15 องค์ โดยยังคงเหลือที่สมบูรณ์มองเห็นได้ชดั 3 องค์ ภาพที่ 4.46 ภาพคัดลอกลายเส้นจิตรกรรมพระพุทธรู ปประทับนัง่ ฝี มือการคัดลอกโดย นายมานิตย์ ภู่อารี ย ์ ภาพที่ 4.47 ภาพธิดาพญามารที่ง 3 คือ นางตัญหา ราคา และอรดี ภาพที่ 4.48 ภาพคัดลอกลายเส้น ฝี มือการคัดลอกโดย นายมานิตย์ ภู่อารี ย ์ ภาพที่ 4.49 ภาพพระพุทธรู ปปางนาคปรก (ผนังด้านทิศตะวันตกเฉี ยงเหนื อ) ภาพที่ 4.50 อาคารพิพิธภัณธ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข ฒ

หน้า 101 102 103 104 105 106 107 107 108 109 110 111 111 112 113 113 114 114 115 115 116 116 117 119


สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่ 4.51 ภาพที่ 4.52 ภาพที่ 4.53 ภาพที่ 4.54 ภาพที่ 4.55 ภาพที่ 4.56 ภาพที่ 4.57 ภาพที่ 4.58

ภาพที่ 4.59 ภาพที่ 4.60 ภาพที่ 4.61 ภาพที่ 4.62 ภาพที่ 4.63 ภาพที่ 4.64 ภาพที่ 4.65 ภาพที่ 4.66 ภาพที่ 4.67 ภาพที่ 5.1 ภาพที่ 5.2 ภาพที่ 5.3 ภาพที่ 5.4

สภาพตัวอาคารพิพิธภัณธ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข ภาพเมื่อแรกสร้างพิพิธภัณฑ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั ณ อุโบสถเก่าวัดคูหาภิมุข นิทรรศการการจัดแสดงชิ้นโบราณวัตถุภายในพิพิธภัณฑ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั พระพิมพ์ดินดิบ และเม็ดพระศก ชิ้นโบราณวัตถุที่จดั แสดง ภายในพิพิธภัณฑ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั ภาพรู ปแบบการจัดนิทรรศการและให้ขอ้ มูลภายในพิพิธภัณฑ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั ภาพจากรึ กอักษร ปรร บนหน้าผาถํ้า ถํ้า ปปร และลําคลองระหาน ภาพสมเด็จพระนางเจ้ารําไพพรรนี สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินี เสด็จพระราชดําเนินทางชลมาศ โดยใช้เส้นทางคลองระหานมายังวัดคูหาภิมุข ในปี พ.ศ. 2471 พระพิมพ์ดินดิบ โบราณวัตถุจดั แสดงภายในพิพิธภัณฑ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั พระพิมพ์ดินดิบรู ปพระโพธิสัตว์ พระพิมพ์ดินดิบรู ปพระพุทธเจ้า ภาพตัวอย่างการจารึ กอักษรปัลลวะ เย ธมฺ มา หลังพระพิมพ์ท่ีขดุ ค้นพบ ปากทางเข้าถํ้ามืด วัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ภายในโถงถํ้ามืด และ หิ นงอกหิ นย้อยภายในถํ้ามืด ทางเดินไปยังสระแก้ว ภายในโถงถํ้ามืด สระแก้ว หรื อ บ่อนํ้าศักสิ ทธิ์ ภายในถํ้ามืด วัดคูหาภิมุข พิธีพลีกรรมตักนํ้าจากสระแก้ว แหล่งนํ้าศักดิ์สิทธิ์ ภายในถํ้ามืด วัดคูหาภิมุข เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2562 ภาพลายเส้นแสดงแนวเขตการขึ้นทะเบียนแหล่งโบราณคดีภูเขาหน้าถํ้า (วัดคูหาภิมุข) ภาพแสดงแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ภาพแสดงตําแหน่งสภาพปัญหาภายในโถงถํ้าแจ้ง และบริ เวณองค์พระพุทธไสยาสน์ ภาพแสดงตําแหน่งสภาพปัญหารอบแตกบริ เวณองค์พระพุทธไสยาสน์ ฒ

หน้า 120 121 122 123 123 124 125 126

127 128 128 129 130 131 131 132 132 146 147 150 151


สารบัญภาพ (ต่ อ) ภาพที่ 5.5 ภาพที่ 5.6 ภาพที่ 5.7 ภาพที่ 5.8 ภาพที่ 5.9 ภาพที่ 5.10 ภาพที่ 5.11 ภาพที่ 5.12 ภาพที่ 5.13 ภาพที่ 5.14 ภาพที่ 5.15

ภาพแสดงตําแหน่งร่ องรอยการบูรณะองค์พระพุทธไสยาสน์ ภาพเสนอการจัดทําเพื่อเปิ ดพื้นที่แสดงให้เห็นถึงวิวฒั นาการในการบูรณะที่ผา่ น ภาพแสดงภายในโถงถํ้าศิลป ภาพแสดงตําแหน่งการติดตั้งไฟส่ องสว่างในปัจจุบนั ภาพจําลองการเสนอแนวกั้นภายในโถงถํ้า อาคารศาลาที่จาํ หน่ายดอกไม้ และให้เช่าพระเครื่ องในปัจจุบนั บริ เวณหน้าพิพิธภัณฑ์ หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข อาคารศาลาที่จาํ หน่ายดอกไม้ และให้เช่าพระเครื่ องในปัจจุบนั บริ เวณหน้าพิพิธภัณฑ์ หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข ภาพแบบร่ างการปรับปรุ งตัวอาคารเพื่อใช้เป็ นศูนย์บริ การข้อมูลวัดคูหาภิมุข ภาพจําลองการเสนอแนวกั้นภายในโถงถํ้ามืด ตัวอย่างสื่ อสิ่ งพิมพ์เพื่อใช้เป็ นสื่ อในการให้ขอ้ มูล แผนที่แหล่งท่องเที่ยวตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หน้า 151 152 153 153 154 155 155 156 157 161 163


บทที่ 1 บทนํา 1.1. ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา ยะลา จังหวัดหนึ่ งในเขตชายแดนทางตอนใต้ของประเทศไทย โดยชื่อยะลานั้นมาจากคําภาษา พื้นเมืองเดิมว่า “ยะลอ” หรื อ “ยาลอ” ซึ่ งแปลว่า “แห” อันเป็ นชื่อที่ได้มาจากสภาพทางภูมิศาสตร์ของ สถานที่ต้ งั ของตัวเมืองเดิมที่บา้ นยะลา (คือตําบลยะลา อําเภอเมืองในปั จจุบนั ) โดยบ้านยะลอมีสภาพ ทางภูมิศาสตร์ มีภูเขารู ปร่ างคล้ายแหตั้งอยู่ ต่อมาได้มีการย้ายมาตั้งเมืองใหม่อยูห่ ลายครั้ง จนย้ายมาตั้ง ที่บา้ นนิ บงในปั จจุบนั 1 เดิมยะลาเป็ นส่ วนหนึ่ งของเมืองปั ตตานี ซึ่ งเป็ นเมืองขึ้นอยู่กบั ราชอาณาและ กรุ งศรี อยุธยา ต่อมาครั้นถึงสมัยช่วงต้นรันตโกสิ นทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้แบ่งแยกหัวเมืองปั ตตานี เป็ น 7 หัวเมือง คือ เมืองปั ตตานี เมืองสายบุรี เมืองหนองจิก เมืองยะหริ่ ง เมืองระแงะ เมืองรามัน และเมืองยะลา มีการเปลี่ยนแปลงเจ้าเมืองหลาย ครั้งก่อนที่จะมีการประกาศยุบเลิกมณฑล ตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยระเบียบแห่ งราชอาณาจักรสยามในปี พ.ศ. 2476 และกลายมาเป็ นจังหวัดหนึ่ งของประเทศไทย โดยปั จจุบนั เมืองยะลามีอายุนบั ตั้งแต่ก่อตั้ง เมืองราวประมาณ 228 ปี จังหวัดยะลามีการตั้งถิ่ นฐานอยู่ในคาบสมุทรภาคใต้ของประเทศไทย ที่มีระยะเวลายาวนาน หลายร้อยปี นับได้ว่าเป็ นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่เก่าแก่ที่สุดแห่ งหนึ่ งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่อดีตจนปั จจุ บนั คาบสมุทรภาคใต้มีการเข้ามาของหลากหลายวัฒนธรรม จึงส่ งผลให้ตวั พื้นที่ จังหวัดยะลาเปรี ยบเป็ นแหล่งที่มีความหลากหลายทั้งทางด้านวัฒนธรรม ศาสนา ประเพณี และวิถีชีวิต ที่หลากหลายมาตั้งแต่อดีต จุดเด่นและสิ่ งที่น่าสนใจต่อการศึกษาภายในเขตพื้นที่จงั หวัดยะลานี้ คือ ความโดดเด่นทางด้านวัฒนธรรม สื บเนื่ องจากองค์ประกอบของคาบสมุทรภาคใต้ในประเทศไทย ทั้ง ลักษณะทางกายภาพเป็ นที่ ราบลุ่ม เหมาะแก่การตั้งถิ่นฐานของชุมชนได้อย่างถาวร และอาศัยการ เกษตรกรรมเป็ นหลักในการดํารงชี วิต กระทัง่ มี การค้าขายติ ดต่อกับต่างชาติ ทั้งทางด้านตะวันตก (อิ นเดี ย) ตะวันออกกลาง และตะวันออก (จี น) จึงมี พฒ ั นาการเกิ ดเป็ นรั ฐขึ้น ที่ รับวัฒนธรรมจาก ภายนอกเข้า มาสู่ พ้ื น ที่ อัน เห็ น ได้ จ ากรู ป แบบทางศิ ล ปกรรม และสถาปั ต ยกรรม ของแหล่ ง โบราณสถาน และโบราณวัตถุ ที่ ค ้นพบในพื้ นที่ สิ่ ง ที่ ท าํ ให้เห็ นถึ ง ความแตกต่ า งของกลุ่ ม ชนใน คาบสมุทรภาคใต้กบั กลุ่มชนที่อยู่ในคาบสมุทรมลายูคือการแพร่ หลายของศาสนาอิสลาม โดยศาสนา อิสลามได้แพร่ เข้ามาในเขตสี่ จงั หวัดภาคใต้ (สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) ด้วย ดังนั้นถือได้วา่ ในเขต 0

กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดยะลา วัฒนธรรม. กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร. 8. 1

1


สี่ จงั หวัดภาคใต้น้ ี ถื อเป็ นพื้นที่ ที่มีความหลากหลายของการประสมประสานทางวัฒนธรรมที่มีมา ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบนั ได้อย่างชัดเจน 2 จากการสํ า รวจค้น คว้า ของนัก โบราณคดี ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ ชุ ม ชนโบราณซึ่ ง ตั้ง อยู่ใ นบริ เ วณ คาบสมุทรภาคใต้ นักโบราณคดี หลายท่ า นต่า งตั้งสั นษฐานและลงความเห็ นกันว่า จากการศึ ก ษา สํารวจได้พบวัตถุโบราณ โบราณสถาน ที่ บ่งบอกถึ งร่ องรอยการอยู่อาศัยของมนุ ษย์ในคาบสมุทร ภาคใต้มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ กระจัดกระจายอยู่โดยทัว่ ไปทางชายฝั่งทะเลตะวันออก ตั้งแต่ จังหวัดชุมพรเรื่ อยลงมาจนถึงจังหวัดยะลา 3 และการที่พบหลักฐานในถํ้าหลายๆ แห่ งในจังหวัดยะลา ถื อเป็ นการยืนยันถึ ง ร่ องรอยทางประวัติศาสตร์ อันยาวนาน จึ งนับว่าจังหวัดยะลาเป็ นดิ นแดนที่ มี ความสําคัญทางด้านโบราณคดีแห่งหนึ่ง ดังที่ประทุม ชุ่มเพ็งพันธ์ ได้อา้ งจากตํานานพื้นเมืองปัตตานี ท่ี เล่าลือต่อกันมาว่า เมืองปั ตตานี โบราณนั้นมีการโยกย้ายถึง 4 ครั้ง และครั้งแรกเมืองนี้ เริ่ มก่อตัวขึ้นที่ บ้านปาโยหรื อบ้านบาโย ซึ่ งทุกวันนี้ ได้แก่ บริ เวณท้ องที่ตาํ บลหน้ าถํา้ ตําบลท่ าสาป อําเภอเมืองยะลา จั งหวัดยะลาบนฝั่ งแม่ น้าํ ปั ตตานี 4 ซึ่ งในเขตนี้ พบซากโบราณสถานและศิ ลปะโบราณวัตถุจาํ นวน มากมาย โดยมีการกําหนดอายุได้ราวพุทธศตวรรษที่ 15-17 เป็ นส่ วนใหญ่ และนอกจากนี้ ยังพบว่า จังหวัดยะลาเป็ นชุ มชนที่สําคัญแห่ ง หนึ่ ง ทางตอนใต้ เพราะตามชายฝั่ งแม่ น้ ําปั ตตานี น้ ันมี ก ารพบ ร่ องรอยว่าเคยมี ชุมชนโบราณตั้ง เรี ยงรายกันอยู่หลายแห่ ง เฉพาะที่ เป็ นแหล่งใหญ่และค้นพบเศษ โบราณวัตถุ และซากโบราณสถาน แสดงให้เห็นว่าเคยเป็ นเมืองมาก่อน มีอยู่ 2 แห่ งคือ บริ เวณบ้าน เนี ยง-สนามบิน-วัดคูหาภิมุข และเขากําปั่น ในจังหวัดยะลา กับบริ เวณอําเภอยะรัง จังหวัดปั ตตานี อีก แห่งหนึ่ง บริ เวณบ้านเนียง-วัดคูหาภิมุข จังหวัดยะลาได้พบภาพเขียนก่อนประวัติศาสตร์ภายในถํ้า ใน เขตภูเขาหน้าถํ้า แสดงถึงร่ องรอยที่อยู่ของคนก่อนประวัติศาสตร์ และการพบพระพุทธรู ป พระพิมพ์ สมัยศรี วิชยั ในถํ้าเขากําปั่น บริ เวณใกล้เคียงกับวัดคูหาภิมุข และได้พบเศษชิ้นของวัตถุในริ เวณบ้าน สนามบินเป็ นเครื่ องพิสูจน์ได้วา่ บริ เวณนั้นเคยเป็ นเมืองขนาดใหญ่มาตั้งแต่สมัยศรี วิชยั (พุทธศตวรรษ ที่ 13-18) แหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข หรื อ วัดหน้าถํ้า ตั้งอยู่ที่บา้ นหนํ้าถํ้า ตําบลหน้าถํ้า อําเภอ เมืองยะลา จังหวัดยะลา ห่ างจากตัวเมืองยะลาไปทางทิศตะวันตก โดยตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั เป็ น แหล่งที่อยู่อาศัยของทั้งชาวไทยพุทธและไทยมุสลิม มีการอาศัยร่ วมกันอย่างสันติ ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่ง 1

2

3

กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดยะลา วัฒนธรรม. กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร. 9. 3 ฮอลล์, ดี. จี. อี. (2522). ประวัตศิ าสตร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ . (วรุ ณยุพา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และคนอืน่ ๆ, ผู ้ แปล). (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุ งเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 4. 4 ธิดา สาระยา. (2527, มกราคม-มีนาคม). คาบสมุทรไทย. เมืองโบราณ, 10(1), 7-8. 2

2


กันและกัน เดิมวัดแห่งนี้เป็ นที่รู้จกั กันในชื่อว่า วัดถํ้า อันได้ชื่อมาจากลักษณะของการสร้างสิ่ งก่อสร้าง ที่พบภายในถํ้า จากหลักฐานการบอกเล่าของคนในพื้นที่ กล่าวว่าในภายหลังวัดคูหาภิมุขมีการสร้าง เพื่อเป็ นศาสนสถานขึ้นราวปี พ.ศ.2390 โดยผูใ้ หญ่บา้ นที่อาศัยอยู่ที่บา้ นหน้าถํ้า ได้สร้างเพื่อใช้เป็ นที่ ประกอบศาสนกิจของผูค้ นในหมู่บา้ น และต่อมาในภายหลังได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็ น “วัดคูหาภิมุข” ใน สมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็ นนายกรัฐมนตรี เขตพื้นที่ชุมชนหน้าถํ้านี้มีการสันนิ ษฐานว่าอาจ เป็ นแหล่งชุมชนโบราณมาตั้งแต่สมัยก่ อนประวัติศาสตร์ และเป็ นแหล่งถ่ายโอนทางวัฒนธรรมมา อย่างยาวนาน โดยทราบได้จากการขุดค้นพบพบร่ องรอยศาสนสถาน เทวรู ปสําริ ด กําแพงเมือง พระ พิมพ์ดินดิบแบบทวารวดีและศรี วิชยั ทั้งมีการพบภาพเขียนสี พระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ และภาพเขียน สี ราชรถมี สัตว์เที ยม ที่ มีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 15-17 5 วัดคูหาภิ มุข ถื อเป็ นวัดที่สําคัญและ เป็ นศาสนสถานที่สาํ คัญหนึ่ งในสามของภาคใต้ โดยมีพระพุทธไสยาสน์ หรื อที่เรี ยกกันว่า พระนอน หรื อ พ่อท่านบรรทม ซึ่ งเป็ นพระนอนขนาดใหญ่ รู ปแบบศิลปะสมัยศรี วิชยั ประดิษฐานอยู่ภายในถํ้า หน้าผา องค์พระมีความยาววัดจากพระเกศาถึงปลายพระบาทยาว 81 ฟุต 1 นิ้ว พระบาทซ้อนกันสู ง 10 ฟุต รอบองค์พระประมาณ 35 ฟุต พุทธลักษณะแตกต่างจากองค์อื่น ๆ คือ มีพญานาคทอดตัวอยู่เหนือ องค์พระและแผ่พงั พานอยู่เหนื อเศี ยร และพระกรขวาทอดข้อศอกออกไปข้างหน้าตามแบบศิลปะ อินเดีย โดยเล่ากันว่า ผูด้ าํ ริ สร้างพระพุทธไสยาสน์ดงั กล่าวนี้ คือผูค้ รองเมืองต่าง ๆ ซึ่งภายหลังเรี ยกหัว เมื อ งมลายู และยุ ค นั้น ผู ค้ นนับ ถื อ ศาสนาพุ ท ธลัท ธิ ม หายาน รวมทั้ง ศาสนาพราหมณ์ - ฮิ น ดู นัก โบราณคดีสันนิ ษฐานว่า พระพุทธไสยาสน์ที่อยู่ภายในนั้นเป็ นรู ปพระโพธิ สัตว์ปางนารายณ์บรรทม สิ นธุ์ อันเป็ นปางหนึ่ ง ของพระโพธิ สั ตว์ใ นสมัย พุท ธศาสนานิ กายมหายาน ซึ่ ง เป็ นศาสนาประจํา อาณาจักรศรี วิชยั (พุทธศักราช 1200-1800) หลังจากนั้นเมื่อพระพุทธศาสนาลัทธิหินยานมีการเผยแผ่ เข้ามา และเจริ ญรุ่ งเรื องขึ้นในบริ เวณนี้ จึงได้มีการดัดแปลงองค์พระเป็ นพระพุทธรู ปพุทธลักษณะ แบบหิ นยาน เช่นเดียวกับได้ดดั แปลงพระมหาธาตุเมืองนครศรี ธรรมราช อันเป็ นแบบมหายานของ อาณาจักรศรี วิชยั มาเป็ นแบบลังกาตามความนิยมของลัทธิหินยานดังที่เห็นอยูใ่ นปัจจุบนั นอกจากองค์พระนอนที่เป็ นโบราณวัตถุชิ้นสําคัญแล้วนั้น ยังมีการพบภาพจิตรกรรมฝาผนัง บริ เวณถํ้าศิลป ซึ่ งอยู่ในภูเขาเดียวกับถํ้าพระนอน โดยเป็ นภาพเขียนสี พระพุทธเจ้าปางมารวิชยั ภาพ พระพุทธเจ้าประทับนัง่ เป็ นแถวโดยมีพระสาวกอยู่เบื้องซ้ายและขวา หรื ออาจจะเป็ นอุบาสกหรื ออุบา สี กานั่งประนมมมื ออยู่ พระพุทธเจ้าปางลีลาและมีรูปผูห้ ญิงยืนเป็ นหมู่สามคน ซึ่ งสี ที่เขียนเป็ นดิ น เหลืองเป็ นหลัก ซึ่งประกอบด้วยสี น้ าํ ตาลและแดง มีการแยกนํ้าหนักอ่อนแก่และมีการตัดเส้นด้วยสี ดาํ 4

ทรัยนุง มะเด็ง, อับดุลเร๊ าะมัน บาดา และ วลัยลักษณ์ ทรงศิริ. (2553). ยาลอเป็ นยะลา ความเปลี่ยนแปลงของ บ้ านเมืองและคนรุ่นใหม่ ในเมืองและปริมณฑลเมืองยะลา. กรุ งเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . 40-44. 5

3


นักโบราณคดีให้การสันนิ ษฐานว่าภาพเขียนสี เหล่านี้ เป็ นฝี มือของสลุกช่างท้องถิ่น ที่ได้รับอิทธิ พล ด้านรู ปแบบของภาพวาดโดยตรงมาจากอินเดีย โดยพิจารณารู ปแบบของการเขียนภาพซึ่ งคาดว่าจะอยู่ ในสมัย ศรี วิ ชัย ตอนปลาย (ราวพุ ท ธศตวรรษที่ 19-20) ภาพเขี ย นสี ใ นถํ้า ศิ ล ปได้ข้ ึ น บัญ ชี เ ป็ น โบราณสถานสําหรับชาติ ถือเป็ นสมบัติเก่าแก่ชิ้นสําคัญชิ้นหนึ่งที่ควรแก่การรักษา นอกจากโบราณสถานที่ยงั คงอยู่น้ ัน ยังมีการขุดค้นพบตามถํ้าต่าง ๆ ในภูเขาวัดถํ้า และภูเขา กํา ปั่ น ได้มี ก ารขุดค้นพบพระพิ ม พ์ดิ น ดิ บ สถู ป ดิ นดิ บ ขนาดเล็ ก สถู ป สํา ริ ด เม็ดพระศก อิ ฐฐาน พระพุทธรู ป พระพุทธรู ปสลักในหิ น พระพุทธรู ปสําริ ดสมัยต่าง ๆ และเครื่ องถ้วยจีนอีกจํานวนหนึ่ ง ซึ่งพระพิมพ์ดินดิบที่ขดุ ค้นพบ มีลกั ษณะเดียวกับที่ขดุ ค้นพบตามถํ้าต่าง ๆ ในชุมชนโบราณตั้งแต่เมือง ไชยาลงไปจนถึงสุ มาตราและชวา อันเป็ นดินแดนที่เชื่อว่าเป็ นอาณาจักรศรี วิชยั ราวพุทธศตวรรษที่ 12-18 พระพิมพ์ที่พบที่ภูเขาทั้งสองแห่ งนี้ มีอยู่สองแบบด้วยกัน คือ แบบแรกทําเป็ นรู ปพระโพธิ สัตว์ อวโลกิเตศวร สองกร สี่ กร และหกกร ทั้งที่เป็ นองค์เดียวกัน และมีเทวสตรี ขนาบข้างอยู่ซา้ ยขวา ทั้งที่ ประทับ นั่ ง และประทับ ยื น ดู ล ัก ษณะเนื้ อ ดิ น เก่ า กว่ า แบบที่ ส อง ส่ ว นแบบที่ ส องมัก ทํา เป็ นรู ป พระพุทธเจ้า มีท้งั ประทับนัง่ และประทับยืน ที่ประทับยืนมักแสดงปางปฐมเทศนา มีพระโพธิสัตว์องค์ ต่างๆ ยืนขนาบข้างซ้ายขวา เบื้ องบนมี เทพชุ มนุ ม เบื้ องล่างมี พญานาคชู ดอกบัวรอง พระบาทเป็ น ปั ทมาสน์ ถ้าเป็ นรู ปพระพุทธเจ้าประทับนัง่ มักทําเป็ นรู ปปางประทานพรอยู่ใต้ตน้ พระศรี มหาโพธิ์ มี พญานาคชูดอกบัว เป็ นปัทมาสน์และมีสถูปขนาบซ้ายและขวา 6 ในปั จจุ บนั จากผลกระทบหลากหลายปั จจัยที่ส่งผลให้แหล่งมรดกวัฒนธรรม โบราณสถาน และ โบราณวัตถุในเขตพื้นที่ชุมชนหน้าถํ้า เกิดการเปลี่ยนแปลงและเสื่ อมโทรมตามกาลเวลา อันเกิด จากการถูกปล่อยปละละเลย ขาดการบํารุ งรักษา จากหน่วยงานภาครัฐ และผูค้ นในชุมชน ที่ขาดความรู ้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึง คุณค่าความสําคัญในสิ่ งที่ชุมชนของตนมี อาจส่ งผลให้คุณค่ายิ่งลด น้อยลงตามกาลเวลา หากแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมขาดการดูแลรักษา บํารุ งรักษาอย่างถูกวิธี จาก ข้อมูล การศึ ก ษาเบื้ องต้น สามารถชี้ ใ ห้เห็ นถึง ลัก ษณะและจุ ดเด่ นแหล่ ง มรดกทางวัฒนธรรมของ จังหวัดยะลา ผ่านความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรมในพื้นที่ และเป็ นเอกลักษณ์ที่สามารถส่ งเสริ ม เพื่อให้เกิ ดประโยชน์ในหลากหลายด้าน อาทิ ด้านการศึ กษา ด้านการท่องเที่ ยว ตลอดทั้งทางด้าน เศษรฐกิ จและสังคมของจังหวัดยะลา ทั้งนี้ ผูศ้ ึ กษาจึ งเสนอหัวข้อการศึกษาเรื่ อง “การจัดการแหล่ง มรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา” โดยเล็งเห็นถึงการเข้าไปทําการศึกษา ผ่าน การใช้วิธีการและรู ปแบบของจัดการทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดการสร้างการรับรู ้ เกิด ความตระหนักถึง และเห็นถึงความสําคัญ สู่ การหวงแหนและรักษาแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม อีกทั้ง 5

วิจิตร ศรี สุวิทธานนท์. (2538). แหล่งศิลปกรรมวัดคูหาภิมขุ . ยะลา: หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 33-35. 6

4


สามารถนํามรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ มาพัฒนาและใช้ให้เกิดประโยชน์เป็ นการท่องเที่ยวเชิงภูมิ ปั ญญาและวัฒนธรรม เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มให้ชุมชนกลับมาเป็ นที่รู้จกั และได้รับความสนใจทางด้าน การท่องเที่ยวจากบุคคลทั้งในและนอกพื้นที่ ผูศ้ ึกษาวิจยั จึงมีความสนใจที่จะเข้าไปศึกษาและเสนอ รู ปแบบแนวทางผ่านการจัดการทางศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อเป็ นการสร้างประโยชน์แก่ตวั พื้นที่ให้ เกิดประโยชน์และสามารถนําองค์ความรู ้ที่ได้จากการศึกษาวิจยั ในครั้งนี้มาพัฒนาและนําไปใช้ในการ ส่ งเสริ มให้แก่ตวั ชุมชนได้จริ ง 1.2 .วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1.2.1. เพื่อศึกษาบริ บททางประวัติศาสตร์ ตลอดจนลักษณะสังคมและวัฒนธรรมของจังหวัด ยะลา 1.2.2. เพื่อศึกษาแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ชุมชนบ้านหน้าถํ้า ตลอดจนศักยภาพและ ความเข้มแข็งของชุมชนบ้านหน้าถํ้า เพื่อเป็ นแนวทางไปสู่ การจัดการสู่ ชุมชน 1.2.3. เพื่อเสนอรู ปแบบ และวิธีการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ชุมชนบ้าน หน้าถํ้า ให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 1.3. ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการศึกษา 1.3.1. ทําให้ได้ความรู ้และทราบถึงบริ บททางประวัติศาสตร์ ของดินแดนคาบสมุทรภาคใต้แล ประวัติความเป็ นมา ตลอดจนลักษณะสังคมและวัฒนธรรมของจังหวัดยะลา 1.3.2. ทําให้ทราบถึงรู ปแบบลักษณะ ข้อมูล และคุณค่าของแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ชุมชนบ้านหน้าถํ้า ตลอดจนศักยภาพและความเข้มแข็งของชุมชนบ้านหน้าถํ้า เพื่อเป็ นแนวทางไปสู่ การจัดการสู่ ชุมชน 1.3.3. ได้รูปแบบและวิธีการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 1.4. ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาวิจยั เรื่ องการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา มีขอบเขตในการศึกษา ดังนี้ 1.4.1. ขอบเขตเนื้อหา เป็ นการศึกษาบริ บททางประวัติศาสตร์ ของดินแดนคาบสมุทรภาคใต้และประวัติความ เป็ นมา ตลอดจนลัก ษณะสัง คมวัฒนธรรม และศึ กษากายภาพของชุ ม ชน สังคม และวัฒนธรรม 5


ตลอดจนศักยภาพและความเข้มแข็งของชุมชนบ้านหน้าถํ้า รวมทั้งศึกษาแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัด คูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา เพื่อเสนอรู ปแบบและวิธีการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัด คูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา ให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 1.4.2. ขอบเขตพื้นที่ ทําการศึกษาแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมภายในวัดคูหาภิมุข และชุมชนบ้านหน้าถํ้า ตําบล หน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 1.5. นิยามศัพท์ เฉพาะ แหล่ งมรดกทางวัฒนธรรม หมายถึง แหล่งหรื สถานที่ที่ปรากฏการสร้างสรรค์ การผสมผสาน ร่ วมกันระหว่างผลงานของธรรมชาตและมนุษย์ในอดีตและสื บทอดมาถึงปัจจุบนั ทั้งที่เป็ นวัตถุทาง รู ปธรร และพื้นที่เกี่ยวข้องกับประเพณี วฒั นธรรมและความเชื่อ ด้านนามธรรม แหล่ งเรียนรู้ หมายถึง สถานที่ หรื อแหล่งที่รวบรวมกลุ่มมรดกทางวัฒนธรรม อันได้แก่ ศาสน สถาน โบราณสถาน และโบราณวัตถุภายในวัดคูหาภิมุข โดยเป็ นแหล่งที่รวบรวมข้อมูล ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของวัดคูหาภิมุข การท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม หมายถึง การหาความรู ้ในพื้นที่หรื อบริ เวณที่มีคณ ุ ลักษณะที่ สําคัญทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม แสดงออกให้เห็นถึงความสวยงาม สามารถสะท้อนให้เห็นถึง สภาพชีวิต ความเป็ นอยูข่ องคนในแต่ละยุคสมัยได้เป็ นอย่างดี 1.6. การนําเสนอผลการวิจัย บทที่ 1 บทนํา การนําเสนอที่มาและความสําคัญของการศึกษาวิจยั เรื่ องการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดคูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา เพื่อให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขอบเขตของการศึกษาวิจยั และนิยามศัพท์ที่ใช้ในการศึกษา วิจยั บทที่ 2 แนวคิดทฤษฏี เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง การศึกษาค้นคว้าและข้อมูลความรู ้ที่เกี่ยวกับบริ บททางประวัติศาสตร์ของดินแดนคาบสมุทร ภาคใต้และประวัติความเป็ นมา ตลอดจนลักษณะสังคมและวัฒนธรรมของจังหวัดยะลา ตลอดจน แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

6


บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย การนําเสนอกระบวนการวิจยั และเทคนิคที่ใช้ในการศึกษาวิจยั ประกอบด้วย รู ปแบบการวิจยั ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง เครื่ องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และแปลความ ตลอดจนการนําเสนอผลการวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัคูหาภิมุข เพื่อให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม บทที่ 4 การศึกษามรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตลอดจนศักยภาพและความเข้ มแข็งของชุมชน บ้ านหน้ าถํา้ อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา เป็ นการศึกษาลักษณะกายภาพของชุมชน สังคม และวัฒนธรรม ศักยภาพและความเข้มแข็ง ของชุมชนบ้านหน้าถํ้าจากสภาพความเป็ นอยูใ่ นปัจจุบนั รวมทั้งศึกษาแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิ มุข แหล่งศาสนสถาน โบราณวัตุ และโบราณสถาน ตลอดจนสภาพปัญหาของแหล่งมรดกวัฒนธรรม วัดคูหาภิมุขในเชิงการเป็ นแหล่งท่องเที่ยว บทที่ 5 การจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขสู่ การเป็ นแหล่ งเรียนรู้ และท่ องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม การศึกษาเพื่อเสนอรู ปแบบและวิธีการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอ เมือง จังหวัดยะลา เพื่อให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม บทที่ 6 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ นําเสนอสรุ ปสาระสําคัญของการวิจยั พร้อมทั้งอภิปรายผลการศึกษา และเสนอข้อเสนอแนะ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาในครั้งต่อไป

7


บทที่ 2 แนวคิดทฤษฏี เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง บทนี้ เป็ นการศึ กษาภาคเอกสาร เพื่อทบทวนวรรณกรรมและสถานะภาพความรู ้ ในบริ บ ทที่ เกี่ยวกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ในคาบสมุทรภาคใต้ ประวัติศาสตร์ คาบสมุทรมลายู ตลอดจน บริ บททางประวัติศาสตร์ ของจังหวัดยะลา รวมทั้งแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับ การศึกษาครั้งนี้ ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อดังต่อไปนี้ 2.1. สถานะภาพความรู้ ที่เกีย่ วกับคาบสมุทรภาคใต้ 2.1.1. พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในคาบสมุทรมลายู 2.1.1.1 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 2.1.1.2 สมัยประวัติศาสตร์ 2.1.1.3 ยุคอาณาจักรและรัฐชาติ 2.1.2. ประวัติศาสตร์จากสยามสู่ จงั หวัดยะลา 2.1.2.1 สมัยการจัดการปกครองแบบหัวเมือง (พ.ศ. 2351-2445) 2.1.2.2 สมัยมณฑลเทศาภิบาล (พ.ศ. 2440-2475) 2.1.2.3 สมัยการปกครองแบบจังหวัด (พ.ศ. 2476-ปัจจุบนั ) 2.2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกีย่ วข้ องกับการศึกษา 2.2.1. แนวคิดการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม 2.2.2. แนวคิดการจัดการแหล่งเรี ยนรู ้ 2.2.3. แนวคิดจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 2.3. เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง 2.3.1. เอกสารและหนังสื อ 2.3.2. งานวิจยั 2.4. กรอบแนวคิดการวิจัย ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้

8


2.1 สถานะภาพความรู้ ที่เกีย่ วกับคาบสมุทรภาคใต้ 2.1.1 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ในคาบสมุทรมลายู ดินแดนเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ แบ่งออกเป็ นภูมิภาคย่อยได้ 3 ภาค คือ ภาคพื้นแผ่นดินใหญ่ (Mainland) แผ่ น ดิ น ซุ น ดาหรื อ ไหล่ ท วี ป ซุ น ดา (Sundaland or Sunda Shelf) และหมู่ เ กาะทั้ง หลาย (Insular) โดยเริ่ ม จากจี นตอนใต้ล งไปถึ ง หมู่ เกาะนิ วกิ นี การแบ่ ง เขตรู ป แบบนี้ ส่ ง ผลให้ที่ ต้ ัง ของ ประเทศไทยตั้งอยู่ใน 2 ภูมิภาค คือ ภาคแผ่นดินใหญ่ คลอบคลุมพื้นที่ภาคต่าง ๆ ทั้งหมดไปถึงพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขนั ธ์ และจากนั้นถือเป็ นคาบสมุทรภาคใต้ยาวลงไปจนถึงประเทศ มาเลเซีย

ภาพที่ 2.1 : แผนที่ทางภูมิศาสตร์แสดงลักษณะทางกายภาพของภาคใต้และคาบสมุทรมลายู (ที่มา : Google Map) ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่ภาคใต้ เป็ นผืนแผ่นดินแคบ ทอดยาวลงไปทางใต้ต่อเนื่ องไปถึง มาเลเซี ยบนคาบสมุทร มีที่ราบชายฝั่ งทะเลทางด้านตะวันออก หันหน้าสู่ อ่าวไทย ด้านตะวันตก มี เทือกเขาตะนาวศรี และเทือกเขาภูเก็ต โดยวางตัวตามแนวเหนื อ-ใต้ ต่อเนื่องมาจากภาคเหนื อเป็ นสัน แกนคาบสมุทรตอนบนจนถึงจังหวัดกระบี่ ต่อจากนั้นมีเทือกเขานครศรี ธรรมราชและเทือกเขาบรรทัด เป็ นแกนต่อเนื่ องจากจังหวัดสุ ราษฎร์ธานีถึงจังหวัดสตูล และเทือกเขาสันกาลาคีรีทอดตัวเป็ นแนวกั้น เขตประเทศไทยและประเทศมาเลเซี ย ส่ งผลให้แนวสันกลางของคาบสมุทรปั นนํ้าออกเป็ นลํานํ้าสาย สั้น ๆ ไปทางตะวันตกและตะวันออก โดยเฉพาะทางตะวันออกซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นแผ่นดินยกตัว หรื อ แผ่ น ดิ น งอกตามแนวสั น ทราย มี พ้ื น ที่ ร าบกว้า งขวาง ทํา ให้ เ หมาะสมต่ อ การอยู่อ าศัย และการ 9


เกษตรกรรม ส่ วนทางตะวันตกซึ่ งเป็ นแผ่นดินกัดเซาะเกิดทะเลเว้าแหว่ง จึงเหมาะสมกับการเป็ นจุด พักสิ นค้าหรื อการค้าขาย จากสภาพและตําแหน่งทางภูมิศาสตร์ ของประเทศไทย คาบสมุทรภาคใต้จึงอยู่ในเส้นทางของ กระแสวัฒนธรรมการอพยพเคลื่ อนย้า ยของกลุ่ ม ชนระหว่า งแผ่นดิ นใหญ่ และหมู่เกาะต่ า ง ๆ ใน สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ดังได้พบหลักฐานโครงกระดูกมนุษย์ปักกิ่งอายุประมาณ 4-6 แสนปี มาแล้วที่ ประเทศจีน และโครงกระดูกมนุ ษย์ชวา อายุประมาณ 5 แสนปี มาแล้วที่เกาะชวา อินโดนี เซี ย ตั้งแต่ สมัย ที่ ม นุ ษ ย์ย งั ไม่ รู้จกั ใช้ป ระโยชน์ จากลมมรสุ ม จนกระทัง่ พุ ท ธศตวรรษที่ 5 เป็ นต้นมา ได้พ บ หลัก ฐานโบราณวัตถุ ต่า งชาติ ที่ แสดงให้ เห็ นถึ ง การติ ด ต่อสัม พันธ์กับ ดิ นแดนต่า ง ๆ ในฐานะจุ ด กึ่งกลางระหว่างอารยธรรมใหญ่ คือ จีนและอินเดีย รวมทั้งอาหรับ เปอร์เซีย และเฟอร์นิเซียน หลักฐานจากการสํารวจและขุดค้นทางโบราณคดี อาจกล่าวได้ว่า เมื่อประมาณ 5,000-6,000 ปี มาแล้ว กลุ่มชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ บนคาบสมุทรภาคใต้จะอาศัยอยู่บริ เวณถํ้าของภูเขาหิ นปูนซึ่ง ตั้งกระจายตัวอยู่ทวั่ ไป เช่น ในเขตจังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่ จังหวัดนครศรี ธรรมราช และจังหวัด สุ ราษฎร์ ธานี เป็ นต้น ได้พบหลักฐานการใช้เครื่ องมือหิ นกะเทาะ เครื่ องมือหิ นขัด รู ้จกั การทําภาชนะ ดินเผา และการทําผ้าจากเส้นใยเปลื อกไม้ ตลอดจนรู ้จกั การขัดแต่งหิ นและเปลื อกหอย เพื่อใช้เป็ น เครื่ องประดับ นอกจากนี้ยงั พบภาพเขียนสี ในถํ้าต่าง ๆ เช่น ถํ้าผีหวั โต อําเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ เขา เขียน อําเภอเมือง จังหวัดพังงา และเกาะทะลุ อําเภอตะกัว่ ทุ่ง จังหวัดพังงา เป็ นต้น กลุ่มชนสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ น้ ี ยังคงดํารงชีวิตในรู ปแบบดั้งเดิมสื บเนื่ องมาจนถึงเมื่อประมาณ 3,000 ปี มาแล้ว หรื อ 500 ปี ก่อนพุทธกาล จึงเคลื่อนย้ายลงมาตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่ราบและหมู่เกาะต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริ เวณที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูกของชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก ลักษณะของสังคมพัฒนาไป เป็ นสังคมเกษตรกรรม ซึ่งเป็ นพื้นฐานในการพัฒนาบ้านเมืองเข้าสู่ สมัยประวัติศาสตร์ ราวพุทธศตวรรษที่ 5 พบหลักฐานการติดต่อกับชุมชนวัฒนธรรมโลหะกับดินแดนข้างเคียงใน เอเชี ยอาคเนย์ จากหลักฐานการพบกลองมโหระทึ กสํา ริ ดและโบราณวัตถุใ นวัฒนธรรมดองซอน แสดงให้เห็นว่ากลุ่มชนสมัยนี้ มีความสามารถในการเดินทางทางทะเลและรู ้จกั การใช้ประโยชน์จาก ลมมรสุ ม กระทัง่ ราวพุทธศตวรรษที่ 8-12 ได้พบหลักฐานการติดต่อค้าขายโดยทางเรื อ จึงจําเป็ นต้อง ผ่า นและแวะพักตามเมื องท่ าและชุ มชนเป็ นระยะไป เป็ นผลให้เมื องท่ า และชุ มชนบนคาบสมุทร ภาคใต้มีโอกาสติดต่อและรับอารยธรรมจากชนชาติต่าง ๆ ที่เข้ามาติดต่อค้าขายด้วย ในช่วงระยะเวลา นี้จึงเกิดการตั้งเมืองท่าสําคัญขึ้นในแถบบริ เวณชายฝั่งทะเลบนคาบสมุทร ตามเส้นทางขนถ่ายสิ นค้า หลายแห่งขึ้น เมืองท่าสําคัญทางชายฝั่งทะเลตะวันตก ได้แก่ เมืองตักโกลา ส่ วนทางตะวันออกปรากฏ ชื่ออยู่หลายเมือง เช่น ดันซุ น ลังเชี ยซู พันพัน ฉี ตู มลายู โหลิง โฟชิ (ชิ โลโฟชิ) ตันมาหลิง เป็ นต้น ชุมชนเหล่านี้เจริ ญขึ้นจากการเป็ นเมืองท่าค้าขายทางทะเลกับต่างชาติ เรื อที่เข้ามาค้าขายจะจอดพักเพื่อ 10


ขนถ่ายสิ นค้าและหลบคลื่นลม รวมทั้งหาเสบียงและแลกเปลี่ยนค้าขาย เป็ นเสมือนตลาดกลางที่จะหา ซื้ อสิ นค้าต่าง ๆ ได้ง่าย ทั้งนี้เป็ นผลมาจากความผันผวนทางการเมืองในเส้นทางการค้าสายแพรไหม ทางบก บ้านเมืองต่าง ๆ จึงหันมาใช้เส้นทางการค้าทางทะเล ในช่ วงระยะเวลาดังกล่าวนี้ ชุ มชนในบริ เวณคาบสมุทรภาคใต้มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม อย่างรวดเร็ ว ทั้งนี้เกิดจากการสั่งสมความรู ้จากภายใน ประกอบกับการติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ ทํา ให้ชุมชนหรื อสถานี การค้าต่าง ๆ ได้พฒ ั นาขึ้นเป็ นบ้านเมื อง มี ผูป้ กครองหรื อเจ้าเมื อง และมักรับ รู ปแบบวัฒนธรรมจากอินเดียมาใช้เกือบทั้งสิ้น 7 0

2.1.1.1 ภาคใต้ สมัยก่ อนประวัติศาสตร์ ดิ น แดนภาคใต้มี ห ลัก ฐานการอยู่ อ าศัย ของชนพื้ น เมื อ งมาตั้ง แต่ ก่ อ น 40,000 ปี ที่ ผ่ า นมา หลักฐานทางโบราณคดีจากการสํารวจและขุดค้น แสดงให้เห็นถึงการตั้งถิ่นฐานและชุมชนมาตั้งแต่ ก่อนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยสามารถแบ่งกลุ่มคนพวกนี้ออกได้เป็ น 2 พวก คือ ชนชาวถํ้า และชน ชาวนํ้า ชนชาวถํ้า ปรากฏขึ้นในภาคใต้ไม่น้อยกว่า 20,000 ปี มาแล้ว เจริ ญก้าวหน้าขึ้นเมื่ อประมาณ 5,000 - 6,500 ปี มาแล้ว กลุ่มคนพวกนี้ ใช้ถ้ าํ เป็ นที่อยู่อาศัยและประกอบกิจกรรม ดํารงชี วิตอยู่ในป่ า โดยการล่าสัตว์แบบสังคมนายพราน ใช้เผิงผาและถํ้าเป็ นที่อยู่อาศัย เรี ยกโดยรวมว่า “พวก โอรัง อัสลี (Orang Asli)” ซึ่ งได้แก่ กลุ่มนิ กริ โต (Nigrito) เช่น มานิ (ซาไก) และเซมัง นอกจากนี้ ยงั มี กลุ่มซีนอย (Senoi) เผ่ามองโกลอยด์ใต้ ได้แก่ บรรพบุรุษของชาวมอญ ชาวสยามและชาวมลายู มีการอยูอ่ าศัยมา นานนับพันปี เช่นกัน หลักฐานที่สาํ คัญในสมัยนี้ได้แก่ โครงกระดูก ภาพเขียนสี และเครื่ องมือเครื่ องใช้ เช่น ขวานหิ น ซึ่งพบหลายแห่งตามถํ้าและที่ราบใกล้ภูเขาหลายแห่งในภาคใต้

ภาพที่2.2 : (ซ้าย) ภาพถ่ายชนพื้นเมืองภาคใต้เมื่อราว 100 ปี ที่ผา่ นมา ภาพที่ 2.3 : (ขวา) ภาพภ่ายชาวซาไก ถ่ายปี 1929 (ที่มา : จากบทความเรื่ อง ซาไก. (2562). http://thewildchronicles.com.) ลักษมณ์ บุญเรื อง. (มกราคม – กันยายน, 2561). หลักฐานเกี่ยวกับวัฒนธรรมศรีวิชัย ในคาบสมุทรภาคใต้ . ข่วงผญา สํานักศิลปะและวัฒนธรรม. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. (13). 133-138. 7

11


ภาพที่ 2.4 : ภาพถ่ายมานิ (ซาไก) ที่อาํ เภอธารโต จังหวัดยะลา ชนชาวนํ้า มีการตั้งถิ่นฐานที่อยูอ่ าศัยในแถบบริ เวณแนวฝั่งทะเล ที่ราบใกล้ฝั่ง ตามหมู่เกาะ และ อาศัยตามถํ้า เช่น ในเขตจังหวัดกระบี่ ถํ้าผีหัวโต อําเภออ่าวลึก เพิงผาเขาขนาบนํ้า อําเภอเมืองกระบี่ ถํ้าเขาหลัก อําเภอคลองท่อม ในเขตจังหวัดตรัง ที่หาดสําราญ และในเขตจังหวัดภูเก็ต หาดกมลา อําเภอกระทู ้ เป็ นต้น จากหลักฐานแสดงว่า มีการตั้งถิ่นฐานบริ เวณป่ าเขาก่อนพื้นที่ราบชายฝั่ง ดังนั้นกลุ่มชนชาวถํ้า เหล่านี้ จะมีวิวฒั นาการและวัฒนธรรม เช่น การทําและการใช้เครื่ องมือหิ นกะเทาะและหิ นขัดร่ วมกัน ได้พบเห็ น ซึ่ งแหล่งโบราณคดีก่อนสมัยประวัติศาสตรของภาคใต้ที่เป็ นแหล่งสํารวจและขุดค้นมี ด้วยกันทั้งสิ้น 66 แหล่ง โดยมีแหล่งที่เป็ นถํ้า 52 แหล่ง และเป็ นที่ราบ 14 แหล่ง 8 1

2.1.1.2 สมัยประวัติศาสตร์ ภาคใต้สมัยแรกเริ่ มประวัติศาสตร์ ประมาณ 2000 ปี ที่ผา่ นมาถึงราว พ.ศ. 700 ในช่วงนี้ เริ่ มมี วิวฒั นาการของการอยู่อาศัยแบบรวมกลุ่มเกิดขึ้น มีลกั ษณะเป็ นชุมชนที่รวมตัวกันเป็ นกลุ่ม ๆ ผูค้ น สมัยนี้ยงั นิยมตั้งถิ่นฐานบนเนิ นบริ เวณที่ราบริ มฝั่งนํ้าและบนสันทราย ชุมชนบางแห่งได้มีการปรับตัว เป็ นเมื องท่า และบางแห่ ง ปรั บ ตัวเป็ นสถานี ก ารค้า ทางด้า นอุ ตสาหกรรม เช่ น อุ ตสาหกรรมการ ประดิษฐ์ลูกปั ดและเครื่ องประดับ และนอกจากนี้ ยงั มีการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ประมง ค้าขาย กลุ่มผูใ้ ช้แรงงาน กลุ่มนักบวชผูป้ ระกอบพิธีกรรม เป็ นต้น เริ่ มประดิษฐ์สิ่งที่ ใช้เป็ นสื่ อแลกเปลี่ ยน 8

สถาบันทักษิณคดีศึกษา. (2554). ประวัติศาสตร์ ภาคใต้ . มหาวิทยาลัยทักษิณ : สงขลา. 2.

12


ประหนึ่ งเงิ นตรา มี การกําหนดกฎบัญญัติทางการค้า การคิดค้นตัวหนังสื อและภาษาเพื่อในการจก บันทึกสื่ อสาร สําหรับทั้งการพาณิ ชย์และการศาสนา วิถีชีวิตของผูค้ นในช่วงนี้ยงั คงมีการปรากฏวัฒนธรรมแบบดั้งเดิมของชนชาติพ้นื เมืองให้ยงั คง เห็น และในขณะเดียวกันก็ยงั ได้รับเอาอิทธิพลอารยะธรรมต่าง ๆ จากแหล่งอารายะธรรมชุมชนอื่น ที่ เดินทางเข้ามาในแถบพื้นที่ เช่น อินเดีย อาหรับ เปอร์ เชีย กรี ก และจีน เป็ นต้น จึงส่ งผลให้เกิ ดการ แลกเปลี่ยนและถ่ายโอนทางวัฒนธรรมเข้าสู่ แหล่งพื้นที่ จึงส่ งผลให้ฝบริ เวณคาบสมุทรภาคใต้ถือเป็ น แลห่งที่มีความหลากหลายและความอุดมสมบูรณ์มากที่สุดในเอเชียอาคเนย์

ภาพที่ 2.5 : แผนที่เส้นทางการค้าทางทะเลสมัยโบราณ 2.1.1.3 ยุคอาณาจักรและรัฐชาติ ในช่ วงพุ ท ธศตวรรษที่ 7-18 หรื อต้นพุ ท ธศตวรรษที่ 19 เริ่ ม ปรากฏการตั้ง ถิ่ นฐานและการ รวมกลุ่มขึ้นเป็ นลักษณะที่มีชุมชนหลาย ๆ ชุมชนเข้ารวมกัน โดยมีการปกครองดูแลชุมชนเหล่านั้น ภายใต้ก ฎระบบสั ง คมและการเมื องแบบเดี ย วกัน เกิ ดการตั้ง องค์ก รกลาง เพื่อเป็ นศูนย์ก ลางการ ปกครองในรู ปแบบ เมือง-นครรัฐ หรื ออาณาจักรขึ้น โดยกลุ่มนักประวัติศาสตร์ และนักโบราณคดี ให้ การสันนิษฐานในสมัยนี้วา่ สมัยวัฒนธรรมศรี วชิ ยั หรื อ อาณาจักรศรี วิชยั และ อาณาจักรตามพรลิงค์ ชุมชนสมัยนี้ มีรูปแบบการปกครอง โดยมีการตั้งสถาบันกษัตรย์และสถาบันศาสนาที่ชดั เจน มี การรับอิ ทธิ พลรู ปแบบการนับถื อทางด้านความเชื่ อ และรู ปแบบทางด้านการปกครองมาจากกลุ่ม ประเทศในแถบมหาสมุรทรอินเดีย รวมทั้งรับแนวทางการพัฒนาในด้านผังเมืองและการชลประทาน เข้า มาพัฒ นาระบบจัด วางผัง เมื อ ง เช่ น การสร้ า งคู น้ ํา คัน ดิ น และกํา แพงเมื อ ง อี ก ทั้ง เพื่ อ การ 13


เกษตรกรรม นอกจากนี้ ยงั พัฒนาระบบการคมนาคม เพื่อให้ตอบสนองต่อการเป็ นเมืองท่าเพื่อการค้า ขายกับชุมชนภายนอก โดยเฉพาะกับดินแดนในแถบตะวันออกกลางและอาณาจักรจีน ชุมชนโบราณในช่วงนี้พบว่าบางแห่ งเป็ นแหล่งพื้นที่โบราณคดีที่มีร่องรอยของช่วงเวลาอยู่ใน หลายช่วงสมัยทับซ้อนกัน โดยเป็ นรู ปแบบการพัฒนาและขยายอาณาเขตขึ้นเรื่ อย ๆ และในบางแห่ ง พบหลัก ฐานทางโบราณคดี ท้ งั ในสมัย แรกเริ่ ม ก่ อ นประวัติศ าสตร์ จ นคาบเกี่ ย วเข้า สู่ ใ นช่ ว งสมัย ประวัติศาสตร์ ซี่ งมีการทับซ้อนกันหลายช่วงเวลาและหลายอารยะธรรม จึงพบว่าแหล่งพื้นที่ชุมชน โบราณหรื อแหล่งโบราณคดี ที่เป็ นเมื องท่า มักจะมีการพบเศษภาชนะดินเผาจากจี นและตะวันออก กลาง รวมทั้งโบราณวัตถุอื่น ๆ ตลอดจนเหรี ยญกษาปณ์ เงินตรา อันแสดงว่าพื้นที่ดินแดนเหล่านี้ เคย เป็ นแหล่งที่มีการติดต่อสัมพันธ์คา้ ขายกันอย่างเด่นชัด นอกจากนี้ ยงั พบศาสนสถาน ประติมากรรม ทางศาสนา ในลัทธิความเชื่อต่าง ๆ อาทิ พระพุทธศาสนา ศาสนาฮินดูไศวนิกาย และไวษณพนิกาย ซึ่ง ถือเป็ นศาสนาที่มีความมัง่ คัง่ และเจริ ญรุ่ งเรื่ องแผ่ขยายครอบคลุมไปทัว่ คาบสมุทรภาคใต้

ภาพที่ 2.6 : แผนที่เส้นทางข้ามคาบสมุทรมลายูบริ เวณภาคใต้ของไทย สมัยอาณาจักรโบราณยุคแรก (พุทธศตวรรษที่ 7-12) ราว พ.ศ. 700 เป็ นต้นมา ปรากฏแผนที่ และบันทึกการเดินทางของชาวจีนว่า มีรัฐต่าง ๆ เกิดขึ้นหลายแห่งบนคาบสมุทรมลายู โดยอยูภ่ ายใต้ อํานาจของอาณาจักรฟูนัน (Funan) ได้แก่ พัน พัน (Pan Pan) ตามพรลิงค์ (Tambralinga) และลังกาสุ กะหรื อลังยาซิ ว (Lang Ya Shiu) ในต้นพุทธศตวรรษที่ 11 ลังกาสุ กะได้เป็ นอิ สระจากฟู นัน และมี หลักฐานการส่ งทูตไปเยือนจีนเพื่อทําการติดต่อค้าขาย โดยถือว่าเป็ นยุครุ่ งเรื องของลังกาสุ กะอย่างมาก 14


ซึ่งในช่วงยุคอาณาจักรและรัฐชาติในคาบสมุทรภาคใต้น้ นั มีการทับซ้อนของการเกิดเมืองใหม่ อยูอ่ ยากมากมาย โดยสามารถอธิบายได้ตงั ต่อไปนี้ อาณาจักรลังกาสุ กะ (พุทธศตวรรษที่ 7–11) ปรากฏชื่ออยู่ในประวัติศาตร์ ต้ งั แต่พุทธศตวรรษที่ 7 เจริ ญรุ่ งเรื องในพุทธศตวรรษที่ 11 ขณะที่อาณาจักรฟูนันเริ่ มเสื่ อมอํานาจลง อาณาจักรลังกาสุ กะ ตั้งอยู่ทางใต้ของอาณาจักรตามพรลิงก์ในคาบสมุทรมลายู แล้วถูกลบชื่อหายไปในต้นพุทธศตวรรษที่ 21 ถือกันว่าเป็ นอาณาจักรที่เก่าแก่ที่สุดบนแหลมมลายู อาณาเขตครอบคลุมถึงทางเหนื อตะกัว่ ป่ าและ ตรัง ทางใต้ตลอดแหลมมลายู มีตาํ นานการสร้างเมืองอยู่ 2 สํานวน ซึ่งต่างก็มีพ้นื ฐานมาจากพงศวดาร ไทรบุรี 9 “มะโรงมหาวงศ์” เห็นได้วา่ แม้ตาํ นานทั้งสองสํานวนต่างก็ตอ้ งการเล่าถึงการกําเนิ ดของนคร ลังกาสุ กะ เมืองเกดาห์ (ไทรบุรี) และเมืองปัตตานีดว้ ยกัน พวกชวาเรี ยก “นครกีรติกามา” มี ลังกาสุ กะ มีการติดต่อกับจีนใน พ.ศ. 1052 ตามจดหมายเหตุจีนระบุว่า “...เป็ นเมืองที่มีกาํ แพงล้อมรอบ กษัตริ ย ์ ประทับอยู่บนกูบช้างมีหลังคาทําด้วยผ้าสี ขาว แวดล้อมด้วยองครั กษ์ที่มี ท่าทางดุ ร้าย และทหารตี กลองถือธงสี ต่าง ๆ ประชาชนทั้งชายหญิงไว้ผมปล่อยยาว ใส่ เสื้ อไม่มีแขน...” อาณาจักร ลังกาสุ กะนี้ ถูกอาณาจักรฟูนนั โจมตีในพุทธศตวรรษที่ 11 แล้วกลายเป็ นเมืองขึ้นต่อมา 2

ภาพที่ 2.7 : แผนที่อาณาจักรฟูนนั และรัฐต่างๆบนคาบสมุทรมลายู สมัยอาณาจักรศรี วิชัย (พุทธศตวรรษที่ 12-16) ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็ นต้นมา รั ฐและ อาณาจักรต่างๆบนคาบสมุทรมลายูตกอยู่ภายใต้อาํ นาจของอาณาจักรศรี วิชยั ซึ่ งขยายอํานาจโดยใช้ กําลังกองทัพเรื อที่เข้มแข็ง ในช่วงเวลาเดียวกันนั้นพุทธศาสนาฝ่ ายมหายานได้รับความนิ ยมมาก ชาว คาบสมุทรมลายูยอมรับนับถือพุทธศาสนาฝ่ ายมหายานอย่างแพร่ หลาย ศาสนสถานหลายแห่ ง และ (2506). พงศวดารเมืองไทรบุรี (ตาบฉบับที่มีอยู่ในศาลาลูกขุน). ในประชุมพงศวดารฉบับหอสมุดแห่งชาติ เล่ม 1. 511. 9

15


ศิลปะวัตถุในพุทธศาสนาถูกสร้างขึ้นมากในระยะนี้ เช่น พระธาตุไชยา พระธาตุนคร และพระนอนวัด ถํ้า (วัดถํ้าคูหามุข จังหวัดยะลา) รวมทั้งพระโพธิ สัตว์และพระพุทธรู ปปางต่าง ๆ จํานวนมากก็ถูก สร้างขึ้นในสมัยนี้ เชื่อว่าในสมัยศรี วิชยั มีชาวมลายูจากสุ มาตราและหมู่เกาะต่างๆเคลื่อนย้ายมาตั้งถิ่น ฐานบนคาบสมุทรมลายูและชายฝั่งคาบสมุทรอินโดจีนเป็ นจํานวนมาก ชื่อบ้านนามเมืองที่เป็ นภาษา มลายูและวัฒนธรรมประเพณี แบบมลายูพุทธแพร่ หลายมากในภาคใต้ของไทยในสมัยนี้

ภาพที่ 2.8 : แผนที่อาณาจักรศรี วิชยั และการขยายอํานาจบนคาบสมุทรมลายู (ที่มา : www.bloggang.com/m/viewdiary.php?id=aladonn&month=04-2011&date=17&group=5&gblog=34)

สมัยการยึดครองของโจฬะ (พ.ศ. 1535-1587) ตั้งแต่ พ.ศ. 1535 เป็ นต้นมา กองทัพโจฬะแห่ ง อินเดียเข้าโจมตีเมืองต่าง ๆ ของอาณาจักรศรี วชิ ยั เพื่อควบคุมเส้นทางการค้าในช่องแคบมะละกาและ เมืองท่าหลายแห่ ง เช่น ตักโกลา เกดาห์ รวมทั้งลังกาสุ กะ ซึ่ งอยู่ภายใต้อาํ นาจของโจฬะในปี พ.ศ. 1567 แต่หลังจากนั้นชาวเมืองลังกาสุ กะก็ได้ต่อสู ้ยึดอํานาจคืนมาได้ในปี พ.ศ. 1587 แม้ว่าหลังจาก 16


นั้นศรี วิชยั จะกลับมามีอาํ นาจ แต่ก็พ่ายแพ้ต่ออาณาจักรที่ต้ งั ขึ้นใหม่ คือ มัชปาหิ ต ในปี พ.ศ. 1836 หลังจากกองทัพโจฬะเข้ายึดครองศรี วิชยั แล้ว เข้าใจว่าคงมีชาวโจฬะส่ วนหนึ่ งพํานักอาศัยต่อมาใน เมืองต่างๆ เช่นในมาเลเซียและภาคใต้ของไทยบางเมืองอาทิ มะละกา ปี นัง ภูเก็ต ฯลฯ มีชาวอินเดียรุ่ น เก่าที่เรี ยกว่าแขกจูเลียทําการค้ามานานก่อนชาวอินเดียรุ่ นใหม่ๆ มีผูอ้ ธิ บายว่า แขกจูเลีย ก็คือ แขก โจฬะนั่นเอง หลังจากอํานาจของอาณาจักรโจฬะสิ้ นสุ ดลง พื้นที่ตอนบนของภาคใต้ข้ ึนไปตกเป็ น ของอาณาจักรเขมร ตอนกลางและตอนล่างเป็ นของอาณาจักรตามพรลิ งค์และลังกาสุ กะ ราวพ.ศ. 1743เป็ นต้นมา ตามพรลิงค์หรื อนครศรี ธรรมราชในเวลาต่อมามีอาํ นาจจัดการปกครองเมืองต่างๆบน คาบสมุทรมลายู ได้แก่ เมืองสายบุรี เมืองปั ตตานี เมืองกลันตัน เมืองปาหัง เมืองไทรบุรี เมืองพัทลุง เมืองตรัง เมืองชุมพร เมืองบันทายสมอ เมืองสะอุเลา เมืองตะกัว่ ป่ า และเมืองกระบุรี ซึ่ งต่อมาพื้นที่ ดังกล่าวตกอยูภ่ ายใต้อาํ นาจของอาณาจักรสุ โขทัย สมัยอาณาจักรสุ โขทัย- อยุธยาและมัชปาหิต (พ.ศ. 1838-1907) คาบสมุทรมลายูภายใต้อาํ นาจ ของอาณาจักรสุ โขทัย -อยุธยา และมัชปาหิ ต เริ่ มจากปี พ.ศ. 1838 กองทัพสุ โขทัยลงมาอยู่ที่ เมื อง นครศรี ธรรมราช ในต้นรัชสมัยพ่อขุนรามคําแหง กองทัพสุ โขทัยร่ วมกับกองทัพเรื อนครศรี ธรรมราช ลงไปทําสงครามเพื่อปกครองและวางกําลังไว้ยงั เมืองต่าง ๆ บริ เวณปลายแหลมมลายูไปจนถึงเตมาสิ ก (สิ งคโปร์ ในปั จจุบนั ) และเมืองปาไซบนเกาะสุ มาตรา ตํานานนครศรี ธรรมราชบันทึกไว้ว่า “ไทยได้ ส่ งเจ้าเมืองไปปกครองหัวเมืองมลายู ได้แก่ เมืองตานี (ลังกาสุ กะ) เมืองสาย (สายบุรี) เมืองกลันตัน เมืองปาหัง เมืองไทร (ไทรบุรี) เมืองอะเจ (อาเจห์) ฯลฯ แต่ครองอํานาจได้ไม่นาน อาณาจักรมัชปาหิ ต ซึ่ งมีศูนย์อาํ นาจอยู่ที่เกาะชวา ก็ขยายอํานาจมาปกครองหัวเมืองดังกล่าว บางเมืองเช่นลังกาสุ กะอยู่ ภายใต้อิทธิ พลของมัชปาหิ ตในปี พ.ศ.1884-1907 ขณะเดียวกันสุ โขทัยก็เสื่ อมอํานาจลงและมีอยุธยา สื บทอดอํานาจต่อมา ในช่วงเวลาดังกล่าวนี้ จึงมีคนไทยจากสุ โขทัยและอยุธยาลงไปและมีชาวชวามลายูข้ ึนมาอยูอ่ าศัยในภาคใต้มากขึ้นเป็ นลําดับ วัฒนธรรมประเพณี ของคนทั้งสองกลุ่มจึงดํารงอยู่และ แพร่ หลายในภาคใต้สืบต่อมาถึงทุกวันนี้ สมัยการขยายอํานาจของมะละกาและปัตตานียุครุ่ งเรื อง (พ.ศ.1998-2351) ตั้งแต่ช่วงต้นสมัย อยุธยา เมืองมะละกามีอาํ นาจมากขึ้น และได้ปฏิเสธอํานาจของมัชปาหิ ตและสยามในเวลาต่อมา ทําให้ สยามต้องยกทัพไปปราบปรามมะละกา แต่ไม่สามารถเอาชนะได้ ในปี 1998 กองทัพมะละกาได้บุก เข้าโจมตีเมืองโกตามหลิฆยั ของลังกาสุ กะ และขยายอํานาจเข้าปกครองเมืองต่าง ๆ แถบปลายแหลม มลายู ทําให้ชาวเมืองหันมานับถือศาสนาอิสลามตามแบบอย่างมะละกามากขึ้นเรื่ อยๆ สําหรับปั ตตานี นั้น พญาอินทิราโอรสของราชาศรี วงั สาแห่งโกตามหลิฆยั ได้สร้างเมือง “ปตานี” (Patani) ขึ้นใหม่ที่ริม ทะเลบ้านกรื อเซะ-บานา ราว พ.ศ. 2000 ต่อมาทรงพระองค์เข้ารับนับถือศาสนาอิสลามและเปลี่ยน พระนามเป็ นสุ ลต่าน อิสมาอีล ชาห์ ปกครองเมืองปั ตตานี ระหว่าง พ.ศ. 2043-2073 เมื่อมะละกาถูก 17


โปรตุเกสยึดครองในปี พ.ศ.2054 ปั ตตานี จึงเป็ นอิสระจากมะละกาและมีความเจริ ญรุ่ งเรื องมากทั้งใน ด้านการค้า การผลิตนักเผยแพร่ อิสลามและเป็ นศูนย์กลางการศึกษาศาสนาอิสลาม จนได้รับการยกย่อง ว่า “ปตานีเป็ นกระจกเงา และเป็ นระเบียงแห่งเมกกะ” และเป็ นนครขนาดใหญ่ในเวลานั้น ปั ตตานี มีสุลต่านหรื อรายาเป็ นเจ้าเมืองปกครองต่อเนื่องถึง 23 พระองค์ เป็ นช่วงเวลาที่เรี ยกกัน ว่าสมัยรัฐปัตตานี มีชาวจีนญี่ปุ่น ชวาและชาวตะวันตก ได้แก่ โปรตุเกส ฮอลันดา อังกฤษ สเปน ฯลฯ เข้ามาค้าขายและพํานักอาศัยเป็ นจํานวนมาก เช่นเดียวกับเมืองสงขลา (Singora) ที่เขาแดงมีดาโต๊ะโม กอลล์ ชาวเปอร์เซีย เป็ นสุ ลต่านปกครองและมีทายาทรุ่ นต่อมาอีกหลายตระกูล เมืองทั้งสองขัดแย้งกับ อยุธยาและขัดแย้งกันเองบ่อยครั้ ง จึ งมี สงครามระหว่างอยุธยากับสงขลาและปั ตตานี และระหว่าง ปั ตตานี กับ สงขลาเกิ ดขึ้นหลายครั้ ง มี ก ารอพยพโยกย้ายพลเมื อง รวมทั้ง กํา ลังพลของแต่ ล ะเมื อง บางส่ วนไม่ได้เดินทางกลับเมื่อสงครามยุติ จึงมีคนไทยเชื้อสายอยุธยาตั้งถิ่นฐานบ้านเรื อนที่ปัตตานี และมีคนมลายูปัตตานีถูกกวาดต้อนไปอยูท่ ี่อยุธยาและกรุ งเทพฯในสมัยนั้นสื บมาจนถึงทุกวันนี้

ภาพที่ 2.9 : แผนที่คาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะต่าง ๆ ในเอกสารเปอร์ เซีย 18


ภาพที่ 2.10 : แผนที่คาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะต่าง ๆ 19


2.1.2 ประวัติศาสตร์ จากสยามสู่ จังหวัดยะลา เมื่ อเข้า สู่ ช่ ว งสมัย กรุ ง รั ตนโกสิ นทร์ ในรั ช สมัย พระบามสมเด็ จพระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก (รัชกาลที่ 1) มีรับสั่งให้กรมพระราชวังบวรมหาสุ รสิ งหนาท เสด็จยกทัพหลวงลงไปปราบปรามข้าศึก ทางหัวเมืองปั กษ์ใต้ แล้วมีรับสั่งออกไปถึงบรรดาหัวเมืองมลายูซ่ ึ งเคยขึ้นกรุ งศรี อยุธยามาแต่เดิม ให้ อ่อนน้อมและยอมเข้าร่ วมโดยอยู่ภายใต้การปกครองของพระองค์เหมือนดังในสมัยครั้งก่อนเสี ยกรุ ง ทางด้านพระยาไทรบุรี พระยาตรังกานู ยอมอ่อนน้อมเข้ากับทางกรุ งรัตนโกสิ นทร์ แต่โดยดี หากแต่ พระยาปั ตตานี ไม่ยอมอ่อนน้อมตาม กรมพระราชวังบวรมหาสุ รสิ งหนาทจึงมีรับสั่งให้ยกกองทัพลง ไปตีได้เมืองปั ตตานี ในปี พ.ศ. 2332 แล้วได้ทรงแต่งตั้งให้ตวนกูระมีติน ซึ่ งมีเชื้ อสายรายาอยู่ที่บา้ น บันนังมาดัง ขึ้นเป็ นเจ้าเมืองปั ตตานี ซึ่งในช่วงเวลาระหว่างนั้น เมืองยะลายังคงเป็ นท้องที่บริ เวณหนึ่ ง ภายใต้การปกครองของเมืองปัตตานี และยังไม่ได้แยกออกมาเป็ นเมืองต่างหาก

ภาพที่ 2.11 : แผนที่อาณาจักรสยาม สมัยต้นรัตนโกสิ นทร์ 2.1.2.1 สมัยการจัดการปกครองแบบหัวเมือง (พ.ศ. 2351-2445) เมื่ อเข้า สู่ ช่ ว งสมัย กรุ ง รั ตนโกสิ นทร์ ในรั ช สมัย พระบามสมเด็ จพระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก (รัชกาลที่ 1) ในระยะเวลาหลังจากนั้นไม่นาน เจ้าเมืองปั ตตานี ได้คิดการกบฏยกทัพขึ้นมาตียงั เมื อง 20


สงขลาอยูเ่ รื่ อยมา แต่ก็ไม่สามารถตีชนะได้ หลังจากนั้นต่อมาในปี พ.ศ. 2353 ตาโต๊ะปังกาลัน เจ้าเมือง ปั ตตานี แทนตวนกูระมีดิน เจ้าเมืองคนก่อนก็ได้ก่อการกบฏขึ้นอีก โดยเจ้าเมืองสงขลากับเจ้า เมื อง นครศรี ธรรมราชยกทัพไปยังเมืองปัตตานี แต่ก็ตอ้ งถอยกลับเพราะกองทัพเมืองปั ตตานีตา้ นทานอย่าง แข็งแรง และในเวลาต่อมากองทัพหลวงจากกรุ งเทพฯ โดยมีพระยากลาโหมเป็ นแม่ทพั ยกไปตีเมื อง ปัตตานีได้ ซึ่งในระหว่างนั้น พวกสาเหยดและพวกรัตนาวงซึ่งเป็ นชาวมลายูได้คบคิดกันเข้าปล้นบ้าน พระยาปั ตตานี (พ่าย) และบ้านหลวงสวัสดิภกั ดี (ยิ้มซ้าย) ผูว้ ่าราชการ แต่ก็ถูกตีถอยหนี ไปหลบซ่ อน อยูท่ ี่ตาํ บลบ้านกะลาภอ ใน พ.ศ. 2334 พระยาปั ตตานี ร่วมกับซาหยัดที่ต้ งั ตัวเป็ นผูว้ ิเศษ ส้องสุ มผูค้ นก่อการขบถขึ้นอีก พร้อมกันนั้นได้ชกั ชวนองเชียงสื อที่กาํ ลังกูราชบัลลังก์อยู่ในประเทศญวนให้มาร่ วมในการเข้าตีเมือง สงขลาและเมื อ งอื่ น ๆ ด้ว ย แต่ อ งเชี ย งสื อ ไม่ ย อมร่ ว มมื อ ด้ว ยเพราะได้ถ วายคํา ปฏิ ญ าณไว้กับ พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกก่ อ นแล้ว ว่า จะไม่ คิ ด ทรยศต่ อ ไทย กองทัพ จากเมื อ ง นครศรี ธรรมราชและเมืองสงขลาได้ร่วมกันปราบปรามลงได้ ในขณะเดียวกันนั้นภายในอาณาบริ เวณเมืองปั ตตานี ได้เกิดโจรผูร้ ้ายเที่ยวตีปล้นบ้านเรื อนชุก ชุ มขึ้น ทางพระยาปั ตตานี (พ่าย) เจ้าเมื องในณะนั้นไม่ส ามารรถปราบปรามเหตุการณ์ใ ห้ส งบลง เนื่องจากปัตตานีในขณะนั้นถือเป็ นหัวเมืองทางตอนใต้ที่ขนาดใหญ่ ประกอบไปด้วยหลายเมืองเล็ก ๆ จึงได้ก็แจ้งข้อราชการมายังเมืองสงขลา พระยาสงขลา (เถี้ยนจ๋ อง) ก็นาํ หนังสื อบอกเข้ามายังกรุ งเทพฯ จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระยาอภัยสงครามกับพระยาสงขลา (เถี้ยนจ๋ อง) ออกไปแยกเมืองปัตตานีเป็ น 7 หัว เมือง ได้กาํ หนดเขตเมืองปั ตตานี โดยแบ่งออกเป็ น 7 หัวเมือง คือ เมืองปั ตตานี เมืองยะหริ่ ง เมืองสายบุรี เมืองหนองจิก เมืองรามันห์ เมืองระแงะ และ เมืองยะลา แล้วทูลเกล้าฯ ถวายชื่อเมืองที่แยกออกไป จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานตราตั้งตามรายชื่อ ซึ่งพระยาอภัยสงคราม ข้าหลวงกับพระ ยาสงขลา (เถี้ ย นจ๋ อ ง) จัด ไว้ ในตอนนี้ ชื่ อ พระยาทั้ง 7 หั ว เมื อ งที่ โ ปรดเกล้า ฯ มี ร ายชื่ อ เจ้า เมื อ ง ดังต่อไปนี้ คือ เมืองปัตตานี ตะวันสุ หลง เป็ นพระยาปัตตานี เมืองยะหริ่ ง นายพ่าย เป็ นพระยายะหริ่ ง เมืองสายบุรี หนิดะ เป็ นพระยาสายบุรี เมืองหนองจิก ตะวันนิ เป็ นพระยาหนองจิก เมืองรามันห์ ตะวันหม่าโส่ เป็ นพระยารามันห์ เมืองระแงะ หนิเดะ เป็ นพระยาระแงะ เมืองยะลา ตะวันยลอ เป็ นพระยายะลา 21


2.1.2.2 สมัยมณฑลเทศาภิบาล (พ.ศ. 2440-2475) และต่อมาในรัชกาลที่ 2 พม่าคิดจะยกกองทัพเข้ามาตี รุกสยามอีกครั้ง โดยเกลี้ยกล่อมพระยา ไทรบุรีให้เอาใจไปเข้าแก่ฝั่งแก่พม่าเลยยุยงพวกมลายูเมืองปัตตานีให้เป็ นกบฏขึ้น พระบาทสมเด็จพระ พุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 จึงโปรดให้แยกเมืองปัตตานีเดิมออกเป็ นแต่เมืองเล็กๆ 7 หัวเมือง และ ให้เมื องสงขลาได้กาํ กับว่ากล่าวมณฑลปั ตตานี ตลอดมา จนมี การจัดตั้งมณฑลปั ตตานี เป็ นมณฑล เทศาภิบาล 1 ต่างหาก ในสมัยพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู๋หวั รัชกาลที่ 5 เมื่อปี มะเมีย อัฐศก พ.ศ. 2449 โดยสําหรับเขตแดนของเมืองยะลานั้น ทิ ศตะวันออกเฉี ยงใต้ ตั้งแต่เขาปะราหมะปั กหลักเขต เรี ยงลงไปทางทิ ศตะวันออก ถึงปะฆะหลอสะเตาะเหนื อบ้านจินแหรตลอดไปถึงบ้านกะลันอะหรอ จนถึงคลองใหญ่ท่าสาปจดบ้านบะนางสะตา (บังนังสตา) ฟากเหนื อเ ป็ นเขตเมืองยะลา ฟากใต้ เป็ น เขตเมืองรามันห์ ฝ่ ายทิ ศตะวันออกเฉี ยงเหนื อต่อพรมแดนเมืองปั ตตานี ตั้งแต่ตะโหละเปาะย้านิ ง มี สายห้วยไปจดคลองท่าสาป ฟากคลองทิศตะวันตกเป็ นเขตเมืองยะลา ฟากคลองทิศตะวันออกเป็ นเขต เมืองปั ตตานี ฝ่ านเหนื อต่อพรมแดนเมืองหนองจิกเขาศาลาคิรีเป็ นแดน ฝ่ ายทิศตะวันตกต่อพรมแดน เมื องไทรบุรีมีคลองบาโงยเป็ นเขตแดนขึ้นไปถึงบ้านยี้นังตลอดไปบ้านยะเหลาะ ฝ่ านทิ ศตะวันตก ตลอดไปจดเขาเมืองติละล่าบูเป็ นสิ้ นเขตเมืองยะลา มีการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พระยายะลา (ตวันยลอ) เป็ นผูว้ ่าราชการเมืองยะลา โดยพระยายะลา (ตวันยลอ) ได้ต้ งั บ้า นเรื อนหรื อที่ เรี ย กว่า เมื องยะลานั้นอยู่ที่ ตาํ บลบ้า นยะลา โดยในระหว่า งนั้น บ้านเมืองเป็ นปกติเรี ยบร้อยอยูห่ ลายปี ครั้นอยูม่ าในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว พระ ยายะลา (ตวันบางกอก) ร่ วมกับพระยาปั ตตานี (ตวันสุ หลง) พี่ พระยาหนองจิก (ตวันกะจิ) น้อง พระ ยาระแงะ (หนิ เดะ) เป็ น 4 เมือง คิดกบฏขึ้น แยกกันออกตีบา้ นพระยายะหริ่ ง (พ่าย) บ้าง เลยเข้ามาตี เมืองจะนะ เมืองเทพา ฝ่ ายพระยาสงขลา (เถี้ยนเส้ง) มีใบบอกเข้ามากรุ งเทพฯ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้พระยาเพชรบุรีเป็ นแม่ทพั ออกไปสมทบช่วยเมืองสงขลา ยกออกไปตี ตั้งแต่เมืองจะนะ เมืองเทพา ตลอดจนถึงเมืองระแงะ และจับสามารถจับและสําเร็ จโทษพระยาปัตตานี (ตวันสุ หลง) พระยายะลา (ตวันบางกอก) พระยาหนองจิก (ตวันกะจิ) ได้ที่ตาํ บลบ้านโต๊ะเดะในเขต แขวงเมืองระแงะริ มพรมแดนเมืองกลันตันประหารชีวิตในที่ตาํ บลนั้น พระยาเพชรบุรีแม่ทพั พระยา สงขลา (เถี้ยนเส้ง) จึงจัดให้หลวงสวัสดิ์ (ยิ้มซ้าย) ซึ่งเดิมเป็ นผูช้ ่วยราชการอยู่ที่เมืองยะหริ่ งไปรักษา ราชการเมืองยะลา หลวงสวัสดิ์ (ยิ้มซ้าย) จึงได้ไปตั้งบ้านเรื อนอยู่ที่ตาํ บลบ้านวังตระ แขวงเมืองยะลา อยู่ฝ่ายทิศตะวันตกเฉี ยงเหนื อจากบ้านพระยายะลา (ตะวันบางกอก) เป็ นระยะทางประมาณ 500 เส้น เศษ การปกครองในขณะนั้นได้ยึดถือขนบธรรมเนี ยมและวิธีปฏิบตั ิราชการในเมืองยะลาใช้อย่างเมือง สงขลาทั้งสิ้ น 22


ต่อมาพระยาสงขลา (เถี้ยนเส้ง) ได้นาํ ตัวนายเมทองบุตรพระยายะหริ่ ง (พ่าย) ซึ่งได้จดั ให้เป็ น ผูร้ ักษาราชการเมืองยะลาอยู่เดินทางเข้ามากรุ งเทพฯ และได้มีการพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน ตราตั้งให้เป็ นนายเมืองเป็ นพระยายะลา (เมือง) และต่อมาพระยายะลา (เมือง) ได้ยา้ ยที่วา่ ราชการมาตั้ง บ้านเรื อนอยู่ที่ตาํ บลท่าสาป ริ มแม่น้ าํ ที่มาจากเมืองรามันห์ฟากทิศตะวันตก (แม่น้ าํ ปั ตตานี ) ภายหลัง ต่อมาพระยายะลา (เมือง) ไม่ได้ราชการ พระยาสงขลา (เถี้ยนเส้ง) จึงถอดออกจากราชการ แล้วจัดตั้ง ให้ตวันบาดูปุเต้ เป็ นผูร้ ักษาราชการเมืองยะลา ตวันบาตูปุเต้ ผูร้ ักษาราชการเมืองยะลาได้ต้ งั บ้านเรื อน อยูท่ ี่ตาํ บลบ้านยะลา ในรัชการพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าตั้งให้พระยาวิเชี ยรคิรี (เม่น) เป็ นเจ้าพระยาวิเชียรคิรี ผูว้ า่ ราชการเมืองสงขลา และตั้งให้ ตวันกะจิ เป็ นพระยาณรงค์ฤทธิ์ศรี ประเทศ วิเศษวังสา ผูว้ า่ ราชการเมืองยะลา พระยายะลา (ตวันกะจิ) ในปี ร.ศ. 120 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงประกาศกฎข้อบังคับสําหรับ ปกครองบริ เวณ 7 หัวเมื อง โดยประกาศใช้เมื่ อวันที่ 10 ธันวาคม พุทธศักราช 2444 โดยมี พระราช ดํารัสสั่งว่า “...ด้ วยการแบ่ งเขตแขวงสําหรั บจัดการปกครองและตําแหน่ งหน้ าที่ข้าราชการในหั วเมือง ทั้ง 7 คื อ เมืองตานี เมืองหนองจิ ก เมืองยะหริ่ ง เมืองสาย เมืองยะลา เมืองรามันห์ เมืองระแงะ ทรง พระราชดําริ เห็นว่ าสมควรจะจัดการวางแบบแปนวิธีการปกครองแลวางตําแหน่ งหน้ าที่ราชการให้ เป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อยตามสมควรแก่ ก าลสมัย จึ ง ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ า ฯ ให้ ตั้ง ข้ อบั ง คั บ สํ า หรั บ ปกครองเมื องทั้ ง 7 ไว้ โดยเมื องทั้ ง 7 เมื องทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ า ฯ ให้ คงเป็ นเมื อง 7 เมื องอยู่ ตามเดิม แลให้ พระยาเมืองเป็ นผู้รักษาราชการบ้ านเมืองต่ างพระเนตรพระกรรณ ให้ มีกองบัญชาการ เมือง คื อ พระยาเมืองเป็ นหั วหน้ า ปลัดเมือง ยกระบัตรเมือง และผู้ช่วยราชการเมือง รวม 4 คน ให้ มี กรมการชั้นรอง เสมียนพนักงานตามความสมควร ฯลฯ...” และได้มีประกาศตั้งมณฑลปั ตาตานี ข้ ึนเมื่อ วันที่ 27 กรกฎาคม พุทธศักราช 2449 ดังข้อความ ต่อไปนี้ “...มีพระบรมราชโองการดํารั สเหนื อเกล้ าเหนื อกระหม่ อม ให้ ประกาศจงทราบทั่วกันว่ าแต่ ก่ อนมาจนเวลานี ้ บริ เวณ 7 หั วเมื องมี ข้ า หลวงใหญ่ ป กครองขึ ้นอยู่ใ นข้ า หลวงเทศาภิ บ าลมณฑล นครศรี ธรรมราช ทรงพระราชดําริ เห็นว่ าทุกวันนีก้ ารค้ าขายในบริ เวณ 7 หั วเมืองเจริ ญขึน้ มาก และการ ไปมาถึ งกรุ งเทพฯ ก็สะดวกดีกว่ าแต่ ก่อน บริ เวณ 7 หั วเมื องมีท้องที่ และจํานวนผู้คนพลเมื องมาก สมควรจะแยกออกเป็ นมณฑลหนึ่ งต่ างหาก ให้ สะดวกแก่ ราชการ และการที่จะทํานุบาํ รุ งบ้ านเมืองให้ เจริ ญให้ ยิ่กว่ าแต่ ก่อนได้ จึ งทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ าฯ ให้ แยกบริ เวณ 7 หั วเมื องออกต่ างหากจาก มณฑลนครศรี ธรรมราช และให้ จัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลขึน้ อีกมณฑลหนึ่ งให้ เรี ยกว่ า มณฑลปั ตตานี 23


และทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้ า ฯ ให้ พระยาศักดิ เสนี เป็ นข้ าหลวงเทศาภิ บาลสํา เร็ จราชการมณฑล ปั ตตานีนสี ้ ื บไป...” โดยภายในมณฑลปัตตานี มีเมืองที่เข้าร่ วมอยูใ่ นมณฑลนี้ 4 เมือง ได้แก่ 1. เมืองปัตตานี ซึ่งมีเมืองหนองจิก เมืองยะหริ่ ง รวมกับเมืองปัตตานี เป็ นเมืองปัตตานี (ภายหลังเป็ นจังหวัดปัตตานี) 2. เมืองยะลา ซึ่ งมีเมืองรามันห์รวมกับเมืองยะลา เป็ นเมืองยะลา (ภายหลังเป็ น จังวหวัด ยะลา) 3. เมืองระแงะ เป็ นเมืองบางนรา (ภายหลังเรี ยกว่า จังหวัดนราธิวาส) 4. เมืองสาย เป็ นเมืองสายบุรี (ภายหลังยุบเป็ นอําเภอขึ้นกับจังหวัดนราธิวาส) 2.1.2.3 สมัยการปกครองแบบจังหวัด (พ.ศ. 2474-ปัจจุบัน) ในปี พ.ศ. 2474 มีประกาศยุบรวมท้องที่บางมณฑลและบางจังหวัด เนื่ องจากการคมนาคมที่มี ความวเจริ ญมากขึ้น พอที่จะรวมเขตการปกครองและบังคับบัญชาได้กว้างขวางยิ่งขึ้น ทางสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั (รัชกาลที่ 5) เห็นสมควรที่จะยุบรวมมณฑลและจังหวัดเพื่อประหยัดรายจ่ายเงิน แผ่นดินลงได้บา้ ง จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ยบุ เลิกมณฑล 4 มณฑล และจังหวัด 9 จังหวัด เมื่อ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2474 สําหรับมณฑลที่ประกาศยุบเลิก อันมีมณฑลปั ตตานี เป็ นหนึ่ ง ในนั้ น ด้ว ย โดยให้ ร วมจัง หวัด ต่ า ง ๆ ของมณฑลปั ต ตานี เ ข้า ไว้ใ นใต้ก ารปกครองของมณฑล นครศรี ธรรมราช ส่ วนจังหวัดที่ประกาศยุบเลิก มีเพียงจังหวัดสายบุรีจงั หวัดหนึ่ง และให้รวมท้องที่เข้า ไว้ในปกครองของจังหวัดปั ตตานี เว้นแต่ทอ้ งที่อาํ เภอบาเจาะให้ยกไปขึ้นอยู่ในปกครองของจังหวัด นราธิ วาส เมื่อประกาศยุบเลิกมณฑลปั ตตานี ตามพระราชบัญญัติ ว่าด้วยระเบียบราชการบริ หารแห่ ง ราชอาณาจักรสยาม ในปี พ.ศ. 2476 แล้วนั้น ส่ งผลให้จงั หวัดยะลาได้แยกออกมาตั้งเป็ นจังหวัดหนึ่ ง ของประเทศไทยสื บต่อมาจนถึงปัจจุบนั 10 การที่ ต้ งั เมื องของจังหวัดยะลาในปั จจุ บนั นั้น จากแต่เดิ มจะเป็ นท้องที่ บริ เวณหนึ่ งของเมื อง ปัตตานี ซึ่งไม่ได้แยกออกมาเป็ นเมืองเอกเทศ จึงมีความสัมพันธ์และคล้ายคลึกทางด้านประวัติศาสตร์ ของเมืองปั ตตานี อย่างแยกไม่ออก สําหรับเมืองปั ตตานี ในสมัยแรกเริ่ มอยูใ่ นบิรเวณเมืองโบราณยะรัง และย้ายเข้าใกล้ชายฝั่งทะเลเรื่ อย ๆ จนมาตั้งริ มฝั่งทะเลที่บริ เวณเมืองเก่ปัตตานี ใกล้ ๆ คลองยามู ใน เขตยะหริ่ งในปั จจุบนั เมืองปัตตานี ในอดีตนี้คือเมืองท่าสําคัญแห่ งหนึ่ งในคาบสมมุทรมลายูและเป็ น 3

ธวัช รัตนาภิชาติ. (2505). ประวัติศาสตร์ สี่จังหวัดภาคใต้ นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สตูล. พระนคร : ศูนย์พฒั นา การศึกษา ภาคศึกษา 2. 49-58.

10

24


ศูนย์กลางของอํานาจการปกครอง การค้าขายภายในและภายนอก ซึ่งมีผคู ้ นตั้งหลักแหล่งเป็ นบ้านเมือง ขนาดใหญ่กว่าชุมชนที่อยู่ภายในแผ่นดิน จนกระทัง่ ถึงสมัยต้องเสี ยเมืองปั ตตานี ให้แก่กรุ งเทพฯ ใน ระยะต่อมา สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ (รัชกาลที่ 1) แห่งกรุ งรัตนโกสิ นทร์ โปรดเกล้า ฯ ให้มีการปรับปรุ งการปกครองหัวเมืองปั ตตานี โดยให้เมืองสงขลาเป็ นผูค้ วบคุมดูแลเมืองปั ตตานี เพราะแต่เดิมเมืองปั ตตานี อยู่ในความดูแลของเมืองนครศรี ธรรมราช นอกจากนี้ ได้แบ่งเมืองปั ตตานี ออกเป็ น 7 เมือง คือ ปัตตานี สายบุรี ยะหริ่ ง ยาลอ (ยะลา) ระแงะ และหนองจิก ซึ่งอาณาเขตพื้นที่ของ เมืองยะลาในขณะนั้น มีการแบ่งอาณาเขต ดังนี้ ด้านทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับเมืองหนองจิก ด้านทิศใต้ มีอาณาเขตตั้งแต่เขาปะวะหะมะไปทางทิศตะวันออกไปถึงเขา ปะฆะหลอสะเตาะเหนือบ้านจินแหรจนถึงคลองท่าสาปเรื่ อยมา จนถึงบ้านบันนังสตา ด้านทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับเมืองยะหริ่ ง ตั้งแต่หมู่บา้ นโลหะเปาะยาหมิง มีสายนํ้ายาวไปจรดคลองท่าสาป ด้านทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อคลองไทรบุรี มีคลองบ้านบาโงย แขวงเมืองเทพา เป็ นเขตขึ้นไปจนถึงบ้านนิบงต่อไปจนถึงบ้านเหมาะเหลาะ ส่ วนเจ้าเมืองยะลาที่ปกครองเมืองยะลา ปรากฏหลักฐานว่า ในปี พ.ศ. 2360 มีต่วนยะลา เป็ นผู ้ ดํารงตําแหน่ง พระยายะลา ตั้งบ้านเรื อนอยู่ที่ตาํ บลบ้านยาลอ ซึ่ งนับเป็ นสถานที่ต้ งั ตัวเมืองยะลาครั้ง แรก เมื่อพระยายะลา (ต่วนยะลา) ถึงแก่กรรม พระยาสงขลา (เถี้ยนเส้ง) ซึ่งว่าราชการ ณ เมืองสงขลา ได้ให้ ต่วนบางกอก ซึ่งเป็ นบุตรพระยายะลาขึ้นรักษาการเมืองยะลา แล้วจึงนําความขึ้นกราบบังคมทูล ให้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้าฯ (รัชกาลที่ 2) ให้ทรงทราบและได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระ บรมราชานุ ญาติตามความประสงค์ของพระยาสงขลา และพระราชทานตราตั้งให้พระยาสงขลาเชิญ ออกไปตั้งให้ต่วนบางกอกเป็ นพระยายะลา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2360 โดยยังคงว่าราชการอยู่ ณ บ้านเจ้าเมือง คนเก่า ไม่ได้มีการย้ายเมืองไปที่อื่นแต่อย่างใด ต่อมาในสมมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) พระยายะลา (ต่วนบางกอก) ร่ วมกับพระยาปัตตานี (ต่วนสุ หลง) ผูพ้ ี่ พระยาหนองจิก (ต่วยกะจิ) ผูน้ อ้ ง และพระยาระแงะ (หนิเดะ) คิดการกบฏ โดยตีบา้ นพระยายะหริ่ ง (พ่าย) แล้วเข้าตีเมืองจะนะ ณ เมืองเทพา พระยาสงขลามีใบบอก เข้ามากรุ งเทพฯ และได้มีการโปรดเกล้าฯ ให้พระยาเพชรบุรีเป็ นแม่ทพั ออกไปสมทบช่วยเมืองสงขลา 25


ครั้นกองทัพพระยาเพชรบุรีออกไปถึงเมืองสงขลา รวบรวมกําลังสมทบกับกองทัพพระยาสงขลา ยก ออกไปตีต้งั แต่เมืองจะนะ เมืองเทพา ตลอดจนถึงเมืองระแงะ และจับพระยาปัตตานี พระยายะลา พระ ยาหนองจิก ได้ที่ตาํ บลบ้านโต๊ะเดะ ในเตเมืองระแงะ ส่ วนพระยาระแงะหนีไปได้ ในระหว่างนั้นพระ ยาสงขลาจึงได้ให้ หลวงสวัสดิ์ภกั ดี (ยิ้มซ้าย) ซึ่ งเป็ นผูช้ ่วยราชการเมืองยะลา ไปเป็ นเจ้าเมืองยะหริ่ ง หลวงสวัสดิ์ภกั ดีจึงไปตั้งบ้านเรื อนอยู่ที่ตาํ บลวังพระ แขวงเมืองยะลา และเมื่อหลวงสวัสดิ์ภกั ดี ไป ปกครองเจ้าเมืองยะหริ่ งแล้ว พระยาสงขลาก็ได้นาํ ตัวนายเมือง ซึ่ งเป็ นบุตรพระยายะหริ่ ง (พ่าย) เข้า กรุ งเทพฯ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานตราตั้ง ให้นายเมืองเป็ นพระยายะลา โดยได้รับ พระราชทานนามบรรดาศักดิ์ว่า “พระยาณรงค์ฤทธิ์ศรี ประเทศวังษา” (เมือง) ซึ่ งได้เป็ นเจ้าเมืองยะลา ในปี พ.ศ. 2390 และได้ต้ งั บ้านเรื อนอยู่ที่ตาํ บลท่าสาป ซึ่ งอยู่บริ เวณริ มแม่น้ าํ ปั ตตานี เรื่ อยมา ถัดมาใน สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ (รัชกาลที่ 4) ต่วนบาปูเต๊ะ เป็ นรับการแต่งตั้งให้ เป็ นพระยายะลา จวบจนครั้นถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั (รัชกาลที่ 5) ทรงโปรด เกล้าฯ แต่งตั้งให้ ต่วนกะจิ บุตรพระยายะลา (ต่วนบาปูเต๊ะ) เป็ นเจ้าเมืองยะลาคนสุ ดท้ายจนกระทัง่ มี การเปลี่ยนแปลงการปกครองยังปัจจุบนั 11 4

ภาพที่ 2.12 : แผนที่ต้ งั ชุมชนในเขตเมืองเก่ายาลอทางฝั่งซ้ายของแม่น้ าํ ปัตตานี ตรงข้ามกับเมืองยะลาในปัจจุบนั

วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, มารี แย มามะ และคณะ. (2549). จากยาลอสู่ ยะลาการเปลี่ยนแปลงในรอบศตวรรษ และการ เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศวัฒนธรรมในเขตเชิงเขาบูโด-สันกาลาคีรี กรณีศึกษาบริเวณบ้ านตะโหนด ตําบลรื อเสาะ อําเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ . สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั สํานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.) : สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริ มวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกว.). 7-13. 11

26


จากการเปลี่ ยนแปลงปกครองนั้น ส่ งผลต่อการเลื อกทําเลที่ ต้ งั เมื องยะลา โดยมีปรากฏการ โยกย้ายที่ต้ งั ของเมืองยะลาอยูห่ ลายครั้ง ดังนี้ แรกเริ่ มการตั้งเมืองยะลา ในปี พ.ศ. 2334 ได้ต้ งั เมืองในบริ เวณที่ต้ งั แต่เดิม ที่ตาํ บลบ้านยะลา หรื อที่เรี ยกว่า “ยาลอ” ที่แปลว่า “แห” โดยคําว่า “ยาลอ” นั้น มาจากคําว่า “บาลลา” หมายถึงเมืองที่ สมบูรณ์ดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติ ตามสําเนี ยงและเสี ยงของมลายูทางไทรบุรีและปี นัง (พื้นที่ติดต่อกับ ยะลาทางตะวันตกเฉี ยงเหนื อของมาเลเซี ยปั จจุ บ ัน) ซึ่ ง ในบริ เวณนั้นจะมี ภูเขาลูก หนึ่ ง มี ล ัก ษณะ สัณฐานคล้ายแห ในการตั้งเมืองและบ้านเรื อนที่บา้ นยะลา (ยาลอ) เนื่องมาจากจวนเจ้าเมืองในขณะนั้น ตั้งอยู่ ณ บ้านยะลา ทําให้บา้ นยะลาเป็ นศูนย์กลางทั้งด้านการปกครองและเศรษฐกิจ ดังหลักฐานการ ตรวจราชการของพระยาศักดิ์เสนา ความว่า “...เมืองยะลาเป็ นบ้ านกลางทุ่ง มีบ้านประมาณ 30 หลัง เรื อนพระยายะลามี 2 หลัง เป็ นเรื อนปั้ นหยาแฝด เรื อนพระยายะลาอยู่กลางหมู่บ้าน มีบ้านจีน 8 หลัง ..”. 12 หลักฐานที่เกี่ยวกับที่ต้ งั เมือง ณ บ้านยะลา ไม่เหลือร่ องรอยของสิ่ งก่อสร้าง โดยเฉพาะจวนเจ้า เมืองยะลา ซึ่งตามหลักฐานที่ระบุในเอกสารพบว่า เรื อนพระยายะลามี 2 หลัง เป็ นเรื อนปั้นหยาแฝด มี มุขข้างหน้า นายกูแมง มะหะหมัด 13 ซึ่ งเป็ นหลานของพระยายะลา ได้เล่าว่าตัวเรื อนพระยายะลาหลัง เดิมได้ถูกรื้ อถอน แล้วเอาไม้กระดานบางส่ วนและบานประตูไม้มาสร้างเป็ นบ้านหลังใหม่ ซึ่งยังคงอยู่ ในบริ เวณที่เคยตั้งเป็ นเรื อนพระยายะลาในปั จจุบนั นายกูแมง มะหะหมัด เป็ นผูค้ รอบครองตัวเรื อน หลังนี้ การที่ไม่เหลือร่ องรอยของสิ่ งก่อสร้างบิรเวณบ้านยะลา อาจเป็ นเพราะบ้านเรื อนสร้างด้วยไม้ หลัง คามุ ง ด้วยจากหรื อกระเบื้ องดิ น เผา จึ ง ทํา ให้ท รุ ด โทรมไป ประกอบกับ ภายหลัง มี ก ารสร้ า ง บ้านเรื อนขึ้นใหม่ในบริ เวณนั้น หลักฐานต่าง ๆ จึงถูกทําลาย สิ่ งที่พอจะเป็ นหลักฐานได้บา้ ง คือ บ่อนํ้า ก่ออิฐและกําแพงด้านข้างของบ่อนํ้าซึ่ งก่อด้วยอิฐสู งประมาณ 2 เมตร ขนาดอิฐหนา 2 นิ้ว กว้าง 8 นิ้ว ยาว 12 นิ้ ว จากหลัก ฐานที่ ก ล่ า วมาข้า งต้น แสดงว่า บ้า นยะลาได้เป็ นที่ ต้ งั ของเมื อ งยะลา ซึ่ ง เป็ น ศูนย์กลางปกครอง เพราะเป็ นที่ต้ งั ของจวนเจ้าเมืองซึ่งเป็ นสถานที่บญั ชาการปกครองในสมัยนั้น โดย บริ เวณของเจ้าเมืองจะอยูร่ อบ ๆ จวนเจ้าเมืองด้วย ในด้า นเศรษฐกิ จบ้า นยะลา เป็ นชุ ม ชนที่ มี ก ารแลกเปลี่ ย นและซื้ อขายสิ นค้า เพราะมี ตลาด สําหรับขายของใช้เพื่อบริ โภคอยู่บริ เวณบ้านพระยายะลา จึงนับว่าบ้านยะลา (ยาลอ) เป็ นศูนย์รวมทั้ง การปกครองและเศรษฐกิจในยุคนั้น อย่างไรก็ตามเมืองยะลาก็ต้ งั อยูท่ ี่บา้ นยะลาอยูช่ ่วงระยะเวลาหนึ่ง และต่อมาได้มีการย้ายที่ต้ งั เมืองไปตั้งถิ่นฐานยังบ้านท่าสาปในเวลาต่อมา 5

6

หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัดยะลา. (2548). ศิลปกรรมจังหวัดยะลา. ยะลา : หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 1-16. 13 ปองทิพย์ หนูหอม. (2538). จังหวัดยะลา. สํานักงานจังหวัดยะลา สํานักศึกษาธิ การจังหวัดยะลา : เสริ มการพิมพ์ ยะลา. 9. 12

27


ภาพที่ 2.13 : แผนที่ตาํ บลยะลา (ที่มา https://earth.google.com ) การตั้งเมืองยะลาครั้งที่ 2 ภายหลังได้มีการแต่ต้งั ผูค้ รองเมืองคนใหม่ข้ ึน ได้มีการย้ายเมืองมาตั้ง ที่ตาํ บลท่าสาป หรื อ บ้านท่าสาป โดยมีที่ต้ งั อยู่ทางฝั่งซ้ายของแม่น้ าํ ปั ตตานี ปรากฏหลักฐานการตั้ง อําเภอที่โบะเรี ยน (พรุ ทุเรี ยน) หรื อบ้านทุเรี ยน หมู่ที่ 5 ตําบลบ้านท่าสาป และย้ายไปตั้งอยู่ที่บา้ นท่าสาป หมู่ที่ 1 ตําบลท่าสาป

ภาพที่ 2.14 : แผนที่ตาํ บลท่าสาป (ที่มา https://earth.google.com ) เหตุที่ทาํ ให้มีการย้ายที่ต้ งั เมืองนั้น เนื่ องจากบริ เวณที่ต้ งั ตัวเมืองยะลา ณ บ้านยาลอเดิม อยู่ใกล้ ภูเขา 2 ลูก โดยตั้งเมืองอยูร่ ะหว่างที่ราบในหุบเขาส่ งผลให้บา้ นยะลา (ยาลอ) มีชยั ภูมิไม่เหมาะสมที่จะ 28


ตั้งเป็ นที่ต้งั เมือง ดังที่พระยาศักดิ์เสนีได้ บันทึกถึงสภาพของบ้านยะลาไว้วา่ “... การที่จะบํารุ งยากด้ วย เป็ นบ้ านไกลจากแม่ นา้ํ อยู่ในละแวกเขา ...” เจ้าเมืองยะลาจึงได้ยา้ ยมาตั้งที่บา้ นท่าสาป ซึ่งมีพ้ืนที่อยู่ ริ มแม่น้ าํ ท่าสาป 14 นายแปลก เพชรเดชะ ได้เล่าถึงความเป็ นมาของบ้านท่าสาปว่า “...ในบริ เวณต้ นแม่ นา้ํ มีก้อนหิ น ขนาดใหญ่ มีรูปร่ างคล้ ายผู้หญิง และจะมีนา้ํ ไหลออกจากซอกหิ นซึ่ งมีลักษณะคล้ ายอวัยวะเพศของ ผู้หญิง จึ งถือว่ าเป็ นแม่ นา้ํ ที่ถูกสาป...” นายถาวร ไชยนาพงษ์ ได้เล่าเพิ่มเติมว่า “...ในสมัยก่ อนคนที่มี คาถาอาคมจะไม่ กล้ าข้ ามแม่ นา้ํ ท่ าสาป เพราะเชื่ ออกันว่ าจะทําให้ คาถาอาคมเสื่ อม นอกจากนี ้ เด็กคน ใดลงเล่ นนํ้าแล้ วเอานํ้ามาตบหั วเล่ นกั นจะทําให้ ไม่ ส บาย...” ส่ วนนายประเสริ ฐ รั ตนแคล้ว อดี ต ครู ใหญ่โรเงรี ยนบ้านท่าสาป ได้เล่าให้ฟังตามความเชื่อของชาวบ้านว่า “...บ้ านท่ าสาปเดิมชื่ อบ้ านท่ า ม่ วง ต่ อมาได้ เกิดเหตุการณ์ วิปริ ตขึน้ ในหมู่บ้าน นํา้ ในแม่ นา้ํ ไหลเชี่ยวมาก มีภูตผีมาอาละวาดรบกวน พวกชาวบ้ านที่มาจอดเรื อค้ าขายและคนในหมู่บ้านจมนํา้ ตายบ่ อย ๆ ในวันหนึ่ งชาวบ้ านเห็นชีปะขาว ปั กกลดอยู่ใต้ ต้นมะม่ วง ชาวบ้ านได้ พูดคุยและเล่ าเรื่ องที่เกิดขึน้ ในหมู่บ้านให้ ชีปะขาวฟั ง ชีปะขาวจึ ง ให้ ชาวบ้ านนําข้ าวสารและดิ นทรายบริ เวณท้ ายคลองมาทําพิธีเสกแล้ วให้ สร้ างศาลเพียงตา เมื่อเสร็ จ พิธีชาวบ้ านก็นาํ สิ่ งของที่เสกแล้ วไปโปรยลงในแม่ นา้ํ และให้ เปลี่ยนชื่ อหมู่บ้านจากบ้ านท่ าม่ วงเป็ น บ้ านท่ าสาป เพื่อเป็ นการสาปสิ่ งชั่วร้ ายให้ หมดไป...” 15 7

8

ภาพที่ 2.15 : ชุมชนบ้านท่าสาป

สําหรับคําว่า “ท่าสาป” เป็ นชื่อแม่น้ าํ ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของแม่น้ าํ ปัตตานี ในช่วงที่ไหลผ่านจังหวัดยะลา เรี ยกว่า แม่ นํ้าท่าสาป ส่วนบริ เวณชุมชนใหย่ซ่ ึงมีท่าเรื อเรี ยกว่า “บ้านท่าสาป” 15 หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัดยะลา. (2548). ศิลปกรรมจังหวัดยะลา. ยะลา : หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. 1-16. 14

29


ภาพที่ : ที่ต้งั ชุมชนบ้านท่าสาป

ภาพที่ 2.16 : ชุมชนบ้านท่าสาป บ้านท่าสาปนับว่ามีลกั ษณะชัยภูมิที่เหมาะสมในการตั้งเมือง เพราะอยูร่ ิ มแม่น้ าํ ให้ความสะดวก ในการคมนาคมและการติดต่อค้าขาย ย้านท่าสาปในอดีตจึงมีความสําคัญหลายประการ ดังนี้ ท่ าสาปเป็ นศูนย์ กลางการติดต่ อค้ าขาย ภายในเมืองยะลาซึ่ งเป็ นบริ เวณริ มฝั่งแม่น้ าํ จะมีร้านค้า เรี ยงเป็ นแถว ซึ่ งร้านค้ามีท้ งั เป็ นเรื อนไม้และเป็ นตึกแถว อย่างไรก็ตามร้านค้าบริ เวณริ มแม่น้ าํ ได้พงั ทรุ ดโทรมไปตามกาลเวลา คงเหลืออยู่เพียงตึกแถวที่ไม่ได้อยู่ริมแม่น้ าํ ดังปรากฏว่าบ้านที่เคยเป็ นร้าน 30


ซึ่ ง มี ป้ า ยเขี ย นข้อ ความว่ า “สถานที่ รั บ อนุ ญ าตเก็ บ นํ้า มัน เชื้ อ เพลิ ง ใบอนุ ญ าตที่ 36” นอกจากนี้ บ้านเลขที่ 29 ตําบลท่าสาป ซึ่ งเป็ นบ้านของ นายเนื่ อง ทองธรรมชาติ ปรากฏว่าภายในบ้านมีบริ เวณที่ เก็บนํ้ามันก๊าด โดยจะขุดเป็ นหลุมสี่ เหลี่ยมผืนผ้าด้านบนใช้ไม้กระดานปิ ดไว้ จากการที่บา้ นท่าสาปเป็ นศูนย์กลางทางการค้าขาย จึงทําให้ประชาชนจากอําเภออื่น ๆ เดินทาง มาซื้ อสิ นค้าที่บา้ นท่าสาป เช่น ประชาชนจากอําเภอยะหา เดินทางเท้าและใช้เกวียนเป็ นพาหนะมาซื้อ ข้าวและเกลือที่บา้ นท่าสาป จึงนับว่าบ้านท่าสาปถือเป็ นศูนย์กลางการติดต่อค้าขายภายในเมืองยะลา ทําให้บริ เวณรอบนอก ๆ ได้มีเครื่ องอุปโภคและบริ โภค ท่ าสาปเป็ นศูนย์ กลางการติ ดต่ อระหว่ างเมืองอื่ น ๆ ด้วยจากชัยยภูมิของบ้านท่าสาปที่อยู่ใกล้ แม่น้ าํ ทําให้เป็ นศูนย์กลางในการติดต่อกับเมืองอื่น ๆ ได้สะดวก เช่น เมืองปั ตตานี เมืองหนองจิก ดัง ปรากฎมีเรื อมาติดต่อค้าขายที่ท่าสาป ท่าสาปเป็ นศูนย์รวมของเรื อสิ นค้า ทั้งนี้เพราะสิ่ งของบางอย่างต้องล่องตามแม่น้ าํ ดังนั้นท่าสาป จึ ง เป็ นที่ รวมของสิ่ ง ของที่ จะส่ ง ทางนํ้า เช่ น แร่ ดีบุก ลํา เลี ย งจากเหมื อ งมาที่ ท่ า สาป ต่ อจากนั้น ก็ จะบรรทถกล่องเรื อสู่ ปากรํ้าเมืองปัตตานี เพื่อส่ งไปยังสิ งคโปร์ตอ่ ไป ในส่ วนที่เกี่ยวข้องกกับรายชการ ปรากฎว่า มี หลัก ฐานการส่ งไม้จากเมื องยะลาไปเมื องปั ตตานี เพื่ อสร้ า งที่ ว่า การเมื องปั ตตานี โดย รวบรวมไม้ไว้ที่ท่าสาป เพื่อที่จะล่องไปตามลํานํ้าปัตตานี ดังข้อความในรายงานของพระยาศักดิ์เสนีว่า “...จะนํา มาผู กเป็ นแพ รวม 29 แพ รวมไม้ ทั้ ง สิ ้น 765 ท่ อน ซึ่ ง จะเป็ นไม้ เสาและไม้ เครื่ องบน...” นอกจากนี้ ท่าสาปยังเป็ นที่พกั ของสิ นค้า ซึ่ งเรื อเหล่านี้ วจะนําสิ่ งของไปขายที่เหมืองถํ้าทะลุ เหมืองติ ดะ และเหมืองลาบู

ภาพที่ 2.17 : ภาพเก่าแพข้ามฟากแม่น้ าํ ปัตตานี สะเตง-ท่าสาป ปี พ.ศ 2493-2494 (ที่มา : PHANTHEP KHANANURAKSA. YOY Page) 31


จากหลักฐานแสดงให้เห็ นว่า บ้านท่าสาปถือเป็ นศูนย์กลางทางการติ ดต่อค้าขายภายในเมื อง ยะลาและระหว่างเมื องอื่น ๆ ตลอดจนเป็ นท่าเรื อที่ รับส่ งสิ นค้าจากด่ านแม่น้ ํา คือ จากอําเภอเบตง อําเภอบันนังสตา เพื่อล่องเรื อตามลํานํ้าไปยังเมืองปั ตตานี และในขณะเดียวกันก็เป็ นจุดรวมของเรื อน ที่นาํ สิ นค้าขึ้นไปขายในบริ เวณต้นแม่น้ าํ ด้วยเหตุน้ ีเองท่าเรื อท่าสาปจึงนับว่ามีความสําคัญ จากการ สัมภาษณ์ นายอัมพร ไชยนาพงษ์ ได้ให้ขอ้ มูลว่าท่าเรื อที่ท่าสาปมีหลายท่าเรื อด้วยกัน แต่ท่าเรื อเดิม เรี ยกว่า “หน้าหมัง” ซึ่ งจะเป็ นที่จอดเรื อสิ นค้า (ในปั จจุบนั ท่าเรื อหน้าหมังตื้ นเขิน เนื่ องจากแม่น้ ํา เปลี่ยนทิศทาง) ต่อมามีการย้ายท่าเรื อมาอยู่อีกแห่งหนึ่ ง ซึ่ งอยู่ใกล้เคียงกับบริ เวณท่าเรื อเดิม เละเมื่อมี การย้า ยที่ ต้ งั ตัวเมื องยะลา จากบ้า นท่ า สาปมาอยู่ที่ ตาํ บลสะเตง ซึ่ ง อยู่ตรงกันข้า มกับ บ้า นท่ า สาป บริ เวณท่าเรื อจึงกลายเป็ นที่จอดเรื อสําหรับข้ามฟากไปยังท่าสาปเพื่อจะเดินทางไปอําเภอยะหาและ จังหวัดอื่น ๆ เช่น สงขลา นครศรี ธรรมราช การใช้แพข้ามฟากได้ยกเลิกไปใน พ.ศ. 2497 ดังนั้นจึ ง นับว่าท่าเรื อที่ท่าสาปได้เริ่ มหมดความสําคัญ เมื่อมีการติดต่อกับปัตตานี ได้ใช้เส้นทางบกจึงไม่มีเรื อ สิ นค้ามาที่ท่าเรื อท่าสาปและต่อมาภายหลังเมื่อมีการสร้างสะพานข้ามแม่น้ าํ ท่าสาปซึ่ งอยู่บนเส้นทาง ถนนเพชรเกษม ท่าเรื อบริ เวณท่าสาปจึงได้หมดความสําคัญไปจนถึงปัจจุบนั นี้ 16 จากการกล่าวอ้างถึงเอกสารประกอบการสัมภาษณ์บุคคลในข้างต้นสามารถแสดงให้เห็นถึงการ ตั้งเมืองที่บา้ นยะลากับบ้านท่าสาปที่มีพฒั นาการต่อเนื่ องเรื่ อยมา เห็นได้จากในขณะที่มีการตั้งเมืองอยู่ ที่ บ ้า นยะลานั้น เมื องท่ า สาปได้มี ก ารพัฒ นาการของการเป็ นชุ ม ชนเมื อ งท่ า ที่ มี ก ารติ ด ต่ อ ค้า ขาย ประกอบกับการเดินทางเชื่อมต่อไปมาในระหว่างเมืองในขณะนั้นแล้ว การตั้งเมืองยะลาครั้งที่ 3 ได้มีการย้ายเมืองไปตั้งที่ ตําบลสะเตง โดยมีที่ต้ งั อยู่ทางฝั่งขวาของ แม่น้ าํ ปัตตานี ตรงข้ามกับตําบลท่าสาป ใกล้บริ เวณที่ต้ งั เรื อนจําจังหวัดยะลาในปั จจุบนั มีหลักฐานแน่ ชัดว่า ในตอนกลายสมัยพระบาทสมมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 5) เมืองยะลายังคงตั้งอยู่ ที่บา้ นท่าสาป ซึ่งอยูฝ่ ่ังซ้ายของแม่น้ าํ ปัตตานี ซึ่งในขณะนั้นยังไม่ได้มีการย้ายเมืองมาตั้งที่ตาํ บลสะเตง ที่อยู่ฝั่งขวาของแม่น้ าํ ปั ตตานี สําหรับการแบ่งเขตการปกครองท้องที่เมืองยะลา ปรากฏว่าในปี พ.ศ. 2442 เมืองยะลา ได้แบ่งออกเป็ น 5 อําเภอ คือ อําเภอเมือง อําเภอยะหา อําเภอรามัน อําเภอบันนังสตา และอําเภอเบตง และต่อมาในปี พ.ศ. 2459 ซึ่ งตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้า อยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ได้เปลี่ยนชื่ ออําเภอเมืองเป็ นอําเภอสะเตง เพราะได้ยา้ ยที่ต้ งั จากตําบลท่าสาป ซึ่ งอยู่ฝ่ัง ซ้ายแม่น้ าํ ปั ตตานี มาตั้งทางฝั่งขวาของแม่น้ าํ ปั ตตานี ในท้องที่บา้ นสะเตง อําเภอเมือง จึงเปลี่ยนชื่ อ เป็ นอําเภอเมืองยะลาอีกครั้งหนึ่ ง ส่ วนอําเภอรามันได้เปลี่ยนเป็ นอําเภอโกตาบารู และได้รับเปลี่ยน ใหม่อีกครั้งเป็ นอําเภอรามันในปี พ.ศ. 2481 17 9

16 17

หน่วยอนุรักษ์ส่ิ งแวดล้อม จังหวัดยะลา. (2548). ศิลปกรรมจังหวัดยะลา. ยะลา : หน่วยอนุรักษ์ส่ิ งแวดล้อม. 1-16.

หน่วยอนุรักษ์ส่ิ งแวดล้อม จังหวัดยะลา. (2548). ศิลปกรรมจังหวัดยะลา. ยะลา : หน่วยอนุรักษ์ส่ิ งแวดล้อม. 20-22.

32


ครั้งที่ 4 ย้ายไปตั้งอยู่ที่ตาํ บลบ้านนิบง ในปี พ.ศ. 2486 โดยใช้อาคารเรี ยนของโรงเรี ยนผิงหมิง ซึ่ งเป็ นโรงเรี ยนจีน (ปั จจุบนั คือโรงเรี ยนยะลาบํารุ งผดุงประชา) และเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2495 จึงได้มาตั้งอยู่ที่บริ เวณที่เป็ นศาลากลางจังหวัดยะลาในปั จจุบนั และเนื่ องจากความซบเซาของท่าสาป ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเส้นทางคมนาคม จากทางนํ้ามาใช้การเดินทางโดยทางบกแทนจากการสร้าง เส้นทางรถไฟผ่านในเส้นทางบ้านนิบง ในปี พ.ศ. 2464 เป็ นสาเหตุหนึ่งของการย้ายชุมชนเมืองมาอยู่ที่ ฝั่ งสะเตง ซึ่ งตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามกับบ้านท่าสาป และในปี พ.ศ. 2482 ได้ยา้ ยที่ทาํ การอําเภอไปตั้งอยู่ที่ “บ้านนิ บง” ซึ่ งเป็ นศูนย์กลางทางการค้าในท้องถิ่นและพื้นที่ใกล้เคียง ตั้งขึ้นไม่ไกลจากสถานี รถไฟ ยะลา ตลาดแห่ งแรกของเมืองยะลาคือ ตลาดรัฐกิจ ซึ่ งเป็ นตลาดเอกชนของพระยารัฐกิจวิจารณ์ และมี ตลาดนัดอีกแห่งหนึ่งข้างทางรถไฟ รู ้จกั กันในนาม ตลาดเสรี หรื อตลาดเก่า

ภาพที่ 2.18 : แผนที่การประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่ายะลา อําเภอเมือง จังหวัดยะลา พ.ศ. 2561 (ที่มา : สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุ งรัตนโกสิ นทร์ และเมืองเก่าสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม) 33


นิ บง เป็ นชื่ อเดิมของตัวเมื องยะลา เป็ นภาษามลายู หมายถึ ง ต้นหลาวชะโอน เป็ นชื่ อต้นไม้ ตระกูลปาล์ม ลักษณะคล้ายต้นหมาก แต่มีความสู งมากกว่า ลําต้นที่มีอายุมากจะเนื้อแข็ง ชาวบ้านนิ ยม นําเอามาทําเครื่ องใช้เครื่ องเรื อน เช่น เก้าอี้ เสาเรื อน และของที่ระลึกหลายอย่าง ก่อนปี พุทธศักราช 2482 เมื องยะลาตั้งอยู่ที่สะเตง ส่ วนนิ บงที่ ต้ งั ตลาดเมื องยะลาในปั จจุบนั ยังคงเป็ นนป่ าละเมาะที่เต็มไปด้วยป่ าไผ่ ไม้หลาวชะโอน (นิบง) เสม็ด กระทุ และไม้เล็ก ๆ ชนิดต่าง ๆ มากมาย ส่ วนไม้หลาวชะโอนนั้นจะมีมากอยู่ทางฝั่งซ้ายของแม่น้ าํ ปั ตตานี ส่ วนฝั่งขวาของแม่น้ าํ จะมี ชาวบ้านมาปลูกเรื อนอยู่ป ระปราย ตั้งแต่ พ.ศ. 2456 ซึ่ งยังเป็ นบ้านเรื อนของชาวท้องถิ่นที่ ย งั ไม่ มี ร่ องรอยของความเจริ ญแต่อย่างใด ต่อมาเมื่อการสร้างทางรถไฟตัดผ่านไปยังอําเภอสุ ไหงโก-ลก จังหวัดนราธิ วาส บิรเวณนิ บงก็ เริ่ มมีความคึกคักขึ้นมาบ้าง ในฐานะที่เป็ นบริ เวณสถานี รถไฟยะลา ซึ่ งเป็ นสถานี เล็ก ๆ มีผโู ้ ดยสารมา ใช้บริ การไม่มากนัก ต่อมาบริ เวณใกล้ ๆ สถานีรถไฟได้เกิดมีตลาดนัดขึ้น คือ ตลาดเก่า โดยมีนายพงษ์ นิ โลบล เป็ นเจ้าของ และนายเสรี เป็ นผูจ้ ดั การ ชาวบ้านจึงเรี ยกตลาดเก่าแห่ งนี้ จนติดปากว่าตลาดเสรี เรื่ อยมาจนถึงปัจจุบนั เมื่อมีการบ้านตัวเมืองจากสะเตงมาอยู่ที่บา้ นนิ บง บริ เวณนี้ จึงเริ่ มคึกคักเนื่ องจากผูค้ นเริ่ มเข้ามา จับจองที่ดินและสร้างบ้านเรื อนกันมากขึ้นทางฝั่งตะวันตกของสถานี รถไฟ ซึ่งเป็ นที่ดินของพระยารัฐ กิจวิจารณ์ อดีตข้าหลวงประจําจังหวัดยะลา มีบริ เวณกว้างขวางจึงได้สร้างบ่อนชนโคเพื่อเรี ยกและจูง ใจให้คนมาซื้ อที่ดินบริ เวณนี้มากขึ้น เจ้าของที่ดินอีกรายหนึ่ งคือ นายปิ ติ วิภากุล ซึ่ งได้จบั จองที่ดินไว้ ก่อนนี้แล้วก็ได้แบ่งขายที่ดินบิรเวณนี้ไปจนกลายเป็ นคหบดีคนสําคัญของเมืองยะลาในเวลาต่อมา ในปี พุทธศักราช 2472 ได้มีการสร้างวัดขึ้นแห่ งแรกของในบ้านนิ บง คือ วัดพุทธภูมิ เพื่อเป็ น นิ มิตแก่ชาวพุทธที่ บา้ นนิ บง ในสมัยนั้นมีพระภูมิพิชยั (ม.ร.ว.บุง ลดาวัลย์) ดํารงตําแหน่ งข้า หลวง ประจําจังหวัดยะลาในระหว่างปี พ.ศ. 2475-2476 ปัจจุบนั วัดพุทธภูมิเป็ นวัดหลวงชั้นตรี ที่ต้ งั อยูใ่ นเขต เทศบาลนครยะลาทางทิศใต้ของถนนพิพิธภักดี ต่อมาเมืองยะลาก็มีถนนหลายสายตัดผ่านอีก โดยตั้งชื่อถนนตามชื่ อของเจ้าของที่ดินที่บริ จาค ให้ เช่น ถนนรัฐกิจ ถนนระนอง ถนนพิพิธภักดี ถนนวิฑูรอุทิศ ถนนปิ ติ ถนนวิภากุล เป็ นต้น ในปี พ.ศ. 2485 ทางการได้ตดั สิ นใจย้ายเมืองยะลาจากสะเตงมาตั้งที่นิบงอย่างเป็ นทางการ ด้วย เหตุผลว่าเมืองเก่าที่สะเตงอยู่ไกลทางคมนาคมและเป็ นพื้นที่คบั แคบยากต่อการขยายเมือง และอยู่ติด แม่น้ าํ ปั ตตานี เกินไป เมื่อนานเข้าถูกนํ้ากัดเซาะตลิ่งทุกปี สําหรับนิ บงนั้นมีบริ เวณกว้างขวาง อยู่ใกล้ ทางรถไฟ สามารถขยายเมืองออกไปได้ทุกด้าน ทั้งยังมีถนนหลายสาย รถยนต์สามารถเดินทางไปยัง ต่างเมืองได้สะดวก 34


เมื่อย้ายเมืองยะลามาอยู่นิบงครั้งแรก ศาลากลางจังหวัดยะลาก็ยงั ไม่ได้สร้ าง เพียงอาศัยอยู่ที่ โรงเรี ยนจีน (โรงเรี ยนยะลาบํารุ งผดุงประชา) ชัว่ คราวก่อน และเมื่อสร้างศาลากลางจังหวัดยะลาเสร็ จ จึงย้ายไปอยู่ ณ ที่ทาํ การแห่งใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2495 การสร้างเมืองยะลาใหม่ มีแผนผังที่เป้นระเบียบและสวยงวามโดยกําหนดให้ถนนทุกสายตรง ไปรวมกันที่ หลักเมือง แบ่งเขตเมื องออกเป็ นสัดส่ วน รอบเมื องเป็ นที่ ทาํ การของหน่ วยงานรัฐบาล ได้แก่ ศาลากลางจังหวัดยะลา ที่ว่าการอําเภอ ศาล สถานี ตาํ รวจ ถัดออกมาเป็ นวงเวียนและจัดเป็ น บ้านพักข้าราชการ ย่านที่อยู่อาศัย โรงเรี ยน โรงพยาบาล และย่านการค้า ผังเมืองยะลาที่บา้ นนิ บงมี รู ปร่ างเสมือนใยแมงมุมที่เป็ นระเบียบสวยงามที่สุดในประเทศไทย 18 11

ภาพที่ 2.19 : ผังเมืองจังหวัดยะลาปัจจุบนั (ที่มา : ธง ถิ่นบัณฑิต. (2559). YOY Page) 18

วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, มารี แย มามะ และคณะ. (2549). จากยาลอสู่ ยะลาการเปลี่ยนแปลงในรอบศตวรรษ และการ เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศวัฒนธรรมในเขตเชิงเขาบูโด-สันกาลาคีรี กรณีศึกษาบริเวณบ้ านตะโหนด ตําบลรื อเสาะ อําเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ . สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั สํานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ (สสส.) : สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริ มวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกว.). 7-13.

35


ภาพที่ 2.20 : ผังเมืองจังหวัดยะลาปัจจุบนั (ที่มา : ธง ถิ่นบัณฑิต. (2559). YOY Page) 2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกีย่ วข้ องกับการศึกษา 2.2.1 แนวคิดการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม ความหมายของมรดกทางวัฒ นธรรม (Cultural Heritage) มี ค วามหมายที่ แ ตกต่ า งกัน ตาม พื้นฐานของผูท้ าํ การศึกษา แต่เมื่อพิจารณาโดยรวมแล้วมีเนื้อหาคล้ายคลึงกัน โดย ยูเนสโก (UNESCO) ได้ให้นิยามว่า มรดกวัฒธรรม ครอบคลุมสิ่ งต่างๆ คือ “อนุสรณ์สถาน : กลุ่มอาคารและสถานที่ ซึ่ งมี คุ ณ ค่ า ทางประวัติ ศ าสตร์ สุ น ทรี ย ศาสตร์ โบราณคดี ศิ ล ปะ วิ ท ยาศาสตร์ ชาติ พ ัน ธุ์ วิ ท ยา หรื อ มานุษยวิทยา ไม่วา่ จะเป็ นงานด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม หรื อแหล่งโบราณคดีที่เกิด จากธรรมชาติ เช่น ถํ้า หรื อสถานที่ซ่ ึงมนุษย์ได้ทาํ ขึ้น” 19 พิ สิ ฐ เจริ ญวงศ์ นัก โบราณคดี แ ละนัก วิ ช าการได้ใ ห้ นิ ย าม มรดกทางวัฒ นธรรมว่ า “... มี ความหมายรวมทั้งที่เป็ น “วัฒนธรรมทางวัตถุ”(material culture) ในรู ปของวัตถุ (objects), โครงสร้าง (Structures),สถานที่ (sites), และภูมิทศั น์(landscape) หรื อ “วัฒนธรรมที่ดาํ รงอยู”่ (living culture) หรื อ “วัฒนธรรมที่แสดงออก”(expressive culture) เช่น ดนตรี งานฝี มือ ศิลปะการแสดง วรรณคดี ประเพณี 12

UNESCO. (1972). Convention concerning protection of the world cultural and natural heritage. Paris: UNESCO.

19

36


บอกเล่ า และภาษา ฯลฯ ซึ่ ง เป็ นความต่ อ เนื่ อ งจากอดี ต ผ่ า นปั จ จุ บ ัน ไปสู่ อ นาคต โดยยอมรั บ ว่า วัฒนธรรมเป็ น “อินทรี ยส์ ู ง” (super organic) และ “วิวฒั น์” (evolving) ขึ้นเรื่ อยๆ ...” 20 วิ โรจน์ จิ โรจพันธุ์ ได้ให้นิยามไว้ในหนังสื อส่ งเสริ มการอ่า น สาระการเรี ยนรู ้ สังคมศึ ก ษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่ อง “มรดกทางวัฒนธรรมภาคเหนื อ” ว่า “เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ ของมนุ ษ ย์ใ นสมัย อดี ต และได้รั บ การสื บ ต่ อ มาถึ ง ปั จ จุ บ ัน ทั้ง ในรู ป ธรรมและนามธรรม มรดก วัฒนธรรมที่เป็ นรู ปธรรมที่เห็นได้อย่างชัดเจน ได้แก่ งานศิลปกรรม งานฝี มือ เครื่ องมือเครื่ องใช้ ทั้งนี้ ยัง รวมกึ ง โบราณสถานและหลัก ฐานการจารึ ก ต่ า งๆ ส่ ว นมรดกทางวัฒ นธรรมที่ เ ป็ นนามธรรม หมายถึงความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ภาษา ประเพณี ที่สืบทอดจากบรรพบุรุษที่สาํ คัญ” 21 อาจกล่าวได้ว่า มรดกทางวัฒนธรรม หมายครอบคลุมถึงการสร้างสรรค์ของมนุษย์ในอดีตและ สื บทอดมาถึงปั จจุบนั ทั้งที่เป็ นวัตถุทางรู ปธรรม และพื้นที่เกี่ยวข้องกับประเพณี วฒั นธรรมและความ เชื่อ ด้านนามธรรม 13

14

การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม มีการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมใน 2 รู ปแบบ ที่สําคัญ คือ การจัดการความรู ้ และการจัดการ ทางกายภาพ ซึ่ งรวมถึงกระบวนการเกี่ ยวกับนโยบายและข้อบังคับทางกฎหมายเกี่ยวกับมรดกทาง วัฒนธรรมด้วย 1. การจัดการความรู ้ มี จุดเริ่ ม ต้นจากการรวบรวมความรู ้ จากการวิจัย ด้วยตนเอง หรื อการ ประมวลและสังเคราะห์จากผูอ้ ื่น จากนั้นแล้วจึงนําความรู ้ที่ได้มาหรื อเรี ยบเรี ยงมาสกัดให้เป็ นเรื่ องง่าย แก่ ก ารเข้า ใจของสาธารณะชน แล้วจึ ง จัดแสดงหรื อเผยแพร่ ค วามรู ้ ในรู ป แบบหนัง สื อ สารคดี ภาพยนต์ นิทรรศการ หนังสื อนําชม หนังสื อท่องเที่ยว การจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ฯลฯ ซึ่งต้องคํานึงถึง กระบวนการทางด้านกฎหมาย และกระบวนการมีส่วนร่ วมของชุมชนในการรับรู ้สิทธิ ของตนเองใน การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม ดังตัวอย่างที่ กรมศิ ลปากรได้จดั ตั้งโครงการนําร่ องบริ หารจัดการ ทรัพย์สินทางศิลปวัฒนธรรมสู่ เขตพื้นที่ทอ้ งถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สงขลา และอุบลราชธานี พ.ศ. 2544 เพื่ อ เผยแพร่ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกับ กฎหมายและสิ ท ธิ ชุ ม ชนตลอดจนการดู แ ลจัด การมรดกทาง วัฒนธรรม 22 15

พิสิฐ เจริ ญวงศ์. (2542). เอกสารประกอบการบรรยายเรื่ อง “พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวฯ กับการจัดการ ทรัพยากรวัฒนธรรม” ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. 21 วิโรจน์ จิโรจพันธุ์. (2551). มรดกวัฒนธรรมภาคเหนือ. กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์แสงดาว. 22 อารักษ์ สังหิ ตกุล. (2544). กรมศิลปากรกับการบริ หารจัดการทรั พย์ สินทางศิลปวัฒนธรรม อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต. กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร. 20

37


2. การจัดการทางกายภาพ หมายถึง การจัดการภูมิทศั น์ของมรดกทางวัฒนธรรมที่เป็ นวัตถุ เช่น โบราณสถาน หมู่บา้ น บ้านเรื อนให้มีระเบียบ มีระบบการดูแลโดยชุมชนหรื อหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง และเข้าถึงง่าย เช่น การจัดการมรดกทางวัฒธรรมทางโบราณคดี ที่เป็ นการจัดพื้นที่โดยมีการอนุ รักษ์ และบู ร ณะให้ อ ยู่ ใ นสภาพคงทนถาวร รวมทั้ง การจัด ภู มิ ท ัศ น์ โ ดยรอบด้ว ยที่ เ รี ย กว่ า “อุ ท ยาน ประวัติ ศ าสตร์ ” หรื อ พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ก ลางแจ้ง หรื อ การจัด แสดงโบราณวัต ถุ แ ละเก็ บ ในที่ ป ลอดภัย เหมาะสมเพื่อรักษาสภาพและยืดอายุให้นานขึ้น ไม่วา่ จะเป็ นพิพิภณ ั ฑ์ หรื อศูนย์ขอ้ มูลชุมชน ส่ วนการ จัดการมรดกทางวัฒนธรรมด้านประเพณี น้ นั อาจจะเป็ นการจัดระเบียบภายในชุมชน หรื อฟื้ นฟูมรดก วัฒนธรรมประเพณี ด้ งั เดิมที่ใกล้สูญหายไป เช่น การทอผ้า ดนตรี การฟ้อนรํา เป็ นต้น 23 16

การสื่ อความหมายและการนําเสนอมรดกทางวัฒนธรรม เนื้ อหาในกฎบัตรอีโคโมส ว่าด้วยการสื่ อความหมายและการนําเสนอ (The ICOMOS Charter for the Interpretation and Presentation of Cultural Heritage Site – Proposed Final Draft) ได้ ใ ห้ ความหมายของการสื่ อความหมายทางวัฒนธรรม (Cultural Interpretation) ว่าเป็ นช่องทางให้เกิดการ สื่ อสารระหว่างมรดกทางวัฒนธรรม กับผูเ้ รี ยนรู ้ และได้กาํ หนดได้หลักการสําคัญ 7 ประการ ซึ่ งเป็ น พื้นฐานของการสื่ อความหมายและการนําเสนอที่เหมาะสมในมรดกทางวัฒนธรรมรู ปแบบต่าง ๆ ไว้ ดังนี้ 1. การเข้าถึ งและการทําความเข้าใจ เพื่ออํานวยความสะดวกในการสร้ างความเข้า ใจ สร้ า งความประทับใจ รวมไปถึ ง สร้ า งความตระหนัก และความจํา เป็ นในการอนุ รักษ์แหล่ง มรดก วัฒนธรรม 2. สร้างความน่าเชื่อถือของข้อมูลด้วยการรับรองความสําคัญ และให้การยอมรับ เพื่อได้ การสื่ อความหมายที่ ถู ก ต้อง บนพื้ นฐานของหลัก ฐานทางวิ ท ยาศาสตร์ วิ ช าการ วัฒนธรรมและ ประเพณี 3. ให้ความสนใจกับบริ บทและสภาพแวดล้อม เพือ่ ปกป้องคุณค่าที่จบั ต้องได้และจับต้อง ไม่ได้ โดยการนําเสนอความสัมพันธ์ของแหล่งมรดกวัฒนธรรมกับบริ บทและสภาพแวดล้อม 4. รั ก ษาและเคารพความจริ ง แท้ข องแหล่ ง มรดกวัฒ นธรรม เพื่ อ การสื่ อ เนื้ อ หาทาง ประวัติศาสตร์ และคุณค่า รวมไปถึงป้องกันการสื่ อความหมายที่ไม่เหมาะสม และผลกระทบต่อแหล่ง มรดกวัฒนธรรม รัศมี ชูทรงเดช. (2551). จากเพิงผาถํา้ ลอดสู่ เพิงผาบ้ านไร่ ...สู่ การทลายเส้ นแบ่ งของวิธีวิทยาทางโบราณคดี. ใน มา จาก(คนละ)ฟากฟ้ าของเพิงผาสู่ การทําลายเส้ นแบ่ งของวิธีวิทยาทางโบราณคดี วลีในมานุ ษยวิทยาและมายาใน ศิลปกรรม. กรุ งเทพฯ: เอราวัณการพิมพ์.

23

38


5. การวางแผนเพื่ อเกิ ดความยัง่ ยืนในการอนุ รัก ษ์ มี ค วามต่ อเนื่ องในการดํา เนิ นงาน บํารุ งรักษา ปรับปรุ งข้อมูลที่ใช้ในการสื่ อความหมายในระยะยาว 6. คํานึงถึงองค์รวม โดยให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ชุมชนผูเ้ กี่ยวข้องได้มีส่วนร่ วมในการสื่ อ ความหมาย และการดาเนินงานต่าง ๆ 7. ความสําคัญของการศึกษา วิจยั และการฝึ กอบรม ซึ่งจะทําให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี การสื่ อความหมาย การนําเสนอ ที่มีความเหมาะสมและยัง่ ยืน 24 17

จากการศึกษาของ พรลภัส อุณาพรหม ได้สรุ ปประโยชน์ของการสื่ อความหมายทางวัฒนธรรม ว่า ส่ วนใหญ่แล้วในแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมจะใช้การสื่ อความหมายเพื่อประโยชน์ดงั นี้ 1. เพื่อการศึกษา (Education) ซึ่งลักษณะดังกล่าวเป็ นลักษณะการเรี ยนรู ้ที่อาศัยการพึ่งพิง การสื่ อ ความหมายในลัก ษณะที่ ต้อ งมี ผูต้ ี ค วาม และสื่ อ ที่ ใ ช้ใ นการให้ ค วามหมายในการอธิ บ าย ความหมายและความสําคัญของแหล่งมรดกเหล่านั้นให้เข้าใจชัดเจนมากยิง่ ขึ้น 2. เพื่ อ ความบัน เทิ ง (Entertainment) เป็ นคุ ณ ค่ า สํา คัญ อี ก ประการที่ ช่ ว ยให้ กิ จ กรรม สันทนาการเกิดความเพลิดเพลินและเข้าใจ ทั้งยังเพิ่มขีดความสามารถด้านประสบการณ์ของผูเ้ ข้าชม ในเชิงคุณภาพต่อแหล่งมรดกเหล่านั้นเพิ่มมากขึ้น 3. เพื่ อ ก ารอนุ รั ก ษ์ แ ล ะ ก ารพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น (Conservation and Sustainable Development) เพื่อก่ อให้เกิ ดการตระหนักรู ้ สร้ างความรู ้สึกในความเป็ นเจ้าของหรื อกรรมสิ ท ธิ์ ต่อ แหล่งมรดก นําไปสู่ ความต้องการในการสงวนรักษาและปกป้องมรดกทางวัฒนธรรมในท้ายที่สุด 25 18

สาระสําคัญจากเนื้ อหาการประชุ มของอีโคโมส ว่าด้วยการท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม ในการ ประชุมที่เมืองวอชิงตัน ดีซี เมื่อปี 1993 (Washington DC : ICOMOS Convention) ได้สรุ ปประเด็นใน การให้ความรู ้แก่ผูช้ มในแหล่งท่องเที่ยว มีรูปแบบการสื่ อความหมายในแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม เพื่อการท่องเที่ยวดังนี้

ICOMOS. (2007). The ICOMOS Charter for the Interpretation and Presentation of Cultural Heritage Site. (Proposed Final Draft). Revised under the Auspices of the ICOMOS International Scientific Committee on Interpretation and Presentation 10 April 2007. Retrieved February 15, 2019, from https://www.icomosthai.org/charters. 25 พรลภัส อุณาพรหม. (2556). บทบาทการสื่ อความหมายมรดกทางวัฒนธรรม แหล่งมรดกโลก นครประวัติศาสตร์ อยุธยา. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 1(2). 19-25. 24

39


1. ประชาสั ม พันธ์ และศู นย์ข ้อมู ล เป็ นองค์ป ระกอบพื้ นฐานที่ ต้อนรั บ และใช้ข ้อมู ล นักท่องเที่ยวในรู ปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเบื้องต้นก่อนเข้าชม 2. สื่ อสิ่ งพิมพ์ เป็ นสื่ อที่มีประสิ ทธิภาพในการสื่ อความหมาย ที่ใช้ใน การประชาสัมพันธ์ สามารถสื่ อได้ท้ งั ข้อมูล ภาพ ภาษาในรู ปแบบของ แผ่นพับ หนังสื อ นําเที่ยว หนังสื อ และ แผนที่ ซึ่ ง จะมี ระดับ การให้ข อ้ มู ล ที่ แตกต่ า งกัน เพื่อช่ วยให้ผูเ้ ข้า ชม เข้า ใจสถานที่ ที่ ตนได้เดิ นทางมา ซึ่ ง มี รู ปแบบต่างๆดังนี้ 2.1 แผ่นพับ เป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ที่ให้ขอ้ มูลในเบื้องต้น ประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานที่ เป็ นภาษาหลัก ๆ ของผูเ้ ข้าชมสถานที่ เช่น ค่าเข้าชม เวลาทําการ แผนที่การเดินทางมา และรู ปภาพที่ เชิญชวนให้นกั ท่องเที่ยวมาเยีย่ มชม 2.2 หนังสื อนําเที่ยว เป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ที่ให้ขอ้ มูลที่ครอบคลุมในการ ท่องเที่ยว รวม ไปถึงจุดสําคัญในแหล่งท่องเที่ยว ข้อมูลทางประวัติศาสตร์เบื้องต้น รู ปภาพประกอบ 2.3 หนัง สื อ เป็ นสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ที่ จ ะให้ ข ้อ มู ล ในเชิ ง ลึ ก เพื่ อ ให้ ผู เ้ ข้า ชม ที่ ส นใจ สถานที่ แห่ งนั้นมาก ได้ศึกษาเพิ่มเติ ม ซึ่ งจะมี เนื้ อหาที่มาก พร้ อมรู ปภาพ และคําอธิ บายที่ ละเอี ยด เหมาะแก่การศึกษา 2.4 แผนที่ เป็ นสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ที่ มี ค วามสํา คัญ กับ ผู เ้ ช้า ชม ในการบอก ตํา แหน่ ง ทิศทาง เส้นทาง ชั้น และตําแหน่งของสถานที่และสิ่ งอํานวยความสะดวก ควรมีขนาดใหญ่พอสมควร และสามารถอ่านทิศทางได้ง่าย และมีรายละเอียดที่ สามารถใช้ร่วมกับรถสาธารณะต่าง ๆ 3. ป้ าย มี ความสําคัญในการบอกตําแหน่ งและทิ ศทางของสถานที่ ต่างๆ ตั้งแต่ป้ายนํา ทางการเดินทางมา จนถึงป้ ายบอกตําแหน่ งในแหล่งท่องเที่ยว เพื่อเข้าชม จุดต่าง ๆ รวมถึงตําแหน่ ง ของสิ่ งอํานวยความสะดวกในสถานที่และป้ายคําเตือนในพื้นที่ ควบคุม 4. นิ ทรรศการ เป็ นการสื่ อข้อมูล โดยใช้สื่อผสมต่าง ๆ ทั้งตัวอักษร ภาพกราฟฟิ ค วัตถุ แบบจําลอง ภาพเคลื่อนไหว เสี ยง ที่ถูกออกแบบมาให้สื่อสารกับผูเ้ ข้าชม ทั้งนี้ในนิทรรศการจะมีการ กําหนดเรื่ องราวเป็ นบทต่าง ๆ 5. สื่ ออื่ น ๆ เป็ นสื่ อที่ ใ ห้ข ้อมูล ของสถานที่ ใ นพื้ น ที่ เช่ น การใช้วิดีท ัศ น์ ภาพสไลด์ ภาพยนตร์ หรื อการเทปเสี ยง มัคคุเทศก์ วิทยุ เพื่อช่วยผูช้ มที่เข้าชมในสถานที่จริ ง หรื อแม้แต่การแสดง แสงสี เสี ยง การจัดกิจกรรมพิเศษ ที่สร้างความน่าสนใจให้กบั สถานที่ 26 19

การจัดการมรดกทางวัฒธรรม เป็ นการดูแลรักษา และการจัดการเพื่อให้เกิดผลที่ดีอย่างมีระบบ เพื่อที่จะนํามาใช้รักษาและธํารงคุณค่าทางวัฒนธรรมของทรัพย์สินหรื อแหล่งมรดกนั้นๆ เพื่อความให้ 26

ICOMOS. (1993). Tourism at world heritage: sites: the site manager's handbook. Washington DC: ICOMOS.

40


ยังคงอยูส่ ื บไปในภายภาคหน้า โดยการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมเป็ นสิ่ งที่พยายามเพื่อจะสร้างระบบ ที่ เป็ นทางการสํา หรั บ บ่ ง ชี้ ตัวอย่า งของมรดกทางวัฒนธรรมและการสงวนรั กษามรดกนั้นไว้เพื่อ อนาคตทั้งในรู ปแบบของมรดกทางวัฒนธรรมที่สามารถจับต้องได้และจับต้องไม่ได้ ซึ่ งการจัดการ มรดกทางวัฒนธรรมนั้นสามารถจัดการได้ท้ งั ในรู ปแบบของ การจัดการองค์ความรู ้ โดยการรวบรวม และนํามาประมวล สังเคราะห์และเรี ยบเรี ยงเป็ นองค์ความรู ้ใหม่ที่สามารถนําไปเผยแพร่ และกระจาย องค์ความรู ้ให้แก่ผูอ้ ื่นได้โดยสามารถเข้าใจได้ง่าย และการจัดการทางกายภาพ ที่เป็ นการจัดการภูมิ ทัศน์ของมรดกทางวัฒนธรรมที่เป็ นวัตถุ สามารถจับต้องได้ โดยการดูแลรักษา การอนุรักษ์ และบูรณะ ให้อยู่ในสภาพคงทนถาวร รวมทั้งการจัดภูมิทศั น์หรื อการจัดแสดงให้มีความปลอดภัยและถูก ต้อง เหมาะสม 2.2.2 แนวคิดการจัดการแหล่ งเรียนรู้ การสร้ างแหล่งเรี ยนรู ้ใ นชุ มชนกับคู่มือการพัฒนาชุ ม ชนแหล่ง เรี ยนรู ้ ไ ด้ว่า แหล่งเรี ย นรู ้ ใ น ชุมชนนั้นหมายถึง “แหล่ง” หรื อ “ที่รวม” ข่าวสาร ข้อมูล ความรู ้ และการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนได้ ในการ สร้างและการพัฒนาชุมชนแห่ งการเรี ยนรู ้ให้มีการศึกษาที่เกื้อหนุน ให้บุคคลในชุมชนสามารถเรี ยนรู ้ ได้อย่างต่อเนื่ องตลอดชี วิต โดยการกระจายโอกาสทางการศึกษาภายใต้ส่ิ งที่มีอยู่ในสังคมรอบๆ ตัว ทั้งสิ่ งมีชีวิตและไม่มีชีวิต เช่น ประสบการณ์ของวิทยากรหรื อปราชญ์ชาวบ้าน จากแปลงสาธิ ต จาก ศูนย์เรี ยนรู ้ โดยมุ่งหวังให้เกิ ดการเรี ยนรู ้จริ งจากประสบการณ์ในลักษณะของการศึกษานอกระบบ หรื อการศึกษาที่ไม่เป็ นทางการโดยไม่มุ่งเน้นการเรี ยนรู ้ที่มีอยู่ในเฉพาะห้องเรี ยน จึงจะเห็นได้ว่าการ สร้างแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลายในชุมชนจึงเป็ นอีกสิ่ งหนึ่ งที่ก่อประโยชน์ต่อกระบวนการเรี ยนรู ้ที่ทาํ ให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาศักยภาพจากประสบการณ์ตรงซึ่ งสัมผัสได้และจับต้องได้ ความสําคัญของแหล่ง เรี ยนรู ้ในชุมชนไม่ได้มีเฉพาะต่อสมาชิกในชุมชนเท่านั้นยังรวมถึงบุคคลทัว่ ไปที่ให้ความสนใจและผู ้ ศึ กษาที่อยู่ในสถาบันการศึ กษาสามารถนําประโยชน์ จากแหล่งเรี ยนรู ้ เพื่อดํา เนิ นกิ จกรรมต่างๆ ที่ สามารถก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้ร่วมกัน และก่อให้เกิดจารึ กข้อมูล ชุมชนที่เป็ นระบบด้วย เช่น 1. ใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาความรู ้เพิม่ เติมทั้งที่มีในตําราเรี ยนและที่ไม่มีในตําราเรี ยน 2. ใช้เป็ นสถานที่ในการจัดการเรี ยนการสอน การฝึ กอบรม 3. ใช้เป็ นสถานที่พบปะ แลกเปลี่ยนความรู ้ ประสบการณ์ ความคิดเห็น 4. ใช้เป็ นแหล่งสถานที่ศึกษาดูงาน ฝึ กฝนอาชีพ 5. ใช้เป็ นสื่ อการเรี ยนรู ้ สื่ อประกอบการเรี ยนการสอนที่มีมิติ มีชีวิต เช่น จิตรกรรมฝา ผนังร่ องรอยทางประวัติศาสตร์ นิเวศวิทยา สัตว์ต่างๆ ที่มีอยูใ่ นชุมชน (แมลง นก ปลา ฯลฯ) เป็ นต้น 41


6. ใช้เป็ นสถานที่ถ่ายทอดความรู ้ ข้อมูล ข่าวสารที่รวมทั้งเป็ นสถานที่ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ หรื อแจ้งข้อมูลที่ตอ้ งการสื่ อไปถึงคนในชุมชน 7. ใช้เป็ นศูนย์กลางในการรวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมโบราณสถาน โบราณวัตถุ ฯลฯ ไม่ให้ลบเลือนสื บต่อไปยังชนรุ่ นหลัง 8. ใช้เป็ นศูนย์กลางในการดําเนิ นกิจกรรมอื่นๆ เช่น เป็ นศูนย์จดั จําหน่ายสิ นค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน เป็ นจุดที่รวบรวมผลผลิตภายในพื้นที่รวมกลุ่มทํากิจกรรมของ แม่บา้ น เป็ นต้น องค์ ประกอบของแหล่ งเรียนรู้ ในชุมชน ควรประกอบไปด้วยสิ่ งต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. แหล่งที่มาของความรู ้และเนื้ อหาของความรู ้ หมายถึง ที่มาหรื อตัวแทนองความรู ้ที่สามารถ อ้างอิงถึงความมี อยู่ต่อองค์ความรู ้ ภายในชุมชน ซึ่ งอาจอยู่ในรู ปแบบต่างๆ เช่น บุคคล วัตถุส่ิ งของ สถานที่ ประเพณี ฯลฯ แหล่งที่มาของความรู ้น้ ี สามารถเสื่ อมคลาย ผุผงั หรื อล้มตายได้นอกจากนี้ บาง แหล่งที่มาของความรู ้ยงั ไม่สามารถชัดเจนในเรื่ องราว หากไม่มีคนมาบอกเล่าหรื อไม่มีเอกสารมาให้ อ่าน ดังนั้น จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลองค์ความรู ้ออกมาเป็ นภาพถ่าย เอกสารหรื อเนื้ อหาความรู ้ เพื่อให้เป็ นหลักประกันความยัง่ ยืนยาวนานและสามารถสื บทอดขยายผลได้ เนื้ อหาความรู ้ คือ ข้อมูลหรื อเรื่ องราวหรื อสิ่ งที่จดั เก็บได้จากแหล่งที่มาของความรู ้ที่ถูกนํามา เรี ยบเรี ยงให้เป็ นระบบเป็ นหมวดหมู่สามารถทํา ความเข้าใจและพร้ อมต่ อการนําไปใช้ป ระโยชน์ เพื่อให้เกิดการเพิ่มพูนความรู ้ประสบการณ์ท้ งั ความรู ้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ซึ่ งเป็ นความรู ้ ที่ ไ ด้จาก ประสบการณ์ พรสวรรค์หรื อสั ญชาตญาณของแต่ ล ะบุ ค คล เช่ น ทัก ษะ ในการทํา งาน ความคิดทัศนคติ และทั้งความรู ้ ที่ชัดเจน (Explicit Knowledge) ซึ่ งสามารถถ่ายทอดได้โดยผ่านวิธี ต่างๆ เช่น การบันทึก ข้อมูลหรื อเรื่ องราวต่างๆ การเก็บข้อมูลจากแหล่งความรู ้ข้ ึนอยู่กบั ลักษณะของที่มา เช่น ถ้าเป็ นสถานที่อาจเก็บภาพถ่าย พร้อมประวัติความเป็ นมารวมทั้งความสําคัญของแหล่งข้อมูล หรื อเป็ นตัวบุคคลก็อาจจะเก็บประวัติ ย่อ บทสัมภาษณ์ คุณงามความดี บันทึ กประสบการณ์หรื อความรู ้ ที่มี แต่ถา้ หากอยู่ ในรู ปแบบของ ประเพณี อาจ บันทึกถึงความเป็ นมาพิธีกรรมหรื อขั้นตอนการปฏิบตั ิ เป็ นต้น 2. วิธีการจัดการกระบวนการเรี ยนรู ้ หมายถึง ขั้นตอน วิธีการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้รูปแบบ การเผยแพร่ หรื อการนําเนื้ อหาความรู ้จากแหล่งที่มาของความรู ้มาถ่ายทอดให้กบั ผูท้ ี่ สนใจ เช่น การ จัดทําหลักสู ตร การทําแปลงสาธิต ฯลฯ 3. อุปกรณ์สําหรับการเรี ยนรู ้ สื่ อการเรี ยนรู ้ หมายถึง อุปกรณ์สาธิ ต สื่ อรู ปแบบต่างๆ ที่ทาํ ให้ การเรี ยนรู ้มีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าการได้ฟังบรรยายเพียงอย่างเดียว เช่น แผ่นพับ ภาพประกอบโมเดล จําลอง ภาพสไลด์ หนังสั้นและสารคดีส้ นั ฯลฯ 42


4. สถานที่เรี ยนรู ้ ซึ่งส่ วนใหญ่จะหมายถึง บริ เวณแหล่งที่มาของความรู ้ที่เป็ นสถานจัดการเรี ยน การสอน เพราะสามารถเรี ยนรู ้ได้จากสถานที่จริ งไม่ว่าจะเป็ นบ้านของผูร้ ู ้ แปลงเกษตร วัด ป่ า ฯลฯ โดยมี ก ารปรั บ สภาพแวดล้อมของแหล่งเรี ย นรู ้ ใ ห้เป็ นห้องเรี ยนธรรมชาติ ไ ม่จาํ เป็ นต้องเรี ยนใน ห้องเรี ย นที่ เป็ นทางการหากแต่ แหล่ ง เรี ย นรู ้ ไ ม่ ส ะดวกต่ อ การจัดกระบวนการเรี ย นรู ้ ไ ด้ก็ ต้องใช้ สถานที่อื่นที่ใกล้เคียงหรื อเอื้อต่อการจัดการเรี ยนรู ้ไม่วา่ จะเป็ นสถานที่คน พลุกพล่านมาก เพราะจะทํา ให้ผจู ้ ดั การเรี ยนรู ้และผูเ้ รี ยนรู ้เสี ยสมาธิได้ง่ายขึ้น 5. การประเมินและติดตามผลการเรี ยนรู ้เป็ นการวัดผลว่าการ จัดการเรี ยนรู ้น้ นั ได้จะได้ผลดีมาก น้อยเพียงใดจะได้นาํ มาพัฒนาปรับปรุ งการจัดการเรี ยนรู ้ในคราวต่อไปโดยการวัดผล ทั้งจากผูเ้ รี ยนที่ ได้ประเมินความรู ้ของตนเองและประเมินกระบวนการสอนของผูจ้ ดั การเรี ยนรู ้ซ่ ึ งอยูใ่ นรู ปแบบของ การวัดผลนั้นขึ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์ของการจัดการ การเรี ยนรู ้ 6. ผูจ้ ดั การเรี ยนรู ้ หรื อผูท้ ี่ ดาํ เนิ นการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ ใ นที่น้ ี จะเน้นให้ชุมชนเป็ นผูท้ ี่ มี บทบาทสําคัญในการดําเนิ นงานทุกขั้นตอนตั้งแต่การวางแผนการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากแหล่งที่ มา ของความรู ้ไป จนถึงการประเมินและติดตามผลการเรี ยนรู ้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งชุมชนจะต้องเป็ นกําลัง หลักในการถ่ายทอดความรู ้ให้ผูท้ ี่สนใจ (ขั้นจัดกระบวนการเรี ยนรู ้) เพื่อให้ความรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ ชุ มชนแผ่ขยายในวงกว้างใน ลักษณะของชุมชนสู่ ชุมชนโดยไม่ตอ้ งพึ่งพิง ภาครั ฐ จึ งจะเห็ นได้ว่า ผูจ้ ดั การเรี ยนรู ้ควรจะต้องมีความรู ้ที่เกี่ยวกับเรื่ องนั้นๆ เป็ นอย่างดี ซึ่ งจะสามารถสื่ อสารเข้าใจถึงการ จัดกระบวนการเรี ยนรู ้แบบมีส่วนร่ วมของผูเ้ รี ยนเพื่อให้สามารถออกแบบกระบวนการที่สอดคล้องกับ ความต้องการของผูเ้ รี ยนและถ่ายทอดความรู ้ได้อย่างชัดเจนมากที่สุด 7. ผูเ้ รี ยน หมายถึง สมาชิกในชุมชนและผูส้ นใจที่ตอ้ งการเรี ยนรู ้กรมการศึกษานอกโรงเรี ยนได้ แบ่งประเภทของแหล่งเรี ยนรู ้ในชุมชนออกเป็ น 6 ประเภทดังนี้ 7.1 ห้องสมุดต่างๆ เช่น ห้องสมุดโรงเรี ยน ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดวัด ฯลฯ ห้องสมุด เป็ นแหล่งรวบรวมความรู ้ และบริ การให้ความรู ้แก่ ป ระชาชนทุก เพศ ทุกวัยที่ ให้ความสนใจใฝ่ หา ความรู ้ ต่ า งๆ ห้ อ งสมุ ด ทุ ก ประเภทประกอบด้ว ยกิ จ กรรมสํ า คัญ เช่ น บริ ก ารยื ม หนัง สื อ การจัด นิทรรศการ มุมหนังสื อ ฯลฯ 7.2 เครื อข่ายการเรี ย นรู ้ใ นชุ ม ชน ได้แก่ ศูนย์การเรี ย นรู ้ ชุม ชน สถานี อนามัย สํานักงาน เกษตรอําเภอ ที่อ่านหนังสื อประจําหมู่บา้ น แหล่งความรู ้ที่มีอยู่ในธรรมชาติ หรื อตามวิถีชีวิตชาวบ้าน เช่น วนอุทยาน สวนพืชสมุนไพร เป็ นต้น 7.3 สื่ อสารมวลชน ในปั จจุบนั สื่ อสารมวลชน รวมทั้งเทคโนโลยีต่างๆ มี การพัฒนาและ เข้าถึง ประชาชนทุกเพศทุกวัยอย่างรวดเร็ ว เช่น สื่ อสิ่ งพิมพ์ (หนังสื อพิมพ์ วารสาร นิตยสาร ฯลฯ) สื่ อ วิทยุ โทรทัศน์ ทําให้สื่อมวลชน มีความสําคัญ อย่างมากต่อการ รับรู ้และเรี ยนรู ้ของชุมชน 43


7.4 ภูมิปัญญาชาวบ้าน ได้แก่ ความรู ้ที่ทาํ สื บทอดมาในอดีต นักปราชญ์ชาวบ้าน วัฒนธรรม ฯลฯ ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่สาํ คัญและถือเป็ นวิทยาการที่มีคุณค่าต่อสังคม 7.5 สื่ อพื้นบ้าน เป็ นการเรี ยนรู ้ จากการแสดงหรื อการละเล่นที่ แฝงไว้ด้วยวัฒนธรรมของ ชาวบ้าน แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิต ความเป็ นอยู่ โดยมีเป้ าหมายเพื่อความบันเทิงสนุกสนานตลอดจน ความจรรโลงใจ 7.6 ครอบครัวเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ต้ งั แต่เกิดที่ส่งั สอนให้มนุษย์มีแบบแผนในการดํารงชีวติ รู ้จกั คิดและตัดสิ นใจในสิ่ งที่ถูกต้อง สถาบันครอบครัวจะมีการบอกเล่าจากรุ่ นสู่รุ่น การอบรม สัง่ สอน การ ถ่ายทอดวิชา การปลูกฝังค่านิยมและเจตคติ 27 การจัดการแหล่งเรี ยนรู ้ ความหมายของแหล่งเรี ยนรู ้ในที่น้ ี ก็คือ แหล่ง หรื อ ที่รวบรวม ซึ่ งอาจ เป็ นสถานที่หรื อศูนย์รวมที่ประกอบด้วยข้อมูล ข่าวสาร ความรู ้ และกิจกรรมที่มีกระบวนการเรี ยนรู ้ หรื อกระบวนการเรี ยนการสอนที่มีรูปแบบแตกต่างจากกระบวนการเรี ยนการสอนที่มีครู เป็ นผูส้ อน โดยการจัดการแหล่งเรี ยนรู ้น้ นั เป็ นการจัดการเพื่อรวบรวมข้อมูลหรื อเรื่ องราว หรื อสิ่ งที่จดั เก็บได้จาก แหล่งที่มาของข้อมูล ความรู ้ แล้วนํามาเรี ยบเรี ยงให้เป็ นระบบเป็ นหมวดหมู่ โดยสามารถทําความ เข้าใจและพร้อมต่อการนําไปใช้ประโยชน์เพื่อให้เกิดการเพิ่มพูนความรู ้และประสบการณ์ 20

2.2.3 แนวคิดจัดการการท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรมถือเป็ นการท่องเที่ยวรู ปแบบหนึ่ งที่มีความสําคัญ เพื่อชื่นชมสิ่ งที่ แสดงให้เห็นถึงความเป็ นวัฒนธรรม เช่น ปราสาท พระราชวัง วัด โบราณสถาน โบราณวัตถุ ประเพณี วิถีการดําเนิ นชี วิต ศิ ลปะและสิ่ งต่างๆ ที่ แสดงถึ งความเจริ ญรุ่ งเรื องที่ มีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อม การดําเนิ นชี วิตของบุคคลในแต่ละยุคสมัย อีกทั้งผูท้ ี่ มาท่องเที่ยวจะได้รับทราบถึง ประวัติความเป็ นมา ความเชื่อ ความศรัทธา ความนิ ยมของบุคคลในอดีตที่มีมรดกวัฒนธรรมเป็ นสื่ อ ในการสื บทอดและส่ งผ่านมาถึงคนรุ่ นปั จจุบนั ตามที่ นิ คม จารุ มณี ได้กล่าวถึงความหมายของการ ท่องเที่ยวว่าเป็ นการเดินทางจากที่อยูอ่ าศัยปกติไปที่อื่นชัว่ คราวโดยสมัครใจ เพื่อวัตถุประสงค์ของการ พักผ่อน ความสนุกสนาน การประชุมสัมมนา การศึกษาหาความรู ้ การติดต่อธุ รกิจ การเยี่ยมญาติ การ ท่ องเที่ ย วว่า เป็ นอุ ตสาหกรรมประเภทหนึ่ งที่ เกี่ ย วข้องธุ รกิ จหลายประเภท ได้แก่ การขนส่ ง การ โรงแรม ร้านอาหารและร้านค้าต่างๆ ที่ให้บริ การแก่นกั ท่องเที่ยว และมีความสําคัญหลายประการดังนี้ 1. การท่องเที่ยวก่อให้เกิดรายได้ที่กระจายไปสู่ ประชาชนอย่างกว้างขวาง

ครรชิ ต พุทธโสภา. (2554). คู่มือการพัฒนาชุ มชนแหล่ งการเรี ยนรู้ ชุมชนฉบับสมบูรณ์ . กรุ งเทพฯ: สํานักงาน คณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. 173.

27

44


2. การท่ องเที่ ย วมี บ ทในการสร้ า งงานสร้ า งอาชี พในธุ รกิ จที่ท าํ หน้าที่ บริ ก าร เช่ น โรงแรม ร้านอาหาร บริ ษทั นาเที่ยว 3. การท่องเที่ยวกระต้นให้เกิดการผลิตและการนําเอาทรัพยากรของประเทศมาใช้ประโยชน์ อย่างสู งสุ ด 4. การท่องเที่ยวช่วยสนับสนุนฟื้ นฟู อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ที่เป็ นเอกลักษณ์ของแต่ ละท้องถิ่นไว้ได้ 5. การท่องเที่ยวช่วยเสริ มสร้างสันติภาพ สัมพันธไมตรี และความเข้าใจอันดี สร้างความสามัคคี ให้เกิดแก่คนในชาติและนําไปสู่ การช่วยจรรโลงสันติภาพแก่โลก 28 ซึ่ งในปั จจุบนั อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวก่อให้เกิดผลกระทบทางลบ เนื่ องจากขาดการบริ หาร จัดการทรัพยากรที่ดี จึงก่อให้เกิดปัญหาการทําลายสภาพแวดล้อมและวิถีชุมชน ดังที่ ชาญวิทย์ เกษตร ศิริ ได้กล่าวถึงการท่องเที่ยวในรู ปแบบปัจจุบนั ได้ก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบ เช่น การขายบริ การ ทางเพศ การเลี ยนแบบการบริ โภคที่ หรู หรา ทําให้วฒั นธรรมได้รับผลกระทบเป็ นต้น จึ งได้มีการ นําเสนอรู ปแบบการท่องเที่ยวใหม่ คือการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ที่เน้นการพัฒนาด้านภูมิปั ญญา สร้ า งสรรค์ ไม่ ท าํ ลายสภาพแวดล้อม ไม่ มี ก ารซื้ อขายวัฒนธรรมและชี วิตผูค้ น สิ่ ง สํา คัญของการ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมคือ ต้องมีการศึกษาประวัติความเป็ นมาของชนชาติ หรื อชาติพนั ธุ์ วัฒนธรรม ความคิด ความเชื่ อของผูค้ นในอดีต เพื่อให้เรี ยนรู ้วิถีชีวิตปั จจุบนั ทั้งภาษา วัฒนธรรม อาหาร ความ เป็ นอยูข่ องสถานที่ท่ีจะไปท่องเที่ยว โดยมีหลักการที่สาํ คัญ 3 ประการคือ 1. ต้องเปลี่ยนการท่องเที่ยวเป็ นการเดินทางไปรู ้จกั โดยให้คนกลุ่มเล็กๆ ได้ไปศึกษา ไปดูตาม ความสนใจของตนเอง และต้องเป็ นการเดินทางไปอย่างเกรงใจ เดินทางไปอย่างเคารพต่อสิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรมของท้องถิ่น และมีความสุ ขในการเดินทาง 2. ในโลกปั จ จุ บ ัน มี ก ารเปิ ดกว้า งในการเดิ น ทางมากขึ้ น การเดิ น ทางสะดวกจึ ง ทํา ให้ มี นักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นเราต้องให้การศึกษา โดยเฉพาะกับเด็กๆ และเยาวชน ในการเรี ยนรู ้และ สร้ า งความเข้า ใจการท่ อ งเที่ ย วทางวัฒ นธรรม หากต้อ งเผชิ ญ กับ สถานการณ์ ต่ า งๆ หรื อ มี ก าร แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมจะต้องทําอย่างไร 3. ในการเป็ นนักท่องเที่ยวเราจะต้องเรี ยนรู ้ในการเคารพวัฒนธรรมของเพื่อนบ้าน ของชุมชน อื่น เคารพในวัฒนธรรม ศักดิ์ศรี และผูค้ นของเราเองด้วย เพราะหากเราไม่เคารพในวัฒนธรรมของเรา แล้ว นักท่องเที่ยวก็ไม่เคารพเช่นกัน 29 21

22

นิคม จารุ มณี . (2536). การท่ องเทีย่ วและการจัดการอุตสาหกรรมการท่ องเที่ยว. กรุ งเทพฯ: โอเดียน-สโตร์. 1-7 29 ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2540). วิถีไทย:การท่ องเที่ยวทางวัฒนธรรม. กรุ งเทพฯ: อมรพริ้ นติ้งแอนด์พบั -ลิชชิ่ง. 28

45


นอกจากนี้ บุญเลิศ จิ ตตั้งวัฒนา มีแนวคิดการมีส่วนร่ วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืน คือการเข้าร่ วมรับผลประโยชน์จากการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยัง่ ยืน โดยถือเป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้ ที่กระตุน้ ให้ชุมชนท้องถิ่นเข้ามาร่ วมในฐานะเจ้าหน้าที่หรื อนักวางแผน มีการเรี ยนรู ้ร่วมกันและเข้า ร่ วมประชุมตัดสิ นใจในการพัฒนาการท่องเที่ยว ในขณะเดียวกันเจ้าหน้าที่ของรัฐก็ตอ้ งรับฟั งความ คิดเห็น ปัญหาและความต้องการของชุมชนท้องถิ่นด้วย เพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นมีบทบาทในการวางแผน กํากับดูแล ควบคุมการท่องเที่ยวให้มากขึ้น ซึ่ งจะทําให้ชุมชนท้องถิ่นเกิดความรู ้สึกเป็ นเจ้าของ เกิด ความรั ก ความหวงแหน และสร้ า งจิ ตสํานึ ก ในการดู แลปกป้ องกันรั ก ษาทรั พยากรท่องเที่ ยวและ สิ่ งแวดล้อมให้ยงั่ ยืนการท่องเที่ยวมีความสําคัญโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจ เพราะเป็ นแหล่งที่มาของ รายได้ของประเทศ การท่องเที่ยวสามารถนําเงินตราต่างประเทศเข้ามาได้เป็ นอันดับหนึ่ง และได้เสนอ ของชุมชนท้องถิ่นว่าเป็ นการโอกาสแก่สมาชิกของชุมชนท้องถิ่นอย่างเท่าเทียมกัน 30 23

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้ทาํ การแบ่งทรัพยากรท่องเที่ยวออกเป็ น 3 ประเภทดังนี้ 1. ทรัพยากรท่องเที่ยวประเภทธรรมชาติ เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดย เกิดจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพตามธรรมชาติที่มีความสวยงามน่าสนใจต่อการเดินทางไปเที่ยวชม ซึ่ ง รวมถึ ง บริ เ วณที่ ม นุ ษ ย์เ ข้า ไปปรุ ง แต่ ง เพิ่ ม เติ ม จากสภาพธรรมชาติ ใ นบางส่ ว นสามารถแบ่ ง ทรัพยากรท่องเที่ยวประเภทธรรมชาติออกได้เป็ น 3 ประเภทย่อย คือ 1.1 ทรัพยากรท่องเที่ยวประเภทภูมิอากาศ เป็ นสถานที่ที่มีลกั ษณะอากาศที่เกิดขึ้นตามสภาพ ธรรมชาติ ข องแต่ ล ะภู มิ ภาคของโลกซึ่ ง ลัก ษณะอากาศที่ ป รากฏในพื้นที่ หนึ่ ง ๆ มัก ประกอบด้ว ย องค์ประกอบเบื้องต้น 4 ชนิ ดคืออุณหภูมิความกดลมและความชื้นในบรรยากาศโดยภูมิอากาศของแต่ ละพื้นที่ทว่ั โลกจะแตกต่างกันไปตามที่ต้ งั ของเส้นละติจูดความสู งของพื้นที่กระแสนํ้าและพายุ จึงทํา ให้ประเทศต่างๆ มีความสวยงามของธรรมชาติตามลักษณะภูมิอากาศแตกต่างกันในแต่ละช่วงของ ฤดูกาลเป็ นเหตุให้ประชาชนที่อาศัยอยู่เขตภูมิอากาศหนึ่ งอยากเดินทางไปเยี่ยมเยือนภูมิอากาศเขตอื่น เพื่อสัมผัสกับภูมิอากาศที่แตกต่างกัน 1.2 ทรั พยากรท่องเที่ ยวประเภททิ วทัศน์ส วยงาม เป็ นสถานที่ ที่มีทิวทัศ น์ท างธรรมชาติ สวยงามแปลกประหลาดสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เดินทางเข้าไปเยี่ยมเยือนเช่น ป่ าเขา เกาะแก่ง ชายหาดถํ้า ทะเล แม่น้ าํ ทะเลสาบ อ่างเก็บนํ้า กว๊าน นํ้าตก นํ้าพุร้อน ทุ่งหญ้า ทุ่งดอกไม้ ลานหิ น เนิ น ดิน เสาหิ น ธารนํ้าแข็ง เป็ นต้น

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่ องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุ งเทพฯ: ศูนย์วิชาการท่องเที่ยว-แห่ งประเทศ ไทย. 30

46


1.3 ทรัพยากรท่องเที่ยวประเภทสัตว์ป่า เป็ นสถานที่ที่มีความงดงามตามธรรมชาติสามารถ ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้มากเช่นกัน เพราะนักท่องเที่ยวจํานวนมากมีความคิดว่าสัตว์ป่าเป็ นสิ่ งมีชีวิตตาม ธรรมชาติที่น่าศึกษาหาความรู ้ และนับวันจะสู ญหายหมดไป แต่ยงั คงมีที่ให้ท่องเที่ยวศึกษาได้ตาม แหล่งอนุ รักษ์พนั ธุ์สัตว์ป่าและสวนสัตว์เปิ ด ในขณะที่นกั ท่องเที่ยวบางกลุ่มกลับเห็นว่าสัตว์ป่าเป็ น เกมส์ที่น่าตื่นเต้นในการล่า นอกจากนี้ นกั ท่องเที่ยวบางกลุ่มยังถูกดึงดูดใจให้เดินทางไปชมแหล่งที่มี สัตว์อาศัยอยู่เองตามธรรมชาติเป็ นจํานวนมาก เช่น เดินทางไปชมนกปากห่ างที่วดั ไผ่ลอ้ ม เดินทางไป ชมฝูงนกเพนกวินที่บริ เวณทวีปแอนตาร์ คติก เดินทางไปชมหมีขาวขั้วโลกในเขตอาร์ คติก เดินทางไป ชมสัตว์บางชนิดในฤดูอพยพ เป็ นต้น 2. ทรัพยากรท่องเที่ ยวประเภทประวัติศาสตร์ โบราณสถานและโบราณวัตถุ เป็ นทรั พยากร ท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้นตามประโยชน์ของมนุษย์เองทั้งที่เป็ นมรดกในอดีตและได้สร้างเสริ มขึ้นใน สมัยปั จจุบนั ซึ่ งมีความสําคัญทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีและศาสนา เป็ นสิ่ งที่แสดงถึงอารยธรรม และความเจริ ญก้าวหน้าของท้องถิ่นนั้นว่าในสมัยโบราณมีความเจริ ญด้านใดบ้างและเหลือเป็ นมรดก ตกทอดมายังชนรุ่ นหลัง อย่า งไรบ้าง จึ งมี ผลดึ งดู ดให้นัก ท่ องเที่ ย วไปเยือนพื้ นที่ น้ ัน สามารถแบ่ง ทรัพยากรท่องเที่ยวประเภทประวัติศาสตร์ โบราณสถานและโบราณวัตถุออกเป็ น 2 ประเภทย่อยที่ สําคัญได้ดงั ต่อไปนี้ 2.1 ประเภทโบราณสถานเป็ นสถานที่ที่มีอายุนับร้อยปี หรื อโดยลักษณะแห่ งการก่อสร้าง หรื อโดยหลักฐานเกี่ยวกับประวัติของสถานที่น้ นั เป็ นประโยชน์ในทางประวัติศาสตร์ หรื อโบราณคดี เช่น ศาสนสถาน อุทยานประวัติศาสตร์ กําแพงเมือง คูเมือง พระราชวัง พระตําหนัก บ้านโบราณ เมือง โบราณ อนุสาวรี ย ์ อนุสรณ์สถานชุมชนโบราณ เป็ นต้น 2.2 ประเภทโบราณวัตถุ เป็ นวัตถุ โบราณไม่ ว่า จะเป็ นสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ หรื อสิ่ ง ที่ เกิ ดขึ้นตาม ธรรมชาติหรื อที่เป็ นส่ วนหนึ่ งส่ วนใดของโบราณสถานซึ่งโดยอายุหรื อโดยลักษณะแห่งการประดิษฐ์ หรื อโดยหลักฐานเกี่ยวกับประวัติของวัตถุน้ นั เป็ นประโยชน์ในทางประวัติศาสตร์ หรื อโบราณคดีใน แต่ละจังหวัด หรื อแต่ละประเทศอาจเก็บสะสมไว้ในพิพิธภัณฑ์หรื อสถานที่ เก็บแบบอื่ นๆ เพื่อให้ ประชาชนเข้า ชมอันเป็ นเครื่ องชี้ ใ ห้เห็ นถึ ง ประวัติศ าสตร์ อันยาวนานของประเทศและเป็ นความ ภาคภูมิใจของประชาชนในท้องถิ่นที่ ได้พบโบราณวัตถุล้ าํ ค่าเหล่านั้น เช่ น ภาพเขียนโบราณ วัตถุ โบราณ สมบัติโบราณ พระพุทธรู ปโบราณ รู ปปั้นโบราณ เป็ นต้น 2.3 ทรั พ ยากรท่ อ งเที่ ย วประเภทศิ ล ปวัฒ นธรรมประเพณี แ ละกิ จ กรรม เป็ นทรั พ ยากร ท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้นในรู ปแบบของการดําเนิ นชี วิตของผูค้ นในแต่ละกลุ่มชนที่มีความแตกต่าง กันไปตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ โดยยึดถือปฏิบตั ิสืบทอดต่อกันมาตลอดจนกิ จกรรมต่ างๆ 47


ของสังคมที่มีผลต่อการดึงดูดให้นกั ท่องเที่ยวเดินทางไปเยือน อาจแยกออกเป็ นประเภทย่อยที่สําคัญ ได้ 3 ประเภทต่อไปนี้ 2.3.1 ประเภทศิ ล ปวัฒนธรรม ได้แก่ ชุ ม ชน หมู่บ ้า น เรื อนแพ ตลาด ตลาดนํ้า ศู นย์ วัฒนธรรมการละเล่นพื้นบ้าน ดนตรี พ้ืนเมือง สิ นค้าพื้นเมือง ไร่ สวน เหมือง วิถีชีวิตอัธยาศัยไมตรี ของประชาชน เป็ นต้น 2.3.2 ประเภทประเพณี ได้แก่ ประเพณี สงกรานต์ ประเพณี แห่เทียนพรรษา เทศกาลกินเจ ประเพณี ลอยกระทง งานบุญบั้งไฟ ประเพณี โยนบัว ประเพณี อินทขิล เป็ นต้น 2.3.3 ประเภทกิ จ กรรม ได้แ ก่ กิ จ กรรมแข่ ง ขัน กี ฬ า กิ จ กรรมบัน เทิ ง สวนสนุ ก สวนสาธารณะเฉพาะทางสนามกอล์ฟ สนามแข่งรถ เป็ นต้น สําหรับกิจกรรมการท่องเที่ยวควรเป็ น กิจกรรมที่เน้นการศึกษาหาความรู ้ในแหล่งธรรมชาติและวัฒนธรรมท้องถิ่นควบคู่ไปกับการได้รับ ความเพลิดเพลินซึ่ งมีกิจกรรมการท่องเที่ยวอยู่หลายกิจกรรมเช่นการเดินป่ าการศึกษาธรรมชาติการ เลี้ยงสัตว์การดูนก การพายเรื อ การดํานํ้า การตั้งแคมป์ การล่องแพ การขี่ชา้ ง การถ่ายรู ป การขี่จกั รยาน การไต่เขา การตกปลา การแสวงบุญ การนมัสการสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ เป็ นต้น 31 ในด้านการท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม เป็ นกิจกรรมการท่องเที่ยวอีกประเภทหนึ่ งที่ได้รับความ นิ ยม และสามารถสร้างจิตสานึ กในการอนุรักษ์ และดูแลแหล่งทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดย สมาคมการท่องเที่ยวโลก (World Tourism Organization) ได้ให้ความหมายของการท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรมเอาไว้ว่า เป็ นการเคลื่อนไหวของผูค้ นที่เกิดขึ้นจากปั จจัยกระตุน้ ทางวัฒนธรรม เช่น การ เดินทางท่องเที่ยวเพื่อการศึกษา การเดินทางท่องเที่ยวเพื่อชื่นชมศิลปวัฒนธรรม ประเพณี เทศกาล การ เข้าเยี่ยมชมอนุสรณ์สถาน การเดินทางเพื่อศึกษาขนบธรรมเนี ยมความเชื่อที่สืบทอดกันมาของชุมชน ท้องถิ่ นตลอดจนความเชื่ อทางศาสนา และการท่องเที่ ยวทางวัฒนธรรมยังมี องค์ประกอบที่เป็ นสิ่ ง ดึ ง ดู ด ใจของการท่ อ งเที่ ย วทางวัฒ นธรรม โดยวาลิ ก า แสนคา ยัง ได้อ ภิ ป รายถึ ง การที่ ศู นย์ก ลาง การศึ กษาวัฒนธรรม ประเพณี และศาสนาภาคพื้นยุโรป (The European Center for Traditional and Religional Culture หรื อ ECTARC) ได้กล่าวถึงทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม อันได้แก่ 1. โบราณคดีและพิพิธภัณฑ์ต่างๆ 2. สถาปัตยกรรมสิ่ งปลูกสร้างรวมถึงซากผังเมืองในอดีต 3. ศิลปหัตถกรรมประติมากรรมประเพณี และเทศกาลต่างๆ 4. ความน่าสนใจทางดนตรี 5. การแสดงละครภาพยนตร์มหรสพต่างๆ 24

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2541). Ecotourism : ปรัชญาองค์ประกอบและแนวคิด. จดหมายข่ าวการท่ องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ , 20(3). 8-10. 31

48


6. ภาษาและวรรณกรรม 7. ประเพณี ความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับศาสนา 8. วัฒนธรรมเก่าแก่โบราณวัฒนธรรมพื้นบ้านหรื อวัฒนธรรมย่อย 32 25

กล่าวโดยสรุ ป การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เป็ นเครื่ องมือในการจัดการท่องเที่ยวประเภทหนึ่ง ซึ่ งมุ่งเน้นในการเดินทางท่องเที่ยวในแหล่งทรัพยากรทางวัฒนธรรม โดยผ่านกระบวนการถ่ายทอด และนําเสนอในรู ปแบบต่างๆ เพื่อสร้างความรู ้ ความเพลิดเพลิน ในขณะเดียวกันการท่องเที่ยวทาง วัฒนธรรมยังก่อให้เกิดจิตสานึ กในการอนุรักษ์แหล่งมรดกทางวัฒนธรรม จึงเป็ นการท่องเที่ยวเพื่อ เรี ยนรู ้ผอู ้ ื่นและย้อนกับมามองตัวเองอย่างเข้าใจในความเกี่ยวพันของสรรพสิ่ งของโลกที่ไม่สามารถ แยกออกจากกันได้ การจัดการการท่ องเที่ย วอย่า งเหมาะสมจะเอื้ อประโยชน์ ต่อการอนุ รัก ษ์อ ย่า ง ชัดเจน และเป็ นกระบวนการสําคัญในการก่อให้เกิดจิตสํานึ กร่ วมกัน ในการรักษาสมดุลของระบบ นิ เวศทางวัฒนธรรมในชุมชน ทั้งจากการร่ วมคิดร่ วมทํา สร้างกระบวนการกลุ่ม เมื่อมีการจัดการอย่าง เป็ นระบบและประสบความสําเร็ จแล้วยังสามารถขยายผลไปในพื้นที่ขา้ งเคียงและพื้นที่อื่นๆ ได้ แหล่ง ท่องเที่ยวและชุมชนจะเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ของสังคม แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ ระหว่างเครื อข่าย จนกลายเป็ น พลังในการสร้างฐานความรู ้สาํ หรับการ พัฒนาอย่างสร้างสรรค์และยัง่ ยืน 2.3 เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง 2.3.1 เอกสารและหนังสื อ (1) อารักษ์ สั งหิตกุล ในหนังสื อรายงานการวิจยั สาขาศิลปวัฒนธรรมวิจยั มหาวิทยาลัย ศรี นคริ นวิโรฒ เรื่ อง “กรมศิลปากรกับการบริ หารจัดการทรั พย์ สินทางศิลปวัฒนธรรม อดีต ปั จจุบัน และอนาคต” ซึ่ งเป็ นโครงการทดลองนําร่ องการบริ หารจัดการทรัพย์สินทางศิลปวัฒนธรรมสู่ เขต พื้นที่ในจังหวัดเชียงใหม่ สงขลา และอุบลราชธานี ได้ให้คาํ นิยาม มรดกทางวัฒนธรรมไว้ว่า หมายถึง สิ่ งสร้างสรรค์ของคนในอดีต ซึ่งมีรูปแบบ (tangible) เช่น ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม สิ่ งก่อสร้างและที่ เป็ นนามธรรม (intangible) ไม่มีรูปร่ าง เช่น ภาษา ศีลธรรม จริ ยธรรม สุ นทรี ยศาสตร์ทางด้านภาษา คติ ความเชื่อ ซึ่งอาจจะทําให้สร้างสรรค์ เป็ นรู ปธรรมในรู ปแบบของศาสนสถาน เป็ นต้น โดยได้นาํ เสนอ การจัดการมรดกทางวัฒนธรรมด้วยการจัดการความรู ้ จากการรวบรวมความรู ้โดยทําการวิจยั เองหรื อ ประมวลและสังเคราะห์จากผลงานที่ผ่านมา แล้วมาสกัดให้เป็ นเรื่ องเข้าใจง่ายแก่สาธารณะ จากนั้นจึง วาลิกา แสนคํา. (2545). การพัฒนาการท่ องเที่ยวทางวัฒนธรรมบ้ านเปี ยงหลวง อําเภอเวียงแหงจังหวัดเชียงใหม่ . (วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว). เชียงใหม่: บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 16. 32

49


นํา ไปจัด แสดงหรื อ เผยแพร่ ค วามรู ้ ใ นรู ป แบบที่ ง่ า ยต่ อ การทํา ความเข้า ใจ เช่ น หนัง สื อ สารคดี ภาพยนต์ นิ ท รรศการ หนัง สื อนํา ชม การจัดแสดงภายในพิ พิ ธ ภัณฑ์ โดยคํา นึ ง ถึ ง กระบวนการที่ เกี่ ยวกับกฎหมาย และกระบวนการมีส่วนร่ วมของชุมชนในการรั บรู ้ สิทธิ ของตนในการจัดการกับ มรดกทางวัฒนธรรม 33 26

(2) สายันต์ ไพรชาญจิตร์ ในหนังสื อ “การฟื ้ นฟูพลังชุมชนด้ วยการจัดการทรั พยากร ทางโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์ : แนวคิ ด วิธีการและประสบการณ์ จากน่ าน” ได้กล่าวว่า ยุคก่อน พ.ศ. 2540 ในประเทศไทยมี การจัดการมรดกทางวัฒนธรรมส่ วนใหญ่ดาํ เนิ นการโดยรั ฐ นอกเหนื อจาก พิ พิ ธ ภัณ ฑสถานแห่ งชาติ ท ว่ั ประเทศไทยแล้วก็ยงั มี การจัดการเปลี่ ย นแหล่ง โบราณคดี เป็ นแหล่ง ท่องเที่ยว เช่น อุทยานประวัติศาสตร์ และพิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง หากแต่วิธีการที่เหมาะสมที่สุดไม่ใช่ การดําเนิ นการโดยรัฐ การอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งโบราณคดีที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรม จะต้องเป็ น กระบวนการที่เปิ ดโอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นนั้นๆ ได้เข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการให้ มากขึ้นในทุกขั้นตอน หรื อมากที่ สุดเท่ าที่ จะเป็ นไปได้ โดยแนวคิดและแนวทางที่ สําคัญที่ สุ ดคื อ กระบวนการพัฒนาคน ผูเ้ ป็ นเจ้าของวัฒนธรรม และผูท้ ี่มีส่วนร่ วมเกี่ยวข้องในกระบวนการจัดการ และเป็ นการพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมไปพร้อมๆ กัน กล่าวคือผลสําเร็ จของการจัดการต้องก่อให้เกิด ความเข้มแข็งต่อคน ชุมชน และทําให้มรดกทางวัฒนธรรมดํารงอยู่อย่างเป็ นคุณประโยชน์ได้ยาวนาน ที่สุดเท่าที่ควรจะเป็ น มีกิจกรรมในกระบวนการวิจยั และพัฒนาชุมชนคือ 1. ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร และหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. จัดกิจกรรมการวิจยั ชุมชนแบบวิจยั ตนเองในมิ ติต่างๆ 3. สํารวจศึกษา มรดกทางวัฒนธรรมของชุ ม ชนแบบมี ส่ วนร่ วม 4. จัดเวที ระดมความคิ ด และความรู ้ เพื่ อ ร่ ว มกัน จัดระบบข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และความรู ้เกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน 5. สํารวจศึกษา แหล่งโบราณคดีในพื้นที่ศึกษา 6. ทําแผนการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมในชุมชนและนอกชุมชน 7. จัด แสดงวัต ถุ ท างวัฒ นธรรมในลัก ษณะของพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ชุ ม ชน 8. คิ ด ค้น แบบแผนพิ ธี ก รรมและ นวัตกรรมในการอนุ รักษ์และพัฒนาแหล่งโบราณคดีและการจัดพิพิธภัณฑ์ชุมชน 9. จัดการให้เป็ น แหล่งเรี ยนรู ้ และพัฒนาวิทยากรชุมชน 34 27

อารักษ์ สังหิ ตกุล. (2544). กรมศิลปากรกับการบริ หารจัดการทรั พย์ สินทางศิลปวัฒนธรรม อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต. กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร. 34 สายันต์ ไพรชาญจิ ตร์ . (2547). การฟื้ นฟูพลังชุ มชนด้ วยการจัดการทรั พยากรทางโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์ : แนวคิด วิธีการและประสบการณ์ จากน่ าน. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 33

50


(3) รัศมี ชู ทรงเดช และคณะ ในหนังสื อ การสื บค้นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่าง ยัง่ ยืนในอําเภอปํ าย –ปางมะผ้า-ขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ วันที่ 1-2 สิ งหาคม 2552 ณ หอประชุ มวิทยาลัยชุ มชนแม่ฮ่องสอน อําเภอเมื อง จังหวัดแม่ฮ่องสอน เรื่ อง “การสื บค้นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่างยัง่ ยืนในอําเภอปาย-ปางมะผ้า-ขุนยวม จังหวัด แม่ฮ่องสอน” กล่าวถึงวิธีการปรับวิธีคิดและทํางานให้เหมาะสมกับสถานการณ์และสิ่ งแวดล้อมของ ท้องถิ่น ทําให้ตระหนักว่ากระบวนการสร้างความรู ้ที่ไม่ได้เกี่ยวกับปากท้อง เป็ นเรื่ องของการพัฒนา ทางด้านจิ ตวิญญาณของความเป็ นมนุ ษย์ จําเป็ นที่ จะต้องมี การสนับสนุ น และส่ งเสริ มการทํางาน วิจยั ค้นคว้าในระยะยาว เพราะงานวิชาการยังเป็ นพื้นฐานสําคัญในการตัดสิ นใจและวางแผนพัฒนา ประเทศ ที่ สําคัญ สํานึ กเรื่ อง จิตสาธารณะ ยังเป็ นหัวใจของการทํางานเชิ งพื้ นที่ โดยเอกสารการ ประชุ ม วิ ช าการฉบับ นี้ มี ก ารเก็ บ ข้อ มู ล และเสนอภาพรวมในด้ า นโบราณคดี ประวัติ ศ าสตร์ มานุ ษยวิทยา และการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมต่าง ๆ ด้วยการสร้ างพื้นฐานความรู ้ ความเข้า ใจ เกี่ยวกับภูมิหลัง โดยสื บค้นข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์ แล้วจึงถอด ความรู ้ทางวิชาการที่ยากมาพัฒนาเป็ นหลักสู ตรท้องถิ่นและหลักสู ตรท่องเที่ยวเพื่อบรรจุในการเรี ยน การสอนของวิ ท ยาลัย ชุ ม ชนจัง หวัด แม่ ฮ่ อ งสอน และทาการวิ จัย รวบรวมข้อ มู ล ด้า นโบราณคดี ศิลปวัฒนธรรม พัฒนากลไกที่นาํ ไปสู่ การมีส่วนร่ วมขององค์กรต่างๆ เช่น หน่วยงานราชการ องค์การ บริ หารส่ วนท้องถิ่น ภาคเอกชน ชุมชนท้องถิ่น ผูร้ ู ้ และนักวิชาการที่ทาํ งานวิจยั ในพื้นที่ ฯลฯ โดยมี มรดกทางวัฒนธรรมทางโบราณคดี-ประวัติศาสตร์ เป็ นแกนกลางของสายใยที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ โดยแบ่งการจัดการออกเป็ นสองส่ วน ส่ วนที่ 1 คือ การจัดการความรู ้ ด้วยการ 1. ถอดความรู ้ จาก งานวิจยั เดิมที่อาํ เภอปางมะผ้า 2. จัดเวทีเสวนา 3. จัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู ้ให้กบั เยาวชน 4. การ ประชุ ม และพบปะกับ ชุ ม ชนในเรื่ อ งการจัด การมรดกทางวัฒ นธรรม 5. การจัด ทํา เว็บ ไซต์แ ละ ฐานข้อมูลโบราณคดี ประวัติศาสตร์ และมานุษยวิทยา ส่ วนที่ 2 คือ การจัดการทางกายภาพ ด้วยการ 1. จัดทาศูนย์ขอ้ มูลหรื อศูนย์การเรี ยนรู ้ 2. พัฒนาเส้นทางเรี ยนรู ้และท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม 35 28

(4) เกรียงไกร เกิดศิริ ในหนังสื อ “ชุมชนกับภูมิทัศน์ วัฒนธรรม” ให้ความหมายภูมิทศั น์ วัฒนธรรมไว้ว่าเป็ นผลที่แสดงออกมาในรู ปแบบภูมิทศั น์ ธรรมชาติที่มองเห็นโดยการที่วฒั นธรรม เป็ นผูก้ ระทํามีธรรมชาติเป็ นสื่ อกลางนัน่ คือภูมิทศั น์วฒั นธรรม คือผลของการกระทาดังกล่าวและเป็ น ผลผลิตที่เห็นได้อย่างเด่นชัดของความเกี่ยวเนื่ องกันระหว่างผลการกระทําของมนุษยชาติ โดยการก่อ ขึ้นรู ปของวัฒนธรรม และความสามารถเท่าที่จะเป็ นไปตามแต่สภาพแวดล้อมจะเอื้ออํานวย ซึ่ งก็คือ รัศมี ชูทรงเดช. (2555). การสื บค้ นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่ างยั่งยืนในอําเภอปาย –ปางมะผ้ า-ขุนยวม จังหวัดแม่ ฮ่องสอน. กรุ งเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั .

35

51


มรดกอันทรงคุณค่าที่ตกทอดมาจากวิวฒั นาการทางธรรมชาติและความพยายามของมนุษย์ตลอกทุก ยุคทุกสมัย 36 29

(5) สายันต์ ไพรชาญจิตร ในหนังสื อ “การจัดการมรดกวัฒนธรรมอย่ างสร้ างสรรค์ ” กล่าวถึง แนวทางการจัดการทรัพยากรทางโบราณคดีที่ให้ความสําคัญกับการจัดการโดยชาวบ้านและ ประชาชนท้องถิ่น (People-oriented approach) โดยมีภาคประชาชน นักวิชาการ ผูน้ าชุมชน องค์กร ปกครองส่ วนท้องถิ่นและองค์กรอื่นๆ ในท้องถิ่นร่ วมกันจัดการ ซึ่ งเปลี่ยนแปลงรู ปแบบการจัดการ จากเดิมที่มีภาครัฐเป็ นศูนย์กลาง ดําเนินการโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐหรื อผูเ้ ชี่ยวชาญทางวิชาการสมัยใหม่ ฝ่ ายเดี ย ว มาเน้นการจัดการแบบมี ส่วนร่ วมของผูค้ นในท้องถิ่นมากขึ้น แนวคิ ดโบราณคดี ชุ ม ชน มุ่งเน้นการใช้ หลักการดําเนิ นงานแบบมีส่วนร่ วม (Participative Approach) การเรี ยนรู ้ ร่วมกันผ่าน ปฏิบตั ิการจริ ง (Participative learning through practices/ learning by doing) และการใช้กระบวนการ สร้างความพึงพอใจความประทับใจในภูมิหลังให้กบั ชาวบ้านและประชาชน (Appreciative building with their own-background) ภายใต้แ นวพระราชดาริ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย งในพระบาทสมเด็ จ พระ เจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานเป็ นปรัชญาในการดํารงชี วิตและเป็ นปรัชญาในการพัฒนา ประเทศไทยและของโลกในปั จจุบนั ที่มุ่นเน้นการเสริ มสร้างความเข้มแข็งให้กบั ชุมชนท้องถิ่น โดย การสร้ า งความรู ้ แ ละเพิ่ ม ความสามารถในการบริ ห ารจัด การทรั พ ยากรในท้อ งถิ่ น ของตนเอง สอดคล้องกับ ทิ ศ ทางการพัฒนาที่ มุ่ ง เน้นการพัฒ นํา คนไปพร้ อมๆ กับ การพัฒนาภู มิ สั ง คม หรื อ วัฒนธรรมชุ มชน มากกว่าการพัฒนาแบบแยกส่ วนที่มุ่นเน้นเฉพาะด้านเศรษฐกิ จ ด้านความมัน่ คง ด้านการเมือง หรื อด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว 37 30

(6) ครรชิต พุทธโสภา ในหนังสื อ “คู่มือการพัฒนาชุมชนแหล่ งการเรี ยนรู้ ชุมชน” ฉบับ กิจกรรมและประสบการณ์ต่างๆ ในชุมชนที่สนับสนุนส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนสามารถหาความรู ้และเรี ยนรู ้ ด้ว ยตนเองได้ต ามอัธ ยาศัย โดยการสร้ า งและการพัฒ นาชุ ม ชนแห่ ง การเรี ย นรู ้ เ ป็ นการํ า จัด ให้มี การศึกษาที่เกื้อหนุ นให้ บุคคลในชุมชนสามารถเรี ยนรู ้ได้อย่างต่อเนื่ องตลอดชี วิตโดยการกระจาย โอกาสทางการศึกษาให้ทว่ั ถึง ภายใต้ส่ิ งที่มีอยู่ในสังคมรอบๆ ตัว ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต เช่น จาก ประสบการณ์ของวิทยากร หรื อ ปราชญ์ชาวบ้าน จากแปลงสาธิต จากศูนย์เรี ยนรู ้ ฯลฯ โดยมุ่งหวังให้ เกิดการเรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง ในลักษณะของการศึกษานอกระบบหรื อการศึกษาอย่างไม่เป็ น เกรี ยงไกร เกิดศิริ. (2549). ชุมชนกับภูมิทัศน์ วัฒนธรรม. กรุ งเทพฯ: อุษาคเนย์. 17. 37 สายันต์ ไพรชาญจิ ตร์ . (2555). การจัดการมรดกวัฒนธรรมอย่ างสร้ างสรรค์ . กรุ งเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 36

52


ทางการที่ไม่มุ่งเน้นการเรี ยนรู ้เฉพาะในห้องเรี ยน การสร้างแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลายในชุมชนจึงเป็ น อีกสิ่ งหนึ่ ง ที่ก่อประโยชน์ต่อกระบวนการเรี ยนรู ้ที่ทาให้ผทู ้ ี่เรี ยนได้พฒั นาศักยภาพจากประสบการณ์ ตรง ซึ่ งจะสัมผัสและจับต้องได้ท้ งั นี้ ความสําคัญของแหล่งเรี ยนรู ้ในชุมชนไม่ได้มีเฉพาะประโยชน์ จาก แหล่งเรี ยนรู ้ และดําเนิ นกิจกรรมต่างๆ ที่ก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้ร่วมกันและก่อให้เกิดจารึ กข้อมูล ชุมชนที่เป็ นระบบด้วย 38 31

(7) สํ านักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่ งชาติ ในหนังสื อ “บทความแหล่ งเรี ยนรู้ วัฒนธรรม” แหล่งเรี ยนรู ้ทางวัฒนธรรม หมายถึง แหล่ง หรื อ ที่รวม ซึ่ งอาจเป็ นสถานที่หรื อศูนย์รวม ที่ ประกอบด้วยความรู ้ สาระความรู ้ และกิ จกรรมที่เกี่ ยวกับชี วิต วัฒนธรรม ซึ่ งมีคุณค่าของคนใน ชุมชน เป็ นความรู ้ทางวัฒนธรรมที่มีการปรับเปลี่ยน เพิ่มเติมอยูเ่ สมอ โดยคนในชุมชน และมุ่งเน้นที่ จะถ่ายทอดความรู ้ความเข้าใจให้กบั คนทั้งในและท้องถิ่นของตนเอง และคนในสังคมภายนอก ได้ เข้าถึงชี วิตวัฒนธรรมของสังคมนั้น แหล่งเรี ยนรู ้ทางวัฒนธรรมมีบทบาทหน้าที่ในหลายอย่างคือ 1) เป็ นสถานที่ รวบรวม และจัดแสดงเรื่ องราวทางวัฒ นธรรม 2) เป็ นสถานที่ ใ ห้ค วามรู ้ ใ นรู ป แบบ การศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย 3) สร้างกระบวนการเรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง 4) เป็ นวําทีให้คนใน ชุมชนท้องถิ่นร่ วมกันสร้างเรื่ องราวประวัติศาสตร์และสังคมของตนเองขึ้น 5) จัดหาความร่ วมมือ โดย ร่ วมมือกับภาครัฐ เอกชน และชุมชนในท้องถิ่น เพื่อจัดทําองค์ความรู ้ 6) มีส่ื อที่ใช้ในการนําเสนออย่าง หลากหลาย และ 7) บู ร ณาการกับ องค์ก รต่ า งๆ เพื่ อ ให้ทุ ก ภาคส่ ว นได้มี ส่ วนร่ ว มในการจัด การ กระบวนการเรี ยนรู ้ในแหล่งเรี ยนรู ้ แหล่งเรี ยนรู ้ทางวัฒนธรรม มี 2 ประเภท อันแรกคือ แหล่งเรี ยนรู ้ ทางวัฒนธรรมหลวง เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่เกิดจากนโยบายภาครัฐ ที่ตอ้ งการแหล่งเรี ยนรู ้ที่เน้นสาระการ เรี ยนเรี ยนรู ้ในเรื่ องศิลปวัฒนธรรมของชาติ อันที่สองคือ แหล่งเรี ยนรู ้ทางวัฒนธรรมราษฎร์ เป็ นแห่ง เรี ยนรู ้ที่เน้นการเรี ยนรู ้เรื่ องชี วิตวัฒนธรรมเกิดขึ้นมาจากความคิดริ เริ่ มของบุคคล หรื อการรวมกลุ่ม ของชุมชนที่ตอ้ งการสร้างเรื่ องราวเกี่ยวกับชีวิตวัฒนธรรมของตน และชุมชนท้องถิ่น 39 32

2.3.2. งานวิจัย (1) เมธาพร ผมขาว การศึกษาเรื่ อง “การจัดการมรดกวัฒนธรรมเมืองลี ้ อําเภอลี ้ จังหวัด ลําพูน ให้ เป็ นแหล่ งเรี ยนรู้ ทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของเยาวชนในท้ องถิ่น” มีวตั ถุประสงค์ ครรชิ ต พุทธโสภา. (2554). คู่มือการพัฒนาชุ มชนแหล่ งการเรี ยนรู้ ชุมชนฉบับสมบูรณ์ . กรุ งเทพฯ: สํานักงาน คณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. 39 สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (2553). บทความแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม. บทความทางวิชาการ สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. กรุ งเทพฯ:กระทรวงวัฒนธรรม. 38

53


เพื่อศึกษาบริ บททางประวัติศาสตร์ กายภาพของเมืองโบราณเวียงลี้ และมรดกวัฒนธรรม ตลอดจน สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชนอําเภอ จังหวัดลําพูน เพื่อเสนอรู ปแบบและวิธีการของการ จัดการแหล่งมรดกวัฒนธรรมเมืองลี้ให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของเยาวชน ในท้องถิ่น ผลการศึกษาพบว่าเมืองลี้ เป็ นเมืองโบราณที่มีลกั ษณะทางกายภาพของคูน้ าํ คันดิน ซึ่ งมี ประวัติค วามเป็ นมาเกี่ ย วข้องกับพระนางจามเทวี ปฐมกษัตริ ย ข์ องแคว้นหริ ภุญไชย และในสมัย ล้านนา และมีความสําคัญในฐานะเมืองสําคัญทางยุทธศาสตร์ เพราะอยู่ในเส้นทางเดินทัพแทบทุกยุค สมัย ดังปรากฏเรื่ องราวอยู่ในเอกสารทางประวัติศาสตร์ หลายฉบับ รวมทั้งมรดกวัฒนธรรมที่ปรากฏ ร่ องรอยหลักฐานในเขตอําเภอลี้ทุกวันนี้ หลายแห่ ง อาทิ คูน้ าํ คันดินเมืองโบราณ เสาหลักเมือง วัดลี้ หลวง วัดพระธาตุดวงเดียว วัดพระธาตุห้าดวง วัดแท่นคํา รวมถึงประเพณี สําคัญที่เกี่ยวข้องเป็ นอัต ลักษณ์ของเมืองลี้ เช่น พิธีบวงสรวงเสาหลักเมือง งานฟ้ อนผีมด การแห่ ช้างเผือกขอฝน เป็ นต้น ซึ่ ง มรดกวัฒนธรรมต่ า งๆ ของเมื องลี้ ดัง กล่า วนี้ มี คุ ณค่า ทั้ง ทางหลายด้า นประวัติศ าสตร์ สั ง คม และ เศรษฐศาสตร์ แต่ปัจจุบนั มีสภาพปั ญหาถูกปล่อยปละละเลย ถูกบุกรุ กทาลาย และวัฒนธรรมประเพณี ดั้ง เดิ ม บางอย่ า งเริ่ ม เลื อ นหายไป จึ ง สมควรได้รั บ การจัด การเพื่ อ รั ก ษาคุ ณ ค่ า และพัฒ นาให้เ กิ ด ประโยชน์ ต่อสั ง คม จึ ง เสนอรู ป แบบและวิธี ก ารจัดการมรดกวัฒ นธรรมให้เป็ นแหล่ง เรี ย นรู ้ ท าง ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม โดยเริ่ มที่เยาวชนเพื่อส่ งเสริ มเกิดการเรี ยนรู ้เข้าใจในคุณค่าและสํานักรัก หวงแหนมรดกวัฒนธรรมในท้องถิ่น โดยการการพัฒนาสื่ อการเรี ยนรู ้ การสร้างกระบวนการเรี ยนรู ้ ด้ว ยตนเอง โดยจัด เป็ นเส้ นทางการเรี ย นรู ้ ป ระวัติ ศ าสตร์ และวัฒ นธรรมเมื อ งลี้ การจัด กิ จ กรรม ภัณฑารักษ์นอ้ ยและมัคคุเทศก์อาสา และการจัดค่ายประวัติศาสตร์เมืองลี้ เพื่อการจัดการและถ่ายทอด ความรู ้ร่วมกับชุมชน รวมถึงการบริ หารจัดการด้วยการสร้างเครื อข่ายกับสถาบันการศึกษาในท้องถิ่น ซึ่ งเป็ นที่คาดหวังว่าจะสามารถสร้ างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ความแข็งแกร่ งทางภูมิปัญญา และ กระจายความรู ้สู่สาธารณะอย่างมีประสิ ทธิภาพในอนาคต 40 33

(2) พจนา เอกบุตร การศึกษาเรื่ อง “ชุมชนลําปางหลวงกับการจัดการมรดกวัฒนธรรม : กรณี ศึกษางานประเพณี ยี่เป็ งไหว้ สาพระธาตุเจ้ า อําเภอเกาะคา จั งหวัดลําปาง” มี วตั ถุประสงค์ใน การศึกษาเพื่อศึกษาภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมชุมชนลําปางหลวง รวมไปถึง ศึกษาศักยภาพและความเข้มแข็งของชุมชนลําปางหลวงในการจัดการชุมชนด้านต่างๆ อันนําไปสู่ การ ถอดองค์ความรู ้การจัดการมรดกวัฒนธรรมที่เข้มแข็งของชุมชนลําปางหลวง เพื่อจะได้เป็ นตัวอย่าง เมธาพร ผมขาว. (2556). การจัดการมรดกวัฒนธรรมเมื องลี้ อาเภอลี้ จังหวัดลาพูนให้ เป็ นแหล่ งเรี ย นรู้ ทาง ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของเยาวชนในท้ องถิ่น. (วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาศิลปศาสตร-มหาบัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการศิลปะและวัฒนธรรม). เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

40

54


และประโยชน์สําหรับชุมชนอื่นๆ เพื่อใช้เป็ นแนวทางการจัดการศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่นของตนได้ อย่างยัง่ ยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนลําปางหลวงเป็ นชุมชนโบราณที่มีประวัติศาสตร์ควบคู่กบั วัดพระธําตุลาํ ปางหลวงมายาวนาน ทําให้ชาวบ้านชุมชนลําปางหลวงมีภูมิปัญญาความคิด ความเชื่ อ ประเพณี และวัฒนธรรมที่ เป็ นเอกลักษณ์ ทอ้ งถิ่น อันก่ อให้เกิ ดความภาคภูมิใจและความหวงแหน มรดกวัฒนธรรมของชุ ม ชน ส่ ง ผลให้ชุ ม ชนมี ศ ัก ยภาพและความเข้ม แข็ง ในความร่ วมมื อดํา เนิ น กิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมต่างๆเป็ นอย่างดี 41 34

(3) สํ านักงานวัฒนธรรมจังหวัดลําปาง งานวิจยั เรื่ อง “โครงการวิจัยการมีส่วนร่ วมของ เครื อข่ ายวัฒนธรรมและชุมชนในการบริ หารจัดการวัฒนธรรมกรณี ศึกษากลุ่มก๋ องปู่ จา บ้ านวังหม้ อ ตําบลต้ นธงชั ย อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง” การหนุ นเสริ มให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หาร จัดการวัฒนธรรม สามารถทําได้ในหลายรู ปแบบ มักเป็ นการสร้างการมีส่วนร่ วมในลักษณะ คือ การ จัดตั้งองค์กรชุมชนเพื่อทําหน้าที่บริ หารจัดการ โครงการด้านวัฒนธรรมของตนเอง ตั้งแต่ข้นั ตอนการ ร่ ว มคิ ด ร่ ว มตัด สิ น ใจ ร่ ว มดํา เนิ น การจนถึ ง การร่ ว มประเมิ น ผล โดยภาครั ฐ เป็ นฝ่ ายสนับ สนุ น งบประมาณให้เป็ นหลักและชุมชนเสนอกิจกรรมด้านวัฒนธรรมที่เกิดจากการร่ วมคิดของชุมชนเข้ามา จากนั้น ภาครัฐก็สนับสนุ นการดําเนิ นกิจกรรมดังกล่าว ในทุกขั้นตอนอย่างไรก็ดีการมีส่วนร่ วมใน ลักษณะดังกล่าวเป็ นเพียงการมีส่วนร่ วมโดยผ่าน “ตัวแทน” ของชุมชน ที่ไม่อาจเอื้อให้เกิดการมีส่วน ร่ วมจากชุมชนอย่างแท้จริ ง อีกทั้งยังไม่เอื้อให้ภาครัฐเข้าไปมีบทบาทในกระบวนการสร้างการมีส่วน ร่ วมดังกล่าว ซึ่งไม่สอดคล้องกับการทํางานวัฒนธรรมตามกระบวนทัศน์ใหม่ ที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่ วม ของชุมชน ด้วยการเสริ มสร้างความร่ วมมือระหว่างข้าราชการในท้องถิ่น กับเครื อข่ายวัฒนธรรม และ ชุมชน ในรู ปแบบการทํางานเชิ งบูรณาการในทุกมิ ติของวัฒนธรรม โดยแนวทางหนึ่ งในการบรรลุ กระบวนทัศ น์ ดัง กล่ า ว ก็ คื อ การสร้ า งกระบวนการทํา งานแบบมี ส่ ว นร่ ว มระหว่ า งผู ป้ ฏิ บ ัติ ง าน วัฒนธรรมในพื้นที่ ตลอดจนการนําองค์วามรู ้ ในชุ มชนและการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ที่เกิ ดขึ้นภายใน ชุมชนมาวิเคราะห์สังเคราะห์ และบูรณาการกับความรู ้จากภายนอกเพื่อนาไปสู่ การพัฒนาตนเองและ ชุมชนอย่างยัง่ ยืน 42 35

พจนา เอกบุตร. (2556). ชุ มชนลําปางหลวงกับการจัดการมรดกวัฒนธรรม : กรณีศึกษางานประเพณียี่เป็ งไหว้สา พระธาตุเจ้ า อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง. (วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการศิลปะ และวัฒนธรรม). เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 42 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดลําปาง. (2541). โครงการวิจัยการมีส่วนร่ วมของเครื อข่ ายวัฒนธรรมและชุมชนในการ บริหารจัดการวัฒนธรรมกรณีศึกษากลุ่มก๋องปู่ จา บ้ านวังหม้ อ ตําบลต้ นธงชัย อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง. กรุ งเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม. 41

55


(4) พันทิพา มาลา และลายอง ปลัง่ กลาง วิทยานิพนธ์เรื่ อง “แนวทางการฟื ้ นฟูวัฒนธรรม ชุ มชนเพื่ อส่ งเสริ มการท่ องเที่ยว : กรณี ศึกษาชุ มชนอําเภอบ้ านแพรก จั งหวัดพระนครศรี อยุธยา” เสนอเกี่ยวกับ ความสําคัญของแนวทางการฟื้ นฟูวฒั นธรรมชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวว่าสิ่ ง สําคัญที่ทาํ ให้การจัดการเป็ นไปอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพคือความเป็ นอยู่วิถีชีวิตและสังคมของชุมชนต้องมี ความ พร้อมทางทรัพยากรการท่องเที่ยวซึ่งได้แก่ วัฒนธรรมงานประเพณี การละเล่นพื้นบ้าน โบราณ วัตถุ โบราณสถาน และวิถีการดําเนิ น ชีวิตที่งดงาม มีสิ่งอํานวยความสะดวกเพียงพอโดยเฉพาะ สิ่ งอํานวย ความสะดวกํา ระดับ พื้นฐานทาง สาธารณู ป โภค การคมนาคมที่ ส ะดวกสามารถจัดให้บ ริ ก ารแก่ นักท่องเที่ยวได้แต่ตอ้ งอยู่ภายใต้การวางแผนปฏิบตั ิการ ร่ วมกันของทุกฝ่ ายมีแผนพัฒนาบุคลากรที่ เหมาะสมชัดเจนความร่ วมมือจากชุมชนจะเป็ นแนวทางสู่ ความสําเร็ จที่ยง่ั ยืนได้สอดคล้องกับแนวทาง ฟื้ นฟูและอนุ รักษ์แหล่งท่องเที่ยวและวิถีวฒั นธรรมรวมทั้ง ดําเนิ นกิจกรรมการตลาดควรให้มีความ สอดคล้องกับแผนส่ งเสริ มและพัฒนาการท่องเที่ยวรวมทั้งได้ เสนอมาตรการเพื่อการฟื้ นฟูอนุ รักษ์ ทรัพยากรการท่องเที่ยวเพื่อความยัง่ ยืนโดยสรุ ป คือ การกระจายงานพัฒนาการท่องเที่ยวในส่ วนที่ สามารถเลี้ยงตัวเองได้ ระดมกําลังความคิดความสามารถของสถาบันการศึกษา เข้ามาสนับสนุนพัฒนา บุ ค ลากรอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จัด ตั้ง ระบบติ ด ตามสภาพทรั พ ยากรท่ อ งเที่ ย วขยายกาลัง รองรั บ ของ สาธารณูปโภคเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยที่ผา่ นมานั้นมีหน่วยงานต่างๆ เข้ามามีบทบาทในการ อนุ รักษ์รวมถึง จัดการภายในชุมชนตรอกบ้านจีน รวมไปถึงองค์ความรู ้เกี่ยวกับสถาปั ตยกรรมและ องค์ความรู ้ในด้านต่างๆ เกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาและวิถีชุมชนเพื่อทําความเข้าใจกับชาวชุ มชน เกี่ยวกับการอนุรักษ์และการปรับปรุ งสถาปัตยกรรมและกิจกรรมภายในชุมชนที่ผา่ นมา 43 36

(5) จักรพงษ์ แพทย์ หลักฟ้ า การวิจยั เรื่ อง “การมีส่วนร่ วมของชุมชนเมืองในการพัฒนา แหล่ งเรี ยนรู้ ศิ ลปวัฒนธรรม : กรณี ศึกษาชุมชนลาดพร้ าว” การวิจยั ครั้งนี้ เป็ นกระบวนการวิจยั เชิ ง ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมของชุมชนโดยมีวตั ถุประสงค์ 3 ประการ คือ เพื่อศึกษากระบวนการมีส่วน ร่ วมของชุมชนลาดพร้าวในการพัฒนาแหล่งเรี ยนรู ้ศิลปวัฒนธรรมชุมชนลาดพร้าว เพื่อศึกษากิจกรรม เพื่อพัฒนาแหล่งเรี ยนรู ้ศิลปวัฒนธรรมชุมชนลาดพร้าว และเพื่อศึกษาผลของการพัฒนาแหล่งเรี ยนรู ้ ศิลปวัฒนธรรมชุมชน โดยกระบวนการมีส่วนร่ วมของชุมชน ส่ งผลกระทบต่อกระบวนการเรี ยนรู ้ ของชุมชนอย่างไร ผูว้ ิจยั เก็บข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์ การจัดประชุมกลุ่มย่อย และการสังเกตจาก สมาชิ กผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสี ยในการพัฒนาแหล่งเรี ยนรู ้ ศิลปวัฒนธรรมชุ มชน เด็ก เยาวชน และชาว พันทิพา มาลา และ ลายอง ปลัง่ กลาง. (2553). แนวทางการฟื้ นฟูวัฒนธรรมชุ มชนเพื่อส่ งเสริ มการท่ องเที่ยว : กรณีศึกษาชุมชนอําเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. พระนครศรี อยุธยา: สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัย ราช-ภัฏพระนครศรี อยุธยา.

43

56


ชุ ม ชนที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้อ ง ผลการวิ จัย พบว่ า กระบวนการมี ส่ ว นร่ ว มในการพัฒ นาแหล่ ง เรี ยนรู ้ ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนลาดพร้าว เป็ นกระบวนการดําเนิ นการตามแนวคิดการวิจยั เชิ งปฏิบตั ิการ แบบมี ส่ วนร่ วมซึ่ ง มี 4 ขั้นตอนคื อ ขั้นวางแผน ขั้นดํา เนิ นการตามแผน ขั้นสั ง เกตการณ์ และขั้น สะท้อนผล โดยมีสมาชิกผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยร่ วมกันพัฒนาตามแผน ปฏิบตั ิการอย่างต่อเนื่ อง 3 วงรอบ กิ จ กรรมที่ ใ ช้ใ นการพัฒ นามี ท้ ัง กิ จ กรรมศิ ล ปศึ ก ษาและกิ จกรรมทางวัฒ นธรรมที่ มี ล ัก ษณะเป็ น กิจกรรมบูรณาการระหว่างการเรี ยนการสอนทัศนศิลป์ นาฏศิลป์ และกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่บูรณา การกับบริ บททางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมของชุมชน เพื่อตอบสนองต่อปั ญหา และความต้องการของชุ ม ชน ผลของการดํา เนิ นการตามแผนปฏิ บ ตั ิ ก ารพัฒนาแหล่ งเรี ย นรู ้ และ กระบวนการ พัฒนาอย่างเป็ นระบบ ปรากฏว่าการพัฒนาแหล่งเรี ยนรู ้ศิลปวัฒนธรรมบรรลุผลตาม วัตถุประสงค์ที่ต้ งั เอาไว้ โดยข้อบ่งชี้ของการบรรลุผลเชิงปริ มาณคือ การได้แผนปฏิบตั ิการพัฒนาและ เกิดกิจกรรมทั้งกิ จกรรมศิลปศึ กษาและกิ จกรรมทางวัฒนธรรม จากการมีส่วนร่ วมของชุมชนอย่าง ต่อเนื่อง ตัวชี้วดั เชิงคุณภาพ ได้แก่ พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปในทางบวกของชุมชน คือ การเกิดการ มีส่วนร่ วมในการทาแผนปฏิบตั ิการ ความเป็ นระบบในการทางานพัฒนาร่ วมกัน และศักยภาพในการ ทํางานร่ วมกันของคนในชุมชนพัฒนาให้มีเครื อข่ายความร่ วมมือมากขึ้น นอกจากนี้ การพัฒนาตาม แผนปฏิ บ ัติ ก ารพัฒ นาแหล่ ง เรี ยนรู ้ ศิ ล ปวัฒ นธรรมของชุ ม ชนลาดพร้ า ว ยัง ส่ ง ผลกระทบต่ อ กระบวนการเรี ยนรู ้ของชุมชน ทั้งด้านความรู ้ ทักษะ และเจตคติของสมาชิ กผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย เด็ก เยาวชน และผูเ้ ข้า ร่ วมโครงการ คื อ ทํา ให้เกิ ดความรู ้ ความเข้า ใจ เกิ ดทัก ษะและ เจตคติ จากการ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ที่ ดีข้ ึนทาให้ระบบความสัม พันธ์ใ นชุ ม ชนพัฒนาไปในทางบวกและทาให้ เ กิ ด จิตสํานึกสาธารณะในการทํางานให้ชุมชนโดยองค์รวมมากขึ้น 44 37

(6) ปุณยวีร์ ศรี รัตน์ ในหนังสื อวารสารเทคโนโลยีภาคใต้ คณะมนุ ษยศาสตร์ และการ จัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรี ธรรมราช เรื่ อง “การจัดการท่ องเที่ยวอย่ างยั่งยืนของ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เมื่อได้ รับการประกาศเป็ นมรดกโลกทางวัฒนธรรมแห่ งใหม่ ของไทย” วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เป็ นแหล่งท่องเที่ยวหลักของจังหวัดนครศรี ธรรมราชที่มีนกั ท่องเที่ยวทั้ง ชาวไทยและชาวต่างชาติแวะเยือนเป็ นจํานวนมากและกําลังได้รับการประกาศเปWนมรดกโลกทาง วัฒนธรรมแห่ งใหม่ของประเทศไทยภายในปี พ.ศ. 2559 เนื่ องจากเป็ นตัวอย่างที่โดดเด่นของประเภท อาคารกลุ่มสถาปตยกรรม และมีความสัมพันธ'โดยตรงหรื อเห็นได้ชดั เจนจากเหตุการณหรื อประเพณี ที่ยงั คงอยู่ ซึ่ งการจัดการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนมีความจําเป็ นต่อวัดพระมหาธาตุฯ ที่จะสร้างสมดุลของ จักรพงษ์ แพทย์หลักฟ้ า. (2555). การมีส่วนร่ วมของชุ มชนเมื องในการพัฒนาแหล่ งเรี ยนรู้ ศิลปวัฒนธรรม : กรณีศึกษาชุมชนลาดพร้ าว. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. 44

57


สังคม เศรษฐกิจ และสิ่ งแวดล้อม โดยดําเนิ นการจัดการทองเที่ยวอย่างยัง่ ยืน เริ่ มตั้งแต่การประเมิ น ศักยภาพการท่องเที่ยวของวัดพระมหาธาตุฯ การจัดการแหล่งท่องเที่ยวในด้านขีดความสามารถ ด้าน พื้นที่และด้านกิจกรรม การจัดการสิ่ งอํานวยความสะดวกและบริ การ การจัดการตลาดท่องเที่ยว และ การมีส่วนร่ วมของชุมชนและหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องในการตัดสิ นใจ วางแผน บริ หารจัดการ บริ การ ท่องเที่ ยวรั บผลประโยชน์ป ระเมิ น ปรั บปรุ งและพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยว โดยเมื่ อวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหารได้รับการประกาศเป็ นมรดกโลกทางวัฒนธรรมแห่ งใหม่ของไทยแล้ว ด้วยหลักเกณฑ์ ด้านการเปลี่ยนแปลงของศิลปะเจดียใ์ นยุคสมัยต่างกัน ด้านการเป็ นตัวอย่างที่โดดเด่นของประเภท อาคารกลุ่ ม สถาปตยกรรม และด้า นความสั ม พันธ์ โดยตรงหรื อเห็ นได้ชัดเจนจากเหตุ ก ารณ์ ห รื อ ประเพณี ที่ยงั คงอยู่ การจัดการท่องเที่ยวเพื่อความยัง่ ยืนจึงเป็ นสิ่ งจําเป็ นต่อการท่องเที่ยวของวัดพระ มหาธาตุฯ เพื่อความสมดุลระหว่างความประทับใจของนักท่องเที่ยว ความอยู่ดีกินดีของคนในชุมชน และสิ่ งแวดล้อมที่ ดี ซึ่ งการจัดการการท่องเที่ ยวให้เกิ ดความยัง่ ยืนควรมี ดาํ เนิ นการอย่างมี ข้ นั ตอน ได้แก่ (1) การประเมินศักยภาพการท่องเที่ยวของวัดพระมหาธาตุฯ (2) การจัดการแหล่งท่องเที่ยวใน ด้านขีดความสามารถและด้านพื้นที่และกิจกรรม (3) การจัดการสิ่ งอํานวยความสะดวกและบริ การ(4) การบริ หารจัดการโดยมีองค์กรเฉพาะพื้นที่เป็ นกลไกในการดําเนินการ (5) การจัดการตลาดท่องเที่ยว และ (6) การมีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการ การบริ การท่องเที่ยว การรับผลประโยชน์ร่วมประเมินผล ร่ วมปรับปรุ งและพัฒนาเหล่านี้ จะทําให้การท่องเที่ยวของวัดพระมหาธาตุฯ มีความต่อเนื่ องและเกิด ความยัง่ ยืนให้สมกับการเป็ นมรดกโลกทางวัฒนธรรมแห่งใหม่ของประเทศไทย 45 38

(7) พาฝั น ประดาอินทร์ การค้นคว้าอิสระเรื่ อง “การศึ กษาพระธาตุสําคัญในจังหวัด ลําปาง เพื่อการจัดการเส้ นทางการเรี ยนรู้ และท่ องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม” การศึกษาพระธาตุสําคัญของ จังหวัดลําปาง เพือ่ การจัดการเส้นทางการเรี ยนรู ้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็ นการศึกษาเจดียซ์ ่ ึงชาว ล้านนาเรี ยกว่า “พระธาตุ” ซึ่ งปรากฏเป็ นจํานวนมากในจังหวัดลําปาง เป็ นสถานที่ที่ประดิษฐานพระ บรมสารี ริ กธาตุ ข องพระพุ ท ธเจ้ า ซึ่ งมี ค วามศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ และองค์ พ ระธาตุ มี ค วามงามทางด้ า น สถาปั ตยกรรม โดยเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ ความเป็ นมาของจังหวัดลําปาง และยังมีความสําคัญต่อ การแสวงบุ ญ การสั ก การะบู ช าของประชาชนในท้องถิ่ นและนัก ท่ องเที่ ย ว การศึ ก ษาในครั้ งนี้ มี วัตถุประสงค์ ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาบริ บทเกี่ยวกับประวัติความเป็ นมา รู ปแบบสถาปั ตยกรรม ประเพณี และพิธีกรรม ของพระธาตุองค์สําคัญในจังหวัดลาปาง 2) เพื่อศึกษาคุณค่าความสําคัญ และคติความ เชื่ อของพระธาตุ สํา คัญ ตลอดจนเส้ นทางและชุ ม ชนที่ เกี่ ยวข้อง 3) เพื่ อเสนอแนวทางการจัดการ ปุณยวีร์ ศรี รัตน์. (2559, กรกฎาคม – ธันวาคม). การจัดการท่ องเที่ยวอย่ างยั่งยืนของวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร เมื่อได้ รับการประกาศเป็ นมรดกโลกทางวัฒนธรรมแห่ งใหม่ ของไทย. เทคโนโลยีภาคใต้, 9(2). 149-158.

45

58


เส้นทางการเรี ยนรู ้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4) เพื่อการเรี ยนรู ้ประวัติศาสตร์ และการแสวงบุญพระ ธาตุสาํ คัญของจังหวัดลําปาง โดยศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับบริ บททางประวัติศาสตร์ ประเพณี พิธีกรรม และ รู ปแบบทางสถาปั ตยกรรม ตลอดจนคุณค่าความสําคัญ และคติ ความเชื่ อของพระธาตุสาคัญ ของ ชุมชนต่างๆ 3 อําเภอ ได้แก่ อําเภอเมือง อําเภอเกาะคา และอําเภอห้างฉัตร จังหวัดลําปาง ทั้งข้อมูล เอกสาร การสํารวจ การสัมภาษณ์ และการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนรวม จากนั้นสํารวจข้อมูลทัว่ ไป จากกลุ่มประชากรตัวอย่าง อาทิ พระสงฆ์ ผูน้ าํ ชุมชนและประชาชนผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องในชุมชน แล้ว นํามาวิเคราะห์สรุ ปผล จากนั้นนําข้อมูลพระธาตุ 22 แห่ ง 3 อําเภอ มาคัดเลือกหาพระธาตุสําคัญของ จังหวัดลําปาง ได้ผลลัพธ์คือ 9 แห่ ง ซึ่ งมาจากการให้ความสําคัญของกลุ่มประชากรตัวอย่างทั้งจาก 3 อําเภอ อําเภอละ 40 คน รวมทั้งสิ้ น 120 คน โดยผูศ้ ึกษานาเกณฑ์คดั เลื อก 5 เกณฑ์ จากเกณฑ์การ พิจารณาคุณค่าของทรั พยากรวัฒนธรรม ที่กาํ หนดโดยองค์กรสากลด้านการศึ กษาและการอนุ รักษ์ มรดกวัฒนธรรม (ICOMOS) ร่ วมกับบริ บททางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับ พระธาตุในท้องถิ่น จํานวน 5 เกณฑ์ ดังนี้ 1) เกณฑ์ดา้ นประวัติศาสตร์ 2) เกณฑ์ดา้ นวัฒนธรรม 3) เกณฑ์ดา้ นศิลปกรรม 4) เกณฑ์ดา้ นความพร้อมของการเรี ยนรู ้ 5) เกณฑ์ดา้ นความเชื่อและความนิ ยม ของประชาชนในท้องถิ่น พร้ อมทั้งวิเคราะห์คุณค่าและความสําคัญของพระธาตุในจังหวัดลํา ปาง เพื่อให้เหมาะสมต่อการเรี ยนรู ้และเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดลําปาง และปรากฏว่า แต่ละพระธาตุมีเกณฑ์ที่มีความสําคัญและเป็ นจุดเด่นที่แตกต่างกันไป จึงนํามาเพื่อจัดทําเป็ นเส้นทาง การเรี ยนรู ้และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมต่อไป 46 โดยสรุ ป เอกสารและงานวิจยั ดังกล่าวข้างต้น ได้แสดงถึงการศึกษามรดกทางวัฒนธรรมโดย เริ่ มต้นด้วยการศึกษาข้อมูลความรู ้ บริ บทของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมนั้นๆ จากนั้นแล้วจึงย่อยให้ เข้าใจได้ง่าย เพื่อเป็ นการเผยแพร่ แก่ประชาชน โดยสามารหาวิธีการจัดการรักษาฟื้ นฟู ซึ่งควรเป็ นการ พัฒนาร่ วมไปกับการอนุ รักษ์ เน้นไปที่เยาวชนที่มีคุณภาพและผูส้ ู งอาวุโสในชุมชน เพื่อความยัง่ ยืน ควรมี การสร้ างเครื อข่ายที่ ช่วยเหลื อกัน และมี การจัดกิ จกรรมต่างๆ ที่ให้ประชาชนและองค์กรใน ท้องถิ่ นได้มี ส่ วนร่ วม ทั้ง การทํา ข้อมูล ให้เป็ นระบบ จัดแสดงวัตถุ ท างวัฒนธรรมในรู ป แบบของ พิพิธภัณฑ์ชุมชน เพื่อให้แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่มีเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่ยงั่ ยืน 39

พาฝัน ประดาอินทร์ . (2557). การศึกษาพระธาตุสําคัญในจังหวัดลําปาง เพื่อการจัดการเส้ นทางการเรี ยนรู้ และ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม. (การค้น คว้า อิ ส ระ ปริ ญ ญาศิ ล ปศาสตรมหาบัณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการจัด การศิ ล ปะและ วัฒนธรรม). เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

46

59


2.4 กรอบแนวคิดการวิจัย ประวัติ ค วามเป็ นมาของชุ ม ชน สั ง คม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ แ ห ล่ ง ม ร ด ก วัฒ นธรรมวัด คู ห าภิ มุ ข อํา เภอเมื อ ง จังหวัดยะลา

บริ บ ททางประวัติ ศ าสตร์ ข องดิ น แดน คาบสมุ ท รภาคใต้ และประวัติ ค วาม เป็ นมา ตลอดจนลั ก ษณะสั ง คมและ วัฒนธรรมของจังหวัดยะลา

แนวคิดและทฤษฏีที่เกีย่ วข้ องกับการศึกษา - แนวคิดการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม - แนวคิดการจัดการแหล่งเรี ยนรู ้ - แนวคิดจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

การจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา

60


บทที่ 3 วิธีดาํ เนินการวิจยั วิทยานิ พนธ์เรื่ อง “การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัด ยะลา” มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาบริ บททางประวัติศาสตร์ ลักษณะสภาพสังคม และวัฒนธรรมของ จังหวัดยะลา ตลอดจนศึกษาแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ชุมชนบ้านหน้าถํ้า และศักยภาพความ เข้มแข็งของชุมชนบ้านหน้าถํ้า เพื่อเสนอรู ปแบบและวิธีการจัดการพื้นที่แหล่งมรดกวัฒนธรรมวัด คูหาภิมุข ให้เกิดเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยมีข้นั ตอนและวิธีการศึกษา ประกอบด้วยหัวข้อต่างๆ ดังนี้ 3.1 รู ปแบบการวิจยั 3.2 การศึกษาภาคเอกสาร ทบทวนวรรณกรรม และแนวคิดทฤษฏี 3.3 การศึ กษาชุ มชนและแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมื องยะลา จังหวัดยะลา 3.3.1 การศึกษาชุมชนหน้าถํ้า ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 3.3.2 การศึกษาแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 3.4 การศึกษาเพื่อหาทิศทางที่เหมาะสมของการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิ มุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา 3.5 การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ชุมชนหน้าถํ้า สู่การเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ 3.1 รูปแบบการวิจัย การศึ กษาวิทยานิ พนธ์เรื่ อง “การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมื อง จังหวัดยะลา” ครั้งนี้ เป็ นการศึกษาวิจยั เชิ งคุณภาพ (Qualitative Research) มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษา บริ บททางประวัติศาสตร์ ตลอดจนลักษณะสังคมและวัฒนธรรมของจังหวัดยะลา รวมทั้งแหล่งมรดก วัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ชุมชนบ้านหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ตลอดจนศักยภาพและความ เข้มแข็งของชุ มชนบ้านหน้าถํ้า เพื่อเสนอรู ปแบบ และวิธีการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัด คูหาภิมุข ชุมชนบ้านหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมแก่ชุมชนและเกิดการส่ งเสริ มทางด้านการท่องเที่ยว โดยใช้วิธีการศึกษาในรู ปแบบของสห วิทยาการ (Interdisciplinary Research) และนําเสนอในรู ปแบบพรรณนา (Descriptive Research) 61


3.2 การศึกษาภาคเอกสาร ทบทวนวรรณกรรม และแนวคิดทฤษฏี ขั้นตอนนี้ เป็ นการศึกษาภาคเอกสาร เพื่อทบทวนวรรณกรรม และสถานะภาพความรู ้ในบริ บท ที่เกี่ยวกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในคาบสมุทรภาคใต้ ประวัติศาสตร์ คาบสมุทรมลายู ตลอดจน บริ บททางประวัติศาสตร์ ของจังหวัดยะลา รวมทั้งแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับ การศึกษาครั้งนี้ โดยทําการศึกษาค้นคว้าจากหนังสื อ เอกสาร สิ่ งพิมพ์และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง จาก แหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนํามาจัดระเบียบและเรี ยบเรี ยง โดยประกอบด้วยหัวข้อ ดังต่อไปนี้ 3.2.1 สถานะภาพความรู้ ที่เกีย่ วกับคาบสมุทรภาคใต้ 3.2.1.1 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในคาบสมุทรมลายู 3.2.1.2 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 3.2.1.2.1 สมัยประวัติศาสตร์ เป็ นต้นมา 3.2.1.2.2 ยุคอาณาจักรและรัฐชาติ 3.2.1.3 ประวัติศาสตร์จากสยามสู่ จงั หวัดยะลา 3.2.1.3.1 สมัยการจัดการปกครองแบบหัวเมือง (พ.ศ. 2351-2445) 3.2.1.3.2 สมัยมณฑลเทศาภิบาล (พ.ศ. 2440-2475) 3.2.1.3.3 สมัยการปกครองแบบจังหวัด (พ.ศ. 2476-ปัจจุบนั ) 3.2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกีย่ วข้ องกับการศึกษา 3.2.2.1 แนวคิดการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม 3.2.2.2 แนวคิดการจัดการแหล่งเรี ยนรู ้ 3.2.2.3 แนวคิดจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 3.2.3 เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง 3.2.3.1 เอกสารและหนังสื อ 3.2.3.2 งานวิจยั 3.2.4 กรอบแนวคิดการวิจัย ดังรายละเอียดที่นาํ เสนอในบทที่ 2 3.3 การศึกษาชุมชนและแหล่ งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตําบลหน้ าถํา้ อําเภอเมืองยะลา จังหวัด ยะลา ขั้นตอนการศึกษาทั้งภาคเอกสารและการศึกษาภาคสนาม เพื่อศึกษาบริ บทของชุมชนบ้านหน้า ถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ศกั ยภาพและความเข้มแข็งของชุมชน ตลอดจนสภาพความสัมพันธ์ของชุมชนหน้าถํ้าที่เกี่ยวข้องกับวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัด 62


ยะลา และปั ญหาต่างๆ ของวัดคูหาภิ มุขและชุมชนหน้าถํ้าในฐานะเป็ นแหล่งที่รวบรวมมรดกทาง วัฒนธรรม ตลอดจนวิเคราะห์ปัญหาของการจัดการมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จัง หวัดยะลา ด้วยวิ ธี ก ารสุ่ ม ตัว อย่า ง (Sampling) แบบจงใจ (Purposive Sampling) และใช้วิธี ก าร สังเกตการณ์ ภาคสนาม (Field Observation) และใช้วิธีการสัมภาษณ์ แบบ มี โครงสร้ าง (Structured Interview) อย่างไม่จาํ กัดจํานวนจนได้ขอ้ มูลครบถ้วน ดังนี้ 1) การสุ่ มตัวอย่า งแบบจงใจ (Purposive Sampling) โดยเลือกจาก ผูน้ ําชุ มชน ประชาชนใน พื้นที่ เจ้าหน้าที่ ภาครัฐจากสถาบันการศึ กษาในพื้นที่ /องค์การบริ หารส่ วนตําบลหน้าถํ้า กลุ่มภาคี/ เครื อข่ายที่เกี่ยวข้อง ดังรายชื่อผูใ้ ห้ขอ้ มูลที่สามารถเปิ ดเผยรายนาม ดังนี้ (1) ผูน้ าํ ชุมชน ได้แก่ ผูใ้ หญ่บา้ น ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น และผูน้ าํ ทางศาสนา จํานวน 6 คน คือ (1.1) นายอาซิ อะแซ กํานันตําบลหน้าถํ้า (1.2) นางนภาพร ธรรมดิษฐ์ ผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ที่ 1 (1.3) นางจรัสศรี แสงสุ วรรณ ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ที่ 1 (1.4) นายมะสะอารี กาเจ ผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ที่ 2 (1.5) นายอารี สมาน ดือราแม ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ที่ 2 (1.6) นายอับดุลเราะมัน เจะแซ ผูน้ าํ ทางศาสนาอิสลาม/ครู โรงเรี ยนสอนศาสนา (2) ปราชญ์ชาวบ้าน และประชาชนในพื้นที่ จํานวน 5 คน คือ (2.1) นายริ่ น เหมกูล กรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดยะลา (22) นางเนาวรัตน์ น้อยพงษ์ ประธานกลุ่มสี มายา (2.3) นายสุ ริยา เฉี ยงตะวัน ประชาชนหมู่ที่ 1 (2.4) เด็กชายชริ นทร์ กอบบุญ มัคคุเทศน์นาํ ชมวัดคูหาภิมุข (2.5) นายสุ คนธ์ จินา ผูด้ ูแลวัดคูหาภิมุข (3) เจ้าหน้าที่ภาครัฐจากสถาบันการศึกษาในพื้นที่/องค์การบริ หารส่ วนตําบลหน้าถํ้า จํานวน 7 คน คือ (3.1) นางวัลภา คําแสนโต ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนวัดหน้าถํ้า (พุทธไสยานุสรณ์) (3.2) นายทองใบ บุญดํากุล ข้าราชการครู โรงเรี ยนบ้านหน้าถํ้า (3.3) นางวิไล ศรี รัตน์ ข้าราชการครู โรงเรี ยนบ้านหน้าถํ้า (3.4) นางมนทิพย์ จินดาเพ็ชร ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนบ้านบันนังลูวา (ถํ้าศิลป์ ) 63


(3.5) นางวิรัตน์ สุ ธีรศักดิ์ (3.6) นางสาวลาวียะ๊ ห์ สาร๊ ะ (3.7) นางสาวฮาซีลา สาและ

ข้าราชการครู โรงเรี ยนบ้านบันนังลูวา (ถํ้าศิลป์ ) ข้าราชการครู โรงเรี ยนบ้านบันนังลูวา (ถํ้าศิลป) ผูช้ ่วยเจ้าพนักงานกองช่าง อบต.หน้าถํ้า

(4) กลุ่มภาคี/เครื อข่ายที่เกี่ยวข้อง จํานวน 3 คน คือ (4.1) นายยุทธนา ปลื้มสําราญ สื่ อมวลชน/นักจัดรายการวิทยุ จังหวัดยะลา (4.2) นายคธาวุต แช่ม สื่ อมวลชน จังหวัดยะลา (4.3) จ.ส.อ.ฐาปนพงศ์ วรเมฑา ผบ.มว.ปล.ที่ 3 ร้อย ร.15224 ผลการศึกษาทั้งภาคเอกสารและภาคสนามได้รวบรวมนําข้อมูลมาจัดระเบียบและเขียนนําเสนอ ประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้ (1) การศึกษาชุมชนหน้าถํ้า ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา (1.1) ประวัติศาสตร์ และการตั้งถิ่นฐานของชุมชนหน้าถํ้า (1.2.) ที่ต้งั ลักษณะทางกายภาพ และเส้นทางคมนาคม (1.3) สภาพทางสังคม กิจกรรม ความเชื่อ ประเพณี ทางวัฒนธรรม (1.4) วิเคราะห์ศกั ยภาพและความเข้มแข็งของชุมชนหน้าถํ้า (1.4.1) ศักยภาพและความเข้มแข็งทางด้านการบริ หารจัดการของชุมชนหน้าถํ้า (1.4.2) ศักยภาพและความเข้มแข็งทางด้านความร่ วมมือภายในชุมชนหน้าถํ้า (1.4.3) ศักยภาพและความเข้มแข็งด้านภาพลักษณ์และความปลอดภัยของชุมชน (2) การศึกษาแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา (2.1) ประวัติความมาและตํานานของวัดคูหาภิมุข (2.2) มรดกวัฒนธรรมของวัดคูหาภิมุข (1) พระพุทธไสยาสน์ (2) ถํ้าศิลป (3) พิพิธภัณฑ์ หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข (4) ฯลฯ (3) วิเคราะห์คุณค่าความสําคัญและความสําเร็ จและปัญหาของการจัดการแหล่งมรดกทาง วัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขในฐานะเป็ นปูชนียสถานและแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (3.1) คุณค่าและความสําคัญของวัดคูหาภิมุขในเชิงพื้นที่ศกั ดิ์สิทธิ์และแหล่งโบราณสถาน สําคัญของจังหวัดยะลา 64


(3.2) ความสําเร็ จและปัญหาของการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขใน ฐานะเป็ นปูชนียสถานและแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ดังรายละเอียดที่นาํ เสนอในบทที่ 4 3.4 การศึกษาเพื่อหาทิศทางที่เหมาะสมของการจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอ เมืองยะลา จังหวัดยะลา เป็ นขั้นตอนการศึกษาเพื่อหาทิศทางของการจัดการที่เหมาะสมของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะจงรายบุคคล (Individual Depth Interview) และวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผูใ้ ห้ขอ้ มูล ซึ่งเป็ นกลุ่มตัวอย่าง (Sample) ที่ คัดเลือกจาก ผูน้ าํ ชุมชน ประชาชนในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ภาครัฐจากสถาบันการศึกษาในพื้นที่/องค์การ บริ หารส่ วนตําบลหน้าถํ้า กลุ่มภาคี/เครื อข่ายที่เกี่ยวข้อง โดยใช้วิธีการสังเกตการณ์ภาคสนาม (Field Observation) และใช้วธิ ีการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview) เพื่อต้องการทราบถึง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย (Stakeholders) โดยมีประเด็นข้อมูลความ คิดเห็น และข้อเสนอแนะ เพื่อหารู ปแบบวิธีการจัดการที่เหมาะสมของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัด คูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา (1) ผูน้ าํ ชุมชน ได้แก่ ผูใ้ หญ่บา้ น ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น และผูน้ าํ ทางศาสนา จํานวน 6 คน คือ (1.1) นายอาซิ อะแซ กํานันตําบลหน้าถํ้า (1.2) นางนภาพร ธรรมดิษฐ์ ผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ที่ 1 (1.3) นางจรัสศรี แสงสุ วรรณ ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ที่ 1 (1.4) นายมะสะอารี กาเจ ผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ที่ 2 (1.5) นายอารี สมาน ดือราแม ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ที่ 2 (1.6) นายอับดุลเราะมัน เจะแซ ผูน้ าํ ทางศาสนาอิสลาม/ครู โรงเรี ยนสอนศาสนา (2) ปราชญ์ชาวบ้าน และประชาชนในพื้นที่ จํานวน 5 คน คือ (2.1) นายริ่ น เหมกูล กรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดยะลา (22) นางเนาวรัตน์ น้อยพงษ์ ประธานกลุ่มสี มายา (2.3) นายสุ ริยา เฉี ยงตะวัน ประชาชนหมู่ที่ 1 (2.4) เด็กชายชริ นทร์ กอบบุญ มัคคุเทศน์นาํ ชมวัดคูหาภิมุข (2.5) นายสุ คนธ์ จินา ผูด้ ูแลวัดคูหาภิมุข 65


(3) เจ้าหน้าที่ภาครัฐจากสถาบันการศึกษาในพื้นที่/องค์การบริ หารส่ วนตําบลหน้าถํ้า จํานวน 7 คน คือ (3.1) นางวัลภา คําแสนโต ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนวัดหน้าถํ้า (พุทธไสยานุสรณ์) (3.2) นายทองใบ บุญดํากุล ข้าราชการครู โรงเรี ยนบ้านหน้าถํ้า (3.3) นางวิไล ศรี รัตน์ ข้าราชการครู โรงเรี ยนบ้านหน้าถํ้า (3.4) นางมนทิพย์ จินดาเพ็ชร ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนบ้านบันนังลูวา (ถํ้าศิลป์ ) (3.5) นางวิรัตน์ สุ ธีรศักดิ์ ข้าราชการครู โรงเรี ยนบ้านบันนังลูวา (ถํ้าศิลป์ ) (3.6) นางสาวลาวียะ๊ ห์ สาร๊ ะ ข้าราชการครู โรงเรี ยนบ้านบันนังลูวา (ถํ้าศิลป) (3.7) นางสาวฮาซีลา สาและ ผูช้ ่วยเจ้าพนักงานกองช่าง อบต.หน้าถํ้า (4) กลุ่มภาคี/เครื อข่ายที่เกี่ยวข้อง จํานวน 3 คน คือ (4.1) นายยุทธนา ปลื้มสําราญ สื่ อมวลชน/นักจัดรายการวิทยุ จังหวัดยะลา (4.2) นายคธาวุต แช่ม สื่ อมวลชน จังหวัดยะลา (4.3) จ.ส.อ.ฐาปนพงศ์ วรเมฑา ผบ.มว.ปล.ที่ 3 ร้อย ร.15224 ผลการสัมภาษณ์ และการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผูใ้ ห้ข ้อมูลครั้ งนี้ มี ขอ้ มูลความคิดเห็ นและ ข้อเสนอแนะของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ซึ่ งรายละเอียดของวิธีการสุ่ มตัวอย่างและรายชื่ อผูใ้ ห้สัมภาษณ์ เป็ นกลุ่ ม และวิ ธี ก ารเดี ย วกั บ ที่ ไ ด้ ร ะบุ ไ ว้ใ นข้ อ ที่ 3.3 ด้ ว ยวิ ธี ก ารสนทนากลุ่ ม (Focus Group Discussion) ซึ่ งเป็ นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสนทนาของผูใ้ ห้ขอ้ มูล โดยใช้วิธีการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างแบบจงใจ (Purposive Sampling) และแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) จากประชาชน ซึ่ งประกอบด้วย กลุ่มผูน้ ําชุ มชน ได้แก่ ผูใ้ หญ่บา้ น ผูน้ ําศาสนา ตัวแทนจากสถานศึ กษา และจาก ประชาชนผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการและดูแลแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ในประเด็นการสนทนาในหัวข้อที่เกี่ยวกับการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขให้ เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ และการพัฒนาแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขสู่ การเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ ง วัฒนธรรม ซึ่งผลการสนทนากลุ่ม โดยสามารถสรุ ปได้ ดังนี้ (1) ด้ านการเสริมสร้ างการเรียนรู้ และสร้ างการรับรู้ ด้านการเสริ มสร้างเพื่อให้เกิดการการเรี ยนรู ้ และสร้างการรับรู ้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และเกิดการรับสารอย่างถูกต้อง โดยในเขตชุมชนที่ต้ งั อยู่ภายในพื้นที่แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัด คูหาภิมุขในปั จจุบนั นั้น กลุ่มประชากรที่ อาศัยอยู่ในพื้นที่ยงั คงมีความแตกต่างในทางด้านมระดับ การศึกษาและการสื่ อสารที่ชดั เจน โดยในกลุ่มประชากรไทยมุสลิมยังคงมีการใช้ภาษาพื้นถิ่นมลายูใน 66


การสื่ อสาร ทั้งนี้ รวมถึงประชากรไทยพุทธ-ไทยมุสลิ มบางส่ วนไม่สามารถสื่ อสารและใช้ภาษาได้ อย่างคล่องในการพูดและอ่านเขียน สื บเนื่ องจากปั จจัยในด้านการศึกษาที่ขาดการส่ งเสริ ม ตลอดทั้ง การปลูกฝั งและส่ งเสริ มเนื้ อหาทางด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดทั้งประวัติศาสตร์ ในพื้นที่ก็ยงั ไม่ได้มี การปลูกฝังและเรี ยนรู ้อย่างชัดเจน จึงควรมีการสร้างวิธีการสื่ อความหมาย เพื่อเป็ นการสร้างการรับรู ้ ต่อประชาชนในพื้นที่ ที่มีขอ้ จํากัดทางด้านการศึกษา และการสื่ อสารทางด้านภาษา ให้เกิดความเข้าใจ (2) ด้ านการปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่ ด้านการปรั บปรุ ง และพัฒนาพื้นที่ โดยการปรั บปรุ ง ทํานุ บาํ รุ งและดู แลรั กษาแหล่ ง มรดกทางวัฒนธรรม โบรราณสถาน ศาสนสถาน ตลอดจนพื้นที่ และภูมิทศั นียภาพโดยรอบ เพื่อให้มี สภาพที่สมบูรณ์และพร้อมต่อการใช้สอย ทั้งยังเพื่อเพิ่มในเชิงคุณค่าให้ยงั คงมีความสวยงาม ตลอดทั้ง เป็ นสิ่ งที่สร้างความเชื่ อมันและเป็ นภาพลักษณ์ที่ดีเพื่อสร้างความประทับใจ อาทิ ด้านความสะอาด ความปลอดภัย การจัดแสดงและสื่ อความหมาย ของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมตอลดจนพื้นที่โดยรอบ และเขตชุมชน (3) ด้ านการส่ งเสริมและเพิม่ ศักยภาพชุมชน ด้านการส่ งเสริ มและเพิ่มศักยภาพของชุมชน ทั้งในด้านที่เกี่ยวของกับแหล่งมรดกทาง วัฒนธรรม ตอลดทั้งกิจกรรมทางประเพณี วฒั นธรรม และการส่ งเสริ มเพื่อเป็ นการอนุ รักษ์ รักษาให้ คงไว้ยงั เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ที่โดดเด่นของพื้นที่ สู่ การพัฒนาในด้านพื้นฐานคุณภาพชี วิต ทางด้าน สังคมและเศรษฐกิจ เพื่อรองรับสู่ การท่องเที่ยว และเกิดการสร้างรายได้จากแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ด้วยวิธีการอย่างมีส่วนร่ วมของประชาชนและส่ วนราชการ รวมทั้งองค์การปกครองส่ วนท้องถิ่น จากข้อมูลที่ผ่านการเก็บรวบรวมมานั้น จะได้ดาํ เนิ นการศึกษาวิเคราะห์เพื่อหารู ปแบบวิธีการสู่ การจัดการที่เหมาะสม ของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ดังที่ จะได้นาํ เสนอเป็ นลําดับต่อไป 3.5 การจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ชุมชนหน้ าถํา้ สู่ การเป็ นแหล่ งเรียนรู้ และแหล่ ง ท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในส่ วนนี้เป็ นขั้นตอนสุ ดท้าย เพื่อนําเสนอรู ปแบบและวิธีการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัด คู ห าภิ มุ ข ชุ ม ชนบ้า นหน้ า ถํ้า สู่ ก ารเป็ นแหล่ ง เรี ย นรู ้ แ ละแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรม ซึ่ ง ประกอบด้วยหัวข้อ ดังต่อไปนี้

67


3.5.1 การจัดการอนุรักษ์ พัฒนา และปรับปรุ งภูมิทศั น์พ้ืนที่แหล่งมรกดกทางวัฒนธรรม วัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 3.5.2 การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การการเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ 3.5.3 การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ดังรายละเอียดที่นาํ เสนอในบทที่ 5

68


บทที่ 4

การศึกษามรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมขุ ตลอดจนศักยภาพและความเข้มแข็ง ของชุมชนหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา บทนี้ เป็ นการศึ ก ษาทั้ง ภาคเอกสารและภาคสนามในบริ บทของชุ ม ชนบ้า นหน้ า ถํ้า ใน รายละเอียดที่เกี่ยวกับที่ต้ งั และเส้นทางคมนาคม ประวัติศาสตร์ และการตั้งถิ่นฐานของชุมชน สภาพ ทางสังคม กิจกรรม ความเชื่อ ประเพณี ทางวัฒนธรรม และวิเคราะห์ศกั ยภาพและความเข้มแข็งของ ชุมชน รวมทั้งศึกษาแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ในรายละเอียด ที่ เกี่ ย วกับ ประวัติศ าสตร์ ความเป็ นมา ลัก ษณะทางรู ป แบบศิ ล ปกรรม และความเชื่ อที่ เกี่ ย วข้อ ง ตลอดจนสภาพความสัมพันธ์ของชุมชนหน้าถํ้าที่เกี่ยวข้องกับวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัด ยะลา และปั ญหาต่างๆ ของวัดคูหาภิ มุขและชุมชนหน้าถํ้าในฐานะเป็ นแหล่งที่รวบรวมมรดกทาง วัฒนธรรม ตลอดจนวิเคราะห์ปัญหาของการจัดการมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อดังต่อไปนี้ 4.1 การศึกษาชุมชนหน้าถํ้า ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 4.1.1 ประวัติศาสตร์และการตั้งถิ่นฐานของชุมชนหน้าถํ้า 4.1.2 ที่ต้งั ลักษณะทางกายภาพ และเส้นทางคมนาคม 4.1.3 สภาพทางสังคม กิจกรรม ความเชื่อ ประเพณี ทางวัฒนธรรม 4.1.4 วิเคราะห์ศกั ยภาพและความเข้มแข็งของชุมชนหน้าถํ้า 4.1.4.1 ศักยภาพและความเข้มแข็งทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม 4.1.4.2 ผูน้ าํ ชุมชน และผูน้ าํ องค์กร 4.1.4.3 ความสัมพันธ์และความร่ วมมือทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน 4.2 การศึกษาแหล่งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 4.2.1 ประวัติความมาและตํานานของวัดคูหาภิมุข 4.2.2 มรดกวัฒนธรรมของวัดคูหาภิมุข (1) พระพุทธไสยาสน์ (2) ถํ้าศิลป (3) พิพิธภัณฑ์ หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข (4) ถํ้า ปปร (5) พระพิมพ์ดินดิบ (6) ถํ้ามืดและบ่อนํ้าศักดิ์สิทธิ์ 68


4.2.3 วิเคราะห์คุณค่าความสําคัญและความสําเร็ จและปัญหาของการจัดการแหล่งมรดก ทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขในฐานะเป็ นปูชนียสถานและแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (1) คุณค่าและความสําคัญของวัดคูหาภิมุขในเชิงพื้นที่ศกั ดิ์สิทธิ์และแหล่ง โบราณสถานสําคัญของจังหวัดยะลา (2) ความสําเร็ จและปัญหาของการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขใน ฐานะเป็ นปูชนียสถานและแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (3) ความสําเร็ จและปัญหาของการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขใน ฐานะเป็ นปูชนียสถานและแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 4.1 การศึกษาชุมชนบ้ านหน้ าถํา้ ตําบลหน้ าถํา้ อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 4.1.1 ประวัติและการตั้งถิ่นฐาน ตามตํานานเก่ าแก่ เล่ากันว่า ตําบลหน้าถํ้า เป็ นเกาะหนึ่ งที่ มีน้ ําล้อมรอบไม่มีคนอาศัยอยู่เลย ต่อมาในสมัยศรี วิชยั มีการแบ่งการปกครองเป็ นหัวเมื อง ในสมัยนั้นรัฐกลันตัน ตรังกานู ยงั เป็ นของ ไทยทางการได้ให้หัวเมืองทางใต้ คือ เกาะตูนนั โดยทางเรื อที่บริ เวณภูเขาหน้าถํ้าต่อมาอีกหลายร้อยปี บริ เวณนั้นเกิดนํ้าแห้งแปรสภาพเป็ นพื้นดิน จึงมีผคู ้ นอาศัยเรี ยกว่า “หน้าถํ้า” หรื อ “บ้านหน้าถํ้า” 47

ภาพที่ 4.1 : ภาพภูมิศาสตร์ตาํ บลหน้าถํ้า สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดยะลา. (2554). ชื่ อบ้ านนามเมืองจังหวัดยะลา โครงการวัฒนธรรมเสริมสร้ างสันติสุข จังหวัดยะลา. ยะลา: กระทรวงวัฒนธรรม. 83. 47

69


ตํา บลหน้า ถํ้า มี ร่องรอยของการอยู่อาศัย ของมนุ ษ ย์ม าตั้ง แต่ยุค ก่ อ นประวัติ ศ าสตร์ ดัง พบ หลักฐานภาพเขียนที่ถ้ าํ ศิลป จนถึงยุคประวัติศาสตร์ ราวพุทธศตวรรษที่ 14-15 เพราะพบว่าถํ้าหลาย แห่ งในตําบลนี้ มีร่องรอยของการดัดแปลงเป็ นพุทธสถานแบบมหายาน ก่อนถูกทิ้งให้ร้างไป ราวสอง ร้อยปี ก่อน มีประชาชนเข้ามาลงหลักปั กฐาน ณ ตําบลหน้าถํ้า โดยอพยพมาจากจังหวัดปัตตานี สงขลา และพัทลุง โดยชนกลุ่มแรกที่ต้ งั ถิ่นฐานนั้นเป็ นชาวไทยเชื้อสายมลายูนบั ถือศาสนาอิสลาม กระทัง่ ใน ปี พ.ศ. 2392 ชาวมุสลิมบ้านหน้าถํ้าได้คน้ พบพระพุทธรู ปในถํ้าคูหาภิมุข ครั้นชาวจีนและไทยพุทธ บ้านเปาะเส้งทราบข่าว จึงได้ขอเจรจาแลกเปลี่ยนพื้นที่ต้ งั ชุมชนกับชาวมุสลิมเพราะตั้งบ้านเรื อนอยู่ บริ เวณพุทธสถานที่ไม่ใช่ส่ิ งที่ตนนับถือ ด้วยเหตุน้ ีชาวมุสลิมบ้านหน้าถํ้าจึงย้ายไปอยู่ที่บา้ นเปาะเส้ง และชาวพุทธเปาะเส้งก็ยา้ ยไปตั้งถิ่นฐานที่บา้ นหน้าถํ้าจนถึงปั จจุบนั ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มีชาวไทยพุทธจากเมืองยะหริ่ งอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานที่นี่ 10 ครัวเรื อน และ ได้ขออนุญาตจากเจ้าเมืองยะลาเพือ่ สร้างวัดหน้าถํ้า 48 1

ภาพที่ 4.2 : ภาพแสดงแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

ทรัยนุง มะเด็ง และคณะ, ยาลอเป็ นยะลา ความเปลี่ยนแปลงของบ้ านเมืองและคนรุ่ นใหม่ ในเมืองและปริ มณฑล เมืองยะลา. 158-168.

48

70


4.1.2 ที่ต้งั ลักษณะทางกายภาพ และเส้ นทางคมนาคม 4.1.2.1 ที่ต้งั บ้านหน้าถํ้าตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของที่ว่าการอําเภอเมืองยะลา ห่ างจากที่ว่าการอําเภอ เมืองยะลาประมาณ 8 กิโลเมตร ตั้งอยูบ่ นถนนเพชรเกษม ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 409 บริ เวณ กิโลเมตรที่ 4 ถึงกิโลเมตรที่ 8 มีพ้นื ที่ท้ งั หมดประมาณ 9.18 ตารากิโลเมตร หรื อประมาณ 5,740 ไร่ 49 2

ภาพที่ 4.3 : แผนที่ตาํ บลหน้าถํ้า (ที่มา : https://www.google.co.th/maps) 4.1.2.2 ลักษณะภูมิประเทศ มีสภาพเป็ นที่ราบลุ่ม นํ้าท่วมถึงเกือบทุกปี ที่หมู่ที่ 1 มีภูเขา 2 ลูก สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ จะใช้ปลูกไม้ผล ไม้ยนื ต้น ทํานา และสวนยางพารา 4.1.2.3 ลักษณะภูมิอากาศ ตําบลหน้าถํ้าตั้งอยูใ่ นเขตมรสุ มตะวันออกเฉี ยงเหนื อและลมมรสุ มตะวันตกเฉี ยงใต้ ทํา ให้มีสภาพอากาศแบบร้อนชื้น มี 2 ฤดู คือ ฤดูร้อน เริ่ มตั้งแต่ เดือนกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม ฤดูฝน เริ่ มตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม - กุมภาพันธ์

49

กรมพัฒนาชุมชน. (2552). ข้ อมูลจังหวัดยะลา. ยะลา : สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดยะลา. 7.

71


อุณหภูมิต่าํ สุ ดเฉลี่ยประมาณ 23.1 องศาเซลเซียส และสู งสุด เฉลี่ย 32.7 องศาเซลเซียส มี ปริ มาณนํ้าฝนเฉลี่ย 2,281.6 มิลลิเมตรต่อปี มีฝนตกเฉลี่ย 135 วันต่อปี โดยในเดือนตุลาคม พฤศจิกายน มีฝนตกชุกที่สุด 4.1.2.4 การปกครอง ตําบลหน้าถํ้าแบ่งการปกครองออกเป็ น 4 หมู่บา้ นคือ บ้ านหน้ าถํ้า (หมู่ที่ 1) บ้านหน้าถํ้าเป็ นคําเรี ยกในภาษาไทย ส่ วนภาษามลายูเรี ยกว่า “บา โย” หมายถึงต้นไม้ชนิ ดหนึ่ งที่มีมากบนภูเขาหน้าถํ้า เป็ นไม้เนื้ ออ่อนมี ชื่อว่า “ต้นพรากวาง” จะขึ้น เฉพาะบริ เวณที่เป็ นภูเขาหิ นเท่านั้น บ้านหน้าถํ้าเป็ นแหล่งท่องเที่ยวและเป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธ ไสยาสน์ ซ่ ึ ง เป็ นที่ เคารพสั ก การะของคนพุ ท ธ จึ ง มี ล กั ษณะเป็ นชุ ม ชนเมื องมากกว่า หมู่ บ ้า นอื่ นๆ ชาวบ้านมีการศึกษาดีและประกอบอาชีพหลากหลาย ซึ่งแตกต่างจากหมู่บา้ นอื่นๆ บ้ า นบั น นั ง ลาวู (หมู่ ที่ 2) คํา ว่ า บัน นัง มาจาก บื อ แน หมายถึ ง ที่ น า ส่ ว นคํา ว่ า ลู ว า หมายถึงข้างนอก จึงแปลว่า นานอก เหตุที่เรี ยกว่านานอกหรื อบันนังลูวา ก็เพราะในช่วงต้นเมืองที่ท่า สาป พื้นที่บริ เวณนี้เป็ นด้านนอกของบ้านท่าสอป เมื่อมีคนท่าสาปมาทํานาบริ เวณนี้ จึงเรี ยกกันว่า บือ แนลูวา จนกลายเป็ นชื่อหมู่บา้ นในทุกวันนี้ บ้ า นกู แบอีเต๊ ะ (บาเต๊ ะ ) (หมู่ ที่ 3) คํา ว่า กู แบ หมายถึ ง คูน้ ํา หรื อบึ ง ส่ วนคํา ว่า อี เ ต๊ ะ หมายถึง เป็ ด แต่เดิมพื้นที่บริ เวณนี้มีคูน้ าํ ซึ่งมีเป็ นที่ชาวบ้านเลี้ยงไว้จาํ นวนมาก บ้ านหน้ าถํา้ เหนื อ (หมู่ที่ 4) เป็ นหมู่บา้ นที่แยกออกมาจากบ้านหน้าถํ้า หมู่ที่ 1 เมื่อปี พ.ศ. 2545 ที่เรี ยกกันว่า บ้านหน้าถํ้าเหนื อ เพราะตั้งอยู่ทางทิศเหนื อของตําบล โดยใช้ถนนเพชรเกษมเป็ น แนวเขต 4.1.2.5 อาณาเขตติดต่ อของบ้ านหน้ าถํา้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตําบลลิดล และตําบลท่าสาป อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ทิศใต้ ติดต่อกับ ตําบลเปาะเส้ง อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตําบลท่าสาป อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตําบลลิดล และตําบลเปาะเส้ง อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

72


ภาพที่ 4.4 : แผนที่แสดงอาณาเขตตําบลหน้าถํ้า 73


4.1.2.6 ประชากร ตําบลหน้าถํ้ามีประชากรทั้งหมด 3,267 คน แบ่งเป็ นชาย 1,639 คน และหญิง 1,628 คน หรื อประมาณร้ อยละ 1.96 ของประชากรทั้งอําเภอเมื องยะลา จํานวนครัวเรื อน 768 หลังคาเรื อนมี ความหนาแน่ นเฉลี่ย 340 คน/ตารางกิโลเมตร โดยอัตราการเพิ่มของประชากรประมาณร้อยละ 0.41 (สํารวจเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2562) ประชากรในพื้นที่ ประกอบไปด้วย ชาวไทยพุ ท ธ ชาวไทยเชื ้อสายจี น และ ชาวไทย มุสลิม หรื อไทยมลายู ในปี พ.ศ. 2559 มีการประมาณการว่าประชากรร้ อยละ 37.57 นับถือศาสนา พุทธ โดยอาศัยอยู่ในหมู่ที่ 1 บ้านหน้าถํ้า และหมู่ที่ 2 บ้านหน้าถํ้าเหนื อ ร้อยละ 62.39 นับถือศาสนา อิสลาม โดยอาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านบันนังลูวา และหมู่ที่ 3 บ้านกูแบอีเต๊ะ (บาเต๊ะ) และนับถือ ศาสนาอื่น ๆ ร้อยละ 0.04% มีมสั ยิดจํานวนสามแห่ง และวัดหนึ่งแห่ง 50 3

ประชากร (คน) จํานวนครัวเรื อน ชาย หญิง รวม บ้านหน้าถํ้า 459 461 920 260 บ้านบันนังลูวา 341 322 663 107 บ้านกูแบอีเต๊ะ 394 409 803 145 บ้านหน้าถํ้าเหนือ 445 436 881 256 รวม 1,638 1,639 1,628 768 ตารางแสดงจํานวนประชากรจํานวนครัวเรื อนจําแนกตามรายหมู่บา้ น ปี พ.ศ. 2559 51

หมู่ที่ 1 2 3 4

ชื่ อหมู่บ้าน

4.1.2.7 การศึกษา - โรงเรี ยนประถมศึกษา - โรงเรี ยนมัธยมศึกษา - โรงเรี ยนอาชีวศึกษา - โรงเรี ยน/สถาบันชั้นสู ง - ที่อ่านหนังสื อพิมพ์ประจําหมู่บา้ น / ห้องสมุดประชาชน

50 51

3 1 4

แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง

กรมพัฒนาชุมชน. (2552). ข้ อมูลจังหวัดยะลา. ยะลา : สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดยะลา. 8-9. สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดยะลา. (2559). จํานวนประชากรตําบลหน้ าถํา้ จําแนกรายหมู่บ้าน ปี พ.ศ. 2559.

74


4.1.2.8 สาธารณสุ ข - โรงพยาบาลของรัฐขนาด – เตียง - สถานีอนามัยประจําตําบล/หมู่บา้ น - สถานีพยาบาลเอกชน - ร้านขายยาแผนปัจจุบนั - อัตราการมีและใช้ส้วมราดนํ้า 4.1.2.9 ระบบเศรษฐกิจ การเกษตร - พื้นที่ทาํ นาทั้งหมด - พื้นที่ทาํ สวนผลไม้ - พื้นที่ทาํ สวนผัก - พื้นที่ทาํ สวนยาง - พื้นที่ปลูกไม้ยนื ต้น

50 ไร่ 101 ไร่ 5 ไร่ 20 ไร่ 18 ไร่

การปศุสัตว์ - เลี้ยงวัว จํานวน - เลี้ยงหมู จํานวน - เลี้ยงเป็ ด – ไก่ จํานวน

75

แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง 100 %

จํานวนครัวเรื อนที่ทาํ นา 3 ครัวเรื อน จํานวนครัวเรื อนที่ทาํ สวนผลไม้ 30 ครัวเรื อน จํานวนครัวเรื อนที่ทาํ สวนผัก 10 ครัวเรื อน จํานวนครัวเรื อนที่ทาํ สวนยาง 5 ครัวเรื อน จํานวนครัวเรื อนที่ปลูกไม้ยนื ต้น 20 ครัวเรื อน

7 ครัวเรื อน 2 ครัวเรื อน 10 ครัวเรื อน

4.1.2.10 การพาณิชย์ และกลุ่มอาชีพ - กลุ่มอาชีพทําขนม - กลุ่มตัดเย็บเสื้ อผ้า - กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง - กลุ่มอาชีพทําเฟอร์นิเจอร์จากไม้ - กลุ่มอาชีพผ้าสี มายา

1 ร้อยละ


4.1.3 สภาพทางสั งคม กิจกรรม ความเชื่ อ ประเพณี ทางวัฒนธรรม 4.1.3.1 การนับถือศาสนา ชุ ม ชนบ้า นหน้า ถํ้า เป็ นแหล่ ง พื้ น ที่ ชุ ม ชนที่ มี ค วามหลากหลายทางด้า นศาสนาและ วัฒนธรรมของประชากรที่อยูอ่ าศัย โดยสามารถแบ่งจํานวนของกลุ่มประชากรจากการนับถือศาสนา ดังนี้ - ศาสนาพุทธ 37.57 % - ศาสนาอิสลาม 62.39 % - ศาสนาซิกส์ 0.04% 52 5

4.1.3.2 กิจกรรม ความเชื่ อ ประเพณีทางวัฒนธรรม ชุมชนบ้านหน้าถํ้ามีประเพณี ที่สําคัญ โดยสามารถแบ่งตามการนับถือทางความเชื่อและ ศาสนา 2 กลุ่มใหญ่ ได้ดงั นี้ (1) กลุ่มประชากรชาวไทยพุทธ ที่มีการนับถือทางคติความเชื่อผีสางเทวดา สิ่ งที่เหนื อ ธรรมชาติ และพุทธศาสนา มีศูนย์กลางในการประกอบกิจกรรมทางศาสนาคือ วัดคูหาภิมุข (วัดถํ้า) ซึ่ง มีกิจกรรมและประเพณี ทางวัฒนธรรม ดังนี้ (1.1) ประเพณีรับเทวดาหรื อเทียมดา ประเพณี รับเทียมดา หรื อบางท้องถิ่นเรี ยกรับเจ้าเข้าเมือง เป็ นประเพณี ที่ทาํ กันในช่วง สงกรานต์ เนื่ องจากวันสงกรานต์ถือเป็ นวันขึ้นปี ใหม่ของไทยโบราณ ชาวใต้เชื่ อกันว่า ในช่ วงวัน สงกรานต์เ ป็ นวัน เถลิ ง ศกใหม่ มี เ ทวดาผลัด เปลี่ ย นกัน ลงมาคุ้ม ครองโลกและดู แ ลทุ ก ข์สุ ข ของ บ้านเมืองก่อนวันสงกรานต์หนึ่ งวัน เทวดาองค์เก่าจะลาโลกไป ในวันสงกรานต์จึงว่างเทวดา หลังวัน สงกรานต์หนึ่งวัน เทวดาองค์ใหม่ก็จะมาแทน จึงจัดให้มีพธิ ีรับเทียมดาพร้อมธงเทียวประกอบพิธี เพื่อ ความเป็ นสิ ริมงคล แก่ชีวิตในรอบปี และต้อนรับเทวดาองค์ใหม่ ชาวบ้านมีความเชื่อว่า ในหมู่บา้ นจะมี เทวดามาคุม้ ครองรักษาชาวบ้านให้อยู่เย็นเป็ นสุ ข ทํามาหากินได้คล่องโดยเชื่อว่าเทวดาที่มาคุม้ ครอง จะกลับไปในวันขึ้นปี ใหม่ไทย 13 เมษายน และเทวดาองค์ใหม่ก็จะมาอยู่คุม้ ครองรักษาต่อจากเทวดา องค์เก่า ชาวบ้านจึงได้จดั พิธีรับ-ส่ งเทวดา ขึ้นในวันดังกล่าว ตั้งแต่เวลา 18.00 น. เป็ นต้นไป เรี ยกว่า "ประเพณี รับเทวดา” เพื่อแสดงความกตัญ�ูกตเวทีต่อเทวดาที่ได้มาก็จะทําให้บุคคล ในครอบครัวนั้น อยูเ่ ย็นเป็ นสุ ข ระเบียบพิธีกรรม ประเพณี รับเทียมดา หรื อรับเทวดา เป็ นประเพณี อย่างหนึ่ง ที่ทาํ กันใน เดือน 6 หลังวันสงกรานต์ไปแล้วถ้าเป็ นข้างขึ้นจะต้องเป็ นวันคี่ เช่น ขึ้น 5 คํ่า ขึ้น 9 คํ่า และถ้าเป็ น องค์การบริ หารส่ วนตําบลหน้าถํ้า. (2559). แผนพัฒนาท้ องถิ่น 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) ขององค์ การบริหารส่ วน ตําบลหน้ าถํา้ อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา. องค์การบริ หารส่วนตําบลหน้าถํ้า : สํานักงานปลัด. 2 - 5. 52

76


ข้างแรมจะต้องเป็ นวันคู่ เช่น แรม 6 คํ่า แรม 11 คํ่า เป็ นต้น ที่เป็ นเช่นนี้ เพราะชาวบ้านมีความเชื่ อว่า ในวันแรมคู่ หรื อวันขึ้นคี่ จะมีแต่เทวดาเท่านั้น ที่จะมารับของบวงสรวง ผีช้ นั ตํ่าอื่น ๆ ไม่สามารถรับ ของบวงสรวงได้

ภาพที่ 4.5 : บรรยากาศประเพณี รับเทวดาหรื อเทียมดาตําบลหน้าถํ้า (1.2) ประเพณีการแก้ บน ประเพณี การแก้บนพ่อท่านเจ้าเขา จัดขึ้นในช่วง ข้างขึ้นของเดือน 6 (อธิ กมาส) โดย ประเพณีจะมีหนึ่งปี -เว้นหนึ่งปี เป็ นประเพณี ทางความเชื่อที่อยูค่ วบคูก่ บั ชุมชนและสื บทอดมากว่า 100 ปี เพื่อช่วยบรรเทาความทุกข์ดา้ นจิตใจในทางที่ถูกต้อง และยึดถือปฎิบตั ิมาจนถึงปัจจุบนั โดยพิธีจะเริ่ มในช่วงเช้า มีการเซ่ นไหว้ 4 แห่ ง คือ ไหว้เจ้าคุณพุทธไสยารักษ์ ไหว้ หลวงพ่อทวด ไหว้พ่อท่านเจ้าเขา และไหว้พ่อท่านบรรทม หรื อ พระพุทธไสยาสน์ และในช่วงคํ่ามีพิธี สงฆ์ เมื่อทําพิธีสงฆ์เสร็ จ ชาวบ้านก็จะนําธูปเทียนดอกไม้มาไหว้สักการะบริ เวณด้านหน้าเขา มีการจุด ประทัด รวมทั้งการยิงปื นขึ้นบนฟ้าแก้บน เพื่อเป็ นการบอกกล่าวถึงการมาแก้สิ่งที่บนบานศาลกล่าวไว้ พร้อมทั้งจัดเตรี ยมการแสดงมหรสพสมโภชน์ คือ มโนราห์ และ หนังตะลุง โดยแสดงตลอดระยะเวลา 3 วัน 3 คืน 77


ภาพที่ 4.6 : บรรยากาศประเพณี แก้บนพ่อท่านเจ้าเขา การจุดประทัด และเล่นหนังตะลุงแก้บน (1.3) พิธีมหามงคลห่ มผ้ าไสยาสน์ พิ ธี ส มโภชผ้า ห่ ม พระพุ ท ธไสยาสน์ เป็ นกิ จกรรมที่ เกิ ดขึ้นภายหลัง เพื่ อเป็ นการ ส่ งเสริ ม ฟื้ นฟู อนุรักษ์ขนบธรรมเนี ยมประเพณี โดยการรวมกันจัดเตรี ยมนําผ้าไตรจีวรขนาดใหญ่ข้ นึ ห่มองค์พระพุทธไสยน์ ในวันสงกรานต์ เพือ่ ความเป็ นสิ ริมงคลแก่พุทธศาสนิกชนในพื้นที่และจังหวัด ยะลา

78


ภาพที่ 4.7 : บรรยากาศการแห่ผา้ ขึ้นห่มองค์พระพุทธไสยาสน์ วัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า (1.4) พิธีตักบาตรเทโว ตําบลหน้ าถํา้ ประเพณี ตกั บาตรเทโวของชาวไทยพุทธในหมู่บา้ นหน้าถํ้า นิ ยมปฏิ บตั ิ ในวันออก พรรษา ซึ่ งตรงกับแรม 1 คํ่า เดือน 11 เป็ นวันทําบุญพิเศษ มีกิจกรรมคือ การทําข้าวต้มลูกโยน การ เตรี ยมของทําบุญใส่ บาตร ที่วดั คูหาภิมุขมีการจัดพานพุ่มและเตรี ยมสถานที่ในบริ เวณวัดเพื่อให้คนใน ชุมชนมาทําบุญตักบาตร โดยมีการเตรี ยมงานก่อนหนึ่ งวัน โดยที่วดั คูหาภิมุขนี้ จะทําการตักบาตรแก่ พระสงฆ์จาํ นวนหลายรู ปที่เดินลงมาจากถํ้าพระนอนเปรี ยบเสมือนกับพระพุทธเจ้าเสด็จกลับยังสู่ โลก และเมื่อทําบุญตักบาตรเรี ยบร้อยแล้ว พระสงฆ์จะประพรมนํ้าพระพุทธมนต์เพื่อความเป็ นสิ ริมงคล

79


ภาพที่ 4.8 : บรรยากาศประเพณี ตกั บาตรเทโว วัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า (1.5) งานบุญชักพระ งานบุญชักพระ มาจากความเชื่อที่ว่า พระพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากสวรรค์หลังโปรด พระพุทธมารดา ชาวบ้านจึงทําเรื อพระมารับพระพุทธเจ้า เป็ นงานบุญยิง่ ใหญ่ในวันออกพรรษาซึ่งตรง กับวันแรม 1 คํ่า เดือน 11 เป็ นประเพณี สําคัญของพุทธศาสนิ กชนในจังหวัดทางภาคใต้ เช่น สงขลา สุ ราษฏร์ธานี นครศรี ธรรมราช พัทลุง ปัตตานี ยะลา ในสมัยพระครู พรหมทอง จททฺสิริ เจ้าอาวาสองค์ ที่ 4 ของวัดหน้าถํ้าได้ริเริ่ มสร้างเรื อพระที่ใช้คนลาก โดยหัวเรื อเป็ นรู ปงูใหญ่หรื องูจงอาง ซึ่ งปกติเรื อ ของวัดอื่นๆ จะทําเป็ นรู ปพญานาค พิธีชกั พระหยุดไปในสมัยพระพุทธไสยารักษ์ เจ้าอาวาสองค์ที่ 7 เพราะเมื่อลากไปแล้วชาวบ้านไม่ยอมลากเรื อกลับวัดและไปเที่ยวงานชักพระที่อื่นต่อ และได้กลับมา ฟื้ นฟูและสร้ างเรื อพระขึ้ นใหม่ใ นสมัยปั จจุ บ ันโดยเป็ นเรื อพระที่ มีข นาดใหญ่และประดับประดา สวยงาม

80


ภาพที่ 4.9 : เรื อพระของตําบลหน้าถํ้าและบรรยากาศงานบุญชักพระ (1.6) ประเพณีวันสารทเดือน 10 (ชิงเปรต) ประเพณี วนั สารทเดื อน 10 (ชิ งเปรต) เป็ นงานประเพณี ที่จดั ตั้งขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ใน รอบปี ของวัดหน้าถํ้า มีการปฏิบตั ิกนั มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ไม่เพียงเฉพาะชาวบ้านหน้าถํ้าเท่านั้น ที่มาร่ วมงาน คนจากท้องถิ่นอื่นก็นิยมมาร่ วมงานเป็ นจํานวนมาก เพราะมีการจัดงานอย่างยิง่ ใหญ่และ มีขบวนแห่ รอบหมู่บา้ น จัดขึ้นในวันแรม 15 คํ่า เดือน 10 ซึ่ งมีความเชื่อว่าวันดังกล่าวจะมีการปล่อย วิญญาณของบรรพบุรุษให้มาเยี่ยมบ้านเรี ยกว่า วันรั บเปรต ลูกหลานจะไปทําพิธีตอ้ นรั บที่ วดั โดย จัดเตรี ยมขนมต้ม ขนมลา ขนมกระยาสารท ขนมเจาะหู ขนมบ้า ไปวางไว้บนร้านเปรตที่อยูใ่ นบริ เวณ วัด ก่อนเพลจะมีการเชิญวิญญาณลงมารับเครื่ องสังเวย ขนมอีกส่ วนหนึ่งจะเอาไปไว้ใน บัวสกุล ให้แก่ ผูล้ ่วงลับไปแล้ว และจะมีการทําบุญโดยเขียนชื่อบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้วใส่ ไว้ใน “บัว” หรื อเจดีย ์ ใส่ ก ระดู ก คนตายโดยจําลองทําเป็ นชิ้นใหญ่ ประมาณ 11.00 น. พระสงฆ์จะสวดและมี ก ารถวาย

81


ภัตตาหารเพล หลังจากนั้นพระสงฆ์จะดึงสายสิ ญจน์เพื่อให้ชาวบ้านหรื อเด็กๆ ที่มาร่ วมงานแย่งขนม และสิ่ งของที่วางอยูบ่ นร้านเปรต เป็ นอันเสร็ จพิธี 53

\ ภาพที่ 4.10 : บรรยากาศประเพณี วนั สารทเดือน 10 (ชิงเปรต) ตําบลหน้าถํ้า (2) กลุ่มประชากรชาวไทยมุสลิม ที่มีการนับถือศาสนาอิสลาม นิกายสุ หนี่ มีศูนย์กลางใน การประกอบกิจกรรมทางศาสนาคือ มัสยิดดารุ ลสลาม (มัสยิดบ้านบันนังลูวา) และมัสยิดยาแมะ บ้าน ตะโละแว โดยมีกิจกรรมและประเพณี ทางวัฒนธรรม ดังนี้ (2.1) ประเพณีวันอาซูรอ อาชูรออ์ แปลว่า วันที่ 10 เป็ นวันไว้อาลัยโศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้นต่ออิมามฮุเซนบิน อะลีย ์ บินอะบีฏอลิบ เนื่องจากถูกสังหารในสงคราม อัฏฏ็อฟ ในอิรัก เมื่อวันที่ 10 มุฮรั รอม ฮ.ศ. 61 ซึ่ง ตรงกับวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 680 มุสลิมในประเทศไทย มีการทําอาหารชนิดหนึ่งเรี ยกว่า บูโบร์อาชูรอ เป็ นคําในภาษามลายูปาตานี - กลันตัน เป็ นชื่อขนมกวนชนิ ดหนึ่ง เป็ นคําที่เพี้ยนมาจากคําว่า บูบูรอาชู รออ์ ในภาษามลายูมาตรฐานที่แปลว่า ขนมกวนวันที่สิบนัน่ เอง อาชูรออ์ เป็ นคําที่ยมื จากภาษาอาหรับ ทรั ยนุ ง มะเด็ง, อับดุ ลเร๊ าะมัน บาดา และ วลัยลักษณ์ ทรงศิ ริ. (2553). ยาลอเป็ นยะลา ความเปลี่ยนแปลงของ บ้ านเมืองและคนรุ่นใหม่ ในเมืองและปริมณฑลเมืองยะลา. กรุ งเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . 96-102.

53

82


อาชูรออ์ แปลว่าวันที่ 10 ซึ่ งในอิสลามหมายถึงวันที่ 10 แห่ งเดือน มุฮรั รอม แห่ งปฏิทินอิสลาม ชาว มลายูในภาคใต้จะมีการทําบุญร่ วมกัน โดยการทําขนมที่มีชื่อว่า บูโบซูรอ วิธีการทําก็คือ โดยการ กวน ข้าว นํ้าตาล มะพร้าว กล้วย ผลไม้อื่นๆ และวัตถุดิบต่างๆ ที่ชาวบ้านนํามา เอามาผสมกันในกะทะใหญ่ และช่วยกันกวนคนละไม้คนละมือ จนกระทัง่ ทุกอย่างเละจนกลายเป็ นเนื้ อเดียวกัน มีการปรุ งรส ให้มี รสชาติหวาน ตัดด้วยรสเค็มนิดหน่อย จนกระทัง่ ว่า ได้ที่แล้วจึงตักใส่ ถาดรอให้ขนมเย็นเอาไปเลี้ยงคน หรื ออาจจะเก็บ ไว้กินวันต่อไปก็จะมีรสชาติอร่ อยไปอีกแบบ ผูร้ ู ้เชื่อว่าประเพณี การกวนขนมในวันนี้

ภาพที่ 4.11 : บรรยากาศการทําบูโบร์ อาชูรอของชาวมุสลิมตําบลหน้าถํ้า ในวันอาซูรอ (2.2) ประเพณีวันเมาลิด มุสลิมในบางสังคมได้แสดงออกถึงความรัก การให้เกียรติยกย่อง ท่านนบีมุฮมั หมัด (ซ.ล.) โดยจัดงานคล้ายวันเกิดของท่านขึ้น การจัดงานเมาลิดนบี เกิดขึ้นเป็ นครั้งแรกในโลกที่ประเทศ อียิปต์ เมื่ อปี ฮ.ศ. 362 บรรยากาศของงานเมาลิ ดสมัยนั้น เต็มไปด้วยความครึ กครื้ น มี การประดับ ประดาสถานที่ต่างๆ ด้วยแสงสี มีการชุมนุมกัน และอ่านอัลกรุ อ่านที่มสั ญิด อ่านโคลง กลอน บทสุ ดดี และชีวประวัติของท่านนบี โดยผูท้ ี่มีเสี ยงดี พร้อมกันนั้นก็มีการจัดสถานที่สาํ หรับแจกจ่ายทานบริ จาค แก่ผทู ้ ี่ยากจนขัดสน ในระยะหลังๆ มานี้ ไม่มีการจัดงานเมาลิดอย่างเอิกเริ กเช่นก่อน นอกจากการจัด 83


ของชาวฎอริ กตั เมื่อถึงวันที่ 12 รอบีอุลเอาวัล รัฐบาลประกาศให้หยุดราชการ 1 วัน ภายหลังเวลามัก ริ บ หรื อ อี ช าอฺ ก็ จ ะมี อี ม านประจํา มัส ญิ ด ต่ า งๆ หรื อ อาจารย์ผู ม้ ี ชื่ อ เสี ย งแสดงปาฐกถาเกี่ ย วกับ ชี วประวัติของท่าน มีปีหนึ่ งทางการได้จดั งานรําลึ กถึ งเกี ยรติ ประวัติของ อัลบูซีรียฺ ผูป้ ระพันธ์บท กลอน "อัลบุร-ดะฮฺ " ซึ่ งบรรยายถึงประวัติของท่านนบี โดยได้จดั ให้ศิลปิ นผูม้ ีน้ าํ เสี ยงดีอ่านคํากลอน บุรดะฮฺ เป็ นท่วงทํานองเคล้ากับเสี ยงดนตรี 54 7

ภาพที่ 4.12 : โครงการงานส่ งเสริ มประเพณี วนั เมาลิด โดยองค์การบริ หารส่ วนตําบลหน้าถํ้า (2.3) ประเพณีวันฮารีรายอ ฮารี รายอเป็ นวันสําคัญของชาวมุสลิมทัว่ โลก ซึ่งชาวมุสลิมได้เดินทางกลับภูมิลาํ เนา ของตนเอง เพื่อเข้าร่ วมประกอบพิธีกรรมทางศาสนาโดยพร้อมเพรี ยงกัน พบปะสังสรรค์ และเพื่อขอ อภัยซึ่งกันและกัน ช่วงเวลาในรอบ 1 ปี ของชาวมุสลิม มีวนั ฮารี รายอ 2 ครั้ง คือ

54

มุนีร สมศักดิ์ มูหะหมัด. (2548) .วันและเดือนที่สาํ คัญในอิสลาม. กรุ งเทพฯ:สมาคมนักเรี ยนเก่าศาสนวิทยา.

84


อีดิลฟิ ตรี ตรงกับวันที่ 1 เดือนเชาวาล ตามปฏิทินอิสลาม ซึ่งเป็ นวันออกบวชหลังจาก ได้ถือศีลอดตลอดระยะเวลา 1 เดือน นิยมเรี ยกวันนี้ว่า “วันออกบวช” หรื อ “รายาปอซอ“ หรื อ “รายาฟิ ตเราะห์” ในวันอิดิลฟิ ตรี เป็ นวันแรกของการออกจากเทศกาลถือศีลอดของชาวมุสลิม เป็ นวันแห่ ง รางวัล และการตอบแทนสําหรับผูผ้ ่านการทดสอบประจําปี ในเดือนรอมมาฎอนด้วยการบังคับตัวเอง จากการลด ละ การกินดื่ม กิเลสตัณหา และได้ละหมาดตะรอวีหฺเป็ นเวลาเกือบหนึ่ งชัว่ โมงเต็มตลอด คํ่าคืนของเดือนรอมมาฎอน ในวันอิดิลฟิ ตรี มุสลิมทุกคนต้องตื่นแต่เช้าเพื่อทําการอาบนํ้าสุ นัต และไปละหมาด อิดิลฟิ ตรี ที่มสั ยิดประจําหมู่บา้ น ชาวมุสลิมนิ ยมใส่ เสื้ อผ้าของใหม่ ๆ สะอาด สวยงาม มีกลิ่นหอม ทุก คนต้องปฏิบตั ิบริ จาคซากาตฟิ ตเราะห์ วันอิดิลฟิ ตรี ถือได้ว่ามุสลิมทุกคนมีความรื่ นเริ ง สนุกสนาน เพราะในวันนี้ ได้ไปเยี่ยมเยียนญาติพี่น้อง ไปเคารพผูท้ ี่ล่วงลับไปแล้ว และทําความสะอาดสุ สาน นํา ขนมไปแจกจ่ายให้กบั เด็ก ๆ เพื่อนบ้าน เลี้ยงอาหารคนในหมู่บา้ น สําหรับอาหารที่นิยมทําในวันฮารี รายอ คือ ตูปะ (ข้าวเหนียวต้ม)

ภาพที่ 4.13 : บรรยากาศในวันฮารี รายออิดิลฟิ ตรี ของชาวมุสลิมตําบลหน้าถํ้า การรวมญาติและการแจกจ่ายแบ่งปันขนมแก่เด็ก ๆ ในพื้นที่ 85


อีดิลอัฏฮา ตรงกับวันที่ 10 เดือน ซุลฮิจญะห หรื อตรงกับเดือน 12 ของปฏิทินอิสลาม ซึ่งถัดจากวันอารอฟะฮ และเป็ นวันส่ งท้ายของสิ บวันแรกในเดือนซูลฮิจญะ มีลกั ษณะคล้ายกับวันตรุ ษ อิดิลฟิ ตรี แต่มีขอ้ แตกต่างตรงที่มีการทํากุรบาน เป็ นวันเฉลิมฉลองเนื่ องในโอกาสมุสลิมทัว่ โลกได้ไป ประกอบพิธีฮจั ญ์ ณ นครเมกกะ อันเป็ นวันริ เริ่ มประกอบพิธีฮจั ญ์ ส่ วนผูไ้ ม่ได้ไปก็ให้ไปประกอบพิธี ละหมาดอิดิลอัฏฮายังมัสยิดประจําหมู่บา้ น ในวันอิดิลอัฎฮาจะมีการทํากุรบาน โดยมีการเชือดสัตว์ กุรบาน ได้แก่ อูฐ วัว แพะ แล้วนําเนื้อที่เชือดแล้วมาบริ จาคให้กบั ผูย้ ากจน หรื อทําอาหารเลี้ยงคนใน หมู่บา้ นก็ได้ บรรยากาศในวันฮารี รายอของชาวมุสลิมทัว่ โลกเต็มไปด้วยรอยยิ้ม เสี ยงหัวเราะ เสี ยง ความสุ ข บรรดาลูก ๆ ขออภัยต่อพ่อแม่ บรรดาภรรยาขออภัยต่อสามี และเพื่อนบ้านขออภัยต่อกันใน เรื่ องผิดพ้องหมองใจกันตลอดระยะเวลา 1 ปี ที่ผ่านมา และมีการแสดงออกด้วยการสวมกอด การจูบ มือ การหอมแก้มทั้งสองของพ่อแม่ แสดงถึงความรักความเข้าใจที่มีต่อกัน ทุกครอบครัวมีความอบอุ่น เต็มไปด้วยบรรดาลูก ๆ หลานๆ กลับบ้านโดยพร้อมเพรี ยงกัน 55 8

ภาพที่ 4.14 : บรรยากาศชาวมุสลิมร่ วมทําพิธีละหมาดในวันฮารี รายอ ณ ศูนย์เยาวชน จังหวัดยะลา 55

บุญเสริ ม ฤทธาภิรมย์. (2555). วัฒนธรรมและวิถีชีวิตชาวสตูล. สงขลา : พิมพการ. 7.

86


(2.4) พิธีการแต่ งงาน พิธีการแต่งงาน หรื อ “นีเกาะห์”ของชาวมุสลิมท้องถิ่นยาลอมีพิธีการที่คล้ายกับการ แต่งงานทัว่ ไป แต่ต่างที่ชุดสวมใส่ ซึ่ งจะบ่งบอกถึงเอกลักษณ์และความถูกต้องทางด้านศาสนา การ แต่งงานของชาวยาลอส่ วนใหญ่จะนิยมแต่งงานภายในหมู่บา้ นหรื อเครื อญาติเดียวกัน โดยเฉพาะคนที่ มีเชื้อสายเจ้าเมือง สังเกตจากคนที่มีคาํ นําหน้าว่า กู นิ ต่วน ตูแว เป็ นต้น ซึ่ งก่อนการแต่งงานจะมีการ หมั้น หรื อ “ตูแน” ด้วยการตั้งสิ นสอด “มาสกาเวณ” ของฝ่ ายหญิง ก่อน จากนั้นจะกําหนดวันแต่ง “วลี มะห์” โดยการแต่งงานจะมีการอ่าน “อีญาบ” หรื อ คํากล่าวโดยอิหม่าม การ “กอบูร” หรื อ การกล่าว ยอมรับของฝ่ ายชาย โดยจะมีขนั หมากจัดขึ้นตามความเหมาะสม โดยนิ ยมจัดเป็ นเลขคี่ เมื่อการจัดงาน เสร็ จเรี ยบร้อย เจ้าบ่าวจะเข้าหออยู่ที่บา้ นเจ้าสาวเป็ นเวลา 7 วัน หลังจากนั้นจากสาวจะมาอยู่ที่บา้ น เจ้าบ่าวอีก 7 วัน และสําหรับในสังคมมุสลิมสามารถมีภรรยาได้หลายคน ซึ่งในชุมชนจะพบกับผูค้ นที่ มีบทบาทในหมู่บา้ น เช่น กํานัน ผูใ้ หญ่บา้ น โต๊ะครู และคนมีฐานะ เป็ นต้น

ภาพที่ 4.15 : บรรยากาศพิธีการแต่งงานชาวมุสลิม (ที่มา : ปัตตานีบา้ นฉัน. (2560). บทความออนไลน์ ประเพณี มาแกปูโล๊ะชาวไทมุสลิม. https://yala-patani-naratiwat.blogspot.com/2017/10/blog-post_12.html.) 87


(2.5) พิธีกรรมเกีย่ วกับความตาย พิธีกรรมเกี่ยวกับความตาย เริ่ มตั้งแต่การส่ งสัญญาณว่ามีคนตายในหมูบ่ า้ นด้วยการตี กลองที่มสั ยิดหรื อสุ เหร่ า เป็ นจังหวะ 6 ครั้ง เพื่อให้คนในหมู่บา้ นและญาติมาร่ วมไว้อาลัย (มือนาวัต) เมื่อมีผเู ้ สี ยชีวิตเป็ นชาวมุสลิมในทุกกรณี จาํ เป็ นต้องมีการอาบนํ้าศพ ยกเว้นบางท้องถิ่นที่ให้ขอ้ ยกเว้น สําหรับศพที่จมนํ้าตาย ถูกไฟไหม้ ถูกฆ่า ถูกสัตว์กดั ตาย ตายมาแล้วหลายวัน หรื อตายจากสนามรบ เพื่อป้องกันประเทศหรื อศาสนา เป็ นต้น เมื่ออาบนํ้าเสร็ จแล้วจะทําการห่ อศพและให้คน 4 คน หามศพ ไปยังมัสยิด เพื่อทําพิธีละหมาดศะ นําโดยการสวดอธิษฐานต่อพระเจ้าของอิหม่าม หลังจากนั้นจากรี บ นําศพไปยังกูโบร์ (สุ สาน) ทันที เพราะต้องทําการฝั งศพภายใน 24 ชัว่ โมง ตามหลักการของศาสนา โดยการวางศพจะวางศพแบบตะแคงให้หัวหันไปทางทิศ เหนื อและหันหน้าไปทางทิ ศ ตะวัน ออก หลังจากกลบดิ นแล้วทุกคนที่มาร่ วมพิธีจะกล่าววิงวอนต่อองค์อลั ลอฮฺ เพื่อให้ผูต้ ายมี จิตใจแน่ วแน่ พอที่จะเผชิญการสอบสวนจากทูตรับใช้ขององค์อลั ลอฮฺ และสุ ดท้ายกล่าว “ตัลกีม” อําลาศพ ก่อนจะ ก้าวออกมาจากหลุมศพ 7 ก้าว 56 9

ภาพที่ 4.16 : พิธีกรรมฝังศพทางศาสนาอิสลาม (ที่มา : ข่าวชัด Khaochad.co.th.) ทรั ยนุ ง มะเด็ง, อับดุ ลเร๊ าะมัน บาดา และ วลัยลักษณ์ ทรงศิ ริ. (2553). ยาลอเป็ นยะลา ความเปลี่ยนแปลงของ บ้ านเมืองและคนรุ่นใหม่ ในเมืองและปริมณฑลเมืองยะลา. กรุ งเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . 80-96.

56

88


4.1.4 วิเคราะห์ ศักยภาพและความเข้ มแข็งของชุมชนหน้ าถํา้ 4.1.4.1 ศักยภาพและความเข้ มแข็งทางประวัติศาสตร์ สั งคม และวัฒนธรรม จากการศึกษาบริ บททางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมของชุมชนหน้าถํ้า ตลอดจนมรดก ทางวัฒ นธรรม และบริ บ ทของพื้ น ที่ สะท้อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ศัก ยภาพและความเข้ม แข็ ง ในทางด้า น ประวัติศ าสตร์ สั ง คม และวัฒนธรรมที่ มี ค วามชัดเจน โดยพบว่า ในบริ เวณพื้นที่ แหล่ ง มรดกทาง วัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ที่ต้ งั อยูใ่ นเขตตําบลหน้าถํ้า และรวมถึงอาณาบริ เวณพื้นที่ที่ใกล้เคียงถึงบ้านท่า สาป มีความสัมพันธ์และมีความเชื่ อมโยงกับประวัติศาสตร์ ที่ต้ งั ของพัฒนาการขึ้นเป็ นแหล่งที่อยู่ อาศัย และพัฒนาการของการสร้างบ้านแปงเมืองของเมืองยะลามาตั้งแต่อดีต โดยมีหลักฐานที่เป็ นสิ่ ง รับรองให้เห็นจากแหล่งเอกสารหรื อบันทึกที่เป็ นลายลักอักษร รวมถึงการขุดค้นทางโบราณคดีและ การพบร่ องรอยทางประวัติศาสตร์ ของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมตั้งแต่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ และ สื บ เนื่ อ งเรื่ อ ยมายัง ปั จ จุ บ ัน โดยยัง คงเป็ นแหล่ ง มรดกทางวัฒ นธรรมทที่ ย งั มี ค วามสั ม พัน ธ์ และ เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของผูค้ นในพื้นที่เรื่ อยมาจนปัจจุบนั ดัง นั้น บริ บ ททางประวัติ ศ าสตร์ สั ง คม และวัฒ นธรรมของชุ ม ชน ตลอดจนมรดกทาง วัฒนธรรม และบริ บทของพื้นที่แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมภายในชุมชนหน้าถํ้า จึงเป็ นสิ่ งที่แสดงให้ เห็นถึงศักยภาพและความเข้มแข็งทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจน 4.1.4.2 ผู้นําชุมชน และผู้นําองค์กร ศัก ยภาพและความเข้ม แข็ ง ในด้า นผู น้ ํา ชุ ม ชน และผู น้ ํา องค์ก รในทุ ก ภาคส่ ว น ที่ มี ค วาม เกี่ยวเนื่ องต่อการบริ หารส่ งเสริ มและพัฒนาต่อศักยภาพและความเข้มแข็งของชุมชนในพื้นที่ ตาํ บล หน้าถํ้า และแหล่งมรดกทางวัฒนาธรรมวุดคูหาภิ มุข โดยสามารถวิเคราะห์งถึ งศักยภาพและความ เข้มแข็งตามระดับของภาระหน้าที่ในการการเดินงานเพื่อบริ หารและพัฒนาชุมชน ได้ดงั นี้ ผู้นําชุมชนและผู้นองค์ กรในระดับผู้บริหาร ชุมชนหน้าถํ้าอยู่ภายใต้อาํ นาจการบริ หาร การปกครองในระดับการปกครองส่ วนท้องถิ่นรู ปแบบทัว่ ไป โดยมี องค์การบริ หารส่ วนตําบลหน้าถํ้า เป็ นผูด้ ูแลรับผิดชอบในหน้าที่การจัดระบบและบริ การสาธารณะ ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ และการ ปกครองระดับหมู่บา้ นทั้ง 4 หมู่บา้ นในพื้นที่อยู่ภายใต้การดูแลของ ผูใ้ หญ่บา้ น ซึ่ งได้รับการคัดเลือก จากประชากรภายในพื้ นที่ และได้รับการแต่ง ตั้ง รั บ รองจากส่ วนราชการภายใต้ก รมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย โดยการดําเนิ นงานของทั้งสองภาคส่ วน มีการแบ่งหน้าที่ และการบริ หารจัดการ ภายในพื้นที่ชุมชนหน้าถํ้า ดังนี้ องค์ ก ารบริ ห ารส่ วนตํ า บลหน้ า ถํ้ า มี ก ารจัด ทํา แผนการดํา เนิ น งานภายใต้ ก รอบ ยุทธศาสตร์ แห่ งชาติ และกรอบความมัน่ คงภายในพื้นที่ชายแดนใต้ตามนโยบายของ กอ. รมน. ภาค 4 89


ซึ่งได้จดั การดําเนินการเกี่ยวกับการบริ การ และส่ งเสริ มในด้านการดําเนินชีวิต และความปลอดภัยของ ประชากรในพื้นที่ ซึ่ งมีการจัดบริ การสาธารณะสุ ข การส่ งเสริ มทางด้านการศึกษา ศาสนา และการ ดูแลในด้านสาธารณูปโภค ผู้ใหญ่ บ้าน ซึ่ งภายในพื้นที่ชุมชนหน้าถํ้ามีการแบ่งออกเป็ นทั้งสิ้ น 4 หมู่บา้ น โดยในแต่ ละหมู่ บ ้า นนั้น ผูใ้ หญ่ บ ้า นจะมี หน้า ที่ ใ นการดู แลความเรี ย บร้ อยภายในหมู่ บ ้า นความ รั บ ผิดชอบ ลูกบ้าน โดยการดําเนิ นงานของทุกภาคส่ วน ที่มีการแบ่งหน้าที่ และการบริ หารจัดการภายใน พื้นที่ชุมชนหน้าถํ้า เพื่อดูแลการบริ หาร และมีการพัฒนาทั้งทางด้านคุณภาพชีวิต ตลอดทั้งส่ งเสริ ม และร่ วมดําเนินการจัดการดูแลในทุกกิจกรรมของชุมชน โดยมีความพร้อมและได้รับความร่ วมมือจาก ประชากรในพื้นที่ที่ได้รับผิดชอบดูแลเป็ นอย่างดี ซึ่ งสามารถชี้วดั และประเมิณผลทางด้านศักยภาพ และความเข้มแข็งทางด้านการบริ หารและขับเคลื่อนได้จากการดําเนินกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณี ตอลดทั้งการส่ งเสริ มคุณภาพชีวติ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ภายในชุมชน เช่น งานกิจกรรมประเพณี ทางความ เชื่ อและศาสนาทั้งไทยพุทธ-ไทยมุสลิม การจัดกิจกรรมส่ งเสริ มภูมิปัญญาและวัฒนธรรมเพื่อสร้ าง อาชีพและเศรษฐกิจ การจัดกิจกรรมเพื่อส่ งเสริ มเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว เป็ นต้น โดยมีองค์การบริ ส่ วนตําบลหน้าถํ้าเป็ นผูจ้ ดั สรรและจัดหางบประมาณ ร่ วมกับการขับเคลื่อนดําเนิ นงานจากตัวแทน ผูน้ าํ ของแต่ละชุมชนและผูค้ นในชุมชนเป็ นผูร้ ่ วมขับเคลื่อนตามเป้าหมายที่ต้งั ไว้ 4.1.4.3 ความสั มพันธ์ และความร่ วมมือทางสั งคมและวัฒนธรรมของชุมชน ศักยภาพและความเข้มแข็งทางด้านความร่ วมมือทางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน ในพื้นที่ ชุ ม ชนตํา บลหน้า ถํ้า ต่ อ การจัด การแหล่ ง มรดกทางวัฒ นธรรมวัด คู ห าภิ มุ ข และต่ อ กิ จ กรรมทาง วัฒนธรรมประเพณี ทางศาสนาของชุ ม ชน สามารถวิเคราะห์ ถึ ง ศัก ยภาพและความเข้ม แข็ ง โดย ประเมิณและบชี้วดั ได้จากการดําเนิ นการ จากกิจกรรมทางชุมชนที่มีประชากรในชุมชนเข้ามามีส่วน เกี่ยวข้องและให้ความร่ วมมือกันระหว่างผูน้ าํ ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานอื่น ๆ ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง ดังนี้ ทางด้ านความร่ วมมื อระหว่ างศาสนาและสั งคมในชุ มชน ในเชิ งความสัมพันธ์และ ความร่ ว มมื อ ทางด้า นศาสนาและสั ง คมในชุ ม ชน จากอาณาเขตพื้ น ที่ ที่ ต้ ัง ของแหล่ ง มรดกทาง วัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ที่มีบริ เวณคาบเกี่ยวและทับซ้อนอยูใ่ นสองหมู่บา้ น คือ หมู่ที่ 1 บ้านหน้าถํ้า ซึ่ง เป็ นที่ต้ งั เขตพื้นที่ ชุมชนของประชากรชาวไทยพุทธ นับถื อศาสนาพุทธเป็ นหลัก และหมู่ที่ 2 บ้าน บันนังลูวา เป็ นที่ต้ งั เขตที่พ้ืนที่ชุมชนของประชากรชาวไทยมุสลิม นับถือศาสนาอิสลามทุกหลังคา เรื อน ซึ่ งเป็ นเครื่ องแสดงให้เห็นถึงความต่างทางด้านศาสนา วัฒนธรรมประเพณี งของประชากรใน เขตพื้นที่แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมให้เห็นได้ชดั เจน แต่ในทางด้านความสัมพันธ์และความร่ วมมือ 90


ทางด้านศาสนาและสังคมในชุมชนกลับได้รับการให้ความร่ วมมือซึ่ งกันและกันเป็ นอย่างดี เรื่ อยมา โดยสามรถสังเกตและประเมิณได้จากการร่ วมการบริ หารจัดการดูแลของพื้นที่แหล่งมรดกทางวัฒน วัฒนธรรมที่อยู่ในอาณาเขตที่ตนรับผิดชอบ ตลอดทั้งการให้ความร่ วมมือและการสร้างความสัมพันธ์ ทางด้านวิถีชีวิตจากกิจกรรมประเพณี ทางวัฒนธรรมที่มีการส่ งเสริ มและพึ่งพาซึ่งกันและกันเรื่ อยมาใน ระหว่างประชากรของทั้งสองหมู่บา้ นที่ให้ความสําคัญต่อและมีส่วนร่ วมในการจัดงานกิจกรรมต่าง ๆ

ภาพที่ 4.17 : ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างประชากรชาไทยพุทธ-ไทยมุสลิม จากการจัดกิจกรรมประเพณี และการดําเนินวิถีชีวิต ความร่ วมมื อจากหน่ วยงานและองค์ ก รต่ าง ๆ ซึ่ งในปั จจุบนั ทางด้านภาพลักษณ์ และ ความปลอดภัย ในเขตพื้นที่ตาํ บลหน้าถํ้า และบริ เวณโดยรอบใกล้เคียง ได้รับความดูแลจากทางหน่วย กองร้อยระวังและป้ องกันภัยที่ 3 สังกัดกองทัพภาคที่ 4 โดยมีการเข้ามาตั้งฐานที่มน่ั และกองกําลังเพื่อ ดู แลรั กษาความปลอดภัยให้แกประชาชน นักท่องเที่ ยวและผูส้ ัญจรโดยใช้เส้นทางถนนหมายเลข 4098 ซึ่ งตั้งกองร้อยอยู่ภายในวัดคูหาภิมุขทางด้านทิศใต้ ในเขตเดียวกับที่พระสงฆ์ที่จาํ วัดอยู่ ณ วัด คูหาภิ มุข ซึ่ งนอกเหนื อภารกิ จหน้าที่นอกเหนื อจากการดู และรั กษาความสงบให้แก่พ้ืนที่ ใ นเขตที่ 91


รับผิดชอบแล้วนั้น กลุ่ม อาสารสมัครและทหารจากกองร้อยเหล่านี้ ได้สร้างขวัญและกําลังใจให้แก่ ผูค้ นในพื้นที่เป็ นอย่างมาก โดยการเข้าไปร่ วมดําเนิ นกิจกรรมและช่วยเหลื อผูค้ นในชุมชนในทุก ๆ เทศกาล อีกทั้งยังเข้าร่ วมกิจกรรมกับทางโรงเรี ยนและสถาศึกษาเพื่อร่ วมฝึ กฝนวินยั ให้แก่นกั เรี ยน ซึ่ ง ถื อเป็ นการสร้ า งภาพลัก ษณ์ และสร้ า งสั ม พันธ์ ระหว่า งเจ้า หน้า ที่ รัก ษาความมั่นคงจากทางรั ฐ กับ ประชาชนในเขตพื้นที่ และยังเป็ นสิ่ งที่ ช่วยลดแรงตรึ งเครี ยดหรื อภาพลักษณ์ อนั เลวร้ ายที่เกิ ดจาก เหตุการณ์ความไม่สงบตลอดระยะเวลาเรื่ อยมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 ให้คลายความวิตกและเสริ มสร้ าง สี สันให้ชุมชนกลับมามีวิถีชีวติ ที่สงบสุ ขและมีความสุ ขได้ดงั เดิม

ภาพที่ 4.18 : ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานองค์กรความมัง่ คงในพื้นที่ กับประชากรชาไทยพุทธ-ไทยมุสลิมจากการจัดกิจกรรมประเพณี และการดําเนินวิถีชีวิต

92


4.2 การศึกษาแหล่ งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 4.2.1 ประวัติความเป็ นมาและตํานานของวัดคูหาภิมุข วัดคูหาภิมุข เดิมชื่ อวัดหน้าถํ้า และได้เปลี่ยนชื่ อเป็ น วัดคูหาภิมุข ในสมัยจอมพลแปลก พิบูล สงคราม เป็ นนายกรัฐมนตรี ตั้งอยู่เลขที่ 136 หมู่ 1 ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้ อที่ประมาณ 52 ไร่ เศษ อาณาเขตทิศเหนือยาว 123 วา ติดต่อกับที่ดินของนาย เศียร คูหามุข ทิศใต้ติดต่อกับคูถนนเข้าป่ าช้า และหมู่บา้ น ทิศตะวันออกยาวตามเชิงเขาพระนอน ทิศ ตะวันตกยาว 222 วา ติดต่อกับถนนเข้าตําบลสะเอะ มีระยะทางห่ างจากตัวเมืองยะลาไปตามถนนหลา วง หมายเลข 409 ประมาณ 8 กิโลเมตร

ภาพที่ 4.19 : วัดคูหาภิมุข (วัดหน้าถํ้า) ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยลา 93


ภาพที่ 4.20 : ภาพลายเส้นแสดงอาณาเขตและองค์ประกอบวัดคูหาภิมุข (วัดหน้าถํ้า) (ที่มา : สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา 57) 10

สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา. (2556). แบบสํารวจข้ อมูลโบราณสถานและโบราณคดี โบราณสถานภูเขาหน้ าถํา้ (วัด คูหาภิมุข) ตําบลหน้ าถํา้ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. 57

94


วัดคูหาภิมุขเริ่ มสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2390 พระบามสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้นายเมือง บุตรพระยายะหริ่ งมาเป็ นพระยายะลา ให้มีราชทินนามว่า พระยาณรงค์ฤทธิ์ ศรี ประเทศ วิเศษวังษา มาตั้งที่ว่าราชการอยู่ที่บา้ นท่าสาป ตําบลท่าสาป ริ มแม่น้ าํ ปั ตตานี บริ เวณนี้ เป็ นแหล่งอุดม สมบูรณ์อยู่ใกล้แม่น้ าํ เหมาะแก่การทําไร่ ทํานา ประกอบกับเจ้าเมืองยะลาคนนี้ เป็ นคนที่มีอธั ยาศัย ไมตรี ดี ใจกล้า ง เป็ นที่ รัก ใคร่ นับ ถื อของคนไทยมุส ลิ ม และคนไทยพุ ท ธ จึ ง ได้มี ราษฎรหั ว เมื อ ง ใกล้เคียงชักชวนมาตั้งบ้านเรื อนอยู่ดว้ ยเป็ นจํานวนมาก ในจํานวนนี้ มีราษฎรจากเมืองยะหริ่ งมาด้วย สิ บครัวเรื อน โดยมีนายคงทอง เพ็ชนกล้า เป็ นหัวหน้ามาตั้งบ้านเรื อนอยู่ที่บา้ นหน้าถํ้า ชาวพุทธกลุ่มนี้ เมื่ ออยู่นานเข้า ก็ เห็ นความจํา เป็ นที่ จะสร้ า งวัด ขึ้น เพื่ อประกอบพิ ธี บ าํ เพ็ญกุ ศ ลในหมู่บ ้า นแห่ ง นี้ ประกอบกับได้พบเห็ นพระพุทธไสยาสน์ในถํ้าใกล้ๆ กับที่ ต้ งั บ้านเรื อนจึ งได้ขออนุ ญาตต่อพระยา ยะลา พระยายะลาเห็นถึงความจําเป็ นจึงอนุญาตให้สร้างวัดนี้ข้ ึนมา นางคงทอง เพ็ชรกล้า และคณะจึง ได้ตกลงกันสร้างวัดขึ้นที่ริมเขาหน้าถํ้าที่มีพระนอนแห่ งนี้ ในเนื้ อที่เป็ นรู ปสามเหลี่ยมชายธง กว้าง ประมาณ 20 วา ยาว 80 วา

ภาพที่ 4.21 : วัดคูหาภิมุขเมื่อแรกสร้างเป็ นสํานักสงฆ์ในบริ เวณบ้านหน้าถํ้า (ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ ยะลา) 95


ภาพที่ 4.22 : วัดคูหาภิมุขเมื่อแรกสร้างเป็ นสํานักสงฆ์ในบริ เวณบ้านหน้าถํ้า (ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ ยะลา) เมื่ อได้ส ร้ า งขึ้นแล้วได้ไ ปนิ ม นต์พ ระไชยทองฉตฺ ตกโร (พ.ศ. 2390-2405) จากวัดเสื้ อเมื อง อําเภอสะทิงพระ จังหวัดสงขลามาเป็ นเจ้าอาวาสรู ปแรก พร้อมด้วยพระอันดับจํานวนหนึ่ ง นับเป็ น พระรุ่ นแรกของวัดแห่งนี้ ระยะต้นๆ สถานที่แห่งนี้มีฐานะเป็ นสํานักสงฆ์ ไม่มีถาวรวัตถุเป็ นหลักฐาน กุฏิวิหารปลูกสร้างกันในลักษณะอาคารชัว่ คราวเท่านั้น ในปี พ.ศ. 2404-2418 เจ้าอาวาสรู ปที่สอง คือ พระครู ธรรมขันธ์ (เพ็ชร ฐิตวํไส) ซึ่ งพุทธบริ ษทั ได้ไปนิ มนต์มาจากวัดยุโป อําเภอเมือง จังหวัดยะลา ในสมัยนี้ ได้สร้างถาวรวัตถุข้ ึนหลายอย่าง เช่น พระอุโบสถ (หลังเก่า) พระพุทธรู ปก่ออิฐถือปูนขาว เป็ นพระประทับนัง่ ปางต่างๆ ประดิษฐานไว้ในถํ้าจํานวน 15 รู ป (พระพุทธรู ปเหล่านั้นได้ชาํ รุ ดและมี การปฏิสังขรณ์ข้ ึนภายหลัง) กุฏิถาวะ 2 หลัง และศาลาการเปรี ยญ 1 หลัง เจ้าอาวาสรู ปที่สาม (พ.ศ. 2418-2435) คือ พระศุขจนฺ ทสโร ในสมัยของเจ้าอาวาสรู ปนี้ได้มีการก่อสร้างอนุสาวรี ยท์ ี่บรรจุอฐั ิของ พระครู ธรรมขันธ์ข้ ึน แต่ยงั ไม่เสร็ จสิ้ น ท่าก็ลาสิ กขาบทเสี ยก่อน จากนั้นพระครู พรหมทอง จนฺ ทสิ ริ (พ.ศ. 2445-2470) เจ้าอาวาสรู ปที่สี่ซ่ ึ งมาจากวัดตานี นรสโมสร ได้สร้างอนุสาวรี ยท์ ี่ คา้ งไว้จนเสร็ จ เรี ย บร้ อ ย และได้พ ัฒ นาถาวรวัต ถุ ข้ ึ น หลายอย่ า ง ได้แ ก่ การฏิ สั ง ขรณ์ พ ระพุ ท ธไสยาสน์ และ พระพุทธรู ป 15 องค์ การสร้างบันไดชั้นล่างด้วยอิฐถือปูนสี ขาวเพื่อเป็ นทางขึ้นถํ้าพระนอน การสร้าง พระอุโบสถแบบอิฐถือปูนขาวอย่างถาวร 1 หลัง การสร้างกุฏิแบบถาวรเพิ่มอีก 1 หลัง ศาลาการเปรี ยญ ถาวร 1 หลัง การสร้างถนนข้ามลําห้วยและการย้ายวัดออกสู่ทางตะวันตกของลําห้วยอันเป็ นที่ต้งั วัดใน ปัจจุบนั 58 11

58

วิจิตร ศรี สุวิทธานนท์ . (2538). แหล่งศิลปกรรมวัดคูหาภิมุข. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 33-35.

96


ภาพที่ 4.23 : วัดคูหาภิมุข (วัดหน้าถํ้า) ในปัจจุบนั 97


ภาพที่ 4.24 : พระพุทธรู ปที่ประดิษฐานในถํ้าแจ้ง วัดคูหาภิมุข (วัดหน้าถํ้า) 98


ภาพที่ 4.25 : ภาพลายเส้นแสดงลักษณะทางกายภาพปังแสดงแนวเขต โบราณคดีภเู ขาหน้าถํ้า (วัดคูหาภิมุข) (ที่มา : สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา 59) 12

สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา. (2556). แบบสํารวจข้ อมูลโบราณสถานและโบราณคดี โบราณสถานภูเขาหน้ าถํา้ (วัด คูหาภิมุข) ตําบลหน้ าถํา้ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. 59

99


4.2.2 มรดกวัฒนธรรมของวัดคูหาภิมุข (1) พระพุทธไสยาสน์

ภาพที่ 4.26 : พระพุทธไสยาสน์ หรื อ พ่อท่านบรรทม (พระนอน) ประดิษฐานภายในโถงถํ้าแจ้ง วัดคูหาภิมุข (1.1) รายละเอียดข้ อมูล องค์พระพุธไสยาสน์ หรื อสามัญเรี ยกว่า “พระนอน” ตั้งภายในโถงถํ้าภูเขาหน้าถํ้า หมู่ ที่ 1 ตํา บลหน้า ถํ้า อํา เภอเมื อ ง จัง หวัด ยะลา ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธไสยานส์ จํา นวน 1 องค์ สั น นิ ษ ฐานสร้ า งในปี พ.ศ. 1300 ก่ อ ด้ว ยอิ ฐ ถื อ ปู น ชาวตํา บลหน้า ถํ้า เรี ย กว่ า “พ่ อ ท่ า นบรรทม” ประดิษฐานอยู่กลางถํ้า องค์พระมีพญานาคแผ่พงั พานปอยู่เหนื อเศียร พระกรขวาทอดข้อศอกออกไป ข้างหน้า ดังอ้างอิงจากหลักฐานและบันทึก สมเด็จกรมพระยานริ ศรานุ วตั ิวงศ์ทรงลายพระหัตถ์ทูลสมเด็จกระพระยาดํารงรา ชานุภาพเกี่ยวกับพระพุทธไสยาสน์ดงั กล่าวความว่า “...ไปถํา้ แจ้ งนมัสการพระนอน พระในถํา้ นั้นไม่ งามแต่ เก่ ามาก เผอิ ญได้ พบนายหอม (หลวงสถานพิ ทักษ์ ) ซึ่ งเป็ นคนที่ เกล้ ากระหม่ อมเคยใช้ อยู่ที่ กระทรวงโยธา กระทรวงส่ งไปเป็ นโยธาปั กษ์ ใต้ แกได้ เป็ นผู้ซ่อมแซมในพระนั้น แกว่ าพระนอนนั้น ปั้ นด้ วยดินดิบ ฝนตกลงมาถูกองค์ พระ ชะเอาองค์ พระแหว่ งโหว่ ไปแห่ งหนึ่ง ในองค์ พระกลวงเดินได้ ตลอด แกเอาซีเมนต์ ปะช่ องที่โหว่ ไว้ แม้ พระพุทธรู ปอื่น ๆ ในถํา้ นั้นก็ทาํ ด้ วยยดินดิบเหมือนกัน...” 100


สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงมีลายพระหัตถ์ทูลตอบสมมเด็จฯ กรมพระ ยานริ ศรานุ วตั ิวงศ์ว่า “...พระนอนของเก่านั้น หม่อมฉันได้เคยสังเกตที่เป็ นชั้นโบราณจริ ง ๆ พระกร ขวาทําทอดออกไปข้างหน้าตามแบบอินเดีย สังเกตเห็นพระนอนที่ถ้ าํ เมืองยะลานี้ องค์หนึ่ง และพระ นอนศรี จกั รองค์หนึ่ ง เห็นจะมีองค์อื่นอีก แต่เวลานี้ นึกไม่ออก เห็นจะเป็ นพระนอนชั้นเดิมทํา นอน กลางแจ้ง มาชั้นหลังทําวิหารพร้อมด้วยองค์พระ ทอดศอกไปข้างหน้ากีดเสา ที่ทรงสื บได้ว่าพระนอน ในถํ้าเมืองยะลาก่อด้วยดินดิบนั้น หม่อมฉันยังไม่รู้ แต่มีที่สังเกตอยู่อย่างหนึ่ งที่หัวนาคราชอยู่ในถํ้า พระนอนนั้น เหมือนกับที่มีอยู่ที่พระบรมธาตุเมืองนครศรี ธรรมราช น่าจะเป็ นของที่สร้างในสมัยศรี วิชยั ด้วยกัน...” ในขณะที่ พ ระญาณโมลี ได้ก ล่ า วถึ ง พระพุ ท ธไสยาสน์ อ งค์ น้ ี ไว้ว่ า “...เมื่ อ ได้ พิจารณาลักษณะพระพุทธไสยาสน์ ให้ ละเอียดถี่ถ้วนแล้ ว จะชวนให้ เห็นอย่ างชัดเจนว่ า ชั้นเดิมทีเดียว คงจะไม่ ใช่ พระพุทธไสยาสน์ องค์ นี ้ คงเป็ นรู ปพระโพธิ สัตว์ แบบมหายานปางนารายณ์ บรรทมสิ นธุ์ เพราะนาคแผ่ พังพานที่ปรากฏอยู่บนพระเศียร เพราะพระนอนบนพระยานาคนีไ้ ม่ มีพระพุทธประวัติ ตอนใด นอกจากรู ปพระนารายณ์ นอนในเกษียรสมุทรอันเป็ นปางหนึ่ งของพระโพธิ สัตว์ ของพวก มหายาน ฉะนั้นเมื่อสมัยหิ นยานแผ่ เข้ ามาในหั วเมืองนีแ้ ล้ ว ลัทธิ มหายานเสื่ อมไปราว พ.ศ. 1800 เศษ จึ งมีการดัดแปลงเป็ นพระพุทธรู ปแบบหิ นยาน...” 60 13

ภาพที่ 4.27 : องค์พระพุทธไสยาสน์องค์เดิม ก่อนได้รับการบูรณะโดยการก่ออิฐโบกปูนทับ (ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ ยะลา) สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา. (2556). แบบสํ ารวจข้ อมูลโบราณสถานและโบราณคดี โบราณสถานภูเขาหน้ าถํา้ (วัด คูหาภิมุข) ตําบลหน้ าถํา้ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. 2. 60

101


ภาพที่ :

ภาพที่ 4.28 : ภาพองค์พระพุทธไสยาสน์ บันทึกจากการวัดคูหาภิมุข โดยเสด็จของสมเด็จกรมพระยานริ ศรานุวตั ิวงศ์ (ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ ยะลา) สภาพของพระพุทธไสยาสน์องค์ปัจจุบนั เป็ นองค์ที่มีการบูรณะใหม่ครอบทับองค์ เดิมไว้ ขนาดดังนี้

1. องค์พระพุทธรู ปวัดความยาว ตั้งแต่ปลายพระเกศาถึงพระบาท ยาว 13 วา 2 ศอก (27 เมตร) 2. องค์พระพุทธรู ปตอนพระนาภี วัดความได้โดยรอบ 4 วา 1 คืบ 7 นิ้ว 3. พระเกศา ยาว 3 ศอก 3 นิ้ว 4. พระเศียร ยาว 2 วา 2 ศอก 3 นิ้ว 5. พระพักตร์ กว้าง 1 วา 3 ศอก ยาว 1 วา 3 ศอก 1 คืบ 3 นิ้ว 6. พระโอษฐ์ วัดความยาวจากริ มข้างซ้ายถึงข้างขวา 2 ศอก 1 คืบ 7 นิ้ว 7. พระเนตร ยาว 1 ศอก 1 คืบ 7 นิ้ว 8. พระกรรณ ยาง 1 ศอก 2 คืบ 5 นิ้ว 9. พระอุระ กว้าง 2 วา 10 นิ้ว 10. พระกร ยาว 6 วา 1 คืบ 2 นิ้ว 11. พระหัตถ์ ยาว 1 วา 2 ศอก 12. พระบาท ยาว 2 วา 1 คืบ 9 นิ้ว 102


ภาพที่ 4.29 : องค์พระพุทธไสยาสน์ในปัจจุบนั ภายหลังได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์ (1.2) คุณค่ าและความสํ าคัญ เป็ นหลักฐานแสดงถึ งมรดกวัฒนธรรมชิ้ นสําคัญและเป็ นโบราณวัตถุ ที่ มีอายุอยู่ ในช่วงสมัยศรี วิชยั พุทธศตวรรษที่ 14-16 เดิมปั้นขึ้นด้วยดินดิบ โครงไม้ไผ่สานเป็ นตระแกรง ภายใน องค์พระจึงกลวงเดินได้ตลอด (1.3) แหล่ งข้ อมูลและการสื่ อความหมาย ปั จจุบนั ภายในบริ เวณถํ้าแจ้งที่ประดิษฐานองค์พระพุทธไสยาสน์ ไม่มีสื่อที่แสดง ข้อ มู ล เพื่ อ เกิ ด การสร้ า งการรั บ รู ้ แ ละความเข้า ใจ นอกจากแหล่ ง ข้อ มู ล โดยผู ร้ ู ้ ใ นชุ ม ชน กลุ่ ม ยุ ว มัคคุเทศก์จากโรงเรี ยนบ้านหน้าถํ้า สามารถนําชมและถ่ายทอดให้ความรู ้ในเบื้องต้น รวมถึงเอกสาร หนังสื อ 103


(2) ถํา้ ศิลป 12

ภาพที่ 4.30 : แหล่งโบราณคดีถ้ าํ ศิลป หมู่ที่ 2 บ้านนังลูวา ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา (2.1) รายละเอียดข้ อมูล ถํ้าศิลป ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 ตําบลหน้าถํ้า ในใต้ภูเขาหน้าถํ้า ห่ างจากถํ้าพระนอนไปทาง หัวเขาทิศใต้ ใช้เส้นทางเดียวกับวัดคูหาภิมุข ผ่านโรงเรี ยนถํ้าศิลป ประมาณ 1 กิโลเมตร โบราณสถานถํ้าศิลปได้รับการขึ้นทะเบียนและประกาศราชกิจจานุ เบกษา การขึ้น ทะเบียนโบราณสถานสําหรับชาติ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน “ภาพเขียนสี เป็ น 104


พระพุทธรู ป” ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา (เดิมเป็ นอําเภอสะเตง) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ที่ 52 ตอนที่ 75 วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478

ภาพที่ 4.31 : แผนที่แสดงที่ต้ งั แหล่งโบราณคดีถ้ าํ ศิลป (ที่มา : สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา 61) 14

สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา. (2556). แบบสํารวจข้ อมูลโบราณสถานและโบราณคดี โบราณสถาน ถํา้ ศิลป ตําบล หน้ าถํา้ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. กรมศิลปากร : กระทรวงวัฒนธรรม 61

105


(2.1.1) ลักษณะทางกายภาพ ดังนี้ บันได้ทางขึ้นไปยังปากถํ้า สู งจากพื้นดิน 28 เมตร ประมาณ 1.5 กิโลเมตร ปากถํ้าอยู่สูงจากพื้นดินเชิงเขาประมาณ 28.20 เมตร ทางเข้ากว้าง 2 เมตร สู ง ประมาณ 1.65 เมตร ระยะจากปากถํ้าลงไปยังพื้นถํ้าสู ง 4.95 เมตร ตัวถํ้ายาว 32.70 เมตร ส่ วนกว้าง ตั้งแต่ทางเข้าถึงผนังตรงข้าม 28.0 เมตร พื้นที่โบราณสถานประมาณ 616 ไร่ 3 งาน 43.10 ตารางวา ปากถํ้าหันหน้าไปทางทิศใต้ เพดานถํ้ามีรูช่องแสงส่ องช่อง พอให้ความสว่างในถํ้าในวันที่แสงแดดจัด จ้าน และเวลาพอเหมาะจะส่ องให้เห็นภาพบนผนัง ซึ่ งมีอยู่ 2 ตําแหน่ งบนผนัง 2 ด้าน ห่ างกัน 9.67 เมตร

ภาพที่ 4.32 : ภาพลายเส้นแสดงลักษณะทางกายภาพแหล่งโบราณคดีถ้ าํ ศิลป (ที่มา : สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา 62) 15

สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา. (2556). แบบสํารวจข้ อมูลโบราณสถานและโบราณคดี โบราณสถาน ถํา้ ศิลป ตําบล หน้ าถํา้ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. กรมศิลปากร : กระทรวงวัฒนธรรม 62

106


ภาพที่ 4.33 : ภาพลักษณะทางกายภาพปากทางเข้าโถงถํ้าศิลป

ภาพที่ 4.34 : ภาพลักษณะทางกายภาพภายในโถงถํ้าศิลป 107


ภาพที่ 4.35 : ภาพลายเส้นแสดงลักษณะทางกายภาพแหล่งโบราณคดีถ้ าํ ศิลป (ที่มา : สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา 63) 16

สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา. (2556). แบบสํารวจข้ อมูลโบราณสถานและโบราณคดี โบราณสถาน ถํา้ ศิลป ตําบล หน้ าถํา้ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. กรมศิลปากร : กระทรวงวัฒนธรรม 63

108


(2.1.2) ลักษณะและรู ปแบบทางศิลปะ สถาปัตยกรรม ลักษณะภายในโถงถํ้าประกอบด้วยภาพเขียนสี ที่เขียนขึ้นในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ และภาพเขียนสี ที่เกี่ยวข้องกับพุทธประวัติ ศิลปะสมัยศรี วชิ ยั แฝงอยู่ โดยภาพเขียนสี ดงั กล่าวมีลกั ษณะ พิเศษโดยเฉพาะแสดงให้เห้นถึงสกุลช่างท้องถิ่นอย่างชัดเจน ซึ่ งภาพศิลปกรรมบนผนังถํ้า สามารถ แบ่งออกได้เป็ น 2 ด้านคือ ผนังด้านตะวันออกเฉี ยงเหนือ และผนังด้านตะวันตกเฉียงเหนือ

ภาพที่ 4.36 : แผนผังแสดงการขุดค้นพบโบราณสถานและโบราณวัตถุภายในถํ้าศิลป (ที่มา : สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา 64) 17

สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา. (2556). แบบสํารวจข้ อมูลโบราณสถานและโบราณคดี โบราณสถาน ถํา้ ศิลป ตําบล หน้ าถํา้ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. กรมศิลปากร : กระทรวงวัฒนธรรม 64

109


ภาพที่ 4.37 : ภาพแสดงตําแหน่งภาพเขียนสี ภายในโถงถํ้าศิลป 110


ภาพศิลปกรรมบนผนังถํ้า สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ด้านคือ ภาพบนผนังด้ านตะวันออกเฉียงเหนื อ ปรากฏเป็ นภาพลงสี แดง แสดงกลุ่มคนเป่ า ลูกดอกและยิงธนู ซึ่ งจัดเป็ นภาพศิลปะถํ้าสมัยก่อนประวัติศาสตร์ และมีภาพลงสี ที่ลบเลือน เป็ นภาพ เชิงสัญลักษณ์และรู ปสัญลักษณ์ เข้าใจว่าเป็ นภาพศิลปะสมัยประวัติศาสตร์

ภาพที่ 4.38 : กลุ่มภาพเขียนสี บริ เวณผนังด้านทิศตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ภายในถํ้าศิลป ภาพบนผนังด้ านตะวันตกเฉียงเหนื อ ปรากฏเป็ นภาพลงสี แสดงภาพพระพุทธเจ้า และพระพุทธประวัติบางตอน

ภาพที่ 4.39 : กลุ่มภาพเขียนสี บริ เวณผนังด้านทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือ ภายในถํ้าศิลป 111


ซึ่งบนผนังในด้านนี้ สามารถแบ่งได้เป็ น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ 1) กลุ่มภาพคนเป่ าลูกดอก และยิงธนู ลงสี ดาํ และขูดเส้นเป็ นร่ องมี ลกั ษณะเป็ นโครงภาพ 2) กลุ่มภาพสัญลักษณ์ และพระพุทธ ประวัติ แต่สีลบเลื อนเห็ นเพียงรอยสี น้ ําตาล 3) กลุ่มภาพพระพุทธเจ้าและพระพุทธประวัติ ลงสี ดาํ (หรื อนํ้าเงิน) แดง เหลือง และขาว (1) กลุ่มภาพคนเป่ าลูกดอกและยิงธนู (ผนังด้ านทิศตะวันออกเฉียงเหนื อ) เป็ นกลุ่ม ภาพคนเป่ าลูกดอก ยิงธนู และเท้าสะเอว เห็นชัด 8 คน วิเคราะห์ว่าเป็ นภาพสมัยก่อยประวัติศาสตร์ แบบภาพลงสี ผสมลงรู ปรอยบนหิ น (Pictograph and Petroglyph Technique) เป็ นภาพลงสี ดาํ แบบเงา ทึบ สู งจากพื้นถํ้า 183 เซนติเมตร ขอบเขตของภาพ 154 x 70 เซนติเมตร

ภาพที่ 4.40 : ภาพกลุ่มคนเป่ าลูกดอกและยิงธนู 112


(2) กลุ่มภาพสั ญลักษณ์ และพระพุทธประวัติ (ผนังด้ านตะวันออกเฉี ยงเหนื อ) ถัด จากภาพกลุ่มคนเป่ าลูกดอก 3.40 เมตร ภาพสู งจากพื้น 3.30 เมตร ขอบเขตของภาพ 2x3 เมตร

ภาพที่ 4.41 : กลุ่มภาพสัญลักษณ์ และพระพุทธประวัติ วิ เคราะห์ ว่า เป็ นภาพเขี ยนสี สมัยประวัติศ าสตร์ แต่ สี หลุ ดร่ อนออกเหลื อรอยเป็ น ภาพสี น้ าํ ตาล จากรอยที่เหลืออยู่ มองเห็นเป็ นภาพต่าง ๆ ดังนี้ 1. บนสุ ดเป็ นภาพดวงตราแปดดวง

ภาพที่ 4.42 : กลุ่มสัญลักษณ์ดวงตราแปดดวง 113


ถัดลงมาเป็ นภาพคน 2 คน นัง่ หันหน้าเข้าหากัน โดยมีลกั ษณะรู ปร่ างคล้ายชาย-หญิง โดยมีการสันนิษฐานจากลักษณะอากัปกิริยาท่าทางว่าคือ ภาพเมขลาล่อแก้วรามสู ร

ภาพที่ 4.43 : ภาพคน 2 คน นัง่ หันหน้าเข้าหากัน (3) กลุ่มภาพล่ างสุ ด ตอนกลางเป็ นภาพคนนัง่ สามคน รื มซ้ายมือ (ของผูช้ ม) เป็ นภาพ คน 1 คน ริ มขวาสุ ด (ของผูช้ ม) เป็ นภาพพระพุทธรู ปประทับนัง่ 2 องค์ และพระพุทธรู ปประทับยืน 1 องค์ กลุ่มภาพพระพุทธเจ้าและพุทธประวัติ (ผนังด้านตะวันตกเฉี ยงเหนื อ) ภาพสู งจากพื้นตั้งแต่ 2 ถึง 4 เมตร ของเขตของภาพ 8.80x2 เมตร

ภาพที่ 4.44 : กลุ่มภาพพระพุทธเจ้าและพุทธประวัติ 114


ภาพที่ 4.45 : ภาพพระพุทธรู ปประทับนัง่ เรี ยงแถวต่อกันไปประมาณ 15 องค์ โดยยังคงเหลือที่สมบูรณ์มองเห็นได้ชดั 3 องค์

ภาพที่ 4.46 : ภาพคัดลอกลายเส้นจิตรกรรมพระพุทธรู ปประทับนัง่ ฝี มือการคัดลอกโดย นายมานิตย์ ภู่อารี ย ์ (ที่มา : สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา 65) 18

สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา. (2556). แบบสํารวจข้ อมูลโบราณสถานและโบราณคดี โบราณสถาน ถํา้ ศิลป ตําบล หน้ าถํา้ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. กรมศิลปากร : กระทรวงวัฒนธรรม 65

115


ภาพที่ 4.47 : ภาพธิดาพญามารที่ง 3 คือ นางตัญหา ราคา และอรดี ภาพที่ 4.48 : ภาพคัดลอกลายเส้น ฝี มือการคัดลอกโดย นายมานิตย์ ภู่อารี ย ์ (ที่มา : สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา 66) 19

สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา. (2556). แบบสํารวจข้ อมูลโบราณสถานและโบราณคดี โบราณสถาน ถํา้ ศิลป ตําบล หน้ าถํา้ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. กรมศิลปากร : กระทรวงวัฒนธรรม 66

116


ภาพที่ 4.49 : ภาพพระพุทธรู ปปางนาคปรก (ผนังด้านทิศตะวันตกเฉี ยงเหนื อ) นั บ จากผนั ง ด้ า นซ้ า ยมื อ เป็ นภาพเทวดาเหาะเขี ย นด้ ว ยสี แ ดง เหนื อ ขึ้ น ไปเป็ น พระพุทธเจ้าประทับนัง่ ปางมารวิชยั มีสาวกทั้ง 2 องค์ขนาบข้าง ตอนล่างของภาพเป็ นภาพพระพุทธรู ป ปางนาคปรก ปางสมาธิ ธิ ดาพญามารทั้ง 3 องค์ คือ นางตัณหา ราคา และอรดี ถัดไปเป็ นพระพุทธรู ป ประทับยืน พระพุทธรู ปปางลีลาหรื อรัตนจงกรมและพระพุทธรู ปปางมารวิชยั นัง่ บนบัลลังก์สูงมีพระ โพธิ สัตว์ (หรื อพระสาวก) อยู่สองข้าง ตอนล่างของพระพุทธรู ปปางสมาธิ เป็ นภาพขนาดเล็กแสดง ภาพคนคล้ายตัวหนังตะลุง เข้าใจว่าแสดงเป็ นภาพชาวบ้านหรื ออาจจะเป็ นพลมาร ซึ่ งรับกันกับภาพ ธิดามารที่ยนื อยูข่ า้ ง ๆ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ได้ให้ขอ้ คิดเห็นเกี่ยวกับภาพเขียนสี ที่ถ้ าํ และอาจารย์เขียน ยิม้ ศิริ ถอดความเป็ นภาษาไทย ดังความที่วา่ “...ภาพเขียนที่ถ้ าํ ศิลป แม้จะมีสภาพชํารุ ดมากก็จริ ง แต่ได้แสดงให้เห้นถึงสกุลช่าง ท้องถิ่นอย่างชัดเจน จึงยังมีศิลปะสมมัยศรี วิชยั แฝงอยู่ แม้จะไม่ถึงช่างชั้นครู ก็ตาม วิธีการเขียนภาพนั้น ก็ มี ล ัก ษณะพิ เ ศษเป็ นการเฉพาะ อัน เห็ น ได้ จ ากความกลมของภาพ ซึ่ งเป็ นอิ ท ธิ พ ลของงาน ประติมากรรม จึงเป้ นลักษณะตรงกันข้ามกับภาพจิตรกรรมไทยซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นภาพสองมิติ ภาพหมู่ พระพุทธรู ปที่มีสาวกพนมมือแดงความเคารพอยู่ขา้ ง ๆ ชวนให้นึกถึงพระพุทธรู ปจําหลักแบบศิลปะ 117


ศรี วิชยั มีลกั ษณะเด่นที่เส้นรอบนอก ความอ่อนช้อยของพระพาหาด้านขวากับส่ วนบนของเศียรอัน ราบแนบ ประกอบด้วยพระเกศมี ขนาดย่อม อี กทั้งวงพระรั ศมี อนั กลมนั้นก็ย่อมจะกล่าวได้ว่ามิใช่ (พระพุทธรู ป) แบบของไทย....” ภาพธิ ดาพระยามารทั้งสามคือ นางตัณหา นางราคา และนางอรดี ที่ยืนเป็ นหมู่น้ นั ก็ เป็ นสิ่ งที่น่าสนใจ ประการแรกคือ งานจิตรกรรมไทยสมัยต้น หารู ปผูห้ ญิงปรากฏได้ยาก ส่ วนภาพ จําหลักของศรี วิชัยยที่ ยรมพุทโธนั้นมี รูปผูห้ ญิ งปรากฏเป็ นสําคัญอยู่โดยทัว่ ไป ประการที่ สอง รู ป ผูห้ ญิงยืนเป็ นหมู่น้ ี มีวงรัศมีรอบศรี ษะเป็ นดอกบัวตูม อันเป็ นรู ปแบบของงานศิลปกรรมแบบไทย ชัดเจน จึงเป็ นไปได้วา่ มีการซ่ อมภาพเขียนนี้ในสมัยอยุธยา ทั้งรู ปผูช้ ายนัง่ ราบกับพื้น ซึ่งมีสีสดใส ก็ดู เหมือนจะถูกซ่อมในสมัยหลัง ภาพบนผนังที่สร้างสรรค์ข้ ึนในสมัยประวัติศาสตร์ น้ ี สรุ ปไก้ว่า น่ าจะเป็ นภาพเล่า เรื่ องในพุทธศาสนาตอนสําคัญคือ ตั้งแต่ตอนที่พระพุทธองค์ประทับนั่งสมาธิ ตรัสรู ้อนุ ตตรสัมโพธิ ญาณมีมารผจญ (แสดงภาพด้วยพลมารเรี ยงแถวอยู่เบื้องล่างที่ประทับ) ทรงพิชิตมาร (แสดงภาพด้วย พระพุทธเจ้าปางมารวิชยั ) แล้วทรงนิ รมิตที่จงกลมขึ้นมาระหว่างบัลลังก์กบั สถานที่ประทับยืน แล้ว เสด็จจงกลมอยู่บนรัตยจงกลม (แสดงภาพด้วยพระพุทธรู ปปางลีลา อยู่ระหว่างพระพุทธรู ประทับยืน กับพระพุทธรู ปประทับนังบลบัลลลลังก์) ประทับปางสมาธิ มี 3 ธิ ดามารรบกวน (แสดงด้วยภาพ ผูห้ ญิง 3 คน มีรัศมีบนศรี ษะอยู่ขา้ ง ๆ พระพุทธรู ปปางสมาธิ) เมื่อทรงฝนตกพรํา พญานาคได้ขดล้อม 7 รอบ เพื่อปกป้องพระพุทธองค์ (แสดงภาพด้วยพระพุทธรู ปปางสมาธิ นาคปรก) ถัดจากพระพุทธรู ป ปางนาคปรกไป เป็ นภาพเทวดาเหาะและภาพหลายภาพลบเลือนไป อาจแสดงภาพตอนที่เทวดามาเข้า เฝ้าเมื่อทรงตรัสรู ้ หรื อเมื่อทรงแสดงธรรมเทศนาหลังจากตรัสรู ้ เหนื อภาพเหล่านี้ ข้ ึนไปตอนบนเป็ น ภาพพระพุ ท ธรู ป เรี ย งแถว อาจจะหมายถึ ง อดี ตพระพุท ธเจ้า และพระโคดมพระพุ ท ธ ซึ่ ง เขี ย นไว้ ตอนกลางภาพเหนือภาพเล่าเรื่ องตอนตรัสรู ้เบื้องต้น ส่ วนภาพลบเลื อนที่ ผ นัง ตรงข้า ม (ผนัง ด้า นตะวันออกเฉี ย งเหนื อ) นอกจากภาพ พระพุทธรู ปประกอบกับบุคคลที่สันนิษฐานว่าเป็ นภาพแสดงพระพุทธประวัติตอนใดตอนหนึ่งแล้วจึง มี ภาพดวงตราซึ่ งอาจจะตี ความหมายได้ว่า ดวงตราสามดวงที่อยู่ตอนบนสุ ดน่ าจะหมายแทนพระ รัตนตรัย ซึ่ งประกอบด้วย พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ หรื อสัญลักษณ์แทนตรี กาย คือ นิ รมาณกาย ธรมกาย สัมโภคกายในพุทธศาสนาฝ่ ายมหายาน ลักษณะการเขียนภาพเป็ นแบบวาดเส้นด้วยสี ลงสี แบบเงาทึบบางส่ วน (Partial Sllhouette) เข้าใจว่ามีการเขียนหลายสมัย เพราะมีหลายฝี มือและหลาย ลี ล า 67 อมรา ศรี สุ ช าติ สั นนิ ษ ฐานว่า ภาพดัง กล่ า ว สร้ า งสรรค์ข้ ึนประมาณพุท ธศตวรรษที่ 17-19 เนื่ องจากมีเค้าศิลปกรรมแบบท้องถิ่นภาคใต้หรื อแบบศรี วิชยั ตอนปลาย เช่น ภาพพระพุทธรู ปนาค 20

67

กรมศิลปากร. (2534). ศิลปะถํา้ สมัยประวัติศาสตร์ ภาคกลาง ภาคใต้ . กรุ งเทพฯ : รุ่ งศิลปื การพิมพ์. 92-93.

118


ปรก ภาพพระพุทธรู ปปางมารวิชยั และมีภาพพระโพธิ สัตว์อยู่สองข้าง และมีเค้าอิทธิ พลศิลปกรรม แบบสุ โขทัย เช่น ภาพธิดามาร มีรัศมีรูปวงไข่ พระพุทธรู ปปางลีลา เป็ นต้น (2.2) คุณค่ าและความสํ าคัญ เป็ นแหล่งโบราณสถานที่มีคุณค่าและความสําคัญ โดยถือเป็ นแหล่งที่เก็บรวบรวม ร่ องรอยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ วิวฒั นาการของมนุ ษย์ในช่วงยุคก่อนประวัติศาสตร์ และช่ วง ประวัติศาสตร์ (2.3) แหล่ งข้ อมูลและการสื่ อความหมาย ในปั จจุบนั แหล่งโบราณสถานถํ้าศิลปะ มีการจัดทําป้ ายแสดงข้อมูลเบื้องต้น โดย หน่วยงานกรมศิลปากร ในบริ เวณตีนบันไดทางขึ้นถํ้า แต่ภายในบริ เวณโถงถํ้าไม่มีสื่อที่แสดงข้อมูล เพื่อเกิดการสร้างการรับรู ้และความเข้าใจ อีกทั้งยังขาดผูร้ ู ้หรื อผูท้ ี่สามารถให้ขอ้ มูลเพือ่ ส่ งต่อได้ (3) พิพธิ ภัณฑ์ หอวัฒนธรรมศรีวิชัย วัดคูหาภิมุข

ภาพที่ 4.50 : อาคารพิพิธภัณธ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข 119


(3.1) รายละเอียดข้ อมูล ตั้งอยู่บิรเวณเชิงเขาทางขึ้นถํ้าแจ้งที่ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ บริ เวณเชิงไหล่ หน้าผาสันนิษฐานว่าสร้างตั้งแต่กลาง-ปลาย พุทธศตวรรษที่ 25

ภาพที่ 4.51 : สภาพตัวอาคารพิพิธภัณธ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข สภาพตัวอาคารในปั จจุ บนั เป็ นอุโบสถหลังเก่าเมื่อแรกสร้ างวัด เป็ นอาคารก่ออิ ฐปูน หลังคามุงกระเบื้องดินเผา ประดับส่ วนหลังคาด้วยช่อฟ้า ใบระกา และหางหงส์ อุโบสถมีขนาดกว้าง ประมาณ 8.6 เมตร ยาวประมาณ 10.82 เมตร ประตูทางเข้าอยู่ดา้ นทิศตะวันตกและทิศตะวันออกด้าน ละ 2 ช่อง หน้าต่างด้านข้างด้านละ 3 ช่อง หน้าบันทั้งสองด้าน เขียนภาพอุณาโลมอยูเ่ หนือพระอินทร์ 120


การจัดตั้งหอวัฒนธรรมศรี วิชัย เริ่ มขึ้นในปี พ.ศ. 2500 เนื่ องด้วยพระครู พิทกั ษ์ธ รรม สุ นทร ผูช้ ่วยเจ้าอาวาสวัดคูหาภิมุขในขณะนั้น พร้อมด้วยชาวบ้านตําบลหน้าถํ้า ได้มีการช่วยกันเก็บ รวบรวมโบราณวัตถุที่มีการขุดค้นพบได้ในบริ เวณภูเขาหน้าถํ้า และภูเขากําปั่ น มาเก็บรักษาไว้ที่วดั ส่วนหนึ่ง และอีกส่ วนหนึ่งชาวบ้านที่ขดุ ค้นได้ต่างนําไปเก็บไว้เป็ นสมบัติส่วนตัว พระครู พิทกั ษ์ธรรม สุ นทรและคณะสงฆ์เกรงว่า โบราณวัตถุเหล่านั้นจะแยกย้ายไปอยู่ตามที่ต่าง ๆ และอาจจะสู ญหายได้ จึงร้องขอชาวบ้านให้บริ จาคกลับคืนให้แก่วดั โดยวัดจะเป็ นผูเ้ ก็บรักษาไว้ให้อนุชนรุ่ นหลังได้ศึกษา และชื่นชมกันต่อไป ชาวบ้านต่างเข้าใจในเจตนาดีของท่านพระครู จึงพากันนํามาบริ จาค ต่ อ มาทางวัด คู ห าภิ มุ ข และคณะกรรมการโรงเรี ย นวัด หน้า ถํ้า มี ค วามคิ ด ที่ จ ะจัด ตั้ง พิพิธภัณฑ์สําหรับเก็บรักษาโบราณวัตถุ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อรวมรวมโบราณวัตถุในท้องถิ่นที่มีอยู่ มาก และเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวตลอดทั้งใช้เป็ นแหล่งทัศนศึกษาเพื่อหาความรู ้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2523 พระครู พิทกั ษ์ธรรมสุ นทร ได้จดั หาตู ้ 1 ใบ สําหรับใส่ โบราณวัตถุไว้ที่อาคาร “ราษฎร์ บูรณะ” ของ โรงเรี ยนวัดหน้าถํ้าเป็ นการชัว่ คราว และเมื่ อชาวบ้านต่างให้ความสําคัญกับการจัดตั้งมากขึ้น ทาง โรงเรี ยนวัดหน้าถํ้าร่ วมกับทางจังหวัดยะลาจึงได้จดั ตั้งพิพิธภัณฑ์ศรี วิชยั ขึ้น โดยความร่ วมมื อของ คณะกรรมการ คือ พ่อค้า ประชาชน และข้าราชการจังหวัดยะลา โดยพระครู พิทกั ษ์ธรรมสุ นทร เป็ น ผูน้ าํ ในการจัดหางบประมาณก่อสร้าง และเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523 ได้รับอนุญาตจากพระ พุทธไสยารักษ์ เจ้าอาวาส ได้ทาํ พิธียกเสาเอกจัดจัดสร้างอาคารถาวร 2 ชั้น ขนาด 6 x 18 ในที่ดินของ โรงเรี ยนและสร้างเสร็ จในปี พ.ศ. 2524

ภาพที่ 4.52 : ภาพเมื่อแรกสร้างพิพิธภัณฑ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั ณ อุโบสถเก่าวัดคูหาภิมุข 121


หลังจากที่จดั แสดงอยู่ระยะหนึ่ ง ได้ยา้ ยโบราณวัตถุเหล่านี้ ไปเก็บรักษาไว้ที่อุโบสถวัด คูหาภิมุข และใช้ชื่อเป็ นทางการว่า หอวัฒนธรรมศรี วิชยั จนมาถึงในปี พ.ศ. 2548 ทางกรมศิลปากร โดยสํานนักงานศิลปากรที่ 13 สงขลา จึงได้ดาํ เนิ นการบูรณะและปรับปรุ งภูมิทศั น์และโบราณสถาน วัดคูหาภิมุขเรื่ อยมา 68 21

ภาพที่ 4.53 : นิทรรศการการจัดแสดงชิ้นโบราณวัตถุภายในพิพิธภัณฑ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั (3.2) คุณค่ าและความสํ าคัญ เป็ นแหล่ ง เก็ บ รวบรวมชิ้ น โบราณวัต ถุ ที่ มี ก ารขุ ด ค้น พบภายในแหล่ ง มรดก วัฒนธรรมวัดคู หาภิ มุ ข ภู เขาหน้า ถํ้า และภู เขากํา ปั่ น เพื่ อรั ก ษาและจัดแสดงเผยแพร่ ค วามรู ้ ท าง ประวัติศ าสตร์ ใ นพื้นที่ จัง หวัดยะลาผ่ า นชิ้ น โบราณวัตถุ เช่ น พระพิ ม พ์ดินดิ บ พระพุท ธรู ป และ องค์ประกอบทางศิลปกรรมโบราณอื่น ๆ เป็ นต้น

สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา. (2556). แบบสํ ารวจข้ อมูลโบราณสถานและโบราณคดี โบราณสถานภูเขาหน้ าถํา้ (วัด คูหาภิมุข) ตําบลหน้ าถํา้ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. 5. 68

122


ภาพที่ 4.54 : พระพิมพ์ดินดิบ และเม็ดพระศก ชิ้นโบราณวัตถุที่จดั แสดง ภายในพิพิธภัณฑ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั

ภาพที่ 4.55 : ภาพรู ปแบบการจัดนิทรรศการและให้ขอ้ มูลภายในพิพิธภัณฑ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั (3.3) แหล่ งข้ อมูลและการสื่ อความหมาย รู ป แบบและเนื้ อ หาการจัด แสดงในปั จ จุ บ ัน มี เ พี ย งการจัด แสดงตัว อย่ า งชิ้ น โบราณวัตถุ เช่น พระพิมพ์ดินดิบ เม็ดพระศก แต่ไม่มีสื่อแสดงข้อมูลประกอบการจัดแสดง เพื่อให้เกิด การสร้างการรับรู ้และความเข้าใจแก่ผเู ้ ข้าชม 123


(4) ถํา้ ปปร

ภาพที่ 4.56 : ภาพจากรึ กอักษร ปรร บนหน้าผาถํ้า (4.1) รายละเอียดข้ อมูล จารึ ก ปปร. ตั้งอยู่บริ เวณเพิงผาถํ้ามืดริ มคลองละหาน อยู่ทางด้านทิศตะวันตกถัด จากถํ้าแจ้งที่ประดิษฐานองค์พระพุทธไสยาสน์ประมาณ 500 เมตร ในปี พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จ พระปกเหล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชิ นีได้เสด็จประภาสหัวเมืองมลายยู และได้ ทรงเสด็จพระราชดําเนิ นทางชลมาศ โดยใช้เส้นทางเสด็จผ่านคลองระหานมายังวัดคูหาภิมุข และได้ โปรดสลักพระปรมาภิไธย ย่อ “ปปร” พระปรมาภิไธยอักษรย่อมาจาก “มหาประชาธิ ปก ปรมราชธิ ราช” เป็ นตัวอักษรจารึ ก มีขนาดพื้นที่ 40 x 40 เซนติเมตร และใต้อกั ษร ปปร จารึ กปี “พ.ศ. 2471” ไว้ ด้วยสี ทอง

124


ภาพที่ 4.57 : ถํ้า ปปร และลําคลองระหาน 125


ภาพที่ 4.58 : ภาพสมเด็จพระนางเจ้ารําไพพรรนี สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินี เสด็จพระราชดําเนินทางชลมาศ โดยใช้เส้นทางคลองระหานมายังวัดคูหาภิมุข ในปี พ.ศ. 2471 (ที่มา : หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ ยะลา) (4.2) คุณค่ าและความสํ าคัญ เป็ นแหล่งที่มีความสําคัญทางด้านประวัติศาสตร์ของจังหวัดยะลา ที่มีความผูกพันธ์ กับสถาบันพระมหากษัตริ ยม์ าแต่อดีต ทั้งยังเป็ นแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติ (4.3) แหล่ งข้ อมูลและการสื่ อความหมาย ไม่มีสื่อแสดงข้อมูลและการสื่ อความหมายเชิงคุณค่า เพื่อให้เกิดการสร้างการรับรู ้ และความเข้าใจแก่ผเู ้ ข้าชม 126


(5) พระพิมพ์ดินดิบ

ภาพที่ 4.59 : พระพิมพ์ดินดิบ โบราณวัตถุจดั แสดงภายในพิพิธภัณฑ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั (5.1) รายละเอียดข้ อมูล พระพิมพ์ดินดิบที่พบในบริ เวณนี้ ส่ วนใหญ่พบในถํ้าต่าง ๆ ที่ภูเขากําปั่น และภูเขาหน้า ถํ้า ชาวบ้านบริ เวณนี้ รู้จกั ในชื่ อของ “พระผีทาํ ” คือมีตาํ นานเล่ากันมาแต่เดิมว่าที่ถ้ าํ แห่ งหนึ่ งในภูเขา กําปั่ น มีคนนุ่งขาวห่ มขาวปั้ นพระวางเรี ยงรายในถํ้าเมื่อชาวบ้านเดินผ่านเข้าไปไม่กล้าเหยียบก็กวาด เอาพระพิมพ์ไปกองไว้ตามผนังถํ้า ครั้นขากลับออกมาก็พบพระพิมพ์ดินดิบที่ยงั เปี ยกชื้นขึ้นวางเรี ยง รายอยูเ่ ต็มทางเดินอีกเหมือนกับเพิ่งทําขึ้นใหม่ ๆ และจะเป็ นเช่นนี้ทุกครั้งไป จึงเรี ยกถํ้านี้วา่ “ถํ้าพระผี ทํา” กระทัง่ ในปี พ.ศ. 2500 มีชาวบ้านไปขุดขี้คา้ งคาวในถํ้าคนโท อันเป็ นถํ้าใหญ่และสวยงามที่สุดใน ภูเขากําปั่น ได้พบพระพุทธรู ปสําริ ด 9 องค์ เป็ นพระพุทธรู ปแบบสุ โขทัยบ้าง แบบอยุธยาบ้าง มีอยูบ่ าง องค์ที่เชื่อว่าเป็ นแบบศรี วิชยั ข่าวนี้ แพร่ ออกไปอย่างรวดเร็ ว จึงมีผคู ้ นจํานวนมากทั้งจากในบริ เวณนี้ ในจังหวัดยะลา และจากต่างจังหวัดเดินทางมาขุดพระกันทั้งวันและกลางคืน หวังจะได้พระพุทธรู ป บูชาหรื อทรัพย์สมบัติอื่น ๆ ที่เชื่อกันว่าถูกฝังไว้เป็ นจํานวนมาก เมื่อขุดลงไปในพื้นถํ้าก็พบพระพิมพ์ ดิ นดิ บวางช้อนกันอยู่เป็ นชั้น ๆ เป็ นแนวตั้งบ้าง เรี ยงเป็ นแนวนอนบ้าง ทุกองค์มีลกั ษณะเปี ยกชื้ น ติดกันไปหมด ต้องนําออกมาผึ่งแดดผึ่งลมจนแห้งจึงจะแกะออกจากกันได้ แต่การขุดครั้งนี้ต่างคนต่า วงแย่งกันขุด ขาดหลักวิชาพระพิมพ์จึงเสี ยหายมากกว่าที่ได้ โดยได้ออกมาประมาณว่าร่ วมหมื่ นองค์

127


ส่ วนใหญ่ตกเป็ นของชาวบ้าน ซึ่ งก็ขายต่อไปเป็ นสมบัติเอกชนเสี ยเป็ นจํานวนมาก ที่นาํ มาถวายเป็ น สมบัติวดั เป็ นส่ วนน้อยและมักมีสภาพไม่สมบูรณ์ พระพิมพ์ที่พบจากถํ้าต่าง ๆ นี้เนื้อดินและสี จะไม่เหมือนกัน เช่น พระพิมพ์จากถํ้าคนโท มักมีเนื้อดินสี น้ าํ ตาลแดงหรื อสี มนั ปู จากถํ้าวัวเนื้ อดินมักจะเป็ นสี ขาว จากถํ้ากระดูกมีเนื้อดินสี เปลือก มังคุด จากถํ้าพระผีทาํ มีเนื้อดินสี ขาว และจากถํ้าศิลปมักมีเนื้อดินสี ชมพูอ่อน พระพิมพ์ดินดิบที่พบมีลกั ษณะเดียวกันกับที่พบตามถํ้าต่าง ๆ ในชุมชนโบราณ ตั้งแต่ไช ยาลงไปจนถึงสุ มาตราและชวา อันเป็ นดินแดนที่เชื่ อว่าเป็ นอาณาจักรศรี วิชยั เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 12-18 พระพิมพ์ที่พบที่ภูเขาทั้งสองนี้ มีอยู่สองแบบใหญ่ ๆ คือ แบบแรกทําเป็ นรู ปพระโพธิ สัตว์ ส่ วน แบบที่สองมักทําเป็ นรู ปพระพุทธเจ้า มีท้ งั ประทับนัง่ และประทับยืน ที่ประทับยืนมักจะทําพระหัตถ์ แสดงธรรม มีพระโพธิ สัตว์องค์ต่างๆ ยืนขนาบซ้ายขวา เบื้องบนมีเทพชุมนุม เบื้องล่างมีพญานาคชู ดอกบัวรองพระบาทเป็ นปั ทมาสน์ถา้ เป็ นรู ปพระพุทธเจ้าประทับนั่งมักทําเป็ นรู ปปางประทานพรอยู่ ใต้ตน้ พระศรี มหาโพธิ์ มีพญานาคชูดอกบัวเป็ นปัทมาสน์ และมีสถูปขนาบซ้ายขวา

ภาพที่ 4.60 : พระพิมพ์ดินดิบรู ปพระโพธิสัตว์

ภาพที่ 4.61 : พระพิมพ์ดินดิบรู ปพระพุทธเจ้า 128


พระพิมพ์ดินดิบเหล่านี้ ด้านหลังจารึ กด้วยอักษรปัลลวะ เป็ นภาษาสันสกฤต ข้อความ เย ธมฺ มา ซึ่งเป็ นคาถามาจากบทเต็มว่า ….. เยธมฺมาเหตุปปฺภวา เยลํเหตุตถาคโตอาท เตสญจโยนิโรโธ เอวํวทีมหาสมโณ….. แปลว่า ธรรมทั้งหลายมีเหตุเป็ นคนเกิด พระตถาคตได้ ตรั สถึงเหตุของธรรมเหล่ านั้น เมื่อ สิ ้นเหตุของธรรมเหล่ านั้นจึ งดับทุกข์ ได้ พระมหาสมณะเจ้ ามีวาทะตรั สสอนเช่ นนี ้ พระพิมพ์ดินดิบและอักษร เย ธมฺ มา เป็ นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของอาณาจักรศรี วิชยั พื้นที่ บริ เวณนี้ ขุดพบพระพิมพ์ดินดิ บมี จารึ กอักษร เย ธมฺ มา เป็ นจํานวนมาก แสดงว่าพื้นที่บริ เวณนี้ เป็ น ชุ ม ชนที่ มี ค วามสํา คัญชุ ม ชนหนึ่ ง ในอาณาจักรศรี วิชัย ตามถํ้า ต่า งๆ ในภู เขาวัดถํ้า และภู เขากําปั่ น นอกจากจะขุดพบพระพิมพ์ดินดิบแล้วยังขุดพบสถูปดินดิบขนาดเล็ก สถูปสําริ ด เม็ดพระศก อิฐฐาน พระพุทธรู ป พระพุทธรู ปสลักในหิ น พระพุทธรู ปสําริ ดต่างๆ และเครื่ องถ้วยอีกจํานวนหนึ่งด้วย 69 22

ภาพที่ 4.62 : ภาพตัวอย่างการจารึ กอักษรปัลลวะ เย ธมฺ มา หลังพระพิมพ์ที่ขดุ ค้นพบ (ที่มา : จารึ ก เยธมฺ มา บนพระสถูปพิมพ์ดินดิบเมืองยะรัง. https://db.sac.or.th/inscriptions) (5.2) คุณค่ าและความสํ าคัญ เป็ นหลักฐานทางโบราณคดีที่สําคัญ และเป็ นมรดกทางวัฒนธรรมที่แสดงถึงหลักฐาน ร่ องรอยอารยธรรมทางพระพุทธศาสนาที่สาํ คัญของพื้นที่ (5.3) แหล่ งข้ อมูลและการสื่ อความหมาย ปั จ จุ บ ัน มี ก ารจัด แสดงตัว อย่ า งชิ้ น โบราณวัต ถุ บ างส่ ว นไว้ที่ อ าคารพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ห อ วัฒนธรรมศรี วิชยั มีการให้ขอ้ มูลประกอบการจัดแสดงเกี่ยวกับพระพิมพ์ดินดิ บและแหล่งที่ พ บใน คาบสมุทรภาคใต้ วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญา จังหวัดยะลา, กรุ งเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย, กรมศิลปากร, กระทรวงศึกษาธิการ, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2544, หน้าที่ 42-43 69

129


(6) ถํา้ มืดและบ่ อนํ้าศักดิ์สิทธิ์

ภาพที่ 4.63 : ปากทางเข้าถํ้ามืด วัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา (6.1) รายละเอียดข้ อมูล ตั้งอยู่ในภูเข้าหน้าถํ้า ถัดจากบริ เวณถํ้าเจ้งที่ประดิษฐานองค์พระพุทธไสยาสน์มา ทางทิศตะวันตกประมาณ 500 เมตร ภายในมีหินงอกหิ นย้อยเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติรูปทรงแปลกตา มีความระยิบระยับกระทบแสงไฟสวยงาม ทางเข้าปากถํ้าจะอยู่ระดับเดียวกับพื้นดิน ปากถํ้ามีขนาด กว้าง 20 เมตร ลึก 50 เมตร ความยาวในโถงถํ้า มีระยะทางประมาณ 500 เมตร โดยแบ่งแยกออกเป็ น ห้อง ๆ สามารถเดินได้ 130


ภาพที่ 4.64 : ภายในโถงถํ้ามืด และ หิ นงอกหิ นย้อยภายในถํ้ามืด และภายในถํ้ามืดลึกเข้าไประยะทางประมาณ 300 เมตร มีบ่อนํ้าธรรมชาติ หรื อที่ ชาวบ้านเรี ยกว่า “สระแก้ว” โดยเป็ นสถานที่ทางความเชื่อว่าเป็ นบ่อนํ้าศักดิ์สิทธิ์ เป็ นแหล่งที่ให้น้ าํ ใส และมีน้ าํ ตลอดทั้งปี โดยจังหวัดยะลาได้ใช้แหล่งนํ้าศักดิ์สิทธิ์ เพื่อส่ งไปร่ วมยังพระราชพิธีต่าง ๆ อาทิ พระราชพิธีน้ าํ พิพฒั น์สัตยา หรื อพระราชพิธีสรงนํ้ามูรธาภิเษก

ภาพที่ 4.65 : ทางเดินไปยังสระแก้ว ภายในโถงถํ้ามืด 131


ภาพที่ 4.66 : สระแก้ว หรื อ บ่อนํ้าศักสิ ทธิ์ ภายในถํ้ามืด วัดคูหาภิมุข

ภาพที่ 4.67 : พิธีพลีกรรมตักนํ้าจากสระแก้ว แหล่งนํ้าศักดิ์สิทธิ์ ภายในถํ้ามืด วัดคูหาภิมุข เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2562 (6.2) คุณค่ าและความสํ าคัญ เป็ นแหล่ ง รวบรวมทางความเชื่ อและจิ ตวิ ญญาณของผูค้ นจัง หวัดยะลา ในด้า น พื้นที่ศกั สิ ทธิ์ ทั้งเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ (6.3) แหล่ งข้ อมูลและการสื่ อความหมาย ในปั จจุบนั มีเพียงการจัดแสดงข้อมูลแผนที่แสดงเส้นทางภายในถํ้ามืดในรู ปแบบ เชิ งสัญลักษณ์ และมีการจัดเตรี ยมมัคคุเทศก์ทอ้ งถิ่นพร้ อมทั้งอุปกรณ์ เพื่ออํานวยความสะดวกและ ความปลอดภัยแก่นกั ท่องเที่ยวในการเข้าชมภายในถํ้ามืด

132


4.2.3 วิเคราะห์ คุณค่ าความสํ าคัญและความสํ าเร็จและปัญหาของการจัดการแหล่ งมรดกทาง วัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขในฐานะเป็ นปูชนียสถานและแหล่ งท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (1) คุณค่ าและความสํ าคัญของวัดคูหาภิมุขในเชิงพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์และแหล่งโบราณสถาน สํ าคัญของจังหวัดยะลา จากข้อ มู ล ทางประวัติ ศ าสตร์ ป ระกอบทั้ง ข้อ มู ล ทางกายภาพของแหล่ ง มรดกทาง วัฒนธรรมวัดคูหาภิ มุขดังที่ กล่าวมาข้างต้นแล้วนั้น แสดงให้เห็ นถึ งคุณค่าและความสําคัญของวัด คูหาภิมุข ในเชิงพื้นที่ศกั ดิ์สิทธิ์ของการเป็ นแหล่งโบราณสถานที่สําคัญของจังหวัดยะลา อธิ บายโดย วิเคราะห์ ดังนี้ (1.1) ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ คุณค่าและความสําคัญของการเป็ นแหล่งพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ ที่มีร่องรอยของการตั้ง ถิ่นฐานชุ มชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ อันเนื่ องจากลักษณะกายภาพทางภูมิศาสตร์ ที่ เป็ น แหล่งพื้นที่ราบ มีภูเขาสู งตั้งเป็ นแนวกําบัง ประกอบกับทําเลที่ต้ งั มีแม่น้ าํ สายหลักไหลผ่าน อันเป็ น เส้นทางในการเดินทางเพื่อติดต่อค้าขายและแลกเปลี่ยนกับกลุ่มชนอื่น ๆ มาแต่โบราณ จึงส่ งผลให้ ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่บริ เวณตําบลหน้าถํ้าเหมาะแก่การตั้งบ้านเรื อนและชุมชนเป็ นอย่างดี ตลอดทั้งการเลือกที่ต้ งั ของภูเขาหน้าถํ้า เพื่อใช้สอยให้เกิดการตอบสนองต่อกิจกรรมใน การดําเนิ นชี วิต เช่น เป็ นที่อยู่อาศัย ทําการเกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ โดยเลือกใช้สอยพื้นที่ในบริ เวณที่ ราบใกล้ภูเขา ที่ โล่งตามเพิงผาถํ้า และโพลงภายในถํ้า ทั้งยังใช้ภูเขาเป็ นตัวกําหนดอาณาเขตและ ขอบเขตพื้นที่ เพื่อเป็ นจุดหมายและจุดกําบังป้องกันศัตรู ในการดําเนิ นชีวิต ตลอดทั้งการใช้สอยพื้นที่ เพื่อตอบสนองทางด้านความเชื่อ ประกอบพิธีกรรม ศาสนากิจ และใช้เป็ นศาสนสถานเรื่ อยมาตั้งแต่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จนปั จจุบนั ซึ่ งมีการพบร่ องรอยและหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการใช้พ้ืนที่เพื่อ ประกอบกิจกรรม คือ บริ เวณถํ้าศิลป ที่มีการขุดค้นพบโบราณวัตถุและภาพเขียนสี จิตรกรรมบนฝา ผนังหนังถํ้า ประกอบกับลักษณะทางกายภาพที่ของถํ้าศิลป ที่มีชยั ภูมิอนั เหมาะแก่การใช้ประกอบ พิธีกรรมและศาสนากิจ โดยเป็ นเพิงผาสู ง ข้างในมีโพล่งถํ้าโล่งกว้าง มีแสงลอดตกกระทบส่ องถึงและ บริ เวณหน้าผาสามารถมองเห็นทิวทัศน์ได้อย่างชัดเจน จึงมีการพบร่ องรอยของการใช้สอบและการ บันทึกเรื่ องราวอันเป็ นหลักฐานบนผนังถํ้า และบริ เวณถํ้าแจ้ง ที่มีการประดิษฐานองค์พระพุทธไส ยานส์ ก่อสร้างขึ้นและสันนิ ษฐานถึงรู ปแบบศิลปะกรรมยุคนสมัยศรี วิชยั โดยได้มีเลือกใช้สอยพื้นที่ เพื่อเป็ นสถานที่ประกอบพิธีกรรมและศาสนกิจเช่นเดียวกับถํ้าศิลป แต่บริ เวณถํ้าแจ้งนี้ ยงั คงมีการใช้ สอยและพัฒนาเรื่ อยมาเพื่อเป็ นสถานที่ประกอบกิจกรรมมาจนปัจจุบนั

133


(1.2) ลักษณะการใช้ สอยของพื้นที่ คุณค่าและความสําคัญของแหล่งพื้นที่ภูเขาหน้าถํ้า วัดคูหาภิมุข ในเชิงพื้นที่ศกั ดิ์ สิ ทธิ์ ของการเป็ นแหล่งโบราณสถาน จากลักษณะการใช้สอยของพื้นที่ ที่มีลกั ษณะทางกายภาพที่เอื้อต่อ การเลือกเป็ นพื้นที่ใช้สอยเพื่อให้เกิดการตอบสนองต่อกิจกรรมในการดําเนิ นชีวิต เช่น เป็ นที่อยู่อาศัย ทําการเกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ โดยเลือกใช้สอยพื้นที่ในบริ เวณที่ราบใกล้ภูเขา ที่โล่งตามเพิงผาถํ้า และ โพลงภายในถํ้า ทั้งยังใช้ภูเขาเป็ นตัวกําหนดอาณาเขตและขอบเขตพื้นที่ เพื่อเป็ นจุดหมายและจุดกําบัง ป้ องกันศัตรู ในการดําเนิ นชี วิต ตลอดทั้งการใช้สอยพื้นที่เพื่อตอบสนองทางด้านความเชื่ อ ประกอบ พิธีกรรม ศาสนากิจ และใช้เป็ นศาสนสถานเรื่ อยมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จนปั จจุบนั ซึ่งมีการ พบร่ องรอยและหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการใช้พ้ืนที่เพื่อประกอบกิจกรรม คือ บริ เวณถํ้าศิลป ที่มี การขุดค้นพบโบราณวัตถุ และภาพเขี ย นสี จิ ต รกรรมบนฝาผนัง หนัง ถํ้า ประกอบกับ ลัก ษณะทาง กายภาพที่ของถํ้าศิลป ที่มีชยั ภูมิอนั เหมาะแก่การใช้ประกอบพิธีกรรมและศาสนากิจ โดยเป็ นเพิงผาสู ง ข้างในมีโพล่งถํ้าโล่งกว้าง มีแสงลอดตกกระทบส่ องถึงและบริ เวณหน้าผาสามารถมองเห็นทิวทัศน์ได้ อย่างชัดเจน จึงมีการพบร่ องรอยของการใช้สอยและการบันทึกเรื่ องราวอันเป็ นหลักฐานบนผนังถํ้า และบริ เวณถํ้าแจ้ง ที่มีการประดิษฐานองค์พระพุทธไสยานส์ ก่อสร้างขึ้นและสันนิ ษฐานถึงรู ปแบบ ศิลปะกรรมยุคสมัยศรี วิชยั โดยได้มีเลือกใช้สอยพื้นที่เพื่อเป็ นสถานที่ประกอบพิธีกรรมและศาสนกิจ เช่ นเดี ยวกับถํ้าศิ ลป แต่บริ เวณถํ้าแจ้งนี้ ยงั คงมี การใช้ส อย การดู แลรักษา โดยยังมี ความสัมพันธ์ ที่ เกี่ยวข้องกับผูค้ นในชุมชนที่ยงั คงมีการใช้สอย และร่ วมพัฒนาเรื่ อยมาจนปัจจุนบัน จากที่ ก ล่ า วมานั้น แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง การเลื อ กสรรพื้ น ที่ จ ากลัก ษณะทางกายภาพจาก ภูมิศาสตร์ ที่มีการตอบสนองต่อการใช้ประโยชน์ได้ชดั เจน จึงส่ งผลให้ตวั แหล่งพื้นที่น้ ีได้ปรากฏให้ เห็นถึงร่ องรอยทางอารยธรรมและวัฒนธรรมอันเป็ นสิ่ งที่แสดงถึงคุณค่าและความสําคัญของพื้นที่วดั คูหาภิมุขในเชิงพื้นที่ศกั ดิ์สิทธิ์ของการเป็ นแหล่งโบราณสถานที่สาํ คัญของจังหวัดยะลาได้อย่าชัดเจน (2) คุณค่ าและความสํ าคัญของวัดคูหาภิมุขในเชิงแหล่ งท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสํ าคัญ ของจังหวัดยะลา คุณค่าและความสําคัญของวัดคูหาภิมุขในเชิ งการเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม สําคัญของจังหวัดยะลา สามารถวิเคราะห์ได้จากองค์ประกอบทางกายภาพ และในเชิงความสัมพันธ์ ระหว่างพื้นที่และผูค้ น ที่ยงั คงมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่แหล่งมรดกวัฒนธรรม กับผูค้ นในเขตพื้นที่ อยู่ โดยมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องในเชิง ที่ต้ งั และการใช้สอยตัวพื้นที่เพื่อประกอบกิจกรรมเรื่ อยมา จน เกิดการสั่งสม ถ่ายทอด และเกิดการพัฒนาในมรดกทางภูมิปัญญาและมรดกทางวัฒนธรรมขึ้นในพื้นที่ เพื่อเป็ นการตอบสนองต่อรู ปแบบการดําเนิ นวิถีชีวิต ทั้งทางความเชื่ อ การประกอบอาชีพ ตลอดจน ส่ งเสริ มจนเกิดการร่ วมผลักดันและพัฒนาสู่การเป็ นเหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เห็นได้ชดั จากการ 134


นําจุดเด่น เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ในชุมชนมาใช้เป็ นเครื่ องมือในการนําเสนอพื้นที่ชุมชนให้เกิดการ รู ้ จกั และเป็ นที่ ยอมรั บในการเป็ นแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมที่ สําคัญของจังหวัดยะลา โดยผ่าน มรดกทางภูมิปัญญา และมรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ เช่น โครงการการเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และ อาชี พ จากกลุ่ ม ยุวมัค คุ เทศก์ โรงเรี ย นหน้า ถํ้า ตลาดต้องชมแลผาหน้า ถํ้า จากการส่ ง เสริ ม พัฒนา เศรษฐกิจการท่องเที่ยวโดยชุมชน และกลุ่มหัตถกรรมผ้ามัดย้อมสี มายา หน้าถํ้า เป็ นต้น (3) ความสํ าเร็จและปัญหาของการจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขใน ฐานะเป็ นปูชนียสถานและแหล่ งท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ความสําเร็ จและปั ญหาของการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขในฐานะ เป็ นปูชนียสถานและแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลภาคสนาม ตลอดจนการ สัมภาษณ์และความคิดเห็นของผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในปั จจุบนั มีถือมีการจัดการและมีการควบคุมดูแล ภายใต้ห น่ ว ยงานจากภาครั ฐ และสถาบัน การศึ ก ษาในพื้ น ที่ ร่ ว มดํา เนิ น งานจากชุ ม ชน ที่ มี ก าร ดําเนินงานมาอย่างต่อเนื่ องภายใต้ศกั ยภาพความพร้อมที่ตนมี โดยถือเป็ นความสําเร็ จได้ในระดับหนึ่ง แต่ยงั คงมี การพบสภาพปั ญหาของการจัดการให้เห็ น โดยสามารถวิเคราะห์ความสําเร็ จและสภาพ ปัญหาได้ ดังนี้ (3.1) ความสํ าเร็จ (3.1.1) ความสํ าเร็จเชิงพื้นที่ แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขถือเป็ นแหล่งพื้นที่ที่รวบรวมหลักฐานและ ร่ องรอยทางที่มีความสําคัญในเชิงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ของจังหวัดยะลาและคาบสมุทรภาคใต้ ทั้ง ยัง เป็ นที่ ต้ ัง ของปู ช นี ย สถานศัก สิ ท ธิ์ และเป็ นศู น ย์ร วมจิ ต ใจของผู ค้ นในชุ ม ชนและคนในพื้ นที่ ใกล้เคียง ประกอบกับเป็ นแหล่งพื้นที่ทางธรรมชาติที่เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวและให้ความรู ้ ที่มีคุณค่า และความสําคัญในพื้นที่ ควรแก่การอนุ รักษ์ รั กษา ตลอดจนการพัฒนส่ งเสริ มให้เกิดมูลค่าในทาง เศรษฐกิจ (3.1.2) ความสํ าเร็จด้ านศักยภาพและความร่ วมมือ แหล่งพื้นที่ ชุมชนหน้าถํ้า ตลอดทั้งหน่ วยงานองค์กรภาครัฐ สถาบันการศึ กษา ตลอดทั้งภาคีเครื อข่ายจากทั้งในและนอกพื้นที่ มีความพร้อมและศักยภาพในการให้ความร่ วมมือการ ดําเนินงานและการขับเคลื่อนการกิจกรรม ตลอดจนการสนับสนุนในด้านต่าง ๆ รวมไปถึงการสรรหา งบประมาณเพื่อร่ วมพัฒนาของชุมชน มาใช้ในการดําเนิ นงานกิจกรรมทางสังคม และวัฒนธรรม จึง สะท้อนให้เห็ นถึ ง ความร่ วมมื อ และร่ วมแรงร่ ว มใจเป็ นอย่า งดี ข องคนในพื้ นที่ ชุ ม ชน ตลอดจน

135


หน่วยงานภาครัฐสถาบันการศึกษา และกลุ่มภาคีเครื อข่ายต่าง ๆ ที่มีต่อการความประสบผลสําเร็ จใน การดําเนินงาน (3.2) สภาพปัญหา (3.2.1) ภาพปัญหาเชิงพื้นที่ จากสภาพปั ญหาของมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิ มุขที่ พบอยู่ในปั จจุบนั อาทิ สถานที่ท่องเที่ยวมรดกทางวัฒนธรรม และสถานที่สําคัญโบราณสถานและทางโบราณคดี รวมทั้ง พื้นที่โดยรอบ ของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา นั้นพบว่าในบางสถานที่ ยงั ขาดงบประมาณเพื่อใช้ในการดู แลรักษาแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมใน รู ปแบบวิธีที่ถูกต้องต่อโบราณสถานและโบราณวัตถุที่มีอยู่ โดยขาดการดําเนิ นงานจัดการให้อยู่ใน สภาพดีอย่างที่ ควรจะเป็ น หรื อขาดการใช้สื่อและการประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ขอ้ มูลรวมทั้งการสื่ อ ความหมาย คุณค่า และความสําคัญของแหล่งมรดกทางทางวัฒนธรรม ให้เกิดการรับรู ้และเป็ นที่รู้จกั ของสถานและแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม โดยมีดงั นี้ (3.2.1.1) การสื่ อความหมายและการให้ ข้อมูล โดยขาดการนําเสนอข้อมูลในด้าน การสร้างการรับรู ้ในเบื้องต้นแก่ผเู ้ ยีย่ มชม เช่น ประวัติศาสตร์วดั การแนะนํารู ปแบบและแหล่งสถานที่ ท่องเที่ยวสําคัญ ทั้งภายในบริ เวณวัด และภายในแหล่งพื้นที่ชุมชน เป็ นต้น ตลอดจนสื่ อต่าง ๆ ที่ยงั ขาดข้อมูลและสร้างสิ่ งดึงดูดใจแก่นกั ท่องเที่ยว รวมทั้งขาดการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล เพื่อสร้าง ความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้ และความไม่น่าสนใจแก่นกั ท่องเที่ยวได้ (3.2.1.2) การอํานวยความสะดวกในเชิ งการบริ การ ผ่านการให้บริ การและเป็ น ผูใ้ ห้ขอ้ มูล ร่ วมทั้งความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องตัวพื้นที่แหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ทั้งภายในวัด รวมทั้งสถานที่สําคัญ ตลอดจนกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ ของพื้นที่แก่นักท่องเที่ยว ตลอดจนผูท้ ี่ ให้ความสนใจเข้ามาศึกษาเรี ยนรู ้ในพื้นที่ ทั้งทางด้านวัฒนธรรมภูมิปัญญา ด้านระบบ นิเวศน์ธรรมชาติ ตลอดจนกิจกรรมภายในเขตพื้นที่บชุมชน (3.2.1.3) การปรั บปรุ งภูมิทัศน์ โดยการปรับปรุ ง และพัฒนาภูมิทศั น์ท้ งั ภายใน และบริ เวณโดยรอบของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม รวมมทั้งอาคาร และแหล่งโบราณสถาน เพื่อให้ เกิดความรู ้สึกสบายใจ ปลอดภัย และสร้างความประทับใจให้แก่นักท่องเที่ยวและผูม้ าเยือนทั้ง จาก ภายในชุมชนและภายนอก เพื่อเป็ นภาพลักษณะที่ดีแก่ตวั ชุมชนและแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมเอง จากการวิเคราะห์ความสําเร็ จและสภาพปั ญหาของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิ มุข ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ดังที่ได้กล่าวมานั้น ยังสามารถใช้หลักการวิเคราะห์ 136


SWOT Analysis ซึ่งเป็ นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ ซึ่งจะช่วยให้มองเห็นถึงจุดแข็งและ จุ ดอ่ อนจากสภาพแวดล้อมภายใน และสามารถมองเห็ นโอกาสและอุ ป สรรคจากสภาพแวดล้อม ภายนอก ตลอดจนผลกระทบต่าง ๆ ที่ อาจจะเกิ ดขึ้น โดยนํามาวิเคราะห์เพื่อหาจุ ดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) และ อุปสรรค (Threats) จากข้อมูลของความสําเร็ จและ ปัญหาได้ ดังนี้ (1) จุดแข็ง (Strengths) - ตัวพื้นที่มีคุณค่าและความสําคัญเชิ งประวัติศาสตร์ โดยเป็ นแหล่งพื้นที่ที่รวบรวม หลัก ฐานและร่ อ งรอยทางที่ มี ค วามสํ า คัญ ในเชิ ง คุ ณ ค่ า ทางประวัติ ศ าสตร์ ข องจัง หวัด ยะลาและ คาบสมุทรภาคใต้ ทั้งยังเป็ นที่ต้ งั ของปูชนียสถานศักสิ ทธิ์ - ชุมชนมีมรดกภูมิปัญญา มรดกทางวัฒนธรรม และประเพณี ที่เด่นชัด ทั้งยังคงมีการ ดําเนินกิจกรรม ปฏิบตั ิสืบต่อกันมาจนปัจจุบนั - ความร่ วมมือและความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน หน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา ตลอดจนผูน้ าํ มีความเข้มแข็ง ต่างให้ความร่ วมมือเป็ นอย่างดีในการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ภายในพื้นที่ - มีหน่ วยงานทั้งภาครั ฐให้การสนับสนุ นงบประมาณในการดําเนิ นกิ จกรรมต่าง ๆ ภายในพื้นที่ - แหล่งพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ และเพียบพร้อมทั้งเชิงระบบนิ เวศน์ทางธรรมชาติ และทรัพยากรในพื้นที่ (2) จุดอ่ อน (Weaknesses) - ขาดการดู แล ปรั บ ปรุ ง และพัฒนาแหล่งพื้นที่ ตลอดทั้ง ภู มิ ทศั น์ และทัศ นี ยภาพ โดยรอบเพื่อเป็ นการส่ งเสริ มและสร้างคุณค่าให้แก่แหล่งมรดกทางวํฒนธรรมและพื้นที่โดยรอบ - ขาดการสื่ อสารในเชิงข้อมูล การสื่ อความหมาย และการสร้างการรับรู ้ให้แก่ผคู ้ นทั้ง ภายในชุมชนและผูค้ นจากภายนอกพี้นที่ - ขาดการประชาสัมพันธ์งานหรื อกิจกรรม หรื อมีการประชาสัมพันธ์ท่ีไม่ต่อเนื่ อง แก่ นักท่องเที่ยว ตลอดจนที่ผสู ้ นใจให้ทราบถึงข่าวสารและข้อมูลต่าง ๆ ของงานกิจกรรม ประเพณี ต่าง ๆ ทางศาสนา และวัฒนธรรม - ขาดการส่ งเสริ มและพัฒนารู ปแบบการกิจกรรม งานประเพณี ให้เกิดความน่าสนใจ หรื อสร้างแรงดึงดูดใจให้แก่นกั ท่องเที่ยว

137


(3) โอกาส (Opportunities) - การส่ งเสริ มและผลักดันทางด้านการสร้างการรับรู ้ ให้แก่ผคู ้ นในแหล่งพื้นที่ชุมชน ให้เกิดความตระหนักถึงคุณค่า สู่ การหวงแหนรักษาแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ตลอดทั้งมรดกทางภูมิ ปัญญา ประเพณี ในพื้นที่ของตน สู่ การอนุรักษ์ และรักษาอย่างถูกวิธี - การสร้ า งความตื่ นตัวในการอนุ รัก ษ์ม รดกทางวัฒนธรรม มรดกทางภู มิ ปั ญ ญา ประเพณี และศิลปวัฒนธรรม เพื่อผลักดันสู่ การพัฒนส่ งเสริ มให้เกิดมูลค่าในทางเศรษฐกิจ - การส่ งเสริ มกิจกรรมและการท่องเที่ยว โดยใช้ความร่ วมมือระหว่างสองวัฒนธรรม ที่มีวิถีชีวิตมร่ วมกันมาอย่างยาวนานของผูค้ นในพื้นที่ชุมชน - การส่ งเสริ มและร่ วมมผลัก ดัน ทั้งทางด้านงบประมาณ และการสนับสนุ นการ ดําเนินกิจกรรม ตลอดทั้งสร้างความเชื่อมัน่ ในด้านความปลอดภัยให้เกิดเป็ นที่ประจักษ์และเชื่อมัน่ แก่ ผูค้ นวั้งภายในชุมชนและภายนอกชุมชน (4) อุปสรรค (Threats) - วิธีการสร้ างความรู ้ ความเข้าใจ และการสร้ างการรั บรู ้ ต่อประชาชนในพื้นที่ ที่ มี ข้อจํากัดทางด้านการศึกษา และการสื่ อสารทางด้านภาษา - สภาพภูมิอากาศ และความชื้นของอุณภูมิ ในแต่ละฤดูกาล ที่มีผลต่อตัวแหล่งมรดก ทางวัฒนธรรม โบราณสถาน และโบราณวัตถุ ต่อการอนุรักษ์ และพัฒนาสู่ การจัดการ สู่การเป็ นแหล่ง เรี ยนรู ้ และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม - สถานการณ์ เ หตุ ก ารณ์ ท างความมั่น คง ที่ ส่ ง ผลต่ อ ภาพลัก ษณ์ ใ นความเชื่ อ มั่น ทางด้านความเปลอดภัยและการสร้างความมัน่ ใจต่อกลุ่มคนจากภายในพื้นที่ ดังนั้น ผูศ้ ึกษาจึงได้มีการนําเสนอวิธีการจัดการและรู ปแบบทิศทางที่ เหมาะสมต่อ การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ไว้ใน บทที่ 5 การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข สู่ การเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ และท่องเที่ยวเชิ ง วัฒนธรรม ต่อไป

138


บทที่ 5

การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข สู่ การเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ และท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม บทนี้เป็ นการศึกษาเพื่อเสนอรู ปแบบและวิธีการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ชุมชนบ้านหน้าถํ้า สู่ การเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม ซึ่ งประกอบด้วยหัวข้อ ดังต่อไปนี้ 5.1 การศึกษาเพื่อหาทิศทางที่เหมาะสมของการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิ มุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา 5.1.1 การศึกษาเก็บข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชน ผูน้ าํ ท้องถิ่น และ นักวิชาการต่อทิศทางที่เหมาะสมของการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข 5.1.2 การศึ ก ษาวิ เ คราะห์ เ พื่ อ หาทิ ศ ทางที่ เ หมาะสมของการจัด การแหล่ ง มรดกทาง วัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข 5.2 การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การเป็ น แหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 5.2.1 การจัดการอนุรักษ์ พัฒนา และปรับปรุ งภูมิทศั น์พ้ืนที่แหล่งมรกดกทางวัฒนธรรม วัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 5.2.2 การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การการเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ 5.2.3 การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ 5.1 การศึกษาเพื่อหาทิศทางที่เหมาะสมของการจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอ เมือง จังหวัดยะลา 5.1.1 การศึ ก ษาเก็บ ข้ อ มู ล ความคิดเห็นและข้ อ เสนอแนะของประชาชน ผู้ นํา ท้ อ งถิ่ น และ นักวิชาการต่ อทิศทางที่เหมาะสมของการจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ส่ วนนี้ เป็ นการศึกษาเก็บข้อมูลความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากภาคประชาชนและผูม้ ีส่วน เกี่ยวข้องกับการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ด้วยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ซึ่ งเป็ นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสนทนาของผูใ้ ห้ขอ้ มูล โดยใช้วิธีการคัดเลือก 139


กลุ่มตัวอย่างแบบจงใจ (Purposive Sampling) และแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) จากประชาชน ซึ่ งประกอบด้วย กลุ่มผูน้ ําชุ มชน ได้แก่ ผูใ้ หญ่บา้ น ผูน้ ําศาสนา ตัวแทนจากสถานศึ กษา และจาก ประชาชนผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการและดูแลแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ในประเด็น การสนทนาในหัวข้อที่เกี่ยวกับการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ และการพัฒนาแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุขสู่ การเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ซึ่ งผล การสนทนากลุ่ม โดยสามารถสรุ ปได้ ดังนี้ (1) การสร้ า งการเรี ย นรู ้ และการรั บ รู ้ ตลอดทั้ง สร้ า งความตระหนัก รู ้ แก่ ผูค้ นในพื้ น เพือ่ ให้เกิดความหวงแหน และการดูแลรักษาแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมในเขตพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง (2) การจัดดําเนิ นการในกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตลอดทั้งการพัฒนาแหล่งพื้นที่มรดก ทางวัฒนธรรม โบราณสถาน ศาสนสถาน และพื้นที่ชุมชน ให้เป็ นการยอมรับจากประชาชนทั้งภายใน พื้นที่และภายนอกพื้นที่ ด้วยวิธีการอย่างมีส่วนร่ วมของประชาชนและส่ วนราชการ รวมทั้งองค์การ ปกครองส่ ว นท้อ งถิ่ น ช่ ว ยกัน ดู แ ลและรั บ ผิ ด ชอบ โดยการประชาสั ม พัน ธ์ และสนับ สนุ น จาก หน่วยงานต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (3) การพัฒนาและสร้างพื้นฐานคุณภาพชี วิต ทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ เพื่อรองรับสู่ การท่องเที่ยว และเกิดการสร้างรายได้จากแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ด้วยวิธีการอย่างมีส่วนร่ วมของ ประชาชนและส่ วนราชการ รวมทั้งองค์การปกครองส่ วนท้องถิ่น ทั้งนี้ สามารถสรุ ปประเด็นจากข้อมูลความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากผูร้ ่ วมให้ขอ้ คิดเห็นซึ่ง ประกอบด้ว ย กลุ่ ม ผู น้ ํา ชุ ม ชน ได้แ ก่ ผู ใ้ หญ่ บ ้า น ผู น้ ํา ศาสนา ตัว แทนจากสถานศึ ก ษา และจาก ประชาชนผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการและดูแลแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ซึ่ งสามารถ สรุ ปทิศทางของการจัดการที่เหมาะสมออกมาได้ 3 ประเด็น ดังนี้ (1) ด้ านการเสริมสร้ างการเรียนรู้ และสร้ างการรับรู้ ด้านการเสริ มสร้างเพื่อให้เกิดการการเรี ยนรู ้ และสร้างการรับรู ้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และเกิดการรับสารอย่างถูกต้อง โดยในเขตชุมชนที่ต้ งั อยู่ภายในพื้นที่แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัด คูหาภิมุขในปั จจุบนั นั้น กลุ่มประชากรที่ อาศัยอยู่ในพื้นที่ยงั คงมีความแตกต่างในทางด้านมระดับ การศึกษาและการสื่ อสารที่ชดั เจน โดยในกลุ่มประชากรไทยมุสลิมยังคงมีการใช้ภาษาพื้นถิ่นมลายูใน การสื่ อสาร ทั้งนี้ รวมถึงประชากรไทยพุทธ-ไทยมุสลิ มบางส่ วนไม่สามารถสื่ อสารและใช้ภาษาได้ อย่างคล่องในการพูดและอ่านเขียน สื บเนื่ องจากปั จจัยในด้านการศึกษาที่ขาดการส่ งเสริ ม ตลอดทั้ง การปลูกฝั งและส่ งเสริ มเนื้ อหาทางด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดทั้งประวัติศาสตร์ ในพื้นที่ก็ยงั ไม่ได้มี 140


การปลูกฝังและเรี ยนรู ้อย่างชัดเจน จึงควรมีการสร้างวิธีการสื่ อความหมาย เพื่อเป็ นการสร้างการรับรู ้ ต่อประชาชนในพื้นที่ ที่มีขอ้ จํากัดทางด้านการศึกษา และการสื่ อสารทางด้านภาษา ให้เกิดความเข้าใจ (2) ด้ านการปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่ ด้านการปรั บปรุ ง และพัฒนาพื้นที่ โดยการปรั บปรุ ง ทํานุ บาํ รุ งและดู แลรั กษาแหล่ ง มรดกทางวัฒนธรรม โบรราณสถาน ศาสนสถาน ตลอดจนพื้นที่ และภูมิทศั นียภาพโดยรอบ เพื่อให้มี สภาพที่สมบูรณ์และพร้อมต่อการใช้สอย ทั้งยังเพื่อเพิ่มในเชิงคุณค่าให้ยงั คงมีความสวยงาม ตลอดทั้ง เป็ นสิ่ งที่สร้างความเชื่ อมันและเป็ นภาพลักษณ์ที่ดีเพื่อสร้างความประทับใจ อาทิ ด้านความสะอาด ความปลอดภัย การจัดแสดงและสื่ อความหมาย ของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมตอลดจนพื้นที่โดยรอบ และเขตชุมชน (3) ด้ านการส่ งเสริมและเพิม่ ศักยภาพชุมชน ด้านการส่ งเสริ มและเพิ่มศักยภาพของชุมชน ทั้งในด้านที่เกี่ยวของกับแหล่งมรดกทาง วัฒนธรรม ตอลดทั้งกิจกรรมทางประเพณี วฒั นธรรม และการส่ งเสริ มเพื่อเป็ นการอนุ รักษ์ รักษาให้ คงไว้ยงั เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ที่โดดเด่นของพื้นที่ สู่ การพัฒนาในด้านพื้นฐานคุณภาพชี วิต ทางด้าน สังคมและเศรษฐกิจ เพื่อรองรับสู่ การท่องเที่ยว และเกิดการสร้างรายได้จากแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ด้วยวิธีการอย่างมีส่วนร่ วมของประชาชนและส่ วนราชการ รวมทั้งองค์การปกครองส่ วนท้องถิ่น จากข้อมูลที่ผ่านการเก็บรวบรวมมานั้น จะได้ดาํ เนิ นการศึกษาวิเคราะห์เพื่อหารู ปแบบวิธีการสู่ การจัดการที่เหมาะสม ของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ดังที่ จะได้นาํ เสนอเป็ นลําดับต่อไป ในข้อที่ 5.1.2 การศึกษาวิเคราะห์เพื่อหาทิ ศทางที่ เหมาะสมของการ จัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข เป็ นลําดับต่อไป 5.1.2 การศึกษาวิเคราะห์ เพื่อหาทิศทางที่เหมาะสมของการจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรม วัดคูหาภิมุข ในหัวข้อนี้ เป็ นการศึกษาวิเคราะห์เพื่อสรุ ปความคิดเห็น ทิศทางที่เหมาะสมในการจัดการแหล่ง มรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข เพื่อให้สามารถเกิดการอนุรักษ์ รักษาใช้เชิงคุณค่า ตลอดจนสามารถ พัฒนาไปในทิศทางที่เหมาะสม โดยการนําเอาข้อมูลผลการเก็บข้อมูลความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ของผูใ้ ห้ขอ้ มูล มาพิจารณาประกอบกับ แนวคิ ดและทฤษฏี โดยนํามาวิเคราะห์ เพื่ อหาทิ ศทางและ รู ปแบบวิธีการจัดการที่เหมาะสมต่อไป 141


(1) การนําผลการศึกษาในบทที่ 5 ข้ อ 5.1.1 การศึกษาเก็บข้ อมูลความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะ ของประชาชน ผู้นําท้ องถิ่น และนักวิชาการต่ อทิศทางที่เหมาะสมของการจัดการแหล่ งมรดกทาง วัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข มาทําการวิเคราะห์ผลการเก็บข้อมูลความคิดเห็ นในข้อที่ผ่านมา โดยนํามา พิจารณาประกอบกับแนวคิดหรื อทฤษฎี ที่ได้เสนอไว้ในบทที่ 2 เพื่อหาทิ ศทางและรู ปแบบวิธีการ จัดการที่เหมาะสม โดยผูศ้ ึกษาจะพิจารณาเลือกทิศทางหรื อรู ปแบบวิธีการจัดการ โดยวิเคราะห์จาก ประเด็นข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ จากประชาชนซึ่ งประกอบด้วย กลุ่มผูน้ าํ ชุมชน ได้แก่ ผูใ้ หญ่บา้ น ผูน้ าํ ศาสนา ตัวแทนจากสถานศึกษา และจากประชาชนผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการและ ดูแลแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข เพื่อใช้เป็ นข้อมูลของรู ปแบบวิธีการจัดการที่เหมาะสม ซึ่งสามารถสรุ ปประเด็นและนํามาจัดกลุ่มออกมาได้ 3 ประเด็นหลัก คือ (1) ด้านการเสริ มสร้าง การเรี ยนรู ้และสร้างการรับรู ้ (2) ด้านการปรับปรุ งและพัฒนาพื้นที่ และ (3) ด้านการส่ งเสริ มและเพิ่ม ศักยภาพชุมชน โดยสามารถนํามาวิเคราะห์เพื่อหาทิศทางของการจัดการที่เหมาะสม ภายใต้แนวคิด และทฤษฎีได้ดงั นี้ (1) ด้านการเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และสร้างการรับรู ้ ด้านการเสริ มสร้างการเรี ยนรู ้และสร้างการรับรู ้ ซึ่ งทิศทางหรื อรู ปแบบวิธีการจัดการที่ เหมาะสมในการสร้างการเรี ยนรู ้และส่ งผลให้เกิดการรับรู ้ ควรจะต้องเป็ นวิธีการหรื อกระบวนการที่ สอดคล้องและเป็ นไปตามแนวทางของการสื่ อความหมาย และการนําเสนอมรดกทางวัฒนธรรม ที่ จะต้องมีการสื่ อสารและให้ขอ้ มูลในแบบกระชับและเข้าถึงโดยง่าย ดังแนวคิด “การสื่ อความหมาย และการนํ า เสนอมรดกทางวั ฒ นธรรม” จากกฎบัตรอี โคโมส ว่า ด้วยการสื่ อความหมายและการ นํ า เสนอ (The ICOMOS Charter for the Interpretation and Presentation of Cultural Heritage Site – Proposed Final Draft) ได้ให้ความหมายของการสื่ อความหมายทางวัฒนธรรม (Cultural Interpretation) ว่าเป็ นช่องทางให้เกิดการสื่ อสารระหว่างมรดกทางวัฒนธรรม กับผูเ้ รี ยนรู ้ และได้กาํ หนดได้หลักการ สําคัญ 7 ประการ ดังนี้ 1. การเข้าถึงและการทําความเข้าใจ เพื่ออํานวยความสะดวกในการสร้ างความ เข้าใจ สร้างความประทับใจ รวมไปถึงสร้างความตระหนักและความจําเป็ นในการอนุรักษ์แหล่งมรดก วัฒนธรรม 2. สร้างความน่าเชื่อถือของข้อมูลด้วยการรับรองความสําคัญ และให้การยอมรับ เพื่อได้การสื่ อความหมายที่ถูกต้อง บนพื้นฐานของหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ วิชาการ วัฒนธรรมและ ประเพณี 3. ให้ความสนใจกับบริ บทและสภาพแวดล้อม เพื่อปกป้องคุณค่าที่จบั ต้องได้และ จับต้องไม่ได้ โดยการนําเสนอความสัมพันธ์ของแหล่งมรดกวัฒนธรรมกับบริ บทและสภาพแวดล้อม 142


4. รักษาและเคารพความจริ งแท้ของแหล่งมรดกวัฒนธรรม เพื่อการสื่ อเนื้อหาทาง ประวัติศาสตร์ และคุณค่า รวมไปถึงป้องกันการสื่ อความหมายที่ไม่เหมาะสม และผลกระทบต่อแหล่ง มรดกวัฒนธรรม 5. การวางแผนเพื่ อ เกิ ด ความยั่ง ยื น ในการอนุ รั ก ษ์ มี ค วามต่ อ เนื่ อ งในการ ดําเนินงาน บํารุ งรักษา ปรับปรุ งข้อมูลที่ใช้ในการสื่ อความหมายในระยะยาว 6. คํานึ งถึงองค์รวม โดยให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ชุมชนผูเ้ กี่ยวข้องได้มีส่วนร่ วมใน การสื่ อความหมาย และการดาเนินงานต่างๆ 7. ความสําคัญของการศึกษา วิจยั และการฝึ กอบรม ซึ่ งจะทําให้เกิดการพัฒนา เทคโนโลยีการสื่ อความหมาย การนําเสนอ ที่มีความเหมาะสมและยัง่ ยืน นอกจากนี้ยงั เป็ นการสื่ อความหมายทางวัฒนธรรม ใช้เพื่อประโยชน์ ดังนี้ 1. เพื่อการศึกษา (Education) ซึ่ งลักษณะดังกล่าวเป็ นลักษณะการเรี ยนรู ้ที่ อาศัย การพึ่งพิงการสื่ อความหมายในลักษณะที่ ตอ้ งมี ผูต้ ี ความ และสื่ อที่ใช้ในการให้ความหมายในการ อธิบายความหมายและความสําคัญของแหล่งมรดกเหล่านั้นให้เข้าใจชัดเจนมากยิง่ ขึ้น 2. เพื่ อ ความบัน เทิ ง (Entertainment) เป็ นคุ ณ ค่ า สํ า คัญ อี ก ประการที่ ช่ ว ยให้ กิจกรรมสันทนาการเกิดความเพลิดเพลินและเข้าใจ ทั้งยังเพิ่มขีดความสามารถด้านประสบการณ์ของ ผูเ้ ข้าชมในเชิงคุณภาพต่อแหล่งมรดกเหล่านั้นเพิม่ มากขึ้น 3. เพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ แ ละการพัฒ นาอย่ า งยั่ง ยื น (Conservation and Sustainable Development) เพื่อก่ อให้เกิ ดการตระหนักรู ้ สร้ างความรู ้ สึกในความเป็ นเจ้าของหรื อกรรมสิ ทธิ์ ต่อ แหล่งมรดก นําไปสู่ ความต้องการในการสงวนรักษาและปกป้องมรดกทางวัฒนธรรมในท้ายที่สุด 70 0

(2) ด้านการปรับปรุ งและพัฒนาพื้นที่ ด้านการปรั บปรุ ง และพัฒนาของการจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคู หาภิ มุ ข ทิ ศ ทางหรื อ แนวทางที่ เ หมาะสมในการจัด การจึ ง ควรอยู่ ภ ายใต้แ นวคิ ด “การจั ด การมรดกทาง วัฒนธรรม” โดยมีรูปแบบและวิธีการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมใน 2 รู ปแบบ ที่สาํ คัญคือ การจัดการ

ICOMOS. (2007). The ICOMOS Charter for the Interpretation and Presentation of Cultural Heritage Site. (Proposed Final Draft). Revised under the Auspices of the ICOMOS International Scientific Committee on Interpretation and Presentation 10 April 2007. Retrieved February 15, 2019, from https://www.icomosthai.org/charters. 70

143


ความรู้ และ การจั ด การทางกายภาพ ซึ่ ง รวมถึ ง กระบวนการเกี่ ย วกับ นโยบายและข้อบัง คับ ทาง กฎหมายเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมด้วย โดยอธิบายได้ ดังนี้ 1. การจัดการความรู ้ มีจุดเริ่ มต้นจากการรวบรวมความรู ้จากการวิจยั ด้วยตนเอง หรื อการประมวลและสังเคราะห์จากผูอ้ ื่น จากนั้นแล้วจึงนําความรู ้ที่ได้มาหรื อเรี ยบเรี ยงมาสกัดให้เป็ น เรื่ องง่ายแก่การเข้าใจของสาธารณะชน แล้วจึงจัดแสดงหรื อเผยแพร่ ความรู ้ ในรู ปแบบหนังสื อ สารคดี ภาพยนต์ นิทรรศการ หนังสื อนําชม หนังสื อท่องเที่ยว การจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ฯลฯ ซึ่งต้องคํานึงถึง กระบวนการทางด้านกฎหมาย และกระบวนการมีส่วนร่ วมของชุมชนในการรับรู ้สิทธิ ของตนเองใน การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม ดังตัวอย่างที่ กรมศิ ลปากรได้จดั ตั้งโครงการนําร่ องบริ หารจัดการ ทรัพย์สินทางศิลปวัฒนธรรมสู่ เขตพื้นที่ทอ้ งถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ สงขลา และอุบลราชธานี พ.ศ. 2544 เพื่ อ เผยแพร่ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกับ กฎหมายและสิ ท ธิ ชุ ม ชนตลอดจนการดู แ ลจัด การมรดกทาง วัฒนธรรม 71 2. การจัดการทางกายภาพ หมายถึง การจัดการภูมิทศั น์ของมรดกทางวัฒนธรรมที่ เป็ นวัตถุ เช่น โบราณสถาน หมู่บา้ น บ้านเรื อนให้มีระเบียบ มีระบบการดูแลโดยชุมชนหรื อหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และเข้าถึงง่าย เช่น การจัดการมรดกทางวัฒธรรมทางโบราณคดี ที่เป็ นการจัดพื้นที่โดยมี การอนุ รัก ษ์ และบู รณะให้อยู่ใ นสภาพคงทนถาวร รวมทั้ง การจัดภูมิ ท ศั น์ โดยรอบด้วยที่ เ รี ย กว่ า “อุทยานประวัติศาสตร์” หรื อพิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง หรื อการจัดแสดงโบราณวัตถุและเก็บในที่ปลอดภัย เหมาะสมเพื่อรักษาสภาพและยืดอายุให้นานขึ้น ไม่วา่ จะเป็ นพิพิภณ ั ฑ์ หรื อศูนย์ขอ้ มูลชุมชน ส่ วนการ จัดการมรดกทางวัฒนธรรมด้านประเพณี น้ นั อาจจะเป็ นการจัดระเบียบภายในชุมชน หรื อฟื้ นฟูมรดก วัฒนธรรมประเพณี ด้ งั เดิมที่ใกล้สูญหายไป เช่น การทอผ้า ดนตรี การฟ้อนรํา เป็ นต้น 72 1

2

นอกเหนื อจากนั้น สามารถนํา “แนวคิดการจัดการแหล่ งเรี ยนรู้ ” โดยนําหลักการและว รู ปแบบวิธีการจัดการเพื่อให้เป็ นการสอดคล้องและต่อเนื่ องในการพัฒนาปรับปรุ งพื้นที่ สู่ การสร้าง แหล่งเรี ยนรู ้ในชุมชน กับคู่มือการพัฒนาชุมชนแหล่งเรี ยนรู ้ ในการสร้างและการพัฒนาชุมชนแห่ ง การเรี ยนรู ้ให้มีการศึกษาที่เกื้อหนุน ให้บุคคลในชุมชนสามารถเรี ยนรู ้ได้อย่างต่อเนื่ องตลอดชีวิต โดย การกระจายโอกาสทางการศึกษาภายใต้ส่ิ งที่มีอยูใ่ นสังคมรอบ ๆ ตัว ทั้งสิ่ งมีชีวิตและไม่มีชีวิต อารักษ์ สังหิตกุล. (2544). กรมศิลปากรกับการบริหารจัดการทรัพย์สินทางศิลปวัฒนธรรม อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต. กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร 72 รัศมี ชูทรงเดช. (2551). จากเพิงผาถํา้ ลอดสู่ เพิงผาบ้ านไร่ ...สู่ การทลายเส้ นแบ่ งของวิธีวิทยาทางโบราณคดี. ใน มา จาก(คนละ)ฟากฟ้าของเพิงผาสู่ การทําลายเส้ นแบ่ งของวิธีวิทยาทางโบราณคดี วลีในมานุษยวิทยาและมายาใน ศิลปกรรม. กรุ งเทพฯ: เอราวัณการพิมพ์. 71

141


(3) ด้านการส่ งเสริ มและเพิ่มศักยภาพชุมชน ด้านการส่ งเสริ มและเพิ่มศักยภาพชุมชน ผ่านการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัด คูหาภิมุข โดยมีทิศทางและรู ปแบบวิธีการจัดการที่เหมาะสม ในการจัดการจึงควรอยู่ภายใต้แนวคิด “แนวคิดจัดการการท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม” เพื่อใช้เป็ นตัวส่ งเสริ มและเพิ่มศักยภาพของชุมชน ให้ เกิดการพัฒนาและสร้างพื้นฐานคุณภาพชีวิต ทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ เพื่อรองรับสู่ การท่องเที่ยว และเกิดการสร้างรายได้จากแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ด้วยวิธีการอย่างมีส่วนร่ วมของประชาชนและ ส่ วนราชการ รวมทั้งองค์การปกครองส่ วนท้องถิ่น (2) การนําผลในการศึกษาในบทที่ 4 ข้ อ 4.2 การศึกษาแหล่ งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมื องยะลา จังหวัดยะลา เป็ นการศึกษาประวัติความมาและตํานานของวัดคูหาภิมุข มรดก วัฒนธรรมของวัดคูหาภิมุข และนํามาวิเคราะห์คุณค่าความสําคัญ ความสําเร็ จ ตลอดจนปัญหาของการ จัดการแหล่ ง มรดกทางวัฒ นธรรมวัดคู หาภิ มุ ข ในฐานะเป็ นปู ช นี ย สถานและแหล่ ง ท่ องเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม มาพิจารณาได้ ดังนี้ ผลจากการศึกษาพบว่า แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัด ยะลา ถือเป็ นแหล่งพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ ที่มีร่องรอยของการตั้งถิ่นฐานชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่ อน ประวัติศาสตร์ อันเนื่องจากลักษณะกายภาพทางภูมิศาสตร์ที่ เป็ นแหล่งพื้นที่ราบ มีภูเขาสู งตั้งเป็ นแนว กําบัง ประกอบกับทําเลที่ต้ งั มีแม่น้ าํ สายหลักไหลผ่าน อันเป็ นเส้นทางในการเดินทางเพื่อติดต่อค้าขาย และแลกเปลี่ยนกับกลุ่มชนอื่น ๆ มาแต่โบราณ จึงส่ งผลให้ลกั ษณะทางกายภาพของพื้นที่บริ เวณตําบล หน้าถํ้าเหมาะแก่การตั้งบ้านเรื อนและชุมชนเป็ นอย่างดี จึงเกิดพัฒนาเพื่อเป็ นพื้นที่ใช้สอยให้เกิดการ ตอบสนองต่อกิจกรรมในการดําเนิ นชีวิต จึงมีการพบร่ องรอยของการใช้สอยและการบันทึกเรื่ องราว อันเป็ นหลักฐานบนผนังถํ้า และบริ เวณถํ้าแจ้ง ที่มีการประดิษฐานองค์พระพุทธไสยานส์ ก่อสร้างขึ้น และสันนิ ษ ฐานถึ ง รู ป แบบศิ ลปะกรรมยุคสมัยศรี วิชัย โดยได้มี เลื อกใช้สอยพื้ นที่ เพื่ อเป็ นสถานที่ ประกอบพิธีกรรมและศาสนกิจเช่นเดียวกับถํ้าศิลป แต่บริ เวณถํ้าแจ้งนี้ยงั คงมีการใช้สอยและพัฒนา เรื่ อยมาเพื่อเป็ นสถานที่ประกอบกิจกรรมมาจนปัจจุบนั ทั้งนี้ ยังเป็ นแหล่งพื้นที่ที่มากด้วยคุณค่าและความสําคัญของวัดคูหาภิมุขในเชิงการเป็ น แหล่ ง ท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมสํา คัญของจัง หวัดยะลา สามารถวิเคราะห์ ได้จากองค์ประกอบทาง กายภาพ และในเชิ งความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ และผูค้ น ที่ยงั คงมีปฏิ สัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ แหล่ง มรดกวัฒนธรรม กับผูค้ นในเขตพื้นที่อยู่ โดยมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องในเชิง ที่ต้ งั และการใช้สอยตัว พื้นที่ เพื่อประกอบกิ จกรรมเรื่ อยมา จนเกิ ดการสั่งสม ถ่ายทอด และเกิ ดการพัฒนาในมรดกทางภูมิ ปั ญญาและมรดกทางวัฒนธรรมขึ้นในพื้นที่ เพื่อเป็ นการตอบสนองต่อรู ปแบบการดําเนินวิถีชีวิต ทั้ง 142


ทางความเชื่อ การประกอบอาชีพ ตลอดจนส่ งเสริ มจนเกิดการร่ วมผลักดันและพัฒนาสู่ การเป็ นเหล่ง ท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรมที่เห็นได้ชดั จากการนําจุดเด่น เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ในชุมชนมาใช้เป็ น เครื่ องมือในการนําเสนอพื้นที่ชุมชนให้เกิดการรู ้จกั และเป็ นที่ยอมรับในการเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมที่สาํ คัญของจังหวัดยะลา โดยผ่านมรดกทางภูมิปัญญา และมรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ (3) การนําผลการศึกษาในบทที่ 4 ข้ อ 4.1.4. วิเคราะห์ ศักยภาพและความเข้ มแข็งของ ชุมชนหน้ าถํา้ มาทําการพิจารณา ซึ่งผลการวิเคราะห์สามารถสรุ ปได้ ดังนี้ 3.1) ชุมชนในพื้นที่แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข เป็ นเขตพื้นที่ชุมชนที่มีขนาด กลาง มี ประชากรทั้งหมด 3,267 คน หรื อประมาณร้ อยละ 1.96 ของประชากรทั้งอําเภอเมื องยะลา จํานวนครัวเรื อน 768 หลังคาเรื อนมีความหนาแน่ นเฉลี่ย 340 คน/ตารางกิโลเมตร โดยประชากรใน พื้นที่ ป ระกอบไปด้วย ชาวไทยพุ ท ธ ชาวไทยเชื้ อสายจี น และ ชาวไทยมุ ส ลิ ม หรื อไทยมลายู ซึ่ ง ประชากรร้อยละ 37.57 นับถือศาสนาพุทธ โดยอาศัยอยู่ในหมู่ที่ 1 บ้านหน้าถํ้า และหมู่ที่ 2 บ้านหน้า ถํ้าเหนือ ร้อยละ 62.39 นับถือศาสนาอิสลาม โดยอาศัยอยูใ่ นพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านบันนังลูวา และหมู่ที่ 3 บ้านกูแบอีเต๊ะ (บาเต๊ะ) และนับถือศาสนาอื่น ๆ ร้อยละ 0.04% มีมสั ยิดจํานวนสามแห่ ง และวัดหนึ่ง แห่ ง ที่ ต้ งั อยูjห่ างอออกไปจากตัวเมื องยะลาประมาณ 8 กิ โลเมตร แต่ยงั คงอยู่ภายในอาณาเขตของ อําเภอเมื องยะลา จังหวะดยะลา ชุ มชนหน้าถํ้าเป็ นชุ มชนที่มีรูปแบบของสังคมเมื องกึ่ งเกษตร โดย ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทําสวนยางพารา สวนผลไม้ และเลี้ยงปศุสัตว์ เป็ นหลัก และมีการประกอบอาชีพเพื่อเสริ มรายได้ เช่น อาชี พทําขนม ตัดเย็บเสื้ อผ้า ทําเฟอร์ นิเจอร์ จากไม้ เป็ นต้น ซึ่ งพื้นที่ชุมชนหน้าถํ้าถือเป็ นแหล่งพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ ที่มีร่องรอยของการตั้งถิ่น ฐานชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ อันเนื่ องจากลักษณะกายภาพทางภูมิศาสตร์ ที่ เป็ นแหล่ง พื้นที่ราบ มีภูเขาสู งตั้งเป็ นแนวกําบัง ประกอบกับทําเลที่ต้ งั มีแม่น้ าํ สายหลักไหลผ่าน อันเป็ นเส้นทาง ในการเดินทางเพื่อติดต่อค้าขายและแลกเปลี่ยนกับกลุ่มชนอื่น ๆ มาแต่โบราณ จึงส่ งผลให้ลกั ษณะ ทางกายภาพของพื้นที่บริ เวณตําบลหน้าถํ้าเหมาะแก่การตั้งบ้านเรื อนและชุมชนเป็ นอย่างดี ทั้งยังเป็ น แหล่งพื้นที่ที่มีคุณค่าและความสําคัญเชิงการเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสําคัญของจังหวัดยะลา โดยมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องในเชิง ที่ต้ งั และการใช้สอยตัวพื้นที่เพื่อประกอบกิจกรรมเรื่ อยมา จนเกิด การสั่งสม ถ่ายทอด และเกิดการพัฒนาในมรดกทางภูมิปัญญาและมรดกทางวัฒนธรรมขึ้นในพื้นที่ เพื่อเป็ นการตอบสนองต่อรู ปแบบการดําเนิ นวิถีชีวิต ทั้งทางความเชื่ อ การประกอบอาชี พ ตลอดจน ส่ งเสริ มจนเกิดการร่ วมผลักดันและพัฒนาสู่การเป็ นเหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เห็นได้ชดั จากการ นําจุดเด่น เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ในชุมชนมาใช้เป็ นเครื่ องมือในการนําเสนอพื้นที่ชุมชนให้เกิดการ 143


รู ้ จกั และเป็ นที่ ยอมรั บในการเป็ นแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมที่ สําคัญของจังหวัดยะลา โดยผ่าน มรดกทางภูมิปัญญา และมรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ 3.2) ชุมชนหน้าถํ้า ในเขตพื้นที่แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข เป็ นแหล่งพื้นที่ ชุมชนที่มีความหลายหลายทางพหุ วฒั นธรรรม ซึ่ งมีความสัมพันธ์และความร่ วมมือทางด้านศาสนา และสังคมของผูค้ นในชุมชน โดยมีการร่ วมการบริ หารจัดการดูแลภายใต้ความพึงพาอาศัยกัน โดยใช้ พื้นที่แหล่งมรดกทางวัฒนวัฒนธรรมเป็ นศุนย์กลางในการประกอบกิจกรรมทางสังคม ซึ่ งเกิดการให้ ความร่ วมมือและการสร้างความสัมพันธ์ทางด้านวิถีชีวิตจากกิจกรรมประเพณี ทางวัฒนธรรมที่มีการ ส่ งเสริ มและพึ่งพาซึ่ งกันและกันเรื่ อยมาในระหว่างประชากรของทั้งสองหมู่บา้ นที่ให้ความสําคัญต่อ และมีส่วนร่ วมในการจัดงานกิจกรรมต่าง ๆ เป็ นอย่างดี ภายใต้การดําเนินงานของทุกภาคส่ วน ที่มีการ แบ่งหน้าที่ และการบริ หารจัดการภายในพื้นที่ชุมชนหน้าถํ้า เพื่อดูแลการบริ หาร และมีการพัฒนาทั้ง ทางด้านคุณภาพชีวิต ตลอดทั้งส่ งเสริ มและร่ วมดําเนิ นการจัดการดูแลในทุกกิจกรรมของชุมชน โดยมี ความพร้อมและได้รับความร่ วมมือจากประชากรในพื้นที่ที่ได้รับผิดชอบดูแลเป็ นอย่างดี 3.3) หน่ วยงาน องค์กร และชุมชน มีความเข้มแข็ง ในระดับที่สามารถพึ่งตนเองได้ใน ระดับหนึ่งทางเศรษฐกิจ โดยชาวบ้านสามารถพึ่งตนเองได้แต่ยงั ต้องได้รัยการสนับสนุนและผลัดกัน จากทางหน่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเข้าไปส่ งเสริ มและสร้างศักยภาพของ ชุ ม ชนในการสร้ า งเศรษฐกิ จ ธุ ร กิ จ ต่ า ง ๆ ให้ แ ข็ ง แรง รวมทั้ง การเข้า ไปมี ส่ ว นร่ ว มผลัก ดันและ สนับ สนุ นส่ ง เสริ ม ในด้า นของการมี ส่ วนร่ วมในชุ ม ชน จากการดํา เนิ นการจัดกิ จกรรม หรื องาน ประเพณี ต่าง ๆ ซึ่งถือเป็ นการเข้าไปมีส่วนร่ วมกับชุมชนในเชิงการร่ วมเผยแพร่ องค์ความรู ้ การจัดการ องค์ความรู ้ ส่ งเสริ มการตระหนักและรักษามรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญา รวมถึงส่ งเสริ มให้เกิดการ แลกเปลี่ยน เรี ยนรู ้ ภายในแหล่งพื้นที่ชุมชน ให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดี เกิดความสามัคคี เอื้ออาทรและมี การการเกื้อกูลซึ่งกันและกันภายในชุมชน อักทั้งเป็ นการสร้างเครื อข่ายและภาพลักษณ์ความสัมพันธ์ที่ ดีต่อภายนอกชุมชนอีกด้วย ดังที่กล่ามานั้นสามารถแสดงให้เห็นว่า แหล่งพื้นที่ชุมชน หน่วยงาน และองค์กรต่าง ๆ ที่ อยู่ภายในแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิ มุข อําเภอเมื องยะลา จังหวัดยลา ถือเป็ นชุ ม ชนที่ มี ศักยภาพและความเข้มแข็งในการดําเนิ นกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมของส่ วนรวมได้เป็ นอย่างดี ดังนั้นสามารถสะท้อนให้เห็นถึงความร่ วมมือ ร่ วมใจของคนในชุมชน ที่พร้อมให้ความร่ วมมือในการ ดําเนินการขับเคลื่อนกิจกรรมของส่ วนร่ วมทั้งในทางศาสนา สังคมและศิลปวัฒนธรรม อีกทั้งภายใน ชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดี มีการการเกื้อกูลกัน มีความสามัคคี เป็ นนํ้าหนึ่งใจเดียวกันด้วย 144


ซึ่ งจะสามารถนําไปสู่ การเสนอรู ปแบบและวิธีการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัด คูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ใน ลําดับต่อไป 5.2 การจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การเป็ นแหล่ ง เรียนรู้ และแหล่ งท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็ นการเสนอรู ปแบบวิธี การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ด้วยวิธีการอนุรักษ์และปรับปรุ ง โบราณสถาน สิ่ ง แวดล้อมตลอดทั้ง สภาพภู มิ ท ัศ น์ เพื่ อให้เหมาะสมต่ อการเป็ นแหล่ ง เรี ย นรู ้ แ ละ ส่ งเสริ มสู่ การเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมต่อไป จากการวิเคราะห์เพื่อหรู ปแบบวิธีการจัดการ ผูศ้ ึกษาวิจยั จึงเสนอรู ปแบบและวิธีการจัดการที่ เหมาะสม โดยมีรูปแบบ วิธีการ และแนวทางในการจัดการ เพื่อให้เกิดความยัง่ ยืนแก่โบราณสถาน และเกิดการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ผคู ้ นในชุมชน ดังนี้ 5.2.1 การจัดการอนุรักษ์ พัฒนา และปรับปรุงภูมิทัศน์ พื้นที่แหล่ งมรกดกทางวัฒนธรรม วัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา การจัดการอนุรักษ์ พัฒนา และการปรับปรุ งสภาพภูมิทศั น์แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัด คูหาภิมุข โบราณสถาน ตลอดทั้งศาสนสถาน และภูมิทศั น์โดยรอบ เพื่อให้เหมาะสมกับการเป็ นแหล่ง เรี ยนรู ้ทางวัฒนธรรม และสู่ การเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ซึ่ งในปั จจุบนั ตัวแหล่งมรดกทาง วัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตลอดทั้งภูเขาหน้าถํ้า อันประกอบไปด้วย วัดคูหาภิมุข (วัดหน้าถํ้า) องค์พระ พุทธไสยาสน์ แหล่งโบราณคดีถ้ าํ ศิลป พิพิธภัณฑ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั ตอลดทั้งแหล่งท่องเที่ยวเชิ ง นิเวศวิทยา และสถานที่สาํ คัญ เช่น ถํ้า ปรร และลําคลองระหาน อยูภ่ ายใต้ความดูแลโดยจากหน่วยงาน ในพื้นที่ คือ องค์การบริ หารส่ วนตําบลหน้าถํ้า และการรับผิดชอบควบคุมดูแล อนุรักษ์ และการบูรณะ โดยกรมศิ ล ปากร ที่ 13 สงขลา ซึ่ ง แหล่ง มรดกทางวัฒนธรรมวัดคู หาภิ มุข ได้รับ การขึ้นทะเบี ย น โบราณสถานจากกรมศิลปากรในเขตพื้นที่ภูเขาหน้าถํ้าเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว โดยแบ่งออกเป็ นสองส่ วน คือ ภายในเขตวัดคูหาภิมุข (วัดหน้าถํ้า) โดยประกอบไปด้วย องค์พระพุทธไสยาสน์ และตัวอาคารจัด แสดงโบราณวัตถุ พิพิธภัณฑ์หอวัฒนธรรมศรี วิชยั กับแหล่งโบราณคดีถ้ าํ ศิลป

145


ภาพที่ 5.1 : ภาพลายเส้นแสดงแนวเขตการขึ้นทะเบียนแหล่งโบราณคดีภูเขาหน้าถํ้า (วัดคูหาภิมุข) (ที่มา : สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา 73) 3

สํานักศิลปากรที่ 13 สงขลา. (2556). แบบสํารวจข้ อมูลโบราณสถานและโบราณคดี โบราณสถานภูเขาหน้ าถํา้ (วัด คูหาภิมุข) ตําบลหน้ าถํา้ อําเภอเมือง จังหวัดยะลา. กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. 73

146


ภาพที่ 5.2 : ภาพแสดงแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 147


ในปั จจุ บนั ด้วยสภาพของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมยังคงมี การได้รับการดู แลรั กษา และอนุรักษ์ ตลอดทั้งพัฒนาปรับปรุ งเรื่ อยมา ทั้งทางด้านภูมิทศั ย์ และทัศนี ยภาพในทางกายภาพและ พื้นที่อยู่ตลอด จากหน่ วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเป็ นการสร้างและปรับปรุ งให้เกิดความสวยงาม และความปลอดภัย แต่ยงั คงมี สถานที่ ในบางส่ วนของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ที่ ยงั คงขาดการ อนุ รักษ์ พัฒนา และปรับปรุ งภูมิทศั น์อย่างถูกต้องและถูกวิธี ดังที่จะเสนอรู ปแบบวิธีการจัดการไว้ ดังนี้ (1) การปรับปรุงภูมิทัศน์ ภายในวัด ภายในถํา้ ศาสนสถาน และโบราณสถาน การปรั บปรุ งภูมิทศั น์ โดยเริ่ มจากการประเมิ ณคุณค่าของสิ่ งปลูกสร้ างที่ เข้ามามี ส่วน เกี่ยวข้อง ตลอดทั้งลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ และองค์ประกอบโดยรอบ เพื่อให้เป็ นการปรับปรุ ง ให้เกิดความกลมกลืนต่อลักษณะของรู ปแบบศิลปกรรม กายภาพทางธรรมชาติ รวมถึงรู ปแบบการใช้ งานเพื่อประกอบกิจกรรม เพื่อไม่ให้เกิดการลดทอนในเชิงคุณค่าของการเป็ นพื้นที่ศกั ดิ์สิทธิ์ และต้อง มีรูปแบบการใช้งานได้อย่างสะดวกสบายยิง่ ขึ้น โดยมีการกําหนดรู ปแบบ และลักษณะของสิ่ งปลูกสร้าง จะต้องยึดตามหลักเกรฑ์ และ ข้อกําหนดโดยสามารถอ้างอิงได้จาก ระเบียบกรมศิลปากรว่ าด้ วยการอนุรักษ์ โบราณสถาน พ.ศ. 2528 ว่าด้วยกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องในการอนุรักษ์โบราณสถาน และได้ให้คาํ จําจัดความของ “การอนุรักษ์” โดยหมายความว่า “เป็ นการดูแล รั กษา เพื่อให้ คงคุณค่ าไว้ และให้ หมายรวมถึงการป้ องกัน การรั กษา การสงวน การปฏิ สังขรณ์ และการบูรณะด้ วย” โดยมีขอ้ กําหนดที่เข้าหลักเกณฑ์ในการปรับปรุ งภูมิ ทัศน์ ดังนี้ 4) ก่อนที่ จะดําเนิ นการอนุ รักษ์โบราณสถานใด ๆ ต้องปฏิบตั ิ โดยมี รายละเอี ยด ดังนี้ ต่อไปนี้ 4.1) ทํา การสํา รวจศึ ก ษาสภาพเดิ ม และสภาพปั จจุ บ ัน ของโบราณสถานทั้ง ด้า น ประวัติการก่ อสร้างและการอนุ รักษ์ซ่ ึ งรวมถึ งรู ปทรงสถาปั ตยกรรม การใช้วสั ดุ และสภาพความ เสี ยหายที่ปรากฏอยู่ โดยการทําเป็ นเอกสาร บันทึกภาพ และทํา แผนผังเขียนรู ปแบบไว้โดยละเอียด เพื่ อใช้เป็ นข้อมู ล สํา หรั บนํา มาประกอบพิ จารณาทํา โครงการอนุ รัก ษ์ และเป็ นเอกสารสํา คัญทาง ประวัติศาสตร์ 4.2) ทําโครงการอนุรักษ์โบราณสถาน โดยพิจารณาว่าโบราณสถานนั้นมีคุณค่าและ ลักษณะความเด่นในด้านใดบ้าง อาทิเช่น ด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี จิตรกรรม ประติมากรรมหรื อ สถาปัตยกรรม ฯลฯ เป็ นต้น แล้ววางแผนเพื่อรักษาคุณค่า และความสําคัญที่เด่นที่สุดเป็ นหลักไว้ แต่ ทั้งนี้ตอ้ งคํานึงถึงคุณค่าและความสําคัญในด้านที่รองลงมาด้วย 148


4.3) พิ จ ารณาก่ อ นว่ า โบราณสถานนั้น ๆ ได้มี ก ารแก้ไ ขเพิ่ ม เติ ม มาแล้ว หรื อ ไม่ เพียงใด หากได้ถูกแก้ไขและส่ วนแก้ไขเพิม่ เติมขึ้นใหม่น้ นั ทําให้คุณค่าของเดิมเสี ยไป ควรพิจารณารื้ อ สิ่ งที่แก้ไขเพิ่มเติมออก และบูรณะให้เหมือนเดิม 5) การอนุ รั ก ษ์ โ บราณสถานใด ๆ ก็ ต าม จะต้อ งคํา นึ ง ถึ ง ภู มิ ท ัศ น์ แ ละสิ่ ง แวดล้อ ม โดยรอบโบราณสถานนั้นด้วย สิ่ งใดที่จะทําลายคุณค่าของโบราณสถานนั้น ๆ ให้ดาํ เนิ นการปรับปรุ ง ให้เหมาะสมด้วย 9) การต่อเติมเพื่อความมัน่ คงแข็งแรงของโบราณสถาน ควรทําเท่าที่จาํ เป็ นให้ดูเรี ยบง่าย และมีลกั ษณะกลมกลืนกับของเดิม 10) ในกรณี ที่จาํ เป็ นจะต้องทําชิ้นส่ วนของโบราณสถาน ที่ขาดหายไปขึ้นใหม่ เพื่อรักษา คุณค่าทางสถาปั ตยกรรม และให้การอนุ รักษ์โบราณสถานนั้นสามารถดําเนิ นการได้ต่อไป การทํา ชิ้นส่ วนขึ้นใหม่น้ นั อาจทําได้โดยวิธีการออกแบบที่แสดงให้ได้อย่างชัดเจนว่าเป็ นการทําขึ้นใหม่ จะ ด้วยวิธีการใช้วสั ดุ ต่าง ๆ กัน การใช้สีต่างกัน หรื อการทําพื้นผิวให้ต่างกันกับของเดิ มก็ได้ แต่ตอ้ ง เป็ นไปในลักษณะที่มีความผสมกลมกลืนกับของเดิม 14) โบราณสถานที่เป็ นปูชนี ยสถานอันเป็ นที่เคารพบูชา ซึ่ งเป็ นที่รู้จกั คุน้ เคยกันดีของ ประชาชนโดยทัว่ ไป จะต้องบูรณะไว้โดยไม่มีการแก้ไข เปลี่ยนแปลง ลักษณะสี และทรวดทรง ซึ่ งจะ ทําให้โบราณสถานนั้นหมดคุณค่า หรื อเสื่ อมความศักดิ์สิทธิ์ไป 17) โบราณสถานต่าง ๆ ทั้งนี้ข้ ึนทะเบียนแล้ว และยังไม่ข้ ึนทะเบียน จําต้องมีมาตรการ ในการบํารุ งรักษาไว้ให้อยูใ่ นสภาพที่มน่ั คงแข็งแรง สวยงามอยูเ่ สมอ 18) กรณี ที่โบราณสถานใดมีสภาพชํา รุ ดทรุ ดโทรม อาจจะเป็ นอันตราย การดําเนิ นการ ในเบื้ องต้นควรใช้มาตรการอันเหมาะสม ทําการเสริ มความมัน่ คงแข็งแรงไว้ก่อนที่ จะดํา เนิ นการ อนุรักษ์ เพื่อป้องกันมิให้เสี ยหายต่อไป 19) ในบางกรณี จ ะต้อ งดํา เนิ น การติ ด ต่ อ ขอความร่ ว มมื อ กับ หน่ ว ยราชการอื่ น หรื อ สถาบันเอกชนซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบ หรื อผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขาวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ ต่อการอนุรักษ์สมบัติวฒั นธรรมของชาติ 20) งานทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์หรื อการขุดค้น จะต้องทํารายงานในรู ปของการ วิเคราะห์และวิจยั โดยมีภาพประกอบซึ่งเป็ นภาพลายเส้นและภาพถ่าย และต้องรายงานสิ่ งที่ได้ปฏิบตั ิ ทุกขั้นตอนโดยละเอียด เช่น งานแผ้วถาง การจัดบริ เวณ งานเสริ มความมัน่ คงชิ้นส่ วนต่าง ๆ ฯลฯ เป็ น ต้น และการบันทึกรายงานนี้จะต้องเก็บรักษาไว้ ณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ 74 4

กรมศิลปากร. (2528). ระเบียบกรมศิลปากร ว่าด้ วยการอนุรักษ์ โบราณสถาน พ.ศ. 2528. ประกาศ ณ วันที่ 19 สิ งหาคม 2528. 74

149


จากที่ได้กล่าวมานั้น ผูศ้ ึกษาวิวยั จึงขอนําเสนอรู ปแบบและวิธีการจัดการ เพื่อเป็ นการ ปรับปรุ งภูมิทศั น์ภายในวัด ถํ้า โบราณสถาน และศาสนสถาน ให้เกิดความกลมกลืนต่อลักษณะของ รู ปแบบศิลปกรรม กายภาพทางธรรมชาติ รวมถึงรู ปแบบการใช้งานเพื่อประกอบกิจกรรม เพื่อไม่ให้ เกิ ด การลดทอนในเชิ ง คุ ณ ค่ า ของการเป็ นพื้ น ที่ ศ ัก ดิ์ สิ ท ธิ์ และต้อ งมี รู ป แบบการใช้ง านได้อ ย่ า ง สะดวกสบายยิง่ ขึ้น โดยแบ่งพื้นที่ตามมรดกวัฒนธรรมของวัดคูหาภิมุข ดังต่อไปนี้ (1) โถงถํา้ แจ้ ง และ องค์ พระพุทธไสยาสน์ (1.1) สภาพปัญหาในปัจจุบัน ก. ด้านการจัดการความสะอาด และความสวยงามภายในโถงถํ้าแจ้งและองค์ พระพุทธไสยาสน์ ซึ่งมีการนําวัตถุ สิ่ งแปลกปลอม รวมถึงสิ่ งของเหลือใช้ เศษขยะบางชนิดไปไว้ตาม ตามบริ เวณต่าง ๆ ของโบราณวัตถุ และภายในสถานที่

ภาพที่ 5.3 : ภาพแสดงตําแหน่งสภาพปัญหาภายในโถงถํ้าแจ้ง และบริ เวณองค์พระพุทธไสยาสน์ 150


ข. พบสภาพร่ อ งรอยการชํา รุ ด ซึ่ ง เกิ ด จากการกะเทาะหลุ ด ร่ อ นของผิ วปู น บริ เวณส่ วนปลายพระบาท และบริ เวณหลังองค์พระพระพุทธไสยาสน์ ที่แสดงให้เห็นถึงชั้นอิฐ อัน เกิดจากการบูรณะถมภายในองค์พระ ซึ่ งถือเป็ นร่ องรอยหลักฐานของการบูรณปฏิสังขรณ์องค์พระ พุทธไสยาสน์ ตามที่ได้มีการบันทึกและบอกเล่าต่อ ๆ กันมา

ภาพที่ 5.4 : ภาพแสดงตําแหน่งสภาพปัญหารอบแตกบริ เวณองค์พระพุทธไสยาสน์

ภาพที่ 5.5 : ภาพแสดงตําแหน่งร่ องรอยการบูรณะองค์พระพุทธไสยาสน์ (1.2) รู ปแบบวิธีการจัดการ ก. ทําการจัดเก็บ และทําความสะอาด โดยเป็ นการปรับทรุ งเพื่อให้เกิดทัศนียภาพ ที่สวยงาม และสบายตาต่อการเข้าไปกราบไหว้สักการะบูชา ประกอบศาสนากิจ กิจกรรมทางศาสนา ประเพณี ต่างๆ และเพื่อการท่องเที่ยวพักผ่อนหยอนใจของผูม้ าเยือน 151


ข. ทํา การเสนอรู ป แบบแนวทางการบู รณะ ด้วยวิ ธี ก ารอนุ รัก ษ์ใ ห้เกิ ด ความ แข็งแรงของโบราณวัตถุ โดยใช้หลักเกณฑ์ของการอนุรักษ์และบูรณะ คือ 1) การซ่ อมแซมบูรณะด้วยวิธีการทําชิ้นส่ วนขึ้นใหม่ โดยทําขอบเขตแสดง ให้ให้ถึงการอนุรักษ์และบูรณะ ด้วยวิธีการออกแบบที่แสดงให้ได้อย่างชัดเจน แสดงส่ วนบริ เวณส่วน นี้เกิดจากการทําขึ้นใหม่ จะด้วยวิธีการใช้วสั ดุต่าง ๆ กัน การใช้สีต่างกัน หรื อการทําพื้นผิวให้ต่างกัน กับของเดิมก็ได้ แต่ตอ้ งเป็ นไปในลักษณะที่มีความผสมกลมกลืนกับของเดิม 2) การจัดแสดงถึงร่ องรอยหลักฐานของการบูรณปฏิสังขรณ์องค์พระพุทธ ไสยาสน์ โดยการกําหนดพื้นที่บริ เวณที่ปรากฏ เพื่อใช้เป็ นสื่ อสําหรับการเรี ยนรู ้ ผ่านร่ องรอบของการ อนุรักษ์ ซ่อมแซม และการเรี ยนรู ้เชิงประวัติศาสตร์

ภาพที่ 5.6 : ภาพเสนอการจัดทําเพื่อเปิ ดพื้นที่แสดงให้เห็นถึงวิวฒั นาการในการบูรณะที่ผา่ น (2) ถํา้ ศิลป (2.1) สภาพปัญหาในปัจจุบัน ก. สภาพปัญหาในด้านภูมิทศั น์และความปลอดภัย โดยไม่มีการกําหนดขอบเขต บริ เวณพื้นที่ เพื่อใช้เป็ นเครื่ องกําหนดขอบเขตในการเข้าถึงและเยีย่ มชมโบราณสถาน อันส่ งผลให้เกิด การสัมผัส และการสร้างร่ องรอยทับซ้อนแก่ภาพจิตรกรรมเขียนสี ภายในเขตโบราณสถาน ทั้งยังเป็ น อันตรายต่อผูเ้ ยีย่ มชมที่ไม่ทราบข้อมูลและเส้นทางภายในบริ เวณโบราณสถาน

152


ภาพที่ 5.7 : ภาพแสดงภายในโถงถํ้าศิลป ข. ปั ญหาด้านในการให้ความส่องสว่าง โดยมีการใช้หลอดไฟ ฉายส่ องโดยตรง ไปยังภาพจิตรกรรมเขียนสี บริ เวณผนังถํ้า เพื่ออํานวยความสะดวกต่อการรั บชมภาพ แต่เนื่ องด้วย อุณหภูมิความร้อนจากหลอดไฟที่มีความร้อนสู ง อาจส่ งผลต่อปฏิกิริยาทําให้ภาพจิตรกรรมเขียนสี เกิด การจางลงของเม็ดสี และเลือนหายไปในอนาคต

ภาพที่ 5.8 : ภาพแสดงตําแหน่งการติดตั้งไฟส่ องสว่างในปัจจุบนั (2.2) รู ปแบบวิธีการจัดการ ก. จัดทําแนวกั้นภายในบริ เวณโถงถํ้า เพื่อใช้เป็ นตัวกําหนดขอบเขตบริ เวณพื้นที่ ที่สามารถใช้งานได้ และเป็ นตัวกําหนดขอบเขตการแบ่งพื้นที่ระหว่างผูเ้ ข้าชมกับโบราณสถาน ตลอด ทั้งใช้เป็ นตัวป้องกันการเกิดอันตราย และเป็ นเครื่ องกําหนดเส้นทางในการเข้าชม

153


ภาพที่ 5.9 : ภาพจําลองการเสนอแนวกั้นภายในโถงถํ้า ข. การปรับปรุ งและเลือกพื้นที่ในการติดตั้งเพื่อให้ความส่ องสว่างภายในโถงถํ้า ด้วยการเลือกชนิ ดของหลอดไฟที่จดั อยูใ่ นประเภท หลอดไฟ LED ที่มีค่าในช่วง 6,000 - 7,000 K โดย เป็ นชนิดแสงแบบเดย์ไวท์ ที่ให้ค่าแสงในโทนเย็น เป็ นแสงสี ขาว-ฟ้า และให้อุณภูมิในค่าที่ต่าํ

154


(3) พิพธิ ภัณฑ์ หอวัฒนธรรมศรีวิชัย วัดคูหาภิมุข (3.1) สภาพปัญหาในปัจจุบัน ก. ด้านการจัดการความสะอาด และความสวยงามภายในโถงถํ้าแจ้งและองค์ พระพุทธไสยาสน์ ซึ่งมีการนําวัตถุ สิ่ งแปลกปลอม รวมถึงสิ่ งของเหลือใช้ เศษขยะบางชนิดไปไว้ตาม ตามบริ เวณต่าง ๆ ของโบราณวัตถุ และภายในสถานที่ ข. ปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ และพัฒ นาภู มิ ท ัศ โดยรอบของตัว อาคารศาลาที่ จ ํา หน่ า ย ดอกไม้ และให้เช่าพระเครื่ อง อันเนื่ องมาจากสภาพปั ญหาในเชิงความงามและทัศนี ยภาพที่เหมาะสม แก่การเป็ นแหล่งท่องเที่ยว โดยปรับเพื่อใช้ให้เป็ นพื้นที่ให้เกิดประโยชน์มากยิง่ ขึ้น

ภาพที่ 5.10 : อาคารศาลาที่จาํ หน่ายดอกไม้ และให้เช่าพระเครื่ องในปัจจุบนั บริ เวณหน้าพิพิธภัณฑ์ หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข (ที่มา : Google map.co.th)

ภาพที่ 5.11 : อาคารศาลาที่จาํ หน่ายดอกไม้ และให้เช่าพระเครื่ องในปัจจุบนั บริ เวณหน้าพิพิธภัณฑ์ หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข (ที่มา : Google map.co.th) 155


(3.2) รู ปแบบวิธีการจัดการ ก. ทําการจัดเก็บ และทําความสะอาด โดยเป็ นการปรับทรุ งเพื่อให้เกิดทัศนียภาพ ที่สวยงาม และสบายตาต่อการเข้าไปกราบไหว้สักการะบูชา ประกอบศาสนากิจ กิจกรรมทางศาสนา ประเพณี ต่างๆ และเพื่อการท่องเที่ยวพักผ่อนหยอนใจของผูม้ าเยือน ข. ปรับปรุ งพื้นที่ พัฒนาภูมิทศั ของตัวอาคารศาลาที่จาํ หน่ายดอกไม้ และให้เช่า พระเครื่ อง โดยปรับปรุ งให้เป็ นพื้นที่ให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น เพื่อใช้พ้ืนที่เป็ นศูนย์ให้ขอ้ มูล และ เป็ นพื้นที่จดั แสดงข้อมูลประวัติศาสตร์ สถานที่สําคัญ บุคคลสําคัญ ตลอดทั้งแหล่งท่องเที่ยวภายใน พื้นที่แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข และชุมชนตําบลหน้าถํ้า เพื่อประโยชน์ในการเป็ นแหล่ง เรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ภาพที่ 5.12 : ภาพแบบร่ างการปรับปรุ งตัวอาคารเพื่อใช้เป็ นศูนย์บริ การข้อมูลวัดคูหาภิมุข 156


(4) ถํา้ มืดและบ่ อนํ้าศักดิ์สิทธิ์ (4.1) สภาพปัญหาในปัจจุบัน ก. สภาพปัญหาในด้านภูมิทศั น์และความปลอดภัย โดยไม่มีการกําหนดขอบเขต บริ เวณพื้นที่ ทั้งยังเป็ นอันตรายต่อผูเ้ ยีย่ มชมที่ไม่ทราบข้อมูลและเส้นทางภายในบริ เวณโถงถํ้า ข. ปั ญหาด้านในการให้ความส่ องสว่าง เพื่ออํานวยความสะดวกต่อการเดินและ รับชุมหิ นงอกหิ นย้อย ที่บในปัจจุบนั ภายในถํ้าไม่ได้มีการเปิ ดใช้งานและติดตั้งระบบไฟ (4.2) รู ปแบบวิธีการจัดการ ก. จัดทําแนวกั้นภายในบริ เวณโถงถํ้า เพื่อใช้เป็ นตัวกําหนดขอบเขตบริ เวณพื้นที่ ที่สามารถใช้งานได้ ตลอดทั้งใช้เป็ นตัวป้ องกันการเกิดอันตราย และเป็ นเครื่ องกําหนดเส้นทางในการ เข้าชม

ภาพที่ 5.13 : ภาพจําลองการเสนอแนวกั้นภายในโถงถํ้ามืด ข. การปรับปรุ งและเลือกพื้นที่ในการติดตั้งเพื่อให้ความส่ องสว่างภายในโถงถํ้า ด้วยการเลือกชนิ ดของหลอดไฟที่จดั อยูใ่ นประเภท หลอดไฟ LED ที่มีค่าในช่วง 6,000 - 7,000 K โดย เป็ นชนิ ดแสงแบบเดย์ไวท์ ที่ให้ค่าแสงในโทนเย็น เป็ นแสงสี ขาว-ฟ้ า และให้อุณภูมิในค่าที่ต่าํ เพื่อ ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ภายในถํ้า

157


5.2.2 การจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การการเป็ นแหล่ งเรียนรู้ การจัดการแหล่งเรี ยนรู ้ ทางมรดกวัฒนธรรมสู่ การเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์ หมายถึง สถานที่จดั แสดงและเผยแพร่ มรดกวัฒนธรรมทั้งจับต้องได้อย่างโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ รวมไปถึงมรดกทางวัฒนธรรมที่มีชีวิต เช่น ภูมิปัญญา เทศกาล พิธีกรรม และประเพณี ที่ ผูค้ นในท้องถิ่นสามารถใช้ศึกษาค้นคว้าหาความรู ้ ดว้ ยตนเองได้ จากทั้งสื่ อที่เป็ นสิ่ งพิมพ์ให้ความรู ้ หรื อพื้นที่ โบราณสถาน เพื่อให้ผูค้ นในพื้นที่ ชุมชน ได้รับความรู ้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง และมีความ ตระหนักถึงมรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ชุมชนของตนมากยิ่งขึ้น ตลอดทั้งสามารถผลักดันให้แหล่ง มรดกทางวัฒนธรรมเหล่านี้ เป็ นสิ่ งขับเคลื่อนและผลักดันให้แหล่งพื้นที่ชุมชนเกิดเป็ นการท่องเที่ยว เชิงมรดกวัฒนธรรมได้ โดยผูศ้ ึกษาได้จดั วางรู ปแบบวิธีการจัดการออกเป็ น 2 ส่วน ได้แก่ (1) การบริหารจัดการ การบริ หารจัดการมรดกทางวัฒนธรรมและแหล่งเรี ยนรู ้จะต้องเป็ นกระบวนการ ของการประสานความเข้าใจในเป้ าหมายการพัฒนา และการอนุรักษ์ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับคน ในชุ ม ชนในพื้ น ที่ โดยที่ ก ารพัฒ นาของรั ฐ จะเป็ นเพี ย งแค่ ก ารจัด สิ่ ง อํา นวยความสะดวกด้ า น สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให้เหมาะสมกับความจําเป็ นที่จะยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ ดี ข้ ึ นในระดับ หนึ่ ง แต่ จะไม่ ใ ห้ก ารพัฒนาอย่า งทุ่ ม เทกระตุ้นให้เกิ ดการเปลี่ ย นแปลงโครงสร้ า ง เศรษฐกิจและสังคมของชุมชนชนบทอย่างฉับพลัน การพัฒนาจะอยู่บนฐานของการกระตุน้ จิตสานึ ก ให้ประชาชนเข้าใจ รักและหวงแหนถิ่นที่อยู่ รู ้จกั การนําทรัพยากรมาใช้อย่างมีคุณค่า ซึ่ งการพัฒนา แหล่งเรี ยนรู ้ดา้ นประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมจะเป็ นแนวทางหนึ่ งของการนําทรัพยากรของชุมชนมา ใช้ประโยชน์ให้เกิดการสํานึ กรักท้องถิ่นให้แก่เยาวชน การรักษาเอกลักษณ์ของมรดกทางวัฒนธรรม จะต้องดําเนิ นการกาหนดรู ปแบบความเป็ นเอกลักษณ์ ให้ปรากฏในบริ เวณกว้าง ลักษณะที่สอดคล้อง กลมกลื น และแสดงออกความเป็ นย่า น บริ เวณ กลุ่ม บริ เวณชุ ม ชนที่ ชัดเจน ไม่ใ ช่ เป็ นเพียงแค่จุด บริ เวณเฉพาะแห่ ง ซึ่ ง ต้องดํา เนิ นการอย่า งต่อเนื่ องในแนวทางการอนุ รัก ษ์การปรั บ ปรุ ง ฟื้ นฟู ซึ่ ง องค์การบริ หารส่ วนตําบล หรื อเทศบาลจะต้องมีความชัดเจนของมาตรการ และได้รับการประสาน ความร่ วมมือจากประชาชน โดยเกิดการการมีส่วนร่ วม ดังนี้ (1.1) การมีส่วนร่ วมของภาคประชาชนในพื้นที่ โดยการเปิ ดโอกาสให้ภาค ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในโครงการตั้งแต่เริ่ มต้นจนกระทัง่ จบโครงการ เริ่ มตั้งแต่ร่วมทําการศึกษา ค้นคว้าปัญหาและความต้องการ ร่ วมคิดและหาวิธีแก้ปัญหา หรื อเพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ รวมถึงวาง นโยบาย แผนงานหรื อโครงการ ร่ วมตัดสิ นใจในการใช้ทรัพยากรที่มี อยู่จาํ กัดให้เป็ นประโยชน์ต่อ ชุ มชน ร่ วมปฏิ บตั ิ ตามนโยบาย แผนงานหรื อโครงการ ให้บรรลุตามที่ กาํ หนดไว้ และร่ วมควบคุม 158


ติดตามประเมิ นผล ดังนั้นการดําเนิ นการกิจกรรมควรขอความร่ วมมื อให้ภาคประชาชน อาทิ ผูร้ ู ้ ผู ้ อาวุโส และปราชญ์ในชุมชนต่าง ๆ ได้มีส่วนร่ วมเพื่อการจัดการและถ่ายทอดความรู ้แก่เยาวชน (1.2) การมี ส่ วนร่ วมของสถาบั น การศึ ก ษาในท้ อ งถิ่ น เนื่ อ งจากเยาวชน โดยเฉพาะในสถานศึกษาต่างๆในท้องถิ่นเป็ นหัวใจหลักของการเรี ยนรู ้ เพื่อกระตุน้ และสร้างจิตสานึ ก ให้เยาวชนในท้องถิ่น ได้ตระหนักในคุณค่าและรักหวงแหนมรดกวัฒนธรรมในท้องถิ่นตน ดังนั้น สถาบัน การศึ ก ษาในท้อ งถิ่ น สามารถที่ จ ะจัด การส่ ง เสริ ม และปลู ก ฝั่ ง ทางด้า นองค์ค วามรู ้ และ เสริ ม สร้ า งแนวทางการของการเรี ย นการสอน โดยมี ก ารปลู ก ฝั่ ง ความรู ้ เกี่ ย วกับ แหล่ ง มรดกทาง วัฒนธรรมในพื้นที่เหล่านี้ให้แก่เยาวชน ให้เกิดการเรี ยนรู ้ตามเส้นทางประวัติศาสตร์ และโบราณสถาน ต่าง ๆ โดยสามารถแทรกและเสริ มในกิจกรรมการเรี ยนการสอนของโรงเรี ยนได้ เช่น กิจกรรมของ ลูกเสื อและยุวกาชาด หรื อใช้เป็ นเส้นทางประกอบในการเรี ยนวิชาประวัติศาสตร์ ทอ้ งถิ่น หรื ออาจ ประยุกต์ในสาขาวิชาอื่น ๆ โดยเพิ่มเติมเป็ นหลักสู ตรการเรี ยนรู ้ทอ้ งถิ่นให้แก่สถาบันการศึกษาภายใน พื้นที่ และเกิดการซึ มซับแก่นกั เรี ยนและเยาวชนเรื่ อยมาในทุก ๆ ระดับชั้น ให้เกิดการเรี ยนรู ้ และเป็ น การสร้างปลูกฝังสร้างการรับรู ้ (2) การสร้ างกระบวนการเรียนรู้ ด้วยตนเอง การจัดกิจกรรมยุวชนภัณฑารักษ์ และมัคคุเทศก์อาสา ภัณฑารักษ์ คือ ผูจ้ ดั หา จัด หมวดหมู่ และจัดแสดงวัตถุในที่จดั แสดง รวมถึงการดูแล ซ่ อมแซม และวางแผนจัดการและแผนการ ให้บริ การ มัคคุเทศก์ หรื อไกด์ท่องเที่ ยว คือ ผูท้ ี่ ให้ความช่วยเหลื อด้านข้อมูล ความเข้าใจทางด้าน วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และเหตุการณ์ต่างๆแก่บุคคลที่เป็ นนักท่องเที่ยว ผูเ้ ข้ามาเยีย่ มชม โดยกิจกรรมนี้ จัดขึ้นเพื่อเปิ ดโอกาสให้เยาวชนในท้องถิ่นได้รู้จกั ได้สัมผัส และ ได้มีส่วนร่ วมในการคัดแยก ทําทะเบียน และทําการอนุรักษ์วตั ถุโบราณภายในชุมชน ที่มีการจัดแสดง อยูภ่ ายในพิพิธภัณฑ์ หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข ซึ่งเป็ นอาคารพิพิธภัณฑ์ที่จดั แสดงโบราณวัตถุ ทางประวัติศาสตร์ อนั มี คุณค่าที่ สําคัญต่อพื้นที่แห่ งนี้ โดยเยาวชนกลุ่มที่ สนใจสามารถเข้าร่ วมเป็ น อาสาสมัค รในการจัด การพิ พิ ธ ภัณ ฑ์ชุ ม ชน รวมไปถึ ง ได้เ ข้า ร่ ว มอบรมเชิ ง ปฏิ บ ัติ ก าร การเป็ น มัคคุเทศก์ นําชมทั้งส่ วนของพิพิธภัณฑ์ชุมชนและโบราณสถานแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน โดยมี ก ารจั ด อบรมจากหน่ ว ยงานของทางราชการและสถาบัน การศึ ก ษา มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในพื้นที่ เข้ามามีส่วนร่ วม คอยเป็ นพี่เลี้ยงในช่วงต้นที่ทาํ การคัดแยกทําทะเบียน ตลอดทั้งช่วยชี้ แนะแนวทาง และหลักการดําเนิ นงานอย่างถูกต้องให้แก่ เยาวชนในพื้นที่ ส่ วนของ กิ จ กรรมมัค คุ เ ทศก์ อ าสา ควรมี ก ารจัด เป็ นการอบรมเชิ ง ปฏิ บ ัติ ก าร โดยมัค คุ เ ทศก์ หรื อนั ก 159


ประวัติศาสตร์ เพื่อสร้างให้เยาวชนจักมรดกทางวัฒนธรรมของตน มีความรู ้ความสามารถและทักษะ ในการนําเสนอถ่ายทอดความรู ้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ซึ่งในการจัดการฝึ กอบรมมัคคุเทศก์อาสา ควรได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน และองค์กรสถาบันการศึ กษา เช่ น คณะวิทยาการการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏรยะลา หรื อจาก หน่วนงานองค์กรทางศิลปวัฒนธรรม วัฒนธรรมจังหวัดยะลา เป็ นผูเ้ ข้ามามีส่วนร่ วมในการให้ความรู ้ และจัดอบรม โดยสามารถกําหนดกิจกรรมการเรี ยรรู ้ประกอบกิจกรรมในการอบรมทั้งสิ้ นอย่างน้อย 12 ชัว่ โมง ตามรายละเอียดดังนี้ หัวข้ อการเรียนรู้ - ความสาคัญของแหล่งเรี ยนรู ้ตอ่ ท้องถิ่น - หลักการมัคคุเทศก์ - พฤติกรรมนักท่องเที่ยว - การต้อนรับผูเ้ ยีย่ มชมและการเป็ นเจ้าบ้านที่ดี - ศิลปะการพูดสําหรับมัคคุเทศก์ - มรดกวัฒนธรรมในท้องถิ่น - วัฒนธรรม ประเพณี ทอ้ งถิ่น - การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมใน แหล่งเรี ยนรู ้ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม

เวลา/ชั่วโมง 1 1 1 1 2 2 1 3

จากการเสนอรู ปแบบและวิธีการจัดการสู่ การเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ ทั้งนี้ในการส่ งเสริ มและ พัฒนาจะต้องดําเนินการควบคูพ่ ร้อมขับเคลื่อนกับนโยบาย โดยเสนอรู ปแบบและวิธีการจัดการภายใต้ แผนยุทธศาสตร์การส่ งเสริ ม ยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒ (สงขลา สตูล ปั ตตานี ยะลา นราธิวาส) ภายใต้แนวคิด การน้อมนํายุทธศาสตร์ พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเพือ่ การเสริ มสร้างการพึ่งตนเองของประชาชน ชุมชน และการพัฒนายุทธศาสตร์ ที่ยึดหลักการมีส่วนร่ วมในกระบวนการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ จากองค์กรภาคีทุกภาคส่ วนโดยการบูรณาการภารกิ จร่ วม พื้นที่ เป็ นฐาน ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง (Area based collaborative : ABC) และกลไกการพัฒนาตามนโยบายรัฐบาลในรู ปแบบประชารัฐ รัก สามัคคี ในประเด็นดังนี้

160


ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 3 การส่ งเสริมการศึกษา ศาสนา ภาษา ศิลปะ พหุวัฒนธรรมและ ประวั ติ ศาสตร์ ท้องถิ่ น กลยุท ธ์ และมาตรการแนวทางการดํา เนิ นงาน (Strategic and Guideline to implement) คือ 1) เสริ ม สร้ า งความเข้ม แข็ง ทางการศึ ก ษา พัฒนาศัก ยภาพการเรี ย นรู ้ ด้วยตนเองของ ประชาชน โดยมีแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้ - ส่ งเสริ มกิจกรรมเยาวชนให้เป็ นพลังสร้างสรรค์พหุวฒั นธรรม - พัฒนาการศึกษา พัฒนาหลักสู ตรการศึกษา รวมถึงพัฒนาบุคลากร พัฒนาสื่ อและ เทคโนโลยี พัฒนาอุ ท ยานการเรี ย นรู ้ และแหล่ ง เรี ย นรู ้ ใ นท้องถิ่ นที่ ส่ ง ผลต่ อการยกระดับ คุ ณภาพ การศึกษาอย่างทัว่ ถึง - สร้างแหล่งการเรี ยนรู ้ตลอดชีวิต แหล่งศึกษา ค้นคว้า ในชุมชน เพื่อให้ประชาชน เข้าถึ งช่ องทางในการเรี ยนรู ้ ในพื้นที่ ทั้งศูนย์เรี ยนรู ้ ทางอิ นเตอร์ เน็ตของชุ มชน และศูนย์เรี ยนรู ้ ใน โรงเรี ยน 2) ส่ งเสริ มการพัฒนาประชาชน ชุ มชน ด้วยหลักธรรมทางศาสนา ตามแนวทางการ ดําเนินงาน ดังนี้ - ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ และกิ จกรรมทางศาสนา พระพุทธศาสนาศาสนาอิสลามและ ศาสนาอื่นๆ เพื่อ นําไปปฏิบตั ิในชีวิตประจําวัน - ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้สันติศึกษา ตลอดจนส่ งเสริ มบทบาทขององค์กรทางศาสนาให้มี ส่ วนร่ วมในการสร้ า งความภาคภู มิ ใจในความเป็ นไทย อัตลัก ษณ์ วฒ ั นธรรมไทย และวัฒนธรรม ท้องถิ่น และสร้างสันติสุขในพื้นที่ - การส่ งเสริ มกิจกรรม พิธีกรรมทางศาสนา การพัฒนาสถานที่สําคัญทาศาสนาโดย การมีส่วนร่ วมของประชาชน ชุมชน ในพื้นที่ การสนับสนุนการพัฒนาศาสนายาท 3) ฟื้ นฟู อนุ รักษ์ รั กษา และเผยแพร่ อัตลักษณ์ท างภาษา ศิ ลปะ วัฒนธรรมไทยและ วัฒนธรรมท้องถิ่น ด้วยกระบวนการมีส่วนร่ วมของประชาชน ตามแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้ - ส่ งเสริ มกิจกรรมเยาวชนให้เป็ นพลังสร้างสรรค์พหุวฒั นธรรม - ส่ งเสริ มสนับสนุ นผลิ ตภัณฑ์จากภู มิปั ญญาเพื่ อการสร้ างคุ ณค่า มูลค่า สร้ างงาน อาชีพแก่ประชาชน - ส่ งเสริ มการพัฒนาปราชญ์ชาวบ้าน ผูท้ รงคุณค่าทางวัฒนธรรม ในการสร้างผูส้ ื บ ทอดทางปัญญา และกิจกรรมของการส่ งเสริ ม อนุรักษ์ และการสร้างสรรค์คุณค่าทางศิลปะวัฒนธรรม ของพื้นที่ 4) สร้างระบบการศึกษาตามบริ บทของพื้นที่ ตามแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้ 161


ของรัฐ

- พัฒนาการบริ หารจัดการพื้นที่ โดยการจัดตั้งวิทยาลัยอิหม่าม มหาวิทยาลัยอิสลาม

- การส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ ตามอัธยาศัยให้เติ บโตในทุกชุ มชน เพื่อการขยายฐานการ เรี ยนรู ้สู่เยาวชน ประชาชน ในวงกว้างมากขึ้น - การพัฒนาระบบบริ หารกิจการฮัจญ์และกระบวนการมีส่วนร่ วมให้เกิดประโยชน์ สู งสุ ดต่อพื้นที่ - สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น มีส่วนร่ วมและบูรณาการทุกภาคส่ วนใน การพัฒนาด้า น การศึ ก ษา ศาสนา และวัฒนธรรมที่ ส อดคล้องกับ วิ ถีชี วิต เชื่ อมโยงกับ ประชาคม อาเซียน และประชาคมโลก 5.2.3 การจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การแหล่ งท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การจัดการให้แหล่ ง มรดกทางวัฒนธรรมวัดคู หาภิ มุ ข สู่ ก ารเป็ นแหล่ ง ท่องเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม โดยใช้คุ ณค่ า ของแหล่ ง มรดกวัฒนธรรมที่ ป ระกอบไปด้วย ศาสนสถานอันเป็ นพื้นที่ ศักดิ์สิทธิ์ แหล่งโบราณสถานทางประวัติศาสตร์ และเป็ นแหล่งรวบรวมโบราณวัตถุที่มีคุณค่าจากการ ขุดค้นทางโบราณคดี เป็ นตัวส่ งเสริ มให้เกิ ดการท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรมขึ้นภายในพื้นที่ให้เกิ ดการ ท่องเที่ยวที่มุ่งศึกษาเรี ยนรู ้สังคมและสภาพความเป็ นอยู่ของคนท้องถิ่นต่าง โดยผ่านสิ่ งที่แสดงความ เป็ นวัฒนธรรม เช่น ประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ประเพณี พิธีกรรม วิถีการดําเนิ นชีวิต และสิ่ งต่างๆ ที่แสดงถึงความเจริ ญรุ่ งเรื่ องในการดาเนิ นชี วิตของบุคคลในแต่ละยุคแต่ละสมัย ซึ่ งผู ้ ที่มาท่องเที่ยวจะได้รับทราบถึงประวัติความเป็ นมา ความเชื่ อ ความศรัทธา ความนิ ยมของบุคคลใน อดีตที่มีมรดกวัฒนธรรมเป็ นสื่ อในการสื บทอดและส่ งผ่านมาถึงคนรุ่ นปั จจุบนั โดยการนําวัฒนธรรม มาเป็ นส่ วนหนึ่งในกลยุทธ์การตลาดและการส่ งเสริ มการตลาด ผ่านการดําเนินกิจกรรมในการผลิตสิ น และบริ การจากผูค้ นในท้องที่ดว้ ยผลิตภัณฑ์ที่ดี (Product) ราคาที่เหมาะสม (Price) ช่องทาง ในการจัด จําหน่าย (Place) และ การส่ งเสริ มการตลาด (Promotion) มาเป็ นเครื่ องมือในการขยายกลุ่มเป้ าหมาย นักท่องเที่ยว ซึ่งจะส่ งผลทางด้านรายได้และเศรษฐกิจของคนในพื้นที่ได้ การส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมจํา เป็ นที่ ต้องมี ก ารส่ ง เสริ ม การตลาดมาช่ วยดํา เนิ นงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ และการจัดกิจกรรม เพื่อเป็ นเครื่ องมือสําคัญของการส่ งเสริ มการตลาดการเพื่อการ ท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม โดยการได้รับความสนับสนุ นจากทางภาครั ฐ หน่ วยงานราชการในพื้นที่ ตลอดทั้งความร่ วมมือของผูค้ นในพื้นที่สู่การจัดการให้แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมเป็ นแหล่งท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมชึ้น ดังนี้ 162


(1) การสร้ างกิจกรรมและรูปแบบการท่ องเที่ยว โดยมีการจัดกิจกรรมขึ้นเพื่อสร้าง ความน่าสนใจจากนักท่องเที่ยว ซึ่ งอาศัยการประชาสัมพันธ์จากกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณี ของ ท้องถิ่นตลอดทั้ง 12 เดือน ผนวกกับกิจกรรมการเที่ยวชมแหล่งโบราณสถาน โบราณวัตถุอนั มีคุณค่า โดยมีการประชาสัมพันธ์ จัดทําสื่ อต่างๆ ออกมาเพื่อเป็ นการประชาสัมพันธ์ ตารางกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณี ไทยพุทธ-ไทยมุสลิม ตําบลหน้ าถํา้ กิจกรรม/ประเพณี ช่ วงเวลาที่จัดกิจกรรม - ประเพณี รับเทวดาหรื อเทียมดา วันที่ 12 เดือนเมษายนของทุกปี - พิธีมหามงคลห่มผ้าไสยาสน์ วันที่ 13 เดือนเมษายนของทุกปี - ประเพณี การแก้บน ข้างขึ้นของเดือน 6 (อธิกมาส) (ประเพณี จะมีหนึ่งปี -เว้นหนึ่งปี ) - ประเพณี วนั ฮารี รายอ ช่วงเดือนมิถุนายน - ประเพณี วนั อาซูรอ ช่วงเดือนกันยายน - พิธีตกั บาตรเทโว ตําบลหน้าถํ้า วัน แรม 1 คํ่า เดือน 11 (เดือนตุลาคม) - งานบุญชักพระ วัน แรม 1 คํ่า เดือน 11 (เดือนตุลาคม) - ประเพณี วนั สารทเดือน 10 (ชิงเปรต) วัน แรม 15 คํ่า เดือน 10 (เดือนตุลาคม) - ประเพณี วนั เมาลิด ช่ วงเดือนพฤศจิกายน (2) การจัดทําสื่ อนําเสนอมรดกทางวัฒนธรรม โดยมีรูปแบบการสื่ อความหมาย ในแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการท่องเที่ยวดังนี้ 1. ประชาสั มพันธ์ และศูนย์ ข้อมูล เป็ นองค์ประกอบพื้นฐานที่ตอ้ นรับ และใช้ ข้อมูลนักท่องเที่ยวในรู ปแบบต่างๆ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเบื้องต้นก่อนเข้าชม 2. สื่ อสิ่ งพิมพ์ เป็ นสื่ อที่ มีป ระสิ ทธิ ภาพในการสื่ อความหมาย ที่ใช้ใน การ ประชาสัมพันธ์ สามารถสื่ อได้ท้ งั ข้อมูล ภาพ ภาษาในรู ปแบบของ แผ่นพับ หนังสื อ นําเที่ยว หนังสื อ และ แผนที่ ซึ่งจะมีระดับการให้ขอ้ มูลที่แตกต่างกัน เพื่อช่วยให้ผเู ้ ข้าชม เข้าใจสถานที่ที่ตนได้เดินทาง มา ซึ่งมีรูปแบบต่างๆดังนี้ 2.1 แผ่ นพับ เป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ที่ให้ขอ้ มูลในเบื้องต้น ประกอบด้วย ข้อมูล พื้นฐานที่เป็ นภาษาหลักๆ ของผูเ้ ข้าชมสถานที่ เช่น ค่าเข้าชม เวลาทําการ แผนที่การเดินทางมา และ รู ปภาพที่เชิญชวนให้นกั ท่องเที่ยวมาเยีย่ มชม 163


ภาพที่ 5.14 : ตัวอย่างสื่ อสิ่ งพิมพ์เพื่อใช้เป็ นสื่ อในการให้ขอ้ มูล 2.2 หนั ง สื อนํ า เที่ ย ว เป็ นสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ ใ ห้ ข ้อ มู ล ที่ ค รอบคลุ ม ในการ ท่องเที่ยว รวมไปถึงจุดสําคัญในแหล่งท่องเที่ยว ข้อมูลทางประวัติศาสตร์เบื้องต้น รู ปภาพประกอบ 2.3 หนั งสื อ เป็ นสื่ อ สิ่ งพิม พ์ ที่ จะให้ข ้อมูล ในเชิ ง ลึ ก เพื่ อให้ผูเ้ ข้า ชม ที่ สนใจสถานที่ แห่ ง นั้นมาก ได้ศึ ก ษาเพิ่ม เติ ม ซึ่ ง จะมี เนื้ อหาที่ ม าก พร้ อมรู ป ภาพ และคํา อธิ บ ายที่ ละเอียดเหมาะแก่การศึกษา 2.4 แผนที่ เป็ นสื่ อสิ่ งพิมพ์ที่มีความสําคัญกับผูเ้ ช้าชม ในการบอก ตําแหน่ง ทิศทาง เส้นทาง ชั้น และตําแหน่งของสถานที่และสิ่ งอํานวยความสะดวก ควรมีขนาดใหญ่พอสมควร และสามารถอ่านทิศทางได้ง่าย และมีรายละเอียดที่ สามารถใช้ร่วมกับรถสาธารณะต่างๆ

164


ภาพที่ 5.15 : แผนที่แหล่งท่องเที่ยวตําบลหน้าถํ้า อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 3. ป้ าย มีความสําคัญในการบอกตําแหน่งและทิศทางของสถานที่ต่าง ๆ ตั้งแต่ ป้ ายนําทางการเดิ นทางมา จนถึ งป้ ายบอกตําแหน่ งในแหล่งท่องเที่ ยว เพื่อเข้าชม จุ ดต่าง ๆ รวมถึ ง ตําแหน่งของสิ่ งอํานวยความสะดวกในสถานที่และป้ายคําเตือนในพื้นที่ 4. นิทรรศการ เป็ นการสื่ อข้ อมูล โดยใช้สื่อผสมต่างๆ ทั้งตัวอักษร ภาพกราฟ ฟิ ค วัตถุ แบบจําลอง ภาพเคลื่อนไหว เสี ยง ที่ถูกออกแบบมาให้สื่อสารกับผูเ้ ข้าชม ทั้งนี้ในนิทรรศการ จะมีการกําหนดเรื่ องราวเป็ นบทต่างๆ 5. สื่ ออื่น ๆ เป็ นสื่ อที่ให้ขอ้ มูลของสถานที่ในพื้นที่ เช่น การใช้วิดีทศั น์ ภาพ สไลด์ ภาพยนตร์ หรื อการเทปเสี ยง มัคคุเทศก์ วิทยุ เพื่อช่วยผูช้ มที่เข้าชมในสถานที่จริ ง หรื อแม้แต่ การแสดงแสงสี เสี ยง การจัดกิจกรรมพิเศษ ที่สร้างความน่าสนใจให้กบั สถานที่ ทั้งนี้รูปแบบและวิธีการจัดการจะต้องมีการดําเนิ นการขับร่ วมกับภายใต้แผน นโยบายจากทางหน่วยงานและองค์กรที่มีความรับผิดชอบร่ วมในพื้นที่ เพื่อให้เกิดประโยชน์และผล ของการดําเนินการได้อย่างเห็นผล โดยอยูใ่ ต้ยทุ ธศาสตร์ชาติและบุทธศาสตร์ความมัน่ คง ดังต่อไปนี้ 165


(1) ยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 กําหนดให้มียทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ซึ่ ง เป็ นยุ ท ธศาสตร์ ก ารพัฒ นาประเทศระยะยาว มี เ ป้ า หมายการพัฒ นา คื อ “ประเทศชาติ ม ั่น คง ประชาชน มี ค วามสุ ข เศรษฐกิ จ พัฒ นาอย่า งต่ อ เนื่ อ ง สั ง คมเป็ นธรรม ฐาน ทรัพยากรธรรมชาติยง่ั ยืน” ได้กาํ หนดจุดเน้น ที่สาํ คัญ ดังนี้ (1.1) ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ด้า นความมั่น คง มี เ ป้ า หมายการพัฒ นาที่ สํ า คัญ คื อ ประเทศชาติมน่ั คง ประชาชนมีความสุ ข เน้นการบริ หารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความ มัน่ คง ปลอดภัย เอกราชอธิปไตย และมีความสงบเรี ยบร้อยในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่ องมือ เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถ รับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบตั ิได้ทุกรู ปแบบ และทุกระดับความรุ นแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและ แก้ไขปัญหาด้านมัน่ คงที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั และที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปั ญหาแบบ บูรณาการทั้งกับส่ วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึงประเทศเพื่อน บ้านและมิตรประเทศทัว่ โลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาลสําหรับเป้ าหมายที่สําคัญต่อการแก้ไข ปั ญหาความมัน่ คงในพื้นที่จงั หวัดชายแดนภาคใต้ คือ ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยทั้งในชีวิต และทรัพย์สิน อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในสังคมพหุวฒั นธรรม รวมทั้งได้รับการพัฒนาอย่างเท่าเทียม กัน โดยมีกลไกการแก้ปัญหาที่มีเอกภาพ บูรณาการความเชื่อมโยงระหว่างประเด็น เชิงยุทธศาสตร์ และเชิงพื้นที่ แผนการดําเนิ นงาน การลงมือปฏิบตั ิ ตลอดถึงการติดตาม ประเมินและรายงานผลอย่าง สอดคล้องต่อเนื่ องกันทุกระดับ ส่ งเสริ มและอํานวยความยุติธรรม สร้างการมีส่วนร่ วมของประชาชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่อย่างเหมาะสม มุ่งเน้นการขจัดเงื่อนไขความขัดแย้งและความไม่เป็ น ธรรมให้ได้ อย่างจริ งจังและถาวร ส่ งเสริ มสังคมพหุ วฒั นธรรมให้เข้มแข็ง พร้ อมเสริ มสร้ างความ เข้าใจกับกลุ่มเห็นต่างตามแนวสันติวิธีผ่านกลไกต่าง ๆ รวมไปถึงการพูดคุยกันอย่างเป็ นมิตรผลักดัน ให้มีการยึดถือคําสอนที่ถูกต้องของศาสนามาเป็ นแนวทางในการดําเนิ นชีวิต พร้อมดูแลและป้องกันมิ ให้มีการบิดเบือนคําสอนของศาสนาไปใน ทางที่ไม่ถูกต้อง ส่ งเสริ มให้ภาคประชาสังคมร่ วมมือกับ ภาครั ฐ ในการพัฒ นาพื้ น ที่ อ ย่ า งเข้ม แข็ ง ต่ อ เนื่ อ ง และสอดคล้อ งกับ ความต้อ งการของทุ ก กลุ่ ม ประชาชนโดยเฉพาะเยาวชน ตามยุทธศาสตร์ พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และศาสตร์ พระราชา รวมทั้งสร้างเสริ มโอกาส ในการเข้าถึงการบริ การต่าง ๆ ของ รัฐให้ทดั เทียมกับภูมิภาคอื่นๆ (1.2) ยุทธศาสตร์ ชาติดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้ าหมาย การพัฒนาที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ (1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถี 166


ชี วิต และจุ ดเด่ นทางทรั พยากรธรรมชาติ ที่หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรี ยบเชิ งเปรี ยบเที ยบของ ประเทศในด้านอื่น ๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริ บท ของเศรษฐกิ จ และสั ง คมโลกสมัย ใหม่ (2) “ปรั บ ปั จ จุ บ ัน ” เพื่ อ ปู ท างสู่ อ นาคต ผ่ า นการพัฒ นา โครงสร้ า งพื้นฐานของประเทศในมิติต่า ง ๆ ทั้ง โครงข่ า ยคมนาคมและขนส่ ง โครงสร้ า งพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและดิจิทลั และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและ บริ การอนาคต และ (3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้านการเพิ่มศักยภาพของผูป้ ระกอบการ พัฒนา คนรุ่ นใหม่ รวมถึ ง ปรั บ รู ป แบบธุ รกิ จ เพื่ อตอบสนองต่ อ ความต้องการของตลาด ผสมผสานกับ ยุทธศาสตร์ ที่รองรับอนาคตบนพื้นฐานของการต่อยอดอดี ตและปรับปั จจุบนั พร้อมทั้งการส่ งเสริ ม และสนับสนุนจากภาครัฐให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาส ทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึง การ เพิ่มขึ้นของคนชั้นกลางและลดความเหลื่อมลํ้าของคนในประเทศได้ในคราวเดียวกัน (1.3) ยุทธศาสตร์ ชาติดา้ นการพัฒนาและเสริ มสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุ ษย์ มีเป้ าหมายการพัฒนาที่สาํ คัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็ นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพฒั นาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะรับผิดชอบต่อสังคมและผูอ้ ื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินยั รักษาศีลธรรม และ เป็ นพลเมื อ งดี ข องชาติ มี ห ลัก คิ ด ที่ ถู ก ต้อ ง มี ท ัก ษะที่ จ ํา เป็ นในศตวรรษที่ 21 มี ท ัก ษะสื่ อ สาร ภาษาอัง กฤษและภาษาที่ 3 และอนุ รัก ษ์ภาษาท้องถิ่น มี นิสัย รั ก การเรี ยนรู ้ และพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่ การเป็ นคนไทยที่มีทกั ษะสู ง เป็ นนวัตกร นักคิด ผูป้ ระกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ และอื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง (1.4) ยุทธศาสตร์ ชาติ ด้านการสร้ างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มี เป้าหมายการพัฒนาที่ให้ความสําคัญต่อการดึงเอาพลังของภาคส่ วนต่าง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ท้องถิ่น มาร่ วมขับเคลื่อน โดยสนับสนุ นการรวมตัวของประชาชนในการร่ วมคิดร่ วมทําเพื่อ ส่ วนรวม การกระจายอํานาจและความรับผิดชอบไปสู่ กลไกบริ หารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ในการจัดการตนเอง และการเตรี ยมความพร้อมของประชากร ไทยทั้ง ในมิ ติสุข ภาพ เศรษฐกิ จ สั ง คม และสภาพแวดล้อมให้เป็ นประชากรที่ มี คุณภาพ สามารถ พึ่งตนเองและทําประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการ เข้าถึงบริ การและสวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเป็ นธรรมและทัว่ ถึง (1.5) ยุทธศาสตร์ ชาติดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชี วิตที่ เป็ นมิ ตรกับ สิ่ งแวดล้อม มีเป้ าหมายการพัฒนาที่สําคัญเพื่อนําไปสู่ การบรรลุเป้ าหมายการพัฒนาที่ยงั่ ยืนในทุกมิ ติ ทั้งมิติดา้ นสังคม เศรษฐกิจ สิ่ งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็ นหุ ้นส่ วนความร่ วมมือระหว่างกัน 167


ทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พ้ืนที่เป็ นตัวตั้งในการกําหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่ วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้ โดย เป็ นการดําเนิ นการบนพื้นฐานการเติบโตร่ วมกัน ไม่ว่าจะเป็ นทางเศรษฐกิจ สิ่ งแวดล้อม และคุณภาพ ชีวิต โดยให้ความสําคัญกับการสร้างสมดุล ทั้ง 3 ด้าน อันจะนาไปสู่ ความยัง่ ยืนเพื่อคนรุ่ นต่อไปอย่าง แท้จริ ง (1.6) ยุทธศาสตร์ ชาติดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริ หารจัดการ ภาครั ฐ มีเป้ าหมายการพัฒนาที่สําคัญเพื่อปรั บเปลี่ ยนภาครั ฐที่ ยึดหลัก “ภาครั ฐของประชาชนเพื่อ ประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิ จ แยกแยะ บทบาทหน่ วยงาน ของรั ฐที่ ทาํ หน้าที่ในการกํากับหรื อในการให้บริ การในระบบเศรษฐกิ จที่มีการ แข่ ง ขัน มี ขี ด สมรรถนะสู ง ยึ ด ธรรมาภิ บ าล ปรั บ วัฒ นธรรมการทํา งานให้ มุ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ และ ผลประโยชน์ส่วนรวม มี ความทันสมัย และพร้ อมที่ ปรั บตัวให้ทนั ต่อการเปลี่ ยนแปลงของโลกอยู่ ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิง่ การนํานวัตกรรม เทคโนโลยีขนาดใหญ่ ระบบการทํางานที่เป็ นดิ จิทลั เข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุม้ ค่า และปฏิบตั ิงานเทียบได้กบั มาตรฐานสากล รวมทั้ง มีลกั ษณะเปิ ดกว้าง เชื่ อมโยงถึ ง กันและเปิ ดโอกาสให้ทุก ภาคส่ วนเข้ามามีส่ วนร่ วมเพื่ อตอบสนองความต้องการของ ประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ ว และโปร่ งใส โดยทุกภาคส่ วนในสังคมต้องร่ วมกันปลูกฝังค่านิ ยม ความซื่ อสัตย์สุจริ ต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสํานึ กในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริ ตประพฤติ มิ ชอบอย่างสิ้ นเชิง นอกจากนั้นกฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จาํ เป็ น มีความทันสมัย มีความ เป็ นสากล มีประสิ ทธิ ภาพ และนําไปสู่ การลดความเหลื่อมลํ้าและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการ ยุติธรรมมีการบริ หารที่มีประสิ ทธิ ภาพ เป็ นธรรม ไม่เลือกปฏิบตั ิ และการอํานวยความยุติธรรมตาม หลักนิติธรรม (2) ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่ 1 : การสร้ างสั งคมพหุวัฒนธรรมที่เข้ มแข็ง เพื่อเป็ น แกนสู่ ความมั่นคง กลยุทธ์การดําเนินงานที่สาํ คัญ 1 กลยุทธ์ ได้แก่ กลยุทธ์ที่ 1 การสนับสนุนการสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน กลยุทธ์ที่ 2 ส่ งเสริ มการอยูร่ ่ วมกันอย่างเกื้อกูลในสังคมพหุวฒั นธรรม กลยุทธ์ที่ 3 การสร้างความเข้าใจ และสร้างสํานึ กร่ วมของความเป็ นไทยอย่าง สร้างสรรค์ มีแนวทางการดําเนินงานที่สาํ คัญ ดังนี้ (2.1) การส่ งเสริ มวิถีพุทธ สนับสนุนให้ประชาชนที่นบั ถือศาสนาพุทธ ดําเนิน ชีวิตอย่างปกติสุข สามารถจัดกิจกรรมทางศาสนาได้อย่างเต็มที่ ภาครัฐดูแลให้การสนับสนุนเพิ่มเติม 168


อาทิ การจัดส่ งผูไ้ ด้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบไปแสวงบุญ ณ สังเวชนียสถาน 4 แห่งใน ประเทศอินเดียและประเทศเนปาล การส่ งเสริ มกิจกรรมวันสําคัญทางศาสนา การเสนอให้มีประกาศ ให้วนั สําคัญทางศาสนาเป็ นวันหยุดเพิ่มเติม (วันสารทเดือนสิ บ) เป็ นต้น (2.2) การฟื้ นฟูชุมชนไทยพุทธถดถอย เนื่ องจากสถานการณ์ความไม่สงบที่ ผู ้ ก่อเหตุรุนแรง มุ่งทําร้ายชาวไทยที่นบั ถือศาสนาพุทธ เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายการสร้างสังคมเชิ งเดี่ยว อันจะไปสู่ การเรี ยกร้องทางการเมืองต่อไป ด้วยเหตุน้ ี จึงทําให้ชาวไทยพุทธ ถูกทําร้ายชีวิตและทําลาย ทรัพย์สินจํานวนมาก ประกอบกับสภาพครอบครัวส่ วนใหญ่เป็ นครอบครัวเล็ก/มีบุตรน้อย และมักไป เรี ยนต่อในต่างพื้นที่ ชุมชนชาวพุทธหลายแห่ งจึงลดจานวนประชากรและหลายแห่ งหลายเป็ นชุมชน ร้าง จึงต้องฟื้ นฟูชุมชนเหล่านี้ ขึ้นมาใหม่ โดยเน้นที่ชุมชนถดถอย 25 แห่ง (2.3) การส่ งเสริ มวิถีมุสลิ ม สนับสนุ นให้ประชาชนที่ นับถื อศาสนาอิ สลาม ดําเนินชีวติ อย่างปกติสุข สามารถจัดกิจกรรมทางศาสนาได้อย่างเต็มที่ ภาครัฐก็ดูแล สนับสนุน อํานวย ความสะดวกเพิ่มเติม เช่น สนับสนุ นการประกอบพิธีฮจั ญ์ และอุมเราะห์ ณ ประเทศซาอุดิอาระเบีย มุ่งเน้นเป้ าหมายผูไ้ ด้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ ความไม่สงบ บุคคลทําประโยชน์ให้กบั พื้นที่ และ ประชาชนกลุ่มเปราะบางขาดโอกาส (4) การส่ งเสริ มกิจกรรมชาวไทยเชื้อสายจีน เนื่องจากชาวไทยเชื้อสายจี นเข้า มาตั้งรกรากในพื้นที่ จงั หวัดชายแดนภาคใต้กระจายในทุกหัวเมื องเป็ นเวลานาน (เช่ น ใน อ.เบตง ยาวนานกว่า 150 ปี ) ดังนั้น จึ งมี ความจําเป็ นต้องให้การดู แลสนับสนุ นให้สามารถดําเนิ นชี วิตและ ประกอบอาชี พ ได้อ ย่ า งเป็ นปกติ สุ ข รวมทั้ง สามารถจัด กิ จ กรรมทางศาสนาและทางวัฒ นธรรม ประเพณี ได้อย่างเสรี ในส่ วนภาครัฐ ได้สนับสนุ นการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ในเทศกาลวันตรุ ษจีน สารทจีน จัดงานพบปะ แลกเปลี่ยนทัศนคติ และส่ งเสริ มการอยูร่ ่ วมกัน (2.5) การส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวิตชาติพนั ธุ์มานิ (โอรัง อัสรี ) เนื่ องจาก พีน่ อ้ งกลุ่มนี้เป็ นกลุ่มคนดั้งเดิมในคาบสมุทรมลายู เดิมอาศัยในป่ าลึกแต่สภาพปัจจุบนั ที่ความสมบูรณ์ ของป่ าลดลง การระบาดของโรคภัยไข้เจ็บบุกรุ กเข้าไปถึงกลุ่มโอรัง อัสรี บางส่ วนจึงพร้อมจะมาอาศัย ใกล้ ๆ ชุมชนพื้นราบ จึงต้องจัดที่พกั ชัว่ คราวที่ ต.อัยเยอร์เวง อ.เบตง จัดทําหนังสื อรับรองชัว่ คราวเพื่อ ความสะดวกในการรักษาพยาบาล และเตรี ยมการสร้างอาชีพ โดยมุ่งหวังให้พี่น้องประชาชนเหล่านี้ รู ้ สึกภาคภูมิในความเป็ นคนไทย มีคุณภาพชี วิตที่ ดี แต่ไม่ถูกผสมผสาน ดู ดกลืน จนสู ญเสี ยความ เป็ นอัตลักษณ์ของชาติพนั ธุ์เดิม (2.6) การสนับสนุ นให้ประชาชนทุกศาสนาอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ให้การ ช่วยเหลือ ดูแลและเอื้ออาทรต่อกัน โดยการสนับสนุนประชาชนในพื้นที่ทุกเชื้อชาติ ศาสนา ชาติพนั ธุ์ ร่ วมมื อขับ เคลื่ อ นโครงการจิ ต อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดํา ริ ไ ปสู่ ก ารปฏิ บ ัติ อย่า งเป็ น 169


รู ปธรรม เกิดเป็ นเครื อข่ายสมาชิกจิตอาสาและกิจกรรมจิตอาสาที่ดาํ เนิ นการอย่างต่อเนื่อง และเชื่อมัน่ ว่าจะนําไปสู่ การสร้างความรัก ความสามัคคีและความเป็ นพี่น้องภายใต้พหุ สังคมที่ดีงามของจังหวัด ชายแดนภาคใต้เป็ นอย่างดี

170


บทที่ 6

สรุ ปผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 6.1 สรุปผลการศึกษา บริบททางประวัติศาสตร์ จังหวัดยะลา ยะลาเป็ นจังหวัดที่ มีการตั้งถิ่นฐานอยู่ในคาบสมุทรภาคใต้ของประเทศไทยที่มีระยะเวลามา อย่างยาวนานนับหลายร้ อยปี นับได้ว่าถื อเป็ นแหล่งทางวัฒนธรรมที่ เก่าแก่ ที่สุดแห่ งหนึ่ งในเอเชีย ตะวัน ออกเฉี ย งใต้ ตั้ง แต่ อ ดี ต จนปั จ จุ บ ัน ในเขตพื้ น ที่ แ ห่ ง นี้ จึ ง มี ก ารเข้า มาของหลากหลายทาง วัฒนธรรม ส่ งผลให้จงั หวัดยะลาเป็ นหนึ่ งในจังหวัดทางภาคใต้ที่มีลกั ษณะสังคมแบบพหุวฒั นธรรม ทั้งทางด้านวัฒนธรรมประเพณี และวิถีชีวิต คําว่า “ยะลอ” หรื อ “ยาลอ” ซึ่ งแปลว่า “แห” เป็ นชื่อที่ได้มาจากสภาพทางภูมิศาสตร์ของสถาน ที่ต้ งั ตัวเมืองเดิมที่บา้ นยะลา (คือตําบลยะลา หรื ออําเภอเมืองยะลาในปั จจุบนั ) โดยบ้านยะลอมีสภาพ ทางภูมิศาสตร์มีภูเขารู ปร่ างคล้ายแหตั้งอยู่ ภายหลังการย้ายที่วา่ ราชการของเจ้าเมืองยะลาหลายครั้ง ได้ มีการย้ายมาตั้งเมื องใหม่ที่บา้ นนิ บงในปั จจุบนั เดิมนั้นยะลาเป็ นส่ วนหนึ่ งภายใต้การปกครองของ เมืองปั ตตานี หรื อ ลังกาสุ กะ เรื่ อยมาตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา ภายหลังปี พ.ศ. 2310 เมื่อกรุ งศรี อยุธยา เสี ยแก่ขา้ ศึกเป็ นครั้งสุ ดท้ายนั้น บรรดาหัวเมืองมลายูซ่ ึ งเคยขึ้นต่อกรุ งศรี อยุธยาก็ต่างพากันตั้งขึ้นเป็ น เมื องอิ สระเรื่ อยมา ครั้ นถึ งกรุ งรั ตนโกสิ นทร์ ในรั ชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก มหาราช รั ชกาลที่ 1 ทรงมีรับสั่ง ให้กรมพระราชวัง บวรมหาสุ รสิ ง หนาทเสด็จยกทัพ หลวงลงไป ปราบปรามทางหัวเมืองปักษ์ใต้ ในปี พ.ศ. 2332 กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิ งหนาทจึงมีรับสั่งให้ยก กองทัพลงไปตีได้เมืองปั ตตานี แล้วได้ทรงแต่งตั้งให้ตวนกูระมีติน ซึ่ งมีเชื้อสายรายาอยู่ที่บา้ นบันนัง มาดังขึ้นเป็ นเจ้าเมืองปัตตานี ซึ่งในช่วงเวลาระหว่างนั้น เมืองยะลายังคงเป็ นท้องที่บริ เวณหนึ่งในเมือง ปัตตานี และยังไม่ได้แยกออกมาเป็ นเมืองหนึ่งต่างหาก ต่อมาในปี ร.ศ. 120 (พ.ศ. 2445) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรง ประกาศกฎข้อบังคับสําหรับปกครองบริ เวณ 7 หัวเมือง ประกาศใช้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2445 โดยมีพระราชดํารัสสั่งว่าด้วยการแบ่งเขตจัดการปกครองและตําแหน่งหน้าที่ขา้ ราชการในหัวเมืองทั้ง 7 ได้แก่ เมืองตานี เมืองหนองจิก เมืองยะหริ่ ง เมืองสาย เมืองยะลา เมืองรามันห์ เมืองระแงะ ทรงดําริ เห็นสมควรว่าควรจัดการวางรู ปแบบวิธีการปกครองและวางตําแหน่ งหน้าที่ราชการให้เป็ นระเบียบ ตามสมควรแก่สมัย จึงทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ งั ข้อบังคับสําหรับปกครองเมืองทั้ง 7 ไว้ และ ให้พระยาเมืองเป็ นผูร้ ักษาราชการบ้านเมืองต่างพระเนตรพระกรรณ ให้มีกองบัญชาการเมือง คือ พระ 171


ยาเมืองเป็ นหัวหน้า ปลัดเมือง ยกกระบัตรเมือง และผูช้ ่วยราชการเมือง รวม 4 คน ให้มีกรมการชั้น รอง เสมียนพนักงานตามความสมควร ฯลฯ และได้มีประกาศตั้งมณฑลปัตาตานีข้ นึ เมื่อ วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2449 เพื่อให้สะดวกแก่การ บริ หารงานราชการ และการสะดวกต่อการดูแลบ้านเมืองให้เจริ ญให้ย่ิงขึ้น จึงทรงพระกรุ ณาโปรด เกล้าฯ ให้แยกบริ เวณ 7 หัวเมืองออกจากมณฑลนครศรี ธรรมราช และให้จดั ตั้งมณฑลเทศาภิบาลขึ้น อีกมณฑลหนึ่ ง ให้เรี ยกว่า มณฑลปั ตตานี โดยภายในมณฑลปั ตตานี มีเมืองที่เข้าร่ วมอยู่ในมณฑลนี้ 4 เมือง คือ 1. เมืองปัตตานี ซึ่งมีเมืองหนองจิก เมืองยะหริ่ ง รวมกับเมืองปัตตานีเป็ นเมืองปัตตานี 2. เมืองยะลา ซึ่งมีเมืองรามันห์รวมกับเมืองยะลา เป็ นเมืองยะลา 3. เมืองระแงะ 4. เมืองสายบุรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 ได้มีประกาศยุบรวมท้องที่บางมณฑลและบางจังหวัด เนื่ องด้วยมณฑล และจังหวัดตามที่แบ่งไว้แต่เดิม ในเวลาต่อมาการคมนาคมมีความเจริ ญ และพอที่จะรวมการปกครอง เพื่ อง่ า ยต่ อการบัง คับ บัญชาได้ก ว้า งขวางยิ่ง ขึ้น พระบาทสมมเด็ จพระจุ ล จอมเกล้า เจ้า อยู่หัว ทรง เห็ นสมควรที่ จะยุบรวมมณฑลและจังหวัดเพื่อเป็ นการประหยัดรายจ่ ายเงิ นแผ่นดิ นลง จึ งทรงพระ กรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ยุบเลิกมณฑล 4 มณฑล จังหวัด 9 จังหวัด เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474 มณฑลที่ ประกาศยุบเลิ กมี มณฑลปั ตตานี เป็ นหนึ่ งในนั้นด้วย โดยให้รวมจังหวัดต่างๆ ของมณฑล ปั ตตานี เข้าไว้ในปกครองของมณฑลนครศรี ธรรมราช ส่ วนจังหวัดที่ประกาศยุบเลิก มีจงั หวัดสายบุรี โดยให้ ร วมเข้า ไว้ใ นปกครองของจัง หวัด ปั ต ตานี เว้น แต่ ท ้อ งที่ อ าํ เภอบาเจาะให้ ย กไปขึ้น อยู่ใ น ปกครองของจัง หวัดนราธิ วาส และเมื่อประกาศยุบ เลิ กมณฑลปั ตตานี ตามพระราชบัญญัติว่ า ด้วย ระเบียบราชการบริ หารแห่งราชอาณาจักรสยาม ในปี พ.ศ. 2476 จังหวัดยะลาจึงได้แยกออกมาตั้งเป็ น จังหวัดหนึ่ งของไทยสื บต่อมาจนถึ งปั จจุ บนั โดยมีอาณาเขตพื้นที่แบ่งออกเป็ น 8 อําเภอ คือ อําเภอ เมืองยะลา อําเภอเบตง อําเภอบันนังสตา อําเภอธารโต อําเภอยะหา อําเภอรามัน อําเภอกาบัง และ อําเภอกรงปิ นัง ลักษณะสั งคม และวัฒนธรรมของจังหวัดยะลา ลักษณะสังคม และวัฒนธรรมของจัง หวัดยะลา มี รูปแบบการตั้งถิ่ นฐาน และการเมื องการ ปกครองของเมืองยะลาที่อยูภ่ ายใต้การปกครองของเมืองปัตตานี หรื อลังกาสุ กะในช่วงเวลาหลายร้อย ปี ส่ งผลให้สภาพสังคมของเมืองยะลาและเมืองในแถบคาบสมุทรตอนใต้ของแหลมมลายูมีลกั ษณะ สภาพทางสังคมที่คล้ายคลึงกัน ผนวกกับการที่ดินแดนบริ เวณที่ต้ งั เมืองยะลาในประวัติศาสตร์บริ เวณ 172


ลุ่มแม่น้ าํ ปั ตตานี ตอนกลางที่อยู่ในเขตจังหวัดยะลานั้น เป็ นบ้านเมืองภายในของเส้นทางการค้าข้าม คาบสมุทรที่เกิดขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 14-15 ลงมา เป็ นชุมชนเมืองท่าโบราณ มีการค้าขายติดต่อกับ ต่างชาติ ทั้งทางด้านตะวันตก (อินเดีย) ตะวันออกกลาง และตะวันออก (จีน) ที่เป็ นแหล่งแลกเปลี่ยน และเกิดการถ่ายโอนในทางวัฒนธรรม ศาสนา ประเพณี โดยมีการรับเอาวัฒนธรรมจากภายนอกเข้ามา สู่ ตวั พื้นที่ อันเห็ นได้จากรู ป แบบทางศิ ลปกรรม และสถาปั ตยกรรม ของแหล่งโบราณสถานและ โบราณวัตถุที่มีการค้นพบจากภายในพื้นที่ จึงทําให้เมืองยะลาตั้งแต่ในอดีตจนปั จจุบนั ถือเป็ นเมื อง แห่ งความหลากหลายหรื อเมืองพหุ ทางวัฒนธรรม ที่ผูค้ นในพื้นที่มีหลากหลายเชื้อชาติ ศาสนา อาทิ ไทย-พุทธ มุสลิม คริ สต์ ซิ กส์ เข้ามาอาศัยอยู่ โดยในอดีตกลุ่มคนเหล่านี้ ได้มีการเข้ามายังพื้นที่ใช้เป็ น เส้นทางในการเดินทาง และต่อมาได้มีการตั้งถิ่นฐาน และมีการผสมรวมกันของหลายเชื้ อชาติ ต่างมี หน้าตา รู ปลักษณะ ผิวพรรณ ภาษาพูด และประเพณี กับคนพื้นถิ่ น จึ งทําให้เกิ ดความหลากหลาย ทางด้านเชื้อชาติในพื้นที่ดินแดนแห่งนี้ ซึ่งจากความหลากหลายทางด้านเชิ้อชาติและการนับถือศาสนา ส่ งผลให้เกิดวัฒนธรรม ประเพณี ที่เฉพาะตัวของแต่ละกลุ่มชนขึ้น จึ งทําให้เมืองยะลาและดินแดน โดยรอบมีการกระจายและรับกันเรื่ อยมา รู ปแบบลักษณะ ข้ อมูล และคุณค่ าของแหล่ งมรดกวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ชุมชนบ้ านหน้ าถํา้ อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ชุ มชนในพื้นที่ แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิ มุข เป็ นเขตพื้นที่ ชุมชนที่ มีขนาดกลาง มี ประชากรทั้งหมด 3,267 คน หรื อประมาณร้อยละ 1.96 ของประชากรทั้งอําเภอเมืองยะลา จํานวน ครั วเรื อน 768 หลังคาเรื อนมี ความหนาแน่ นเฉลี่ย 340 คน/ตารางกิ โลเมตร โดยประชากรในพื้นที่ ประกอบไปด้วย ชาวไทยพุทธ ชาวไทยเชื้อสายจีน และ ชาวไทยมุสลิม หรื อไทยมลายู ซึ่งประชากร ร้อยละ 37.57 นับถือศาสนาพุทธ โดยอาศัยอยู่ในหมู่ที่ 1 บ้านหน้าถํ้า และหมู่ที่ 2 บ้านหน้าถํ้าเหนื อ ร้อยละ 62.39 นับถือศาสนาอิสลาม โดยอาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านบันนังลูวา และหมู่ที่ 3 บ้านกูแบ อีเต๊ะ (บาเต๊ะ) และนับถือศาสนาอื่น ๆ ร้อยละ 0.04% มีมสั ยิดจํานวนสามแห่ ง และวัดหนึ่ งแห่ ง ที่ ตั้งอยูjห่างอออกไปจากตัวเมืองยะลาประมาณ 8 กิโลเมตร แต่ยงั คงอยูภ่ ายในอาณาเขตของอําเภอเมือง ยะลา จังหวะดยะลา ชุมชนหน้าถํ้าเป็ นชุมชนที่มีรูปแบบของสังคมเมืองกึ่งเกษตร โดยประชาชนใน พื้นที่ส่วนใหญ่ประกอบอาชี พเกษตรกรรม ทําสวนยางพารา สวนผลไม้ และเลี้ยงปศุสัตว์ เป็ นหลัก และมีการประกอบอาชีพเพื่อเสริ มรายได้ เช่น อาชีพทําขนม ตัดเย็บเสื้ อผ้า ทําเฟอร์นิเจอร์ จากไม้ เป็ น ต้น ซึ่ งพื้นที่ ชุมชนหน้าถํ้าถื อเป็ นแหล่งพื้ นที่ ท างประวัติศาสตร์ ที่ มีร่องรอยของการตั้งถิ่ น ฐาน ชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ อันเนื่ องจากลักษณะกายภาพทางภูมิศาสตร์ ที่ เป็ นแหล่งพื้นที่ 173


ราบ มีภูเขาสู งตั้งเป็ นแนวกําบัง ประกอบกับทําเลที่ต้ งั มีแม่น้ าํ สายหลักไหลผ่าน อันเป็ นเส้นทางใน การเดินทางเพื่อติดต่อค้าขายและแลกเปลี่ยนกับกลุ่มชนอื่น ๆ มาแต่โบราณ จึงส่ งผลให้ลกั ษณะทาง กายภาพของพื้นที่บริ เวณตําบลหน้าถํ้าเหมาะแก่การตั้งบ้านเรื อนและชุมชนเป็ นอย่างดี ทั้งยังเป็ นแหล่ง พื้นที่ที่มีคุณค่าและความสําคัญเชิงการเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสําคัญของจังหวัดยะลา โดยมี ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องในเชิง ที่ต้ งั และการใช้สอยตัวพื้นที่เพื่อประกอบกิจกรรมเรื่ อยมา จนเกิดการ สั่งสม ถ่ายทอด และเกิดการพัฒนาในมรดกทางภูมิปัญญาและมรดกทางวัฒนธรรมขึ้นในพื้นที่ เพื่อ เป็ นการตอบสนองต่ อรู ป แบบการดํา เนิ นวิถี ชี วิต ทั้ง ทางความเชื่ อ การประกอบอาชี พ ตลอดจน ส่ งเสริ มจนเกิดการร่ วมผลักดันและพัฒนาสู่การเป็ นเหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เห็นได้ชดั จากการ นําจุดเด่น เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ในชุมชนมาใช้เป็ นเครื่ องมือในการนําเสนอพื้นที่ชุมชนให้เกิดการ รู ้ จกั และเป็ นที่ ยอมรั บในการเป็ นแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมที่ สําคัญของจังหวัดยะลา โดยผ่าน มรดกทางภูมิปัญญา และมรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมของวัดคูหาภิมุข ได้แก่ (1) พระพุทธไสยาสน์ (2) ถํ้าศิลป (3) พิพิธภัณฑ์ หอวัฒนธรรมศรี วิชยั วัดคูหาภิมุข (4) ถํ้า ปปร (5) พระพิมพ์ดินดิบ (6) ถํ้ามืดและบ่อนํ้าศักดิ์สิทธิ์ การเสนอรู ปแบบและวิธีการจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การเป็ นแหล่ งเรียนรู้ และแหล่ งท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เป็ นการเสนอรู ปแบบวิธี การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ด้วยวิธีการอนุรักษ์และปรับปรุ ง โบราณสถาน สิ่ ง แวดล้อมตลอดทั้ง สภาพภู มิ ท ัศ น์ เพื่ อให้เหมาะสมต่อการเป็ นแหล่ ง เรี ย นรู ้ แ ละ ส่ งเสริ มสู่ การเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ดังนี้ (1) การจัดการอนุรักษ์ พัฒนา และปรับปรุ งภูมิทัศน์ พื้นที่แหล่ งมรกดกทางวัฒนธรรม วัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา (1.1) การปรับปรุงภูมิทัศน์ ภายในวัด ภายในถํา้ ศาสนสถาน และโบราณสถาน การปรับปรุ งภูมิทศั น์ โดยเริ่ มจากการประเมิ ณคุณค่าของสิ่ งปลูกสร้างที่ เข้ามามี ส่วน เกี่ยวข้อง ตลอดทั้งลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ และองค์ประกอบโดยรอบ เพื่อให้เป็ นการปรับปรุ ง 174


ให้เกิดความกลมกลืนต่อลักษณะของรู ปแบบศิลปกรรม กายภาพทางธรรมชาติ รวมถึงรู ปแบบการใช้ งานเพื่อประกอบกิจกรรม เพื่อไม่ให้เกิดการลดทอนในเชิงคุณค่าของการเป็ นพื้นที่ศกั ดิ์สิทธิ์ และต้อง มีรูปแบบการใช้งานได้อย่างสะดวกสบายยิง่ ขึ้น คือ 1) การจัดเก็บ และทําความสะอาด โดยเป็ นการปรับทรุ งเพื่อให้เกิดทัศนี ยภาพที่สวยงาม และสบายตาต่อการเข้าไปกราบไหว้สักการะบูชา ประกอบศาสนากิจ กิจกรรมทางศาสนา ประเพณี ต่างๆ และเพื่อการท่องเที่ยวพักผ่อนหยอนใจของผูม้ าเยือน 2) ทําการเสนอรู ปแบบแนวทางการบูรณะ ด้วยวิธีการอนุ รักษ์ให้เกิดความแข็งแรงของ โบราณวัตถุ โดยใช้หลักเกณฑ์ของการอนุรักษ์และบูรณะ คือ - การซ่อมแซมบูรณะด้วยวิธีการทําชิ้นส่วนขึ้นใหม่ โดยทําขอบเขตแสดงให้ให้ถึงการ อนุรักษ์และบูรณะ ด้วยวิธีการออกแบบที่แสดงให้ได้อย่างชัดเจน แสดงส่ วนบริ เวณส่ วนนี้เกิดจากการ ทําขึ้นใหม่ จะด้วยวิธีการใช้วสั ดุต่าง ๆ กัน การใช้สีต่างกัน หรื อการทําพื้นผิวให้ต่างกันกับของเดิมก็ ได้ แต่ตอ้ งเป็ นไปในลักษณะที่มีความผสมกลมกลืนกับของเดิม - การจัดแสดงถึงร่ องรอยหลักฐานของการบูรณปฏิสังขรณ์องค์พระพุทธไสยาสน์ โดย การกํา หนดพื้นที่ บริ เวณที่ ป รากฏ เพื่ อใช้เป็ นสื่ อสํา หรั บการเรี ย นรู ้ ผ่า นร่ องรอบของการอนุ รักษ์ ซ่อมแซม และการเรี ยนรู ้เชิงประวัติศาสตร์ 3) จั ด ทํ า แนวกั้ น ภายในบริ เ วณโถงถํ้า เพื่ อ ใช้เ ป็ นตัว กํา หนดขอบเขตบริ เ วณพื้นที่ ที่ สามารถใช้งานได้ และเป็ นตัวกําหนดขอบเขตการแบ่งพื้นที่ระหว่างผูเ้ ข้าชมกับโบราณสถาน ตลอด ทั้งใช้เป็ นตัวป้องกันการเกิดอันตราย และเป็ นเครื่ องกําหนดเส้นทางในการเข้าชม 4) ปรั บปรุ งพื้นที่ และพัฒนาภูมิทัศโดยรอบ เพื่อใช้ให้เป็ นพื้นที่ให้เกิ ดประโยชน์ม าก ยิง่ ขึ้น (2) การจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การการเป็ นแหล่ งเรียนรู้ โดยผูศ้ ึกษาได้จดั วางแนวทางการจัดการจัดการออกเป็ น 2 ส่ วน ได้แก่ (1) การบริหารจัดการ เป็ นกระบวนการของการประสานความเข้าใจในเป้าหมายการพัฒนา และการอนุรักษ์ ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับคนในชุมชนในพื้นที่ โดยที่การพัฒนาของรัฐจะเป็ นเพียงแค่การจัดสิ่ ง อํานวยความสะดวกด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให้เหมาะสมกับความจําเป็ นที่จะยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีข้ นึ ในระดับหนึ่ง โดยเกิดการการมีส่วนร่ วม ดังนี้ 175


(1.1) การมีส่วนร่ วมของภาคประชาชนในพื้นที่ โดยการเปิ ดโอกาสให้ภาคประชาชนเข้า มามีส่วนร่ วมในโครงการตั้งแต่เริ่ มต้นจนกระทัง่ จบโครงการ (1.2) การมีส่วนร่ วมของสถาบันการศึกษาในท้ องถิ่น โดยการปลูกฝั่งความรู ้เกี่ยวกับแหล่ง มรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่เหล่านี้ ให้แก่เยาวชน ให้เกิดการเรี ยนรู ้ตามเส้นทางประวัติศาสตร์ และ โบราณสถานต่าง ๆ โดยสามารถแทรกและเสริ มในกิจกรรมการเรี ยนการสอนของโรงเรี ยนได้ (2) การสร้ างกระบวนการเรียนรู้ ด้วยตนเอง การจัด กิ จ กรรมยุ ว ชนภัณ ฑารั ก ษ์ และมัค คุ เ ทศก์ อ าสา ภัณ ฑารั ก ษ์ คื อ ผู ้จัด หา จัด หมวดหมู่ และจัดแสดงวัตถุในที่จดั แสดง รวมถึงการดูแล ซ่ อมแซม และวางแผนจัดการและแผนการ ให้บริ การ มัคคุเทศก์ หรื อไกด์ท่องเที่ ยว คือ ผูท้ ี่ ให้ความช่ วยเหลื อด้านข้อมูล ความเข้าใจทางด้าน วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และเหตุการณ์ต่างๆแก่บุคคลที่เป็ นนักท่องเที่ยว ผูเ้ ข้ามาเยีย่ มชม (3) การจัดการแหล่ งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา สู่ การแหล่ งท่ องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (3.1) การสร้ างกิจกรรมและรู ปแบบการท่ องเที่ยว โดยมีการจัดกิจกรรมขึ้นเพื่อสร้างความ น่าสนใจจากนักท่องเที่ยว ซึ่งอาศัยการประชาสัมพันธ์จากกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณี ของ ท้องถิ่นตลอดทั้ง 12 เดือน ผนวกกับกิจกรรมการเที่ยวชมแหล่งโบราณสถาน โบราณวัตถุอนั มีคุณค่า โดยมีการประชาสัมพันธ์ จัดทําสื่ อต่างๆ ออกมาเพื่อเป็ นการประชาสัมพันธ์ ตารางกิจกรรมทางวัฒนธรรมประเพณี ไทยพุทธ-ไทยมุสลิม ตําบลหน้ าถํา้ กิจกรรม/ประเพณี - ประเพณี รับเทวดาหรื อเทียมดา - พิธีมหามงคลห่มผ้าไสยาสน์ - ประเพณี การแก้บน

ช่วงเวลาที่จดั กิจกรรม วันที่ 12 เดือนเมษายนของทุกปี วันที่ 13 เดือนเมษายนของทุกปี ข้างขึ้นของเดือน 6 (อธิกมาส) (ประเพณี จะมีหนึ่งปี -เว้นหนึ่งปี ) ช่วงเดือนมิถุนายน ช่วงเดือนกันยายน วัน แรม 1 คํ่า เดือน 11 (เดือนตุลาคม) วัน แรม 1 คํ่า เดือน 11 (เดือนตุลาคม)

- ประเพณี วนั ฮารี รายอ - ประเพณี วนั อาซูรอ - พิธีตกั บาตรเทโว ตําบลหน้าถํ้า - งานบุญชักพระ 176


- ประเพณี วนั สารทเดือน 10 (ชิงเปรต) - ประเพณี วนั เมาลิด

วัน แรม 15 คํ่า เดือน 10 (เดือนตุลาคม) ช่วงเดือนพฤศจิกายน

(3.2) การจัดทําสื่ อนําเสนอมรดกทางวัฒนธรรม โดยมีรูปแบบการสื่ อความหมายในแหล่ ง มรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการท่ องเที่ยว ดังนี้ 1. ประชาสั มพันธ์ และศูนย์ ข้อมูล เป็ นองค์ประกอบพื้นฐานที่ตอ้ นรับ และใช้ขอ้ มูล นักท่องเที่ยวในรู ปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเบื้องต้นก่อนเข้าชม 2. สื่ อสิ่ งพิมพ์ เป็ นสื่ อที่มีประสิ ทธิภาพในการสื่ อความหมาย ที่ใช้ใน การประชาสัมพันธ์ สามารถสื่ อได้ท้ งั ข้อมูล ภาพ ภาษาในรู ปแบบของ แผ่นพับ หนังสื อ นําเที่ยว หนังสื อ และ แผนที่ ซึ่งมี รู ปแบบต่างๆดังนี้ 2.1 แผ่นพับ 2.2 หนังสื อนําเที่ยว เ 2.3 หนังสื อ 2.4 แผนที่ 3. ป้ าย ในการบอกตําแหน่งและทิศทางของสถานที่ต่างๆ ตั้งแต่ป้ายนําทางการเดินทาง มา จนถึงป้ายบอกตําแหน่งในแหล่งท่องเที่ยว เพื่อเข้าชม จุดต่างๆ รวมถึงตําแหน่งของสิ่ งอํานวยความ สะดวกในสถานที่และป้ายคําเตือนในพื้นที่ ควบคุม 4. นิทรรศการ เป็ นการสื่ อข้อมูล โดยใช้สื่อผสมต่าง ๆ ทั้งตัวอักษร ภาพกราฟฟิ ค วัตถุ แบบจําลอง ภาพเคลื่อนไหว เสี ยง ที่ถูกออกแบบมาให้สื่อสารกับผูเ้ ข้าชม ทั้งนี้ในนิทรรศการจะมีการ กําหนดเรื่ องราวเป็ นบทต่างๆ 5. สื่ ออื่น ๆ เป็ นสื่ อที่ให้ขอ้ มูลของสถานที่ในพื้นที่ เพื่อช่วยผูช้ มที่เข้าชมในสถานที่จริ ง หรื อแม้แต่การแสดงแสงสี เสี ยง การจัดกิจกรรมพิเศษ ที่สร้างความน่าสนใจให้กบั สถานที่ 6.2 อภิปรายผล วิทยานิ พนธ์เรื่ อง การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัดยะลา เป็ นการศึกษาวิจยั ที่มีจุดประสงค์ของการศึกษาเพื่อ 1) ศึกษาถึงบริ บททางประวัติศาสตร์ ของดินแดน คาบสมุทรภาคใต้และประวัติความเป็ นมา ตลอดจนลักษณะสังคมและวัฒนธรรมของจังหวัดยะลา เพื่อให้ทราบถึงภูมิหลังและบริ บททางการเปลี่ ยนแปลงของตัวพื้นที่ และลักษณะทางกายภาพของ สังคมและวัฒนธรรมของพื้นที่ในการศึกษา 2) ศึกษาชุมชน สังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนศักยภาพ และความเข้มแข็งของชุมชนบ้านหน้าถํ้า เพื่อทําให้ทราบถึงลักษณะทางภายภาพและสภาพของชุมชน 177


ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของผูค้ นในพื้นที่ชุมชน ตลอดจนศักยภาพและความเข้มแข็งของ ชุมชนบ้านหน้าถํ้า ในการมีส่วนร่ วมกับการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่ และ 3) เพื่อ เสนอรู ปแบบแนวทาง และวิธีการจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมือง จังหวัด ยะลา เพื่อให้เกิดเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ของผูค้ นในพื้นที่และตลอดคนในพื้นที่ใกล้เคียง ให้สามารถเข้ามา ศึ ก ษาและค้นคว้า เกิ ดเป็ นแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒ นธรรม ซึ่ ง การศึ ก ษาได้ใ ห้ค วามตระหนัก รู ้ ถึ ง ความสําคัญบริ บททางประวัติศาสตร์ คุณค่าและความสําคัญของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ตลอดทั้ง โบราณสถานและประเพณี พิ ธีก รรม ที่ มี ก ารถ่ า ยทอดความรู ้ และวิธี จัดการพื้นที่ โดยเกิ ดจากการ ขับเคลื่อนจากภายในชุมชน เพื่อให้เกิดการพัฒนา และนําไปประยุกต์ใช้ได้จริ ง ซึ่ งสามารถขับเคลื่อน และดําเนิ นการต่อไปได้จากความหวงแหน ตระหนักรู ้ถึงคุณค่า และร่ วมกันขับเคลื่อนผ่านมรดกทาง วัฒนธรรมและภู มิ ปั ญญาที่ เกิ ดขึ้นภายในชุ ม ชน จนเกิ ดเป็ นแหล่ ง เรี ย นรู ้ และแหล่ ง ท่ องเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรมได้อย่างสมบูรณ์ 6.3 ข้ อเสนอแนะ จากการศึกษาวิจยั การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม วัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัด ยะลา พบว่า ชุมชนแห่ งนี้ มีความพร้อมทางด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี และแหล่งโบราณสถาน ถือ เป็ นต้นทุนที่สามารถดําเนิ นการสู่ การจัดการเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่ดีและมีประโยชน์ต่อผูค้ นในพื้นที่ได้ และยังสามารถเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่ให้ท้งั ความเพลิดเพลินและความรู ้ได้อีกด้วยถ้าหากเกิดการจัดการ ในรู ปแบบของการจัดกรรมที่ดีข้ ึนได้ แต่สถานการณ์ภายในชุมชนที่มีขอ้ จํากัดในทางด้านของความ มัน่ คง และภาพลักษณ์ของตัวพื้นที่ที่ถูกสื่ อสะท้อนออกไปนั้น ยังคงเป็ นภาพที่อยู่ในด้านลบอยู่ ดังนั้น หากต้องการที่ จะส่ งเสริ มและพัฒนาจัดการให้แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมแห่ งนี้ เป็ นที่ ยอมรับและ กลับมาได้รับความนิ ยมเหมื อนดังเดิม อันดับแรกที่พึงกระทําก็คือการปรั บเปลี่ยนภาพลักษณ์ และ ทัศนคติ ของผูค้ นทั้งภายในชุมชนและที่ ประชาสัมพันธ์ออกสู่ ภายนอกให้มีความปลอดภัย และน่ า ไว้วางใจในการมายังพื้นที่ แห่ งนี้ เพื่อเป็ นการปรั บทัศนคติ และภาพลักษณ์ ที่มี ต่อพื้นที่ ในเขตสาม จังหวัดชายแดนภาคใต้ และนอกจากนี้ยงั เป็ นสิ่ งที่ส่งเสริ มให้เกิดผลดีกบั พื้นที่ได้อีกด้วย

178


บรรณานุกรม หนังสื อ/สิ่ งพิมพ์ทางวิชาการ กระทรวงศึ กษาธิ การ. (2544). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญา จังหวัดยะลาวัฒนธรรม. กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร. การท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย. (2541). Ecotourism : ปรัชญาองค์ประกอบและแนวคิด. จดหมายข่ าว การท่ องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ , 20(3). 8-10. เกรี ยงไกร เกิดศิริ. (2549). ชุมชนกับภูมิทัศน์ วัฒนธรรม. กรุ งเทพฯ: อุษาคเนย์. ครรชิ ต พุทธโสภา. (2554). คู่มือการพัฒนาชุ มชนแหล่ งการเรี ยนรู้ ชุมชนฉบับสมบู รณ์ . กรุ งเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. จัก รพงษ์ แพทย์ห ลัก ฟ้ า . (2555). การมี ส่ วนร่ วมของชุ ม ชนเมื อ งในการพั ฒ นาแหล่ ง เรี ย นรู้ ศิลปวัฒนธรรม : กรณีศึกษาชุมชนลาดพร้ าว. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2540). วิถีไทย:การท่ องเที่ยวทางวัฒนธรรม. กรุ งเทพฯ: อมรพริ้ นติ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง. ชิ น อยู่ดี และ จํารัส เกียรติกอ้ ง. (2531). จิตรกรรมในถํ้าศิลปะจังหวัดยะลา. ใน นําชมโบราณสถานโบราณวัตถุ วัดคูหาภิมุข. ยะลา: คณะวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาลัยครู ยะลา. ทรั ย นุ ง มะเด็ ง , อับ ดุ ล เร๊ า ะมัน บาดา และ วลัย ลัก ษณ์ ทรงศิ ริ . (2553). ยาลอเป็ นยะลา ความ เปลี่ยนแปลงของบ้ า นเมื องและคนรุ่ นใหม่ ในเมื องและปริ ม ณฑลเมื อ งยะลา. กรุ งเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . ธวัช รัตนาภิชาติ. (2505). ประวัติศาสตร์ สี่จังหวัดภาคใต้ นราธิวาส ปั ตตานี ยะลา สตูล. พระนคร : ศูนย์พฒั นาการศึกษา ภาคศึกษา 2. ธิดา สาระยา. (2527, มกราคม-มีนาคม). คาบสมุทรไทย. เมืองโบราณ, 10(1), 7-8. นิ คม จารุ มณี . (2536). การท่ องเที่ยวและการจัดการอุตสาหกรรมการท่ องเที่ยว. กรุ งเทพฯ: โอเดียนสโตร์. บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่ องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุ งเทพฯ: ศูนย์วิชาการท่องเที่ ยวแห่งประเทศไทย. ปุณยวีร์ ศรี รัตน์. (2559, กรกฎาคม – ธันวาคม). การจัดการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนของวัดพระมหาธาตุ วรมหาวิ ห าร เมื่ อ ได้รั บ การประกาศเป็ นมรดกโลกทางวัฒ นธรรมแห่ ง ใหม่ ข องไทย. เทคโนโลยีภาคใต้ , 9(2). 149-158. 179


พรลภัส อุณาพรหม. (2556). บทบาทการสื่ อความหมายมรดกทางวัฒนธรรม แหล่งมรดกโลก นคร ประวัติศาสตร์อยุธยา. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 1(2). 19-25. พิสิฐ เจริ ญวงศ์. (2542). เอกสารประกอบการบรรยายเรื่ อง “พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวฯ กับการ จั ด การทรั พ ยากรวั ฒ นธรรม” ณ ศู น ย์ ม านุ ษ ยวิ ท ยาสิ ริ น ธร มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร. รั ศ มี ชู ท รงเดช. (2551). จากเพิ ง ผาถํ้า ลอดสู่ เพิงผาบ้า นไร่ . ..สู่ การทลายเส้นแบ่ งของวิธีวิท ยาทาง โบราณคดี. ใน มาจาก(คนละ)ฟากฟ้ าของเพิงผาสู่ การทําลายเส้ นแบ่ งของวิธีวิ ทยาทาง โบราณคดี วลีในมานุษยวิทยาและมายาในศิลปกรรม. กรุ งเทพฯ: เอราวัณการพิมพ์. วิ จิตร ศรี สุ วิท ธานนท์ . (2538). แหล่ งศิ ล ปกรรมวัด คู หาภิมุ ข. ยะลา: หน่ วยอนุ รัก ษ์ส่ิ ง แวดล้อ ม ศิลปกรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. วิจิตร ศรี สุวิทธานนท์. (2531). ชุ มชนโบราณบ้านท่าสาปและวัดคูหาภิ มุข. สารานุกรมวัฒนธรรม ภาคใต้ . สงขลา : สถาบันทักษิณคดีศึกษา. วิโรจน์ จิโรจพันธุ.์ (2551). มรดกวัฒนธรรมภาคเหนือ. กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์แสงดาว. ศิ ลป์ พีระศรี . (2531). ภาพเขียนสี ในถํ้าจังหวัดยะลา. (เขียน ยิ้มศิ ริ, ผูแ้ ปล). ในนําชมโบราณสถาน โบราณวัตถุ วัดคูหาภิมุข. กรุ งเทพฯ: มูลนิธิ ศาสตราจารย์ ศิลปะ พีระศรี อนุสรณ์. สายัน ต์ ไพรชาญจิ ต ร์ . (2555). การจั ด การมรดกวั ฒ นธรรมอย่ า งสร้ า งสรรค์ . กรุ ง เทพฯ: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สถาบันทักษิณคดีศึกษา. (2554). ประวัติศาสตร์ ภาคใต้ . สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ. อารั กษ์ สังหิ ตกุล. (2544). กรมศิ ลปากรกับการบริ หารจัด การทรั พ ย์ สิ นทางศิ ลปวัฒ นธรรม อดีต ปัจจุบัน และอนาคต. กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร. หน่ วยอนุ รัก ษ์สิ่ ง แวดล้อม จัง หวัดยะลา. (2548). ศิ ล ปกรรมจั งหวั ด ยะลา. ยะลา : หน่ วยอนุ รัก ษ์สิ่ งแวดล้อม. ฮอลล์, ดี. จี. อี. (2522). ประวัติศาสตร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้. (วรุ ณยุพา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และคน อื่ น ๆ, ผู ้แ ปล). (พิ ม พ์ ค รั้ งที่ 2). กรุ ง เทพฯ: มู ล นิ ธิ โ ครงการตํา ราสั ง คมศาสตร์ แ ละ มนุษยศาสตร์. ICOMOS. (1993). Tourism at world heritage: sites: the site manager's handbook. Washington DC: ICOMOS. ICOMOS. (2007). The ICOMOS Charter for the Interpretation and Presentation of Cultural Heritage Site. (Proposed Final Draft). Revised under the Auspices of the ICOMOS

180


International Scientific Committee on Interpretation and Presentation 10 April 2007. Retrieved February 15, 2019, from https://www.icomosthai.org/charters. UNESCO. (1972). Convention concerning protection of the world cultural and natural heritage. Paris: UNESCO. รายงานการวิจัย / วิทยานิพนธ์ / การค้ นคว้ าแบบอิสระ พจนา เอกบุตร. (2556). ชุมชนลําปางหลวงกับการจัดการมรดกวัฒนธรรม : กรณีศึกษางานประเพณียี่ เป็ งไหว้ สาพระธาตุเจ้ า อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง. (วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาศิลปศาสตรมหา บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการจั ด การศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม). เชี ย งใหม่ : บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พันทิพา มาลา และ ลายอง ปลัง่ กลาง. (2553). แนวทางการฟื้ นฟูวัฒนธรรมชุ มชนเพื่อส่ งเสริ มการ ท่ องเที่ ย ว : กรณี ศึ กษาชุ มชนอํ า เภอบ้ านแพรก จั ง หวั ด พระนครศรี อยุ ธ ยา. พระนครศรี อยุธยา: สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรี อยุธยา. พาฝัน ประดาอินทร์ . (2557). การศึกษาพระธาตุสําคัญในจังหวัดลําปาง เพื่อการจัดการเส้ นทางการ เรี ยนรู้ และท่ องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม. (การค้นคว้าอิ สระ ปริ ญญาศิ ลปศาสตรมหาบัณฑิ ต ส า ข า วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ) . เ ชี ย ง ใ ห ม่ : บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เมธาพร ผมขาว. (2556). การจัดการมรดกวัฒนธรรมเมืองลี้ อาเภอลี้ จังหวัดลาพูนให้ เป็ นแหล่ งเรียนรู้ ทางประวั ติ ศาสตร์ แ ละวั ฒ นธรรมของเยาวชนในท้ อ งถิ่ น . (วิ ท ยานิ พ นธ์ ปริ ญญาศิ ล ป ศาสตร-มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม). เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รัศมี ชูทรงเดช. (2555). การสื บค้ นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่ างยั่งยืนในอําเภอปาย –ปางมะผ้า-ขุนยวม จังหวัดแม่ ฮ่องสอน. กรุ งเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . วาลิ ก า แสนคํา . (2545). การพัฒ นาการท่ อ งเที่ ยวทางวั ฒนธรรมบ้ า นเปี ยงหลวง อํา เภอเวี ยงแหง จั งหวั ด เชี ยงใหม่ . (วิ ท ยานิ พ นธ์ ปริ ญญาศิ ล ปศาสตรมหาบัณฑิ ต สาขาวิ ช าการจัด การ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว). เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สายันต์ ไพรชาญจิ ตร์ . (2547). การฟื้ นฟู พ ลังชุ ม ชนด้ ว ยการจั ดการทรั พ ยากรทางโบราณคดีและ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ : แ น ว คิ ด วิ ธี ก า ร แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ จ า ก น่ า น . ก รุ ง เ ท พ ฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

181


สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดลําปาง. (2541). โครงการวิจัยการมีส่วนร่ วมของเครื อข่ ายวัฒนธรรมและ ชุ มชนในการบริหารจัดการวัฒนธรรมกรณีศึกษากลุ่มก๋ องปู่ จา บ้ านวังหม้ อ ตําบลต้ นธงชัย อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ลํ า ปาง. กรุ ง เทพฯ: สํ า นัก งานคณะกรรมการวัฒ นธรรมแห่ ง ชาติ กระทรวงวัฒนธรรม.

182


ภาคผนวก

183


ภาคผนวก (ก)

แบบสํ ารวจข้ อมูล แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข ตําบลหน้ าถํา้ อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา หัวข้ อวิทยานิพนธ์ : การจัดการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมวัดคูหาภิมุข อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ผู้ศึกษาวิจัย : นายธนกร สุ ธีรศักดิ์ รหัสนักศึกษา 600332003 สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

1. สภาพทั่วไปและข้ อมูลเบื้องต้ น 1.1 ชื่ อสถานที่ / ชุมชน / หมู่บ้าน ........................................................................................................... ................................................................................................................................................................. 1.2 ที่ต้งั และพิกดั 1.2.1 ที่ต้ งั ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 1.2.2 พิกดั .......................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 1.3 อาณาเขตติดต่ อ ทิศเหนื อ …………………………………………………………………………………......... ทิศใต้ …..………………………………………………………………………………....... ทิศะวันออก …………………………………………………………………………..…............... ทิศะวันตก …………………………………………………………………………..................... 1.4 ข้ อมูลประชากร 1.4.1 หมู่บา้ น / ชุมชน / สถานที่ นี้มีจาํ นวน ……………………....................... หมู่บา้ น/ครัวเรื อน 1.4.2 จํานวนประชากร …………………… คน 184


1.5 ด้านการประกอบอาชีพ - อาชีพหลัก…………………………………………………………………………….............. - อาชีพเสริ ม…………………………………………………………………………….............. - รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรื อน………………………………………………………………............. 1.6 ด้ านการศึกษา (ประชากรในหมู่บา้ นได้รับการศึกษาในระดับใด) …………………………………………………………………………………………………............. …………………………………………………………………………………………………............. 1.7 ด้ านความเชื่ อ วัฒนธรรมธรรม ประเพณี กิจกรรม ศาสนาที่นบั ถือ ………………………………………………………………………….................. ศาสนสถานในหมูบ่ า้ น จํานวน …………… แห่ง ได้แก่ ………………………………….............. …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... จํานวนผูเ้ ผยแผ่ศาสนา …………………… รู ป/คน วัฒนธรรมธรรม ประเพณี กิจกรรม …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... 1.8 ด้ านภาษาที่ใช้ ……………………………………………………………………………............... …………………………………………………………………………………………………............. 1.9 ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้ างพื้นฐาน 1.9.1 การคมนาคม …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... 185


1.9.2 การบริ ก ารสาธารณะ/สาธรณู ป โภค (โรงพยาบาล/สถานี อนามัย /โรงเรี ย น/ศู นย์บ ริ ก าร ถ่ายทอดภูมิปัญญาพื้นบ้านการทอผ้า ศูนย์บริ การเทคโนโลยีทางการศึกษา ศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก ศาลา ประชาคม สนามกีฬา โทรศัพท์สาธารณะ ฯลฯ) …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... …………………………………………………………………………………………………....... 2. ประวัติศาสตร์ และความเป็ นมาของชุมชน / หมู่บ้าน / แหล่ งมรดกทางวัฒนธรรม ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 3. ความต้ องการของการพัฒนาชุมชน / หมู่บ้าน / แหล่ งมรดกทางวัฒนธรรม ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 186


4. จุดเด่ น / จุดด้ อย / จุดแข็ง ของชุมชน / หมู่บ้าน / แหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 5. ข้ อมูลอื่น ๆ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................

ผู้ให้ ข้อมูล ............................................................................... ผู้เก็บข้อมูล ............................................................................... วันที่เก็บข้ อมูล ...............................................................................

187


ภาคผนวก (ข)

188


189


190


ประวัติผ้เู ขียน ชื่ อ – สกุล วัน เดือน ปี เกิด ที่อยู่

ประวัติการศึกษา ปี การศึกษา 2564 ปี การศึกษา 2559 ปี การศึกษา 2558 ปี การศึกษา 2555 ปี การศึกษา 2552 ทุนการศึกษาวิจัย

นายธนกร สุ ธีรศักดิ์ 9 พฤศจิกายน 2537 2/1 ซอยนํ้าผึ้ง ถนนอาคารสงเคราะห์ ตําบลสะเตง อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 95000

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการศิลปะและ วัฒนธรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนคณะราษฎรบํารุ ง จังหวัดยะลา ระดับมัธยมศึกษาตอต้น โรงเรี ยนคณะราษฎรบํารุ ง จังหวัดยะลา ระดับประถมศึกษา โรงเรี ยนอนุบาลยะลา จังหวัดยะลา โครงการทุนวิจยั มหาบัณฑิต สกว. ด้านมนุษยศาสตร์ –สังคมศาสตร์ รุ่ นที่ 15 ประจําปี 2562 สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.)

191


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.