ถัก รักจาก ลีซู : Lisu Twine Knotting

Page 1

“คนไทยไม่ว่าที่ไหนมีฝีมือทั้งนั้น เพียงแต่แนะเขา เขาควรจะทำาอาชีพยังไง เขาก็ทำาได้ดีมีฝีมือดีมาก ทำาให้เห็นว่าคนไทยนี่เก่ง” พระราชดำารัส สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช วันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๔๒ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำาเนินไปทรงเยี่ยมเยียนราษฎรในพื้นที่สูง

องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ มีอำา นาจหน้าที่ในการพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ในหลายด้าน ทั้งเศรษฐกิจ

สังคม การศึกษา การสาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ สาธารณูปโภค ทรัพยากรธรรมชาติ และจารีต ประเพณี

และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่ให้ดำารงอยู่และสืบทอดสู่คนรุ่นต่อไป

(Creative Hub of ASEAN) ที่ผ่านมาจังหวัดเชียงใหม่ได้มีการจัดการศึกษารวบรวมและจัดทำาข้อมูลเบื้องต้นของเมืองเชียงใหม่ เพื่อ เตรียมการเป็นเครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ซึ่งกระบวนการดำาเนินงานจำาเป็นต้องมีการ

“โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะ

เพื่อร่วมกันผลักดันให้จังหวัดเชียงใหม่สามารถเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน) อันจะสามารถสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศไทยในระดับสากล

องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

เพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนในท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ได้วางแนวทางปฏิบัติใน ส่วนที่เกี่ยวข้องกับทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ใน 3 ข้อ คือ • ส่งเสริมสนับสนุนให้ท้องถิ่นดำาเนินกิจกรรมร่วมกับองค์กรต่างๆ ทำางานอย่างบูรณาการ เพื่อให้เกิด ความตระหนัก ในการดำาเนินกิจกรรมในด้านการศาสนา การฟื้นฟูจารีตประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่และชนเผ่าที่หลากหลาย • ส่งเสริมสถาบันทางการศึกษาและสถาบันทางสังคมต่างๆ ให้มีบทบาทสำาคัญในการอนุรักษ์ ทำานุบำารุง รักษา สืบทอด พัฒนา มรดกทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีอันดีงาม ตลอดจนสถาปัตยกรรมโบราณ และแหล่งประวัติศาสตร์ของจังหวัดเชียงใหม่ • สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านศิลปะ วัฒนธรรมสู่ท้องถิ่น และศาสนสถาน โดยร่วมกับ องค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และองค์กรที่ทำางานเพื่อสังคมในประเทศและต่างประเทศ เพื่อร่วมพัฒนาเมือง เชียงใหม่สู่เมืองแห่งการสร้างสรรค์ทางศิลปะและวัฒนธรรม (Creative City of Arts and Culture) ซึ่งแนวทางปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 11 ที่ให้ความสำาคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการส่งเสริมการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ในระดับภูมิภาคและท้องถิ่น เพื่อให้ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางเครือข่ายการผลิต การค้า และการบริการของ ธุรกิจสร้างสรรค์ของภูมิภาคอาเซียน
ในการนี้องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จึงได้จัดทำาโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ภายใต้ชื่อ
พื้นบ้าน)” โดยมุ่งหวังให้เกิดการทำางานร่วมกันอย่างบูรณาการกับองค์กรภาครัฐ เอกชน ชุมชน ภาคการศึกษาและ อาชีพของจังหวัดเชียงใหม่
จาก ทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ต่อไป
ศึกษาทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก รวมถึงต้องมีการปฏิบัติการอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งส่วนนโยบายและการปฏิบัติการ

ด้วยเหตุนี้เองจึงทำาให้ชาวลีซอมีศักยภาพในการปรับ ตัวเข้ากับความเปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี

พ.ศ. 2462-2464 จากหมู่บ้านแห่งหนึ่งใกล้เมืองเชียงตุงของประเทศเมียนมาร์มาตั้งถิ่นฐานเป็นชุมชนครั้งแรกในประเทศไทย

ชาติพันธุ์ลีซอ เรียกตนเองว่า “ลีซู” (คำาว่า “ลี” มาจาก “อิหลี่” แปลว่า จารีต ประเพณีหรือวัฒนธรรม “ซู” แปลว่า “คน”) มีความหมายว่ากลุ่มชนที่มีขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี และมีความภูมิใจในวัฒนธรรมของตนเอง ดัง นั้นหากมองในแง่วัฒนธรรมและบุคลิกภาพแล้ว อาจกล่าวได้ว่าชาวลีซอ เป็นกลุ่มชนที่รักความอิสระ มีระบบจัดการ ความสัมพันธ์ทางสังคมที่ยืดหยุ่น เป็นนักจัดการที่มีประสิทธิภาพ จะไม่ยอมรับสิ่งใหม่โดยที่ไม่ผ่านการเลือกสรร และ จะไม่ปฏิเสธวัฒนธรรมที่แตกต่างจากตนโดยไม่ผ่านการแยกแยะ
ขณะเดียวกันก็สามารถธำารงรักษาอัตลักษณ์ของชาติพันธุ์เอาไว้ได้เช่นกัน โดยแต่เดิมชาวลีซอมีถิ่นฐานอยู่บริเวณต้นนาสาละวิน และแม่นาโขงทางตอนเหนือของทิเบต และทางตะวันตก เฉียงเหนือของมณฑลยูนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ชาวลีซอได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทยเมื่อประมาณปี
อยู่ที่บ้านดอยช้าง อำาเภอแม่รวม จังหวัดเชียงราย ชาติพันธุ์ลีซอแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มย่อย คือ ลีซอลาย และลีซอดำา ชาวลีซอที่อยู่ในประเทศเกือบทั้งหมดเป็น ลีซอลาย ส่วนลีซอดำาอยู่ในประเทศจีน เมียนมาร์ อินเดีย และไทย ในประเทศไทยมีชุมชนลีซออยู่ 9 จังหวัด คือ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน พะเยา ตาก กำาแพงเพชร เพชรบูรณ์ สุโขทัย และลำาปาง มีจำานวนประชากรทั้งหมดราว 30,940 คน

จำานวนกว่า 100 เส้นขึ้นไป เมื่อเคลื่อนไหวพู่จะกวัดแกว่งไปด้วยดูน่ารักสวยงามมากและสวมสนับแข้งสีสด

ลักษณะการแต่งกายของหญิงลีซอ มีความโดดเด่นมาก ตั้งแต่ผ้าโพกหัว ที่เป็นทรงป้านกลม ตกแต่งด้วยลูกปัด และพู่ประดับหลากสี สวยงาม เสื้อตัวยาวตัดเย็บด้วยผ้าสีสดใสตกแต่งด้วยริ้วผ้าเล็กๆ สลับสี สวมทับกางเกงขายาว ครึ่งน่องสีดำา มีผ้าคาดเอวที่เมื่อคาดแล้วจะทิ้งชายไปทางด้านหลังเป็นพู่หางม้า ทำาจากผ้าหลากสีเย็บเป็นไส้ไก่เส้นเล็กๆ
หญิงสาว และหญิงสูงอายุแต่งกายคล้ายกัน ต่างกันเฉพาะการใช้สี ซึ่งในกลุ่มหญิงสูงอายุจะใช้สีขรึมเข้มกว่า และผ้าโพกหัวก็ใช้ผ้า สีดำาโพกพันไว้ ไม่มีลูกปัดและพู่ประดับ ผู้ชายสวมกางเกงสีสด และสวมเสื้อสีดำาตกแต่งด้วยเม็ดเงินคาดเอว ประดับด้วย พู่หางม้าทำาจากผ้าเย็บเป็นไส้ไก่สลับสี เวลาคาดเอวจะทิ้งชายลงมาทางด้านหน้า ส่วนเด็กๆ ยังคงสวมใส่ชุดประจำาเผ่า ให้เห็นโดยทั่วไป การแต่งกายลีซอ การแต่งกายผู้ชายชาติพันธุ์ลีซอ การแต่งกายผู้หญิงชาติพันธุ์ลีซอ

เชือกหางลีซอ

ด้านหน้าของกางเกง เชือกลีซอจึงสะท้อนถึงเอกลักษณ์การแต่งกายประจำาเผ่าของชาวลีซอที่โดดเด่นและมีความชัดเจน

ผู้หญิงชาวลีซอเมื่ออายุ ประมาณ 7-8 ปี จะต้องเริ่มเรียนรู้และฝึกฝนการเย็บเชือกลีซอจากผู้เป็นแม่ การเย็บเชือกลีซอเป็นการเย็บด้วยมือ

ให้มิดจนสนิทแน่นจนมองไม่เห็นเส้นด้ายภายในและมองไม่เห็นรอยฝีเข็มที่ใช้ในการเย็บด้วย

จึงจะได้เชือกลีซอที่สมบูรณ์และสวยงาม การเย็บเชือกลีซอจึงถือได้ว่าผู้เย็บจะต้องใช้ทักษะ ฝีมือเป็นอย่างมาก เพราะกว่าจะเย็บได้แต่ละเส้นต้องใช้ทั้งทักษะ ความชำานาญ และสายตาของผู้เย็บ

หางลีซอ ถือเป็นส่วนหนึ่งประกอบเครื่องแต่งกายของชนเผ่าลีซอ ใช้เป็นสิ่งแสดงเอกลักษณ์ประกอบชุดการแต่ง กายประจำาเผ่าที่โดดเด่น ซึ่งจะสวมใส่กันเฉพาะในโอกาสพิเศษ หรือพิธีกรรมที่สำาคัญๆ โดยหญิงชาวลีซอจะนำาหางลีซอ นับเป็นร้อยๆ เส้นนี้ห้อยประดับไว้ที่เอวบริเวณด้านหลังของกางเกง
เชือกลีซอจึงเป็นสิ่งจำาเป็นและผูกพันในวัฒนธรรมการแต่งกายประจำาเผ่าลีซอที่มีมาช้านาน
โดยใช้เทคนิคการเย็บหุ้มชายผ้าสีที่ตัดเป็นริ้วเล็กๆ
อยู่ด้านใน
ฝีเข็มในการเย็บตลอดเส้น จะต้องถี่และละเอียดที่สุด
ส่วนผู้ชายชาวลีซอจะนำาหางลีซอมาห้อยเอวติดไว้
ทั้งสองด้านให้ปิดเส้นด้ายสีขาวที่เย็บเป็นไส้ไก่ขนาดเล็กๆ
หางลีซอ
ลีซอมีความเชี่ยวชาญในการเย็บผ้าเป็นเส้นเล็กๆ ยาวประมาณ 8 นิ้ว – 12 นิ้ว มีสีสันสดใสเพื่อนำามามัดรวม กัน ติดปลายแต่ละเส้นด้วยกระจุกด้ายเล็กๆ สวยงาม เพื่อใช้เป็นพู่ประดับผ้าคาดเอวทั้งชายและหญิง เพื่อสวมใส่ใน โอกาสสำาคัญ จำานวนไส้ไก่มัดหนึ่งๆ ต้องมากกว่า 100 เส้น ขั้นตอนในการเย็บไส้ไก่นั้น เริ่มจากการนำาผ้าที่ตัดได้ขนาดโดยมีความยาวประมาณ 2 เมตร ส่วนความกว้างของ ผ้านั้นจะขึ้นอยู่กับความใหญ่ - เล็กของเส้นเชือก จากนั้นนำาเส้นฝ้ายหรือเส้นเชือกมาเคลือบด้วยขี้ผึ้งเพื่อทำาให้เส้นเชือก มีความแข็งตัว หลังจากนั้นจึงนำาผ้ามาหุ้มเส้นเชือก และเริ่มทำาการสอยผ้าให้พอดีกับขนาดของเส้นเชือก โดยพับริมผ้า เข้าข้างใน เมื่อทำาการสอยจนสุดปลายเชือก แล้วจึงเย็บตกแต่งด้วยลูกไหมพรมที่มีสีสันสดใส ซะหยือคือแม่แล่ การเย็บหางลีซอ การเย็บหางลีซอ
กรรไกร เส้นเชือก ด้ายเย็บผ้า ขี้ผึ้ง เข็มเย็บผ้า ผ้า
อุปกรณ์ท�าเชือกลีซอ
หางลีซอ

เงื่อนเกล็ดปลา มัดปมสี่เหลี่ยม

วิธีถักเชือกลีซอ

(หลักซ้าย) การมัดพิคอท (หลักขวา)

การมัดพิคอท

เงื่อนตามังกร 10 มุม

เงื่อนตามังกร 15 มุม

เงื่อนเหรียญคู่

เอกสารประกอบการบรรยายและฝึกอบรม : เรื่อง "ถักรักจากลีซอ" จัดทำาโดย : โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน)

www.robertharding.com

www.lookiwasthere.com

www.photoontour.com

www.openbase.in.th

www.oknetion.net.blong/freesoultly

Facebook : www.facebook.com/ChiangmaiCCFA

Instagram : Chiangmai_creativecity

Line @ : chiangmaiccfa

Website : www.chiangmai-cityofcrafts.com

ประธานที่ปรึกษาโครงการ : รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ปีที่พิมพ์ : กันยายน 2560 พิมพ์ที่ : คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ้างอิงข้อมูลจาก : ผ้าชาวเขา : กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม บทความ "เชือกลีซอ : เส้นสายหลากหลายสีสัน หัตถกรรมเย็บมือของชนเผ่าลีซอ" โดย อัมพวัน พิชาลัย พิพิธภัณฑ์ผ้าในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ภาพประกอบ : อาณัฐพล ชัยศรี ศูนย์วัฒนธรรมเชียงใหม่
ออกแบบปก : อาณัฐพล ชัยศรี ออกแบบรูปเล่ม : ธนกร สุธีรศักดิ์ ติดต่อ

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.