พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชด�าเนินขึ้นไปยังดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2513
เพิ่มรายได้ให้เขาอยู่ได้
ไม่ใช่น�าความเจริญจากภายนอกเข้ามา ให้ท�านุบ�ารุงสิ่งที่ดีที่เหมาะสมกับเขา.....” พระราชด�ารัส สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
“....พระเจ้าอยู่หัวรับสั่งว่า ที่บนภูเขานี้เป็นของชาวเขาอยู่มาดั้งเดิม ควรให้เขาดูแลต่อไป ให้เขาอยู่ไปตามวิสัยเขา ให้เขาอยู่อย่างธรรมชาติ เราเพียงมาช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต
ให้หมู่บ้านเล็ก ๆ ค่อยขยายตัวออกไปเอง
องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ มีอ� า นาจหน้าที่ในการพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ในหลายด้าน
และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่ให้ด�ารงอยู่และสืบทอดสู่คนรุ่นต่อไป
(Creative Hub of ASEAN)
ที่ผ่านมาจังหวัดเชียงใหม่ได้มีการจัดการศึกษารวบรวมและจัดท�าข้อมูลเบื้องต้นของเมืองเชียงใหม่
เตรียมการเป็นเครือข่ายสมาชิกเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO ซึ่งกระบวนการด�าเนินงานจ�าเป็นต้องมีการ
“โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะ
โดยมุ่งหวังให้เกิดการท�างานร่วมกันอย่างบูรณาการกับองค์กรภาครัฐ เอกชน ชุมชน
อาชีพของจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อร่วมกันผลักดันให้จังหวัดเชียงใหม่สามารถเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การ
UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน) อันจะสามารถสร้างชื่อเสียงให้กับประเทศไทยในระดับสากล จาก ทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ต่อไป องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
และจารีต ประเพณี
เพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนในท้องถิ่น
ได้วางแนวทางปฏิบัติใน ส่วนที่เกี่ยวข้องกับทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงใหม่ใน 3 ข้อ คือ • ส่งเสริมสนับสนุนให้ท้องถิ่นด�าเนินกิจกรรมร่วมกับองค์กรต่างๆ ท�างานอย่างบูรณาการ เพื่อให้เกิด ความตระหนัก ในการด�าเนินกิจกรรมในด้านการศาสนา การฟื้นฟูจารีตประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ของเชียงใหม่และชนเผ่าที่หลากหลาย • ส่งเสริมสถาบันทางการศึกษาและสถาบันทางสังคมต่างๆ ให้มีบทบาทส�าคัญในการอนุรักษ์ ท�านุบ�ารุง รักษา สืบทอด พัฒนา มรดกทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีอันดีงาม ตลอดจนสถาปัตยกรรมโบราณ และแหล่งประวัติศาสตร์ของจังหวัดเชียงใหม่ • สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านศิลปะ วัฒนธรรมสู่ท้องถิ่น และศาสนสถาน โดยร่วมกับ องค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และองค์กรที่ท�างานเพื่อสังคมในประเทศและต่างประเทศ เพื่อร่วมพัฒนาเมือง เชียงใหม่สู่เมืองแห่งการสร้างสรรค์ทางศิลปะและวัฒนธรรม (Creative City of Arts and Culture) ซึ่งแนวทางปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 11 ที่ให้ความส�าคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยการส่งเสริมการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์ (Creative City) ในระดับภูมิภาคและท้องถิ่น เพื่อให้ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางเครือข่ายการผลิต การค้า และการบริการของ ธุรกิจสร้างสรรค์ของภูมิภาคอาเซียน
ทั้งเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา การสาธารณสุข การส่งเสริมอาชีพ สาธารณูปโภค ทรัพยากรธรรมชาติ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
เพื่อ
ศึกษาทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก รวมถึงต้องมีการปฏิบัติการอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งส่วนนโยบายและการปฏิบัติการ ในการนี้องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ จึงได้จัดท�าโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ภายใต้ชื่อ
พื้นบ้าน)”
ภาคการศึกษาและ
ความหลากหลายทั้งหลายเหล่านี้ได้ส่งผลให้ตัวเมืองเชียงใหม่นั้นเป็นเมืองที่มีมนต์เสน่ห์และ
ซึ่งในครั้งนี้ทางโครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์
UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน) ได้น� า เสนอหนึ่งในงานหัตถกรรมที่
เด่นทางด้านการสร้างลวดลายลงบนผืนผ้าจากเทคนิคการเขียนเทียน
ชื่นชมกับภูมิปัญญาของชาติพันธุ์ม้งนั้น คือทุกอย่างที่น�ามาใช้ในการสร้างงานหัตถกรรมนั้น
เชียงใหม่ ดินแดนแห่งอารยธรรมอันหลากหลายทั้งทางด้านวัฒนธรรม งานหัตถกรรม และกลุ่มชาติพันธุ์ ที่มีการอาศัยและด�ารงอยู่ร่วมกันมาอย่างช้านาน โดย
ขององค์การ
น่าค้นหาอยู่ตลอดเวลาอย่างไม่รู้จบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทางด้านของวัฒนธรรม ประเพณี และงานหัตถกรรมที่มีความโดดเด่น ที่แตกต่างกันออกไปตามสภาพของพื้นที่และกลุ่มชน
สะท้อนถึงวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งบนพื้นที่ดอยปุย จังหวัดเชียงใหม่ ที่มีความโดด
ที่สืบต่อกันมาอย่าง ช้านานจวบจนปัจจุบัน โดยการเขียนเทียนของชาติพันธุ์ม้งนั้นมีความละเอียดและ ประณีต ลวดลายสะท้อนมาจากวิถีชีวิตของผู้คนในชาติพันธุ์ ซึ่งผู้ที่จะสามารถท�าออกมาได้ สวยงามนั้นจะต้องอาศัยความอดทนและความช�านาญอย่างสูง และสิ่งส�าคัญที่เป็นสิ่งที่หน้า
ล้วนมาจากธรรมชาติและสิ่งใกล้ตัวทั้งสิ้น ซึ่งส่งผลให้ผลงานที่ถูกสร้างออกมานั้นควรค่าแก่ การเก็บและรักษาไว้เป็นอย่างยิ่ง
เส้น สาย ลาย เทียน H’mong Batik งานหัตถกรรมของกลุ่มชาติพันธุ์นับตั้งแต่ อดีตจวบจนปัจจุบันถือเป็นงานที่แสดงและ สะท้อนถึงภูมิปัญญา วิถีชีวิต และ วัฒนธรรมอันชาญฉลาดทางด้านแนวคิด โดยการน� า เอาสิ่งที่มีอยู่ใกล้ตัวมาสร้าง สรรค์ให้เกิดเป็นงานหัตถกรรมขึ้นเพื่อตอบ สนองต่อการด� า รงชีวิตในหลากหลายด้าน เช่น เครื่องใช้ เครื่องนุ่งห่มหรือเครื่อง ประดับ ได้อย่างงดงามและลงตัว โดยเกิด จากการหยิบยกวัสดุที่น� า มาใช้ สีสันจาก ต้นไม้ที่น� า มาย้อม รูปทรงของลวดลายที่ น�ามาเป็นแรงบันดาลใจ มาสร้างสรรค์ให้ เกิดเป็นงานหัตถกรรมที่มีงดงามเข้าด้วย กันอย่างละเอียดประณีต ซึ่งกลุ่มชาติพันธุ์ที่ อาศัยอยู่ในประเทศไทยนั้น มีหลากหลาย กว่า 20 กลุ่มชาติพันธุ์ โดยยังคงความเป็น เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของตนไว้ ซึ่งหนึ่ง ในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ยังคงมีการสืบทอด และคงความเป็นเอกลักษณ์ของตนไว้มา จนถึงปัจจุบันนี้ได้เป็นอย่างดีก็ คือกลุ่มชา ติพันธุ์ม้ง ที่ยังคงมีการสืบทอดและ รักษาไว้ซึ่งการแต่งกายที่มีความเป็น เอกลักษณ์ที่สวยงามและโดดเด่น โดย เฉพาะในเรื่องของการเขียนเทียนลงบน ผืนผ้า ซึ่งการท�าผ้าลายเขียนเทียนนี้ถือเป็น งานหัตถกรรมที่ส�าคัญของชาติพันธุ์ม้งและ ได้รับการสืบทอดกันมาจากรุ่นลูกสู่รุ่น หลานในหลายชั่วอายุคนและยังคงรักษา
เทียนของชาติพันธุ์ม้งนั้นจะมีลักษณะ ลวดลายการเขียนที่แตกต่างกันหลายรูป แบบ ซึ่งจะน�าไปสู่การตีความหมายของ ลวดลายซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันไป ซึ่งรวม ไปถึงการเชื่อมโยงถึงวัฒนธรรม ความเชื่อ และวิถีชีวิตของชาติพันธุ์ม้ง จวบจนปัจจุบัน
ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวได้เป็น อย่างดี ลักษณะลวดลายของผ้าลายเขียน
การทอผ้าถือเป็นวัฒนธรรมที่อยู่ควบคู่กับทุกกลุ่มชาติพันธุ์มาอย่างช้านาน เช่นเดียวกับกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเขาเผ่าม้งที่มีการทอผ้าด้วยกรรมวิธีที่โดดเด่นทั้งตัว วัสดุที่น�ามาใช้และด้วยเทคนิคในการทอ ซึ่งการทอผ้าของชาติพันธุ์ม้งนั้นจะน�าต้น
เมื่อตีเกลียวใยกัญชงแล้วจึงดึงด้ายจากแกนเข้าเครื่อง
เพื่อจัดด้ายให้เป็นไจเก็บไว้ต่อไปส�าหรับทอเป็นผืนผ้า
การเตรียมเส้นใย
ใยกัญชงมาใช้เป็นวัสดุในการถักทอให้เกิดเป็นเครื่องนุ่งห่ม โดยกรรมวิธีในการ ผลิตนั้นจะเริ่มจากการน� า เปลือกของต้นใยกัญชงที่แห้งสนิทจะถูกน� า มาฉีกออก เป็นเส้นๆเพื่อที่จะให้ได้เส้นด้ายที่มีขนาดเล็กเหมาะแก่การทอผ้า หลังจากนั้นจะ น� า เส้นใยไปต� า ในครกกระเดื่องเพื่อให้เปลือกนอกที่หุ้มติดกับเส้นใยหลุดออกไป เหลือแต่เส้นใยแท้ๆ ซึ่งจะมีความอ่อนสะดวกแก่การปั่นและกรอ เส้นใยที่ผ่านการ ต� า เอาเปลือกออกจะถูกน� า เอามาพันม้วนเป็นก้อนโดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า “ตีนดั่ว” โดยในขณะที่น�ามาม้วนพันแกนไม้จะมีการต่อเส้นใย จะใช้นิ้วมือขยี้ส่วน ปลายให้ติดเป็นเนื้อเดียวกัน จากนั้นน�าไปจุ่มน�้าร้อนให้อ่อนตัวและน�าไปตีเกลียว โดยน�าผ่านเข้าเครื่องตีเกลียว “ชั่วดั่ว” เส้นใยที่ผ่านการปั่นเป็นเกลียวแล้วจะกรอ ไว้ในแกนที่เรียกว่า “ฮซาย”
ท�าไจด้ายที่เรียกว่า “โกลิ”
ต้นใยกัญชง ฮซาย เส้นใยกัญชง ชั่วดั่ว (เครื่องตีเกลียว)
การทอผ้า
กี่ทอผ้าของชาติพันธุ์ม้งจะมีความแตกต่างจากกี่ทอผ้าของชาวชาติพันธุ์อื่นๆและ จะมีความสลับซับซ้อนซึ่งผู้ที่จะใช้กี่ชนิดนี้จะต้องมีการฝึกฝนมาเป็นเวลานาน
โดย
เมื่อจะเริ่มทอผ้าจะต้องมีการกะปริมาณเส้นใยที่จะน�ามาใช้โดยจะทอผ้าที่มีความ ยาวประมาณ
ด้วย
10-16 วา มีหน้ากว้างประมาณ 10-12 นิ้วหรือประมาณ 120 เส้น
ด้าย ฉะนั้นการกะปริมาณด้ายจึงต้องใช้วิธีการกะจากความยาวโดยเอาไจฝ้ายคล้อง กับหลัก เรียกขั้นตอนนี้ว่า “ซอจ่อมดอ” การสาวด้ายจะท�าในบ้านเท่านั้น เพื่อกัน ฝุ่นและสัตว์เลี้ยง โดยจะเริ่มท�าในช่วงเช้า เพื่อให้เสร็จภายในวันเดียวและเมื่อทอผ้า
โดยวิธีการบดทับด้วยหินกับขอนไม้เพื่อให้ผ้ามีความเรียบและพร้อมส� า หรับขั้น ตอนในการเขียนลวดลายด้วยขี้ผึ้งเป็นล�าดับต่อไป อัวดู่ การทอผ้าชาติพันธุ์ม้ง การรีดผ้าใยกัญชง
เสร็จแล้วนั้นจะต้องน�าผ้าไปต้มกับน�้าขี้เถ้าอีกครั้งหนึ่งโดยนิยมใส่ผงซักฝอกลงไป
เพื่อให้ผ้าขาวสะอาด และน�าไปตากให้แห้ง จากนั้นน�ามารีดให้เรียบอีกครั้ง
การเขียนลวดลาย
ขั้นตอนในการสร้างลวดลายลงบนผืนผ้าของชาวเขาเผ่าม้งนั้นเริ่มจากการน�าขี้ผึ้ง มาละลายให้ร้อนและเหลวโดยการควบคุมอุณหภูมิอยู่ตลอดเวลาด้วยการใส่ถ่าน หรือใช้ขี้เถ้าอังเพื่อคงความร้อน จากนั้นน�าผ้าที่ทอเรียบร้อยมาสร้างตารางสี่เหลี่ยม
จัตุรัส ขนาดของสี่เหลี่ยมประมาณ 2-3 เซนติเมตร โดยตารางทุกช่องจะมีขนาดเท่า กัน จากนั้นน�าปากกาเขียนขี้ผึ้งที่ชาวชาติพันธุ์ม้งเรียกว่า “อั่วต้า” (Tjanting) โดย น�าปากกาไปจุ่มขี้ผึ้งแล้วน�ามาเขียนลงบนผ้าให้เกิดเป็นลวดลายต่างๆซึ่งลักษณะ ของลวดลายบนผ้าเขียนเทียนของ ชาติพันธุ์ม้งนั้น จะมีลักษณะของรูปทรงเป็น เส้น หรือเป็นรูปทรงเหลี่ยมมุมต่างๆ ซึ่งเกิดจากลวดลายพื้นฐานของรูปทรง เรขาคณิต ปากกาเขียนขี้ผึ้งของชาติพันธุ์ม้งนั้นเรียกว่า “อั่วต้า” ซึ่งท�าจากแผ่นเหล็ก หรือแผ่นทองเหลือง การใช้อั่วต้าวาดลวดลาย ละลายขี้ผึ้งให้เหลว เซากั๋งเจี่ย
เขียนลายเสร็จเรียบร้อยแล้วไปแช่ในน�าขี้เถ้าที่ผ่านการกรองมาแล้วเพื่อเป็นการให้
การย้อมและหลังจากผ่านการย้อมเพื่อให้ได้สีแล้วจะน�ามาตากให้แห้งในที่ที่อากาศ ถ่ายเทสะดวก เมื่อผ้าแห้งแล้วจึงน�าผ้ามาต้มเพื่อท�าการลอกขี้ผึ้งออกจากผ้า
หลังจากเขียนลวดลายเสร็จเรียบร้อยแล้วนั้นล�าดับถัดมาคือ
ผ้าท�าปฏิกิริยาในการติดสีที่ดีขึ้น หลังจากนั้นน�าผ้ามาแช่ลงในถังสีย้อม ซึ่งสีที่ใช้ ย้อมนั้นได้มาจากการหมักและตีของต้นคราม โดยจะท�าการแช่ผ้าและน�าออกมาให้ โดนอากาศเพื่อการเกิดปฏิกิริยาของสี โดยความเข้มของสีจะขึ้นกับระยะเวลาใน
และ เมื่อเสร็จสิ้นครบกระบวนวิธีก็จะได้ผ้าที่มีลวดลายและสีสันที่สวยงาม ต้นฮ่อม หม้อย้อมฮ่อม ผ้าที่ผ่านการย้อมสี ผ้าที่ผ่านการต้มเพื่อลอกขี้ผึ้งออก เจ่าเด๊ะ
การย้อม
การน�าผ้าที่ผ่านการ
รูปแบบลวดลายจากผืนผ้า ลวดลายที่ปรากฏบนผืนผ้านั้นจะมีลักษณะเป็นรูปเส้น เหลี่ยม มุม ซึ่งมีพื้นฐานที่ เกิดจากรูปทรงเรขาคณิต โดยชาวม้งเชื่อว่ารูปแบบลวดลายนี้มีการเรียนรู้ที่สืบทอด กันต่อๆ มาจากบรรพบุรุษ ซึ่งลวดลายบางลายออกแบบเพื่อใช้ในการตกแต่งมา โดยเฉพาะ หรือมีการเปลี่ยนแปลงลวดลายมาจากถิ่นฐานทางตอนเหนือและทาง ตอนใต้ โดยตัวของลวดลายจะเป็นตัวบ่งบอกถึงประเพณี เรื่องราว สื่อความหมาย ที่เกี่ยวข้องกับชนเผ่าม้ง ซึ่งทุกลวดลายจะมีการตีความหมายไว้ ดอกฟักทอง เม็ดแตงกวา ตีนแมว ดอกแตงกวา หอยทาก (ทางตรง) เฟิร์น เหรียญ ภูเขา หอยทาก (ด้านข้าง)
เอกสารประกอบการบรรยายและฝึกอบรม เรื่อง "เส้น สาย ลาย เทียน : H'mong Batik Doi Pui" จัดท�าโดย : โครงการขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่เป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ ขององค์การ UNESCO (สาขาหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน) ประธานที่ปรึกษาโครงการ : รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ ปีที่พิมพ์ : สิงหาคม 2560 พิมพ์ที่ : คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาพประกอบ : อาณัฐพล ชัยศรี โพสต์ทูเดย์ ออนไลน์ ดอทคอม , 16 พฤศจิกายน 2559. เว็บไซต์ chiangmai.bangkok.com ออกแบบปก : อาณัฐพล ชัยศรี ออกแบบรูปเล่ม : ธนกร สุธีรศักดิ์ ติดต่อ FB : www.facebook.com/ChiangmaiCCFA Instagram : Chiangmai_creativecity เว็บไซต์ : www.chiangmai-cityofcrafts.com