ก า ร ศ ก ึ ษา ร ป ู แ บ บ แล ะ ล ว ด ล า ย
ผ า ้ ห ล บ ไ ทล ื ้ อเ มื อ ง เ ง ิ นแข ว ง ไ ช ย บุ ร ี
ส า ธ า ร ณร ั ฐ ปร ะ ช า ธ ิ ปไ ต ย ปร ะ ช า ช นล า ว
การศึกษารูปแบบและลวดลาย “ผ้าหลบ” ไทลื้อ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
โดย นายธนกร สุธีรศักดิ์ รหัสนักศึกษา 560310096
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา 104494 การศึกษาเฉพาะบุคคลด้านศิลปะไทย 1 ( Individual Study in Thai Art 1 ) ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2559
ก
กิตติกรรมประกาศ ในการศึกษาเรื่องการศึกษารูปแบบและลวดลาย “ผ้าหลบ” ไทลื้อ เมืองเงิน แขวงไชยะ บุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ครั้งนี้ขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์เธียรชาย อักษรดิษฐ์ และอาจารย์ ดร. สืบศักดิ์ แสนยาเกียรติคุณ ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษาและคาแนะนาที่ดี ในการศึกษาในครั้งแรกของข้าพเจ้าให้ได้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ กันต์ พูนพิพัฒน์ ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ผา้ หลบไทลือ้ เมืองเงิน ในการเก็บข้อมูลและบันทึกภาพ ขอบพระคุณแม่แสงนวล แหวนคา , แม่แสงยอด เพชรปัญญา , แม่แสงเมือง เขียวสีฟ้า , แม่จันทร์แก้ ว และแม่ใ หม่ วงสุ ว รรณ , แม่มี ศรธรรม , แม่คันคา เปร่งแสงแก้ว , แม่คา สุท ธิ โวหารย์ , แม่คา ใจโพธิ์ , แม่บัวแซง แพรศรีนวล และ แม่ชม ใจแก้ว ที่ได้เอื้อเฟื้อและอนุเคราะห์ผ้า หลบไทลื้อ เมืองเงิน ในการเก็ บ ข้อมูลและบันทึก ภาพ ขอขอบคุณ อ้ายเพชร เพชรปัญ ญา ที่ อานวยความสะดวกสาหรับการเดินทางภายในเมืองเงิน สปป, ลาว ขอขอบคุณ นางวิรัตน์ สุธีร ศักดิ์ ที่คอยสนับสนุนในทุก ๆ ด้านสาหรับการศึกษาในครั้งนี้ และสุดท้ายนี้ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วน เกีย่ วข้องทุกท่าน ทั้งที่ได้กล่าวรายนาม และยังไม่ได้กล่าวรายนามเป็นอย่างสูง
ข
หัวข้อการศึกษาเฉพาะเรื่อง ชื่อ ภาควิชา ปีการศึกษา
การศึกษารูปแบบและลวดลาย “ผ้าหลบ” ไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว นายธนกร สุธีรศักดิ์ รหัสนักศึกษา 560310096 ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2559
บทคัดย่อ การศึกษารูปแบบและลวดลาย “ผ้าหลบ” ไทลื้อ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว มีจุดประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบศิลปกรรมและรวบรวมลักษณะของ ลายผ้าในผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน และเพื่อศึกษารูปแบบศิลปะและกระบวนการทอผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การศึกษารูปแบบศิลปกรรมและลวดลายผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน นั้นจากการศึกษาทั้ง ภาคเอกสารและการลงพื้นที่จริงพบว่า ในอดีตชาวไทลือ้ ทุกหลังคาเรือนจะมีการทอผ้าทุกบ้าน โดย จะเห็นได้จากบริเวณหน้าบ้านหรือใต้ถุนบ้านจะมีกี่ทอผ้าตั้งไว้อยู่ เมื่อสตรีชาวไทลื้อว่างจากงาน เกษตรกรรม หรืองานบ้านแล้วนั้นก็จะทาการทอผ้า ไม่ว่าจะเป็น ผ้าซิ่น หรือเครื่องนุ่งห่ม หรือ เครื่องใช้ในครัวเรือน อาทิ ผ้าหลบ ผ้าห่ม เป็นต้น โดยในการทอผ้านั้นจะเป็นบริบทหน้าที่ของสตรี ชาวไทลือ้ โดยจะได้รับการปลูกฝังตัง้ แต่เด็ก โดยมีการเริ่มเรียนรู้การทอผ้าประมาณอายุราว 7 – 8 ปี เนื่องจากในสมัยก่อนการได้รับการศึกษาในแถบชนบทหรือชานเมืองยังไม่เป็นที่เฟื่องฟูเท่าไหร่นัก โดยการเรียนรู้การทอผ้าสตรีชาวไทลื้ อจะได้รับการปลูกฝัง อบรมสั่งสอนจากมารดา ยาย หรือ ญาติผู้ใหญ่ภายในบ้านที่เป็นผู้หญิง ซึ่งคอยสั่งสอนหน้าที่ของกุลสตรี งานบ้าน งานเรือน และการ ทอผ้า โดยจะเริ่มหัดทอผ้าจากการทอถุงย่าม หรือผ้าเช็ดน้อย จากเทคนิคขัดสานแบบธรรมดาที่ เรียกว่า ผ้าฮา แล้วค่อยฝึกฝนและพั ฒนาการไปสู่เทคนิคที่มีความละเอียดสูงเช่น เทคนิคการทอย กดอก การขิด(มุก) การจก เกาะ ที่มีความยากขึ้นไปตามลาดับ โดยเมื่อสตรีชาวไทลื้อพร้อมที่จะ ออกเรือนหรือมีครอบครัวแล้วนั้นจะเริ่มมีการทอผ้าหลบ ซึ่งคือ ผ้าปูที่นอน ที่ใช้ปูทับลงบนฟูกหรือ สะลีอีกทีหนึ่ง โดยในอดีตสตรีชาวไทลื้อที่จะแต่งงานพร้อมออกเรือนจะต้องเตรียมผ้าทอที่ใช้สอย ในครัวเรือนต่าง เช่น สะลี ผ้าห่ม ผ้าหลบ ไว้ให้พร้อมเป็นจานวนหลายชุด โดยผ้าหลบจะมีการทอ
ค
อย่างน้อย 4 – 6 ผืน เพื่อใช้ในชีวิตครอบครัวใหม่ ตลอดจนใช้เป็นของไหว้ญาติผู้ใหญ่ฝุายชาย และ พร้อมเก็บไว้ใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ อีกต่างหาก การศึก ษาลวดลายบนผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน จากการศึก ษาพบว่ากระบวนการหรือ เทคนิคในการสร้างลายบนผืนผ้าหลบเกิดจาก เทคนิคการขิด และมีการใช้เทคนิคจก เป็นการสร้าง ลวดลายลงบนผืนผ้าเป็นเทคนิครองลงมา โดนเทคนิคจกของชายไทลื้อ เมืองเงินนั้นถือเป็นการ ได้รับอิทธิพลทางการทอผ้ามาจากชาวไทลาว ซึ่งมีความสามารถทางด้านเทคนิคการจกเป็นอย่างดี แต่อย่างไรก็ตามเมื่อนาทั้งสองเทคนิคมาสร้างลวดลายลงบนผืนผ้าหลบแล้วเป็นความลงตัวกัน อย่างสมบูรณ์ โดยไม่มีความขัดแย้ง หรือข้อเสียใด ๆ ให้ได้ พบเห็น และจากการจาแนกลักษณะ ของลวดลาย ซึ่งสามารถจาแนกออกได้เป็น 3 รูปแบบ คือ ลวดลายเรขาคณิต ที่เกิดจาก จุด และ เส้น รวมตัวประกอบเข้าด้วยกันจนกลายออกมาเป็นรูปทรงต่าง ๆ และ ลวดลายพรรณพฤกษา ที่ ได้รับแรงบัลดาลใจมาจากสิ่งแวดล้อมที่อยู่ตามธรรมชาติ ต้นไม้ ดอกไม้ ลักษณะของสรรพสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ จนนามาสร้างสรรค์เกิดเป็นลวดลายขึ้น และรูปแบบสุดท้ายคือ ลวดลายรูปสัตว์ โดยมีการนาทั้งสัตว์ที่มีการพบเห็นในชีวิตประจาวันตามธรรมชาติ และการนาสัตว์ในคติความเชื่อที่ มีอทิ ธิพลทางด้านความเชื่อและจิตใจมาสร้างเป็นลวดลายขึ้น เพื่อเป็นการสื่อความหมายและสร้าง ความสวยงามให้กับผืนผ้า การศึกษาในครั้งนีท้ าให้ได้พบเห็น และได้รับรู้ขอ้ มูลเกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวไทลื้อ ในเมือง เงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทั้งจากอดีตและในปัจจุบันโดยผ่าน วัฒนธรรมการทอผ้าและการใช้ ผ้า ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตของชาวไทลื้อ เมืองเงิน เป็น อย่างมากทั้งกระบวนการทอผ้าเพื่อใช้มนชีวิตประจาวัน พิธีกรรมสาคัญต่าง ๆ และลวดลายบนผืน ผ้าที่ลว้ นเกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อมโดยรอบทั้งจากธรรมชาติและความเชื่อทางคติต่าง ๆ ที่สืบทอด ต่อเนื่องกันมาหลายช่วงจนถึงปัจจุบัน และยังได้พบเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมการทอ ผ้าของชาวไทลือ้ เมืองเงินที่เปลี่ยนไปจากอดีตเพื่อจุดประสงค์ที่แตกต่างออกไปจากเดิม ทั้งสาเหตุ และปัจจัยต่าง ๆ ที่สง่ ผลให้ชาวไทลือ้ เมืองเงินต้องปรับเปลี่ยนกรรมวิธีในการทอผ้าและการใช้ชีวติ
ง
คำนำ รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา 104494 การศึกษาเฉพาะบุคคลด้านศิลปะ ไทย 1 ( Individual Study in Thai Art 1 ) โดยทาการศึกษาถึง รูปแบบและลวดลาย “ผ้าหลบ” ไท ลื้อ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิป ไตยประชาชนลาว ซึ่งเป็นการรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของเมืองเงิน และกลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อในเขตเมืองเงิน แขวงไชยะ บุรี สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมการทอ และการใช้ผา้ หลบ ไทลือ้ ในวิถีชีวติ ของชาวไทลือ้ ในเขตเมืองเงิน รวมทั้งกระบวนการการทอผ้า เทคนิคการสร้างลวดลาย ชนิด และความหมายของลวดลายบนผืนผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผ้าหลบ คือ ผ้าปูที่นอน ซึ่งใช้ปูทับลงบนฟูกหรือสะลีอีกทีหนึ่ง ผ้าหลบของชาวไทลื้อจะมี ลักษณะเด่นอยู่ที่การทอลายขิดและการจกในการตกแต่ง ซึ่งในงานวิจัยนี้มุ่งที่จะศึกษา “ผ้าหลบ” (ผ้าปูที่นอน) ในเขตเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี ซึ่งเป็นผ้าที่มีความเกี่ยวโยงในวิถีชีวิตของชาวไทลื้อ ทั้ง ในด้านวิถีชีวิต การดาเนินชีวิต ทางด้านพิธีกรรมทั้งทางด้านพุทธศาสนา และพิธีกรรมทางความ เชื่อ ซึ่งผ้าหลบเป็นผ้ามีลักษณะที่โดดเด่นในเรื่องเกี่ยวกับลวดลายที่มีการทอสร้างสรรค์ลวดลาย มากมายลงบนผืนผ้า ซึ่งผ้าเพียงหนึ่งผืนจะมีลายประกอบอยู่เป็นจานวนมาก ซึ่งเปรียบเสมือนเป็น แหล่งที่เก็บรวบรวมและสะสมของลวดลายในการทอผ้าของชาวไทลื้อ ลวดลายที่อยู่บนผืนผ้าหลบ นั้นเปรียบกับแม่แบบของลวดลายต่าง ๆ ที่ จะนามาสร้างสรรค์ต่อเป็น ซิ่น เสื้อ ถุงย่าม และงานสิ่ง ทอไทลือ้ อีกมากมาย ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การศึกษาในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์แก่ตัวผู้วิจัยเอง และผู้ที่มี ความสนใจในเรื่องนี้ หากมีข้อผิดพลาดประการใดทางผู้วจิ ัยต้องกราบขออภัยมา ณ ที่น้ดี ว้ ย
นายธนกร สุธีรศักดิ์
จ
สารบัญ กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ คานา สารบัญ สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของการทาวิจัย 1.2 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 1.3.1 ขอบเขตด้านเนือ้ หา 1.3.2 ขอบเขตด้านพื้นที่ 1.4 ระเบียบวิธีวิจัย 1.4.1 วิธีวิจัย 1.4.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.4.3. วิธีการเก็บข้อมูล 1.4.4. การวิเคราะห์ข้อมูล 1.4.5. การเสนอข้อมูล 1.5 แผนการดาเนินงาน 1.6 งบประมาณ 1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 ประวัติความเป็นมาของไทลือ้ 2.2 ที่ตงั้ เดิมของดินแดนสิบสองปันนา 2.3 การอพยพของชาวไทลื้อ 2.4 เทคนิคการทอ 2.4.1 ขิด (Coninuous Supplementary Wefl) 2.4.2 จก 2.4.3 เกาะ หรือ ล้วง (Tapestry Weave)
หน้า ก ข ง จ ฌ 1 5 5 5 5 5 5 5 5 6 6 6 7 7
8 9 11 12 12 13 13
ฌ
สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1 : แผนที่แสดงการลงพื้นที่เก็บข้อมูล ณ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป.ลาว ภาพที่ 2 : แผนที่ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศลาว ภาพที่ 3 : ภาพแสดงแผนที่บริเวณฝั่งขวาของแม่น้าโขง : แผนที่จังหวัดล้านช้าง ภาพที่ 4 : ตราประจ้าจังหวัดลานช้างเมื่ออยู่ใต้การปกครองของไทย ( พ.ศ. 2484 - 2489) ภาพที่ 5 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 1 ภาพที่ 6 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 1 ภาพที่ 7 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 2 ภาพที่ 8 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 2 ภาพที่ 9 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 3 ภาพที่ 10 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 3 ภาพที่ 11 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 4 ภาพที่ 12 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 4 ภาพที่ 13 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 5 ภาพที่ 14 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 5 ภาพที่ 15 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 6 ภาพที่ 16 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 6 ภาพที่ 17 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 7 ภาพที่ 18 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 7 ภาพที่ 19 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 8 ภาพที่ 20 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 8 ภาพที่ 21 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 9 ภาพที่ 22 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 9 ภาพที่ 23 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 10 ภาพที่ 24 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 10 ภาพที่ 25 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 11 ภาพที่ 26 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 11 ภาพที่ 27 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 12 ภาพที่ 28 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 12
21 22 40 41 52 54 55 57 56 60 61 63 64 66 67 69 70 72 73 75 76 78 79 81 82 84 85 87
ญ
ภาพที่ 29 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 13 ภาพที่ 30 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 13 ภาพที่ 31 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 14 ภาพที่ 32 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 14 ภาพที่ 33 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 15 ภาพที่ 34 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 15 ภาพที่ 35 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 16 ภาพที่ 36 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 16 ภาพที่ 37 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 17 ภาพที่ 38 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 17 ภาพที่ 39 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 18 ภาพที่ 40 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 18 ภาพที่ 41 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 19 ภาพที่ 42 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 19 ภาพที่ 43 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 20 ภาพที่ 44 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 20 ภาพที่ 45 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 21 ภาพที่ 46 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 21 ภาพที่ 47 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 22 ภาพที่ 48 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 22 ภาพที่ 49 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 23 ภาพที่ 50 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 23 ภาพที่ 51 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 24 ภาพที่ 52 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 24 ภาพที่ 53 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 25 ภาพที่ 54 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 25 ภาพที่ 55 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 26 ภาพที่ 56 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 26 ภาพที่ 57 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 27 ภาพที่ 58 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 27
หน้า 88 90 91 93 94 96 97 99 100 102 103 105 106 108 109 111 112 114 115 117 118 120 121 123 124 126 127 129 130 132
ฎ
ภาพที่ 59 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 28 ภาพที่ 60 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 28 ภาพที่ 61 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 29 ภาพที่ 62 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 29 ภาพที่ 63 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 30 ภาพที่ 64 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 30 ภาพที่ 65 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 31 ภาพที่ 66 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 31 ภาพที่ 67 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 32 ภาพที่ 68 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 32 ภาพที่ 69 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 33 ภาพที่ 70 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 33 ภาพที่ 71 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 34 ภาพที่ 72 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 34 ภาพที่ 73 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 35 ภาพที่ 74 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 35 ภาพที่ 75 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 36 ภาพที่ 76 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 36 ภาพที่ 77 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 37 ภาพที่ 78 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 37 ภาพที่ 79 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 38 ภาพที่ 80 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 38 ภาพที่ 81 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 39 ภาพที่ 82 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 39 ภาพที่ 83 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 40 ภาพที่ 84 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 40 ภาพที่ 85 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 41 ภาพที่ 86 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 41 ภาพที่ 87 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 42 ภาพที่ 88 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 42
หน้า 133 135 136 138 139 141 142 144 145 147 148 150 151 153 154 156 157 159 160 162 163 165 166 168 169 171 172 174 175 177
ฏ
ภาพที่ 89 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 43 ภาพที่ 90 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 43 ภาพที่ 91 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 44 ภาพที่ 92 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 44 ภาพที่ 93 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 45 ภาพที่ 94 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 45 ภาพที่ 95 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 46 ภาพที่ 96 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 46 ภาพที่ 97 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 47 ภาพที่ 98 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 47 ภาพที่ 99 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 48 ภาพที่ 100 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 48 ภาพที่ 101 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 49 ภาพที่ 102 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 49 ภาพที่ 103 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 50 ภาพที่ 104 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 50 ภาพที่ 105 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 51 ภาพที่ 106 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 51 ภาพที่ 107 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 52 ภาพที่ 108 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 52 ภาพที่ 109 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 53 ภาพที่ 110 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 53 ภาพที่ 111 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 54 ภาพที่ 112 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 54 ภาพที่ 113 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 55 ภาพที่ 114 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 55 ภาพที่ 115 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 56 ภาพที่ 116 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 56 ภาพที่ 117 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 57 ภาพที่ 118 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 57
หน้า 176 180 181 183 184 186 187 189 190 192 193 195 196 198 199 201 202 204 205 207 208 210 211 213 214 216 217 219 220 222
ฐ
ภาพที่ 119 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 58 ภาพที่ 120 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 58 ภาพที่ 121 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 59 ภาพที่ 122 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 59 ภาพที่ 123 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 60 ภาพที่ 124 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 60
หน้า 223 225 226 228 229 231
บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญของการทาวิจัย เมื อ งเงิ น เป็ น เมื อ งที่ อ ยู่ ใ นแขวงไชยะบุ รี ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในแขวงการปกครองของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกสุดของประเทศลาว มีพื้นที่ติดกับ ประเทศไทย ทางด้านจังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก และเลย ซึ่งมีความยาวรวม ประมาณ 645 กิโลเมตร ทางทิศเหนือและทิศตะวันออกติดกับแขวงบ่อแก้ว แขวงอุดมไชย แขวง หลวงพระบาง และแขวงเวียงจันทร์ ภูมิประเทศทั่วไปของแขวงไชยะบุรีเป็นภูเขาและที่ราบสูง 1 แขวงไชยะบุรีมีเนื้อที่ทั้งหมด 16,389 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 10 เมือง (เทียบเท่ากับอาเภอ ของประเทศไทย) ได้แก่ คอบ เชียงฮ่อน เงิน หงสา ไชยะบุรี ไชยสถาน เพียง ทุ่งมีไชย ปากลาย แก่นท้าว มีกลุ่มชาติพันธุ์อาศัยอยู่ คือ ชาวไทลาว ชาวขมุ ชาวไทลื้อ ชาวม้ง ชาวปรัย และชาวไทย วน พื้นที่ส่วนใหญ่ของแขวงไชยะบุรี เคยเป็นส่วนหนึ่งของการปกครองของประเทศไทยเมื่อก่อนปี พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904) ซึ่งต่อมาแขวงไชยะบุรีได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส ซึ่งไทยได้ กลับคืนมาชั่วคราวในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) เมื่อได้กลับคืนมาจึงตั้ง ให้เป็นจังหวัดลานช้าง แต่ต่อมาได้มีการทาสนธิสัญญาส่งมอบคืนกลับไปอยู่ภายใต้การปกครอง ของฝรั่งเศสเหมือนเดิมหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) เมืองเงิน มีพ้นื ที่ประมาณ 758 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของแขวงไชยะบุรี โดย อยู่บนฝั่งขวาของแม่น้าโขง มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาและป่าไม้ล้อมรอบด้วยเทือกเขาผีปันน้า ตะวันออกและเทือกเขาหลวงพระบางที่กั้นเขตแดนระหว่างประเทศไทย-ลาว หรือเมืองน่านและ เมืองหลวงพระบาง สภาพมีที่ราบลุ่มเพียงเล็กน้อยตามริมลาห้วยลาธาร แม่น้าสายหลักทั้ง 4 สาย คือ น้ายาง น้าเงิน น้างื่ม และน้าแหวน ที่ตั้งของเมืองเงิน โอบล้อมด้วยเทือกเขา จึงทาให้ในอดีตมี การติดต่อกับเมืองอื่นได้ยาก 2 เมืองเงินประกอบไปด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งสิ้น 6 กลุ่มคือ ไทลื้อ ขมุ 1
มาริ ซากาโมโต, กระบวนการสร้างอัตลักษณ์และความสัมพันธ์ระหว่างชาวขมุกับไทลื้อ : ศึกษาจากวัฒนธรรมผ้าทอในเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป. ลาว, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ธันวาคม 2556 , หน้าที่ 26 2 มาริ ซากาโมโต, กระบวนการสร้างอัตลักษณ์และความสัมพันธุ์ระหว่างชาวขมุกับไทลื้อ : ศึกษาจากวัฒนธรรมผ้าทอในเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป. ลาว, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ธันวาคม 2556 ,หน้าที่ 27
2
ม้ง ลาว ปรัย และไทดา แต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ก็จะแยกย้ายกันอาศัยอยู่ในแต่ละหมู่บ้าน หมู่บ้านของ ชาวไทลื้อ ได้แก่ บ้านางัว บ้านนายางคา บ้านแก้วดอนกูน บ้านหลวงมีไชย บ้านขอน บ้านเพียงาม และบ้านบิหมี หมู่บ้านของชาวขมุ ได้แก่ บ้านดอกเกด บ้านน้าทม บ้านดอนสว่าง บ้านทอง บ้านโฮม ไชย บ้านปากห้วยแคน บ้านห้วยเงย และบ้านปุ่งฝาด และหมู่บ้านของชาวม้ง ได้แก่ บ้านห้วยผึ้ง บ้านผาแดง บ้านบ่อหลวงและบ้านปางบง และส่วนหมูบ่ ้านน้าเงินมีประชากรหลายกลุ่มชน คือ ชาว ลาว ชาวม้ง และชาวลือ้ และบ้านกิ่วงิว้ มีชาวม้งและชาวขมุอาศัยอยู่ด้วยกัน กลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อ “ลื้อ” หรือ “ไทลื้อ” (ออกเสียง “ไตลื้อ”) เป็นคาเรียกขานชนชาติที่ พูดภาษาตระกูลไทกลุ่มหนึ่ง ซึ่งในปัจจุบันอาศัยอยู่กระจัดกระจายทั่วไปเป็นบริเวณกว้าง ทั้งในเขต มณฑลยูนนานตอนใต้ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของรัฐฉานใน ประเทศพม่ า ทางภาคเหนื อ ตอนบนของประเทศไทย ทางตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ของประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ถิ่นฐานดั้งเดิม ของชาวไทลือ้ อยู่บริเวณที่เคยเป็นรัฐจารีตชื่อแคว้นสิบสองพันนา โดยมีเมืองเชียงรุ่งเป็นศูนย์กลาง ของการปกครอง แคว้นนี้มีเนื้อทั้งหมดประมาณ 20,000 ตารางกิโลเมตร อยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 20° 30’ - 22° 30’ เหนือ และเส้นแวงที่ 100° – 101° 30’ ตะวันออก ซึ่งคือบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้ ของมณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนในปัจจุบัน3 กลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อ อพยพเข้ามาอยู่ในเขตสิบสองพันนาทางตอนใต้ของประเทศจีน ใน ราวพุทธศตวรรษที่ 18 แล้วสร้างเมืองเชียงรุ้งขึ้น ชาวไทลื้อนิยมตั้งบ้านเรือนอยู่ตามที่ราบลุ่มแม่น้า และที่ราบระหว่างหุบเขา โดยมีแม่นาโขงเป็ ้ นแม่น้าสายสาคัญ รวมถึงแม่นาสายย่ ้ อยที่ไหลผ่านเมือง ต่าง ๆ ไทลื้อในประเทศลาวได้อพยพเข้ามาแล้วตั้งถิ่นฐานตามลุ่มน้าต่าง ๆ อันได้แก่ ลุ่มน้าอูใน แขวงพงสาลี และหลวงพระบาง ลุ่มน้าทาและลุ่มน้าสิงในแขวงหลวงน้าทา ลุ่มน้าแบงในแขวงอุดม ชัย และลุ่มน้างาวในแขวงบ่อแก้ว และนอกจากนี้ยังมีการอพยพเข้ามาอยู่ในบริเวณที่ราบระหว่าง หุบเขาในแขวงไชยะบุรี อันได้แก่ เมืองเงิน เชียงฮ่อน เชียงลม คอบ หงสา และเมืองเพียง ซึ่งมีกลุ่ม ชาวเมืองเงินส่วนหนึ่งโดยไม่ระบุกลุ่มชาติพั นธุ์ มีถิ่นกาเนิดดั้งเดิมมาจากสิบสองพันนาทางตอนใต้ ของประเทศจีน และอีกส่วนหนึ่งมาจากหลวงน้าทาในราว พ.ศ. 2279 (ค.ศ. 1736) มาตั้งถิ่นฐานอยู่ ที่เมืองเงิน และนอกจากนี้ ยังมีอกี กลุ่มหนึ่งย้ายมาจากเมืองเชียงตุงและเมืองยอง ซึ่งชาวไทลื้อกลุ่ม
3
ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล, มรดกวัฒนธรรมผ้าทอไทลื้อ, ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1 , สิงหาคม 2551 , หน้าที่ 7
3
นี้เรียกตนเองว่า “ไทเขิน” หรือ “ไทยอง” ต่อมาเคลื่อนย้ายมาตั้งหมู่บ้านนางัวและนายาง อยู่ทาง ทิศตะวันออกของเมืองเงิน4 วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวไทยลื้อ อาชีพหลักคือ การกสิกรรม การทานาปลูกข้าว เป็น วัฒนธรรมและวิถีชีวติ ของชาวไทลือ้ สภาพกรตัง้ ถิ่นฐานหมู่บ้านของชาวไทลื้อบ่ง บอกถึงความชาญ ฉลาดในการเลือกหลักแหล่งที่ทามาหากิน การอยู่ติดแม่น้า เช่น สองฝั่งแม่น้าโขง เป็นสถานที่ที่ อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเกษตร คนไทลื้อมีความขยันขันแข็งในการทางาน ส่วนสภาพบ้านเรือน บ่งบอกถึงเศรษฐกิจที่ค่อนข้างดี มีการจัดวางผังหมู่บ้านเป็นระเบียบ5 ทางด้านความเชื่อของชาวไท ลื้อ มีการนับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทควบคู่กับการนับถือผี หรือวิญญาณสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือ ธรรมชาติ ศาสนาและความเชื่อดังกล่าวล้วนมีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของชาวไทลื้อมานับตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งสามารถพบเป็นได้ใ นการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ทั้งพิธีกรรมบูชาผีและ วิญญาณ และพิธีกรรมทางด้านพุทธศาสนา วัฒนธรรมการทอผ้าของผู้หญิงชาวไทลือ้ เป็นสิ่งที่มีความโดดเด่นและมีชื่อเสียงเป็นอย่าง มาก เพราะเป็นการแสดงออกถึงศักยภาพของผู้หญิงชาวไทลือ้ ให้บุคคลภายนอกได้เห็นถึงศักยภาพ ของตน ในการทอผ้าของชาวไทลื้อ การปลูกฝ้ายทอผ้าเป็นหน้าที่สาคัญอย่างหนึ่งของลูกผู้หญิงใน กลุ่มชาติพันธุ์ไท ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันว่า ชาวไทลื้อเป็นกลุ่มที่มีวัฒนธรรมการทอผ้าที่โดดเด่นมาก ดังในบทเพลงขับขานของชาวไทลื้อ ซึ่งเรียกว่า “คาขับ” ซึ่งมีคาขับบทหนึ่งที่กล่าวถึงฤดูกาลที่ผัน แปรไปในแต่ละเดือน อันสัมพันธ์กับวิถีชีวิตพื้นบ้านของชาวไทลื้อ โดยเฉพาะการปลูกฝ้ายทอผ้า ของผู้หญิง คือ คาขับ 12 เดือน วิถีชีวติ ของผู้หญิงไทลือ้ ในอดีตไม่คอ่ ยมีความแตกต่างไปจากผู้หญิง ในสังคมชนชาติไทกลุ่มอื่น ๆ คือ นับตั้งแต่แรกเกิด ผ่านวัยเด็ก วันรุ่นก่อนแต่งงาน ในช่วงวัยเหล่านี้ ผูห้ ญิงจะได้รับการเลี้ยงดู เรียนรู้ และฝึกหัดจากการทอผ้าจากสถาบันครอบครัวที่มี แม่ ยาย และ ญาติผใู้ หญ่ที่เป็นผู้หญิงคอยสั่งสอนหน้าที่ของกุลสตรี งานบ้าน งานเรือนและการทอผ้า เด็กผู้หญิง จะเริ่มหัดทอถุงย่าม หรือผ้าเช็ดน้อย จากเทคนิคการขัดสานผ้า พื้นธรรมดาที่เรียกว่า “ผ้าฮา” ไปสู่ การทอยกดอก มุก จก เกาะ ที่ยากขึ้นไปตามลาดับ ในอดีตและปัจจุบัน ผ้าทอมีความหมายต่อผู้หญิงในฐานะที่เป็นสิ่งที่แสดงถึงคุณค่าของ ความเป็นแม่ศรีเรือน ผู้หญิงที่ทอผ้าเก่ง ฝีมือประณีต ละเอียด มีผ้าซิ่นผืนงามเด่นนุ่งไปงานบุญ 4
มาริ ซากาโมโต, กระบวนการสร้างอัตลักษณ์และความสัมพันธุ์ระหว่างชาวขมุกับไทลื้อ : ศึกษาจากวัฒนธรรมผ้าทอในเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป. ลาว, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ธันวาคม 2556 , หน้าที่ 31 5 ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล, มรดกวัฒนธรรมผ้าทอไทลื้อ, ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1 , สิงหาคม 2551 , หน้าที่ 10-11
4
ย่อมเป็นที่หมายปองของชายหนุ่ม และผ้าทอยังเป็นสื่อรักที่ใช้แทนใจของชายหญิงอีกด้วย เช่น การ ให้ยืมผ้าห่มคลุมตัวที่เรียกว่า “ผ้าตุ๊ม” เพื่อว่าชายหนุ่มจะได้ใช้กันหนาวเวลาเดินทางกลับบ้าน และ จะได้นามาคืนให้ในวันต่อมาเป็นการสานสัมพันธ์ทางอ้อม หรือการทอ “ผ้าเช็ด” ผืนงามให้แก่ชาย คนรักใช้สาหรับพาดบ่าไปวัด และเมื่อมีคู่หมายถึงเวลาเตรียมตัว แต่งงานผู้หญิงจะเตรียม “สะลี” (ที่นอน) หมอน มุ้ง ผ้าห่ม“ผ้าหลบ” (ผ้าปูที่นอน) ไว้ให้เพื่อใช้ในชีวติ ครอบครัวใหม่6 ผ้าหลบ คือ ผ้าปูที่นอน ซึ่งใช้ปูทับลงบนฟูกหรือสะลีอีกทีหนึ่ง ผ้าหลบของชาวไทลื้อจะมี ลักษณะเด่นอยู่ที่การทอลายขิด (ภาษาไทลื้อเรียกว่า “ลายมุก”) ตกแต่ง ลวดลายขิดบนผ้าหลบซึ่ง เกิดจากการนาเส้นพุ่งนี้จะนิยมใช้เส้นฝ้ายสีแดงสลับสีดาคราม อามีเพียง 1-2 แถวเฉพาะตรงส่วน ของเชิงผ้า หรือบางผืนอาจทอลวดลายขิดจนเกือบเต็มผืนผ้าหลบ เหลือเพียงส่วนที่เป็นผ้าพื้นสีขาว เฉพาะตรงส่วนบนเท่านั้นก็ได้ ลักษณะโครงสร้างของผ้าหลบไทลือ้ ส่วนใหญ่ ตรงชายผ้าจะรวบเส้น ฝ้ายถักเป็นตาข่าย ถัดจากส่วนถักนี้ขึ้นไปจะเป็นส่วนช่วงผ้าพื้นสีขาวเรียกว่า “ป้าน” ถัดจากป้านก็ จะเป็นลายขิดที่เรียกว่า “สายย้อย” ซึ่งมีลักษณะเป็นลายเส้นตรงเป็นแถวเรียงกัน ถัดจากสายย้อย ก็จะเป็นลายขิดต่าง ๆ เป็นแถว ๆ สลับช่วงสีพืน้ เล็ก ๆ ไปเรื่อย ๆ มีทั้งลายขิดพื้นฐานขนาดเล็กและ ลายที่เกิดจากการประดิษฐ์ผสมผสานลายพื้นฐานจนเป็นลายขนาดใหญ่ สาหรับลายพื้นฐานที่พบ อยู่เสมอคือ ลายขอเล็ก ลายขอใหญ่ ลายขอขะแจ ลายกาบ ลายหน่วย ลายเครือ ลายดอกจัน ลาย นาค ลายนกหรือหงส์ ลายช้าง ม้า คน เป็นต้น7 ซึ่งในงานวิจัยนี้มุ่งที่จะศึกษา “ผ้าหลบ” (ผ้าปูที่ นอน) ในเขตเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี ซึ่งเป็นผ้าที่มีความเกี่ยวโยงในวิถีชีวิตของชาวไทลื้อ ทั้งในด้าน วิถีชีวติ การดาเนินชีวติ ทางด้านพิธีกรรมทั้งทางด้านพุทธศาสนา และพิธีกรรมทางความเชื่อ ซึ่งผ้า หลบเป็นผ้ามีลักษณะที่โดดเด่นในเรื่องเกี่ยวกับลวดลายที่มีการทอสร้างสรรค์ลวดลายมากมายลง บนผืนผ้า ซึ่งผ้าเพียงหนึ่งผืนจะมีลายประกอบอยู่เป็นจานวนมาก ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นแหล่งที่เก็บ รวบรวมและสะสมของลวดลายในการทอผ้าของชาวไทลื้อ และลวดลายต่าง ๆ ที่อยู่บนผ้าหลบนั้น ก็ คื อ แม่ แ บบของลวดลายต่ า ง ๆ ที่ น ามาสร้ า งสรรค์ ต่ อ เป็ น ซิ่ น เสื้ อ ถุ ง ย่ า ม เป็ น ต้ น และได้ ทาการศึกษาถึงเทคนิคกระบวนการของการทอผ้า “ผ้าหลบ” ในเขตเมืองเงิน แขวงไชยะบุรีด้วย
6
ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล, มรดกวัฒนธรรมผ้าทอไทลื้อ, ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1 , สิงหาคม 2551 , หน้าที่ 13-14 7 ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และ แพทรีเซีย ชีสแมน, ผ้าล้านนา ยวน ลื้อ ลาว ( Lan Na Textile : Yuan Lue Lao ),โครงการศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2533, พิมพ์ครั้งที่ 3 ,หน้าที่ 90-91
5
1.2 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย 1. เพื่อศึกษารูปแบบศิลปกรรมและรวบรวมลักษณะของลายผ้าในผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2. เพื่อศึกษารูปแบบศิลปะและกระบวนการทอผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 1.3 ขอบเขตของการวิจัย 1.3.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา ศึก ษาถึ งประวั ติค วามเป็ นมาภูมิหลัง ของชาติพันธุ์ ไ ทลื้อ ในเขตเมืองเงิ น และศึก ษา ลวดลายในการทอผ้าหลบ ของชาวไทลื้อ ในเขตเมืองเงินแขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว 1.3.2 ขอบเขตด้านพื้นที่ เขตเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 1.4 ระเบียบวิธีวจิ ัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้แนวทางการวิจัยเชิง พรรณนา (Descriptive Research) โดยศึกษาประวัติความเป็นมา การใช้ รูปแบบลวดลาย และ ความหมายของลวดลายที่อยู่บนผืนผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว นอกจากนี้ยังใช้การวิเคราะห์และตีความหมาย (Analytical Research) ในส่วนที่ต้อง อธิบายและตีความข้อมูล โดยได้กาหนดแนวทางการศึกษา ดังนี้ 1.4.1 วิธีวิจัย ทาการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสารวจลงพื้นที่ภาคสนามที่ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยวิธีการสารวจ สัมภาษณ์ บันทึกข้อมูล บันทึกภาพ 1.4.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ทาการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มประชากรชาวบ้านในเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 1.4.3. วิธีการเก็บข้อมูล - การค้นคว้าภาคเอกสาร ที่มเี นือ้ หาเกี่ยวกับภูมิหลังประวัติความเป็นมาชนชาติพันธุ์ไท ลื้ อ และชาติ พั น ธุ์ ไ ทลื้ อ ใน สปป. ลาว และในเขตเมื อ งเงิ น กระบวนการและแนวคิ ด ทางด้ า น
6
ศิลปกรรมการทอผ้าของชาวไทลือ้ โดยทาการศึกษาจากงานวิจัย หนังสือ เอกสารวิชาการ เอกสาร ท้องถิ่น บทความวิชาการ สารคดี ข้อมูลออนไลน์จากwebsites ฯลฯ - การศึกษาภาคสนาม โดยเดินทางลงพืน้ ที่ สารวจและบันทึกข้อมูลจากเขตพืน้ ที่ศึกษา 1.4.4. การวิเคราะห์ข้อมูล จัดระเบียบข้อมูลที่ได้และใช้วิธีทางประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยา สังคมวิทยา มาช่วยใน การวิเคราะห์ข้อมูล 1.4.5. การเสนอข้อมูล เขียนรายงานผลการวิจัยในแบบพรรณนา ประกอบภาพถ่าย และภาพวาดลายเส้น ลวดลายของผ้าหลบ ในเขตเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 1.5 แผนการดาเนินงาน ขั้นตอนการดาเนินงานวิจัย ดังนี้ - ขั้นตอนที่หนึ่ง การค้นคว้าหาข้อมูลภาคเอกสาร ทาการทบทวนวรรณกรรม และ ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ทาการศึกษา เพื่อสร้างความเข้าใจพื้นฐาน - ขั้นตอนที่สอง การลงเก็บบันทึกข้อมูลภาคสนาม ทาการสังเกตการณ์ สารวจ สัมภาษณ์ - และบันทึกภาพถ่าย จากประชากรและกลุ่มตัวอย่างศึกษา - ขั้นตอนที่สาม การจัดระเบียบข้อมูล จากที่ได้ทาการลงภาคสนาม - ขั้นตอนที่ส่ี การวิเคราะห์ข้อมูล - ขั้นตอนที่ห้า สรุปผลการวิจัยและเขียนรายงานผลการวิจัย - ขั้นตอนที่หก การนาเสนอผลงานวิจัยโดยตีพิมพ์รายงานผลการวิจัย และเสนอ บทความ ทางวิชาการ เพื่อเผยแพร่
7
1.6 งบประมาณ งบประมาณการวิจัย 17,000 บาท จาแนกตามหมวดต่าง ๆ ดังนี้ รายการ 1. หมวดค่าใช้สอย - ค่าพาหนะ - ค่าที่พัก - ค่าเบีย้ เลีย้ ง 2. หมวดค่าวัสดุ - เอกสารตารา - ค่าอุปกรณ์ รวมงบประมาณ ( หนึ่งหมื่นเจ็ดพันบาทถ้วน )
รวม 9,000 – 3,000 – 3,000 1,000 – 1,000 17,000 -
1.7 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ 1.7.1 ได้รับความรูถ้ ึงกระบวนการ กรรมวิธีการทอผ้าหลบและเทคนิคในการทอผ้าหลบ ไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 1.7.2 ได้รับความรูเ้ กี่ยวกับความหมายของลวดลาย การจัดวางลวดลายบนผืนผ้าหลบ ไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
บทที่ 2 รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้อง การศึกษารูปแบบและลวดลาย “ผ้าหลบ” ไทลื้อ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเป็นพื้นฐานความเข้าใจและนําไปสู่ ประเด็นที่ทําการศึกษา ขอประมวลแนวคิด โดยแบ่งออกเป็นหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 ประวัติความเป็นมาของไทลือ้ 2.2 ที่ตงั้ เดิมของดินแดนสิบสองปันนา 2.3 การอพยพของชาวไทลือ้ 2.4 เทคนิคการทอ 2.5 เทคนิคในการตกแต่ง 2.6 ผ้าทอ บทบาท ความเชื่อของวิถีชีวติ หญิงชาวไทลือ้ 2.7 ผ้าทอไทลือ้ เมืองเงินและพิธีกรรม : ความเชื่อ และความหมายทางวัฒนธรรม 2.1 ประวัติความเป็นมาของไทลื้อ กลุ่มชนที่เรียกตัวเองว่า “ลือ้ ” เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลไท คือ ไทลื้อ หรือ ไต ลื้อ อาศัยอยู่ในเขตสิบสองปันนา ทางตอนใต้ของมณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งอยู่ระหว่างเส้นละติจูด ที่ 21° 32’ – 22° 30’ เหนือและลองติจูดที่ 100° – 101° 30’ ตะวันออก มี พื้นที่ประมาณ 25,000 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นปุาเขา มีที่ราบแคบ ๆ อยู่ตามหุบเขา และลุ่มแม่น้ําอันเป็นบริเวณที่อยู่อาศัยและที่ทํามาหากินของชาวไทลื้อ ซึ่งมีวัฒนธรรมด้านการ เพาะปลูก โดยเฉพาะการทํานาในที่ ลุ่มเช่นเดียวกับคนไททั่วไป แม่น้ําโขง เป็นแม่น้ําสายสําคัญที่ ไหลผ่านดินแดนสิบสองปันนา ชาวไทลื้อเรียกว่า แม่น้ําของ ส่วนจีนเรียกว่า แม่น้ําล้านช้าง และ เรียกชาวไทลือ้ ว่า ไพอิ (PAI-I) หรือเสียงไพอิ (SHUI-PAI-I) สิบสองปันนาประกอบด้วยเมืองต่าง ๆ รวม 44 เมือง โดนมีเมืองสําคัญ 28 เมือง ได้แก่ เมืองเชียงรุ่ง หรือเจียงฮ่ง เมืองลวง เมืองแจ้ เมืองฉาย เมืองสูง เมืองเชียงเจียง เมืองฮุน เมืองปาน เมืองเชียงลอ เมืองวัง เมืองงาด เมืองออน เมืองยาง เมืองฮิง เมืองลา เมืองเชียงตอง เมืองงอน เมืองหน เมืองเฮม เมืองล่า เมืองบ่อแฮ่ เมืองพง เมืองหย่วน เมืองอูเหนือ และเมืองอูใต้ โดยมีเมือง เชียงรุ่งเป็นเมืองหลวง แต่ เ ดิ ม ดิน แดนสิบ สองปัน นาจั ดการปกครองเป็ น ระบบปั นนา โดยการแย่ งหั ว เมื อ ง ออกเป็นกลุ่ม ๆ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บส่วยและผลประโยชน์ของรัฐ โดยแบ่งออกเป็ น 12 ปันนา ประกอบด้วย ปันนาเมืองล่า ปันนาเมืองพง ปันนาเชียงตอง ปันนาอีงู ปันนาอูเหนือ ปัน
9
นาอูใต้ ปันนาอีอู ปันนาเมืองหลวง ปันนาเมืองฮาย ปันนาเมืองหน ปันนาเมืองแจ้ ปันน้ามืองงาด และปันนาม่อนต่านโดยมีพระเจ้าแผ่นดินเป็นประมุข เรียกว่า “เจ้าฟูาแสนหวี” ประทับอยู่ที่เมือง เชียงรุ่ง ปกครองดินแดนสิบสองปันนาสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยพระยาเจิง เมื่อ พ.ศ. 1732 รวมทั้งสิ้น 44 พระองค์1 นอกจากนี้ ชาวไทลื้ อ ยั ง อาศั ย อยู่ ใ นบริ เ วณภาคตะวั น ออกของรั ฐ ฉาน ประเทศ สาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า อยู่ในเขตเมืองยอง บางส่วนตั้งถิ่นฐานอยู่ทางภาคเหนือ ของประเทศสาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แถบภาคตะวันออกของแขวงพงสาลี หลวง น้ําทา เมืองสิง ยังมีหมู่บ้านไทลื้อกระจายอยู่ตามลุ่มแม่น้ําทาและลุ่มน้ําแยงเหนือของเมืองหลวง ของแม่น้ําดําตามแนวชายแดนติดต่อกับจีน สําหรับในประเทศไทยชาวไทลื้ อได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่น ฐานตามหัวเมืองต่าง ๆ ในภาคเหนือด้วยเหตุผลทางการเมืองระหว่างรัฐ ตามนโยบาย “เก็บผักใส่ ซ้า เก็บข้าเมือง” ของเจ้าผู้ครองนครล้านนาในอดีต โดยเฉพาะสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นไทยต้อง ทําศึกสงครามกับพม่าเพื่อขับไล่พม่าออกไปจากล้านนาด้วยการสนับสนุนของเจ้านายฝุายเหนือ จนถึงปี พ.ศ. 2347 ก็สามารถยึดเมืองเชียงแสนซึ่งเป็นที่มั่นแห่งสุดท้ายของพม่าในล้านนาได้สําเร็จ แต่พม่าก็ยังมีอิทธิพลอยู่ที่สิบสองปันนาและหัวเมืองลื้อเขิน ดังนั้น กองทัพของเจ้านายฝุายเหนือ โดยการนํ า ของเจ้ า กาวิ ล ะ จึ ง ได้ ย กขึ้ น ไปตี สิ บ สองปั น นา แล้ ว ถื อ โอกาสอพยพผู้ ค นลงมาสู่ บ้านเมืองเพื่อตัดกําลังของข้าศึกและปูองกันไม่ให้กองกําลังพม่าที่ถูกขับไล่ออกจากล้านนาใช้หัว เมืองต่าง ๆ ในสิบสองปันนาเป็นที่ซ่องสุมกําลังแล้วกลับมาโจมตีหัวเมืองฝุายเหนืออีก ดังนั้นใน ปัจจุบันจึงมีชุมชนไทลื้อกระจายอยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ทางภาคเหนือ คือ เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง แพร่ น่าน เชียงราย และพะเยา 2.2 ที่ตั้งเดิมของดินแดนสิบสองปันนา ดิน แดนสิ บ สองปั น นาเป็ นดิ น ดายแดนทางตอนใต้ ของมณฑลยู นนานในประเทศจี น ตําแหน่งทางภูมิศาสตร์อยู่เส้นละติจูดที่ 21° 10’ กับ 23° 40’ เหนือ และระหว่างลองติจูด 99° 55’ กับ 101° 50’ ตะวันออก โดยมีอาณาเขตทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จดแขวงพงสาสี และแขวงน้ําทาประเทศลาว ทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ จดดิ น แดนเมื อ งเชี ย งตุ ง รั ฐ ฉานใต้ ข องสหภาพพม่ า มี เ นื้ อ ที่ ทั้ ง หมด ประมาณ 25,000 ตารางกิโลเมตร สิบสองปันนาประกอบด้วยเมืองใหญ่น้อยประมาณ 30เมือง เมืองที่สําคัญที่สุดคือเป็นเมืองหลวงของสิบสองปันนา คือ เชียงรุ้งหรือเชียงรุ่ง แต่เดิมเมืองต่าง ๆ ในสิ บ สองปั น นาจะมี ส ภาพเป็ น เมื อ งอิ ส ระ ต่ อมาจึ ง ค่ อ ยมารวมกั น เป็ น สิ บ สองปั น นา ยั ง ไม่ มี 1
ไสว เชื่อสะอาด, ไทลื้อ – ล้านนา ถึง สิบสองปันนา, สํานักงานศึกษาธิการอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา, หน้าที่ 16-19
10
หลักฐานใดยืนยันแน่ชัดว่า คําว่า “สิบสองปันนา” เกิดขึ้นเมื่อใด จากหนังสือตํานานเมืองลื้อ ได้กว่า ว่า จ.ศ. 392 ท่าวอินทร์เมืองซึ่งดํารงตําแหน่งเป็นพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้าแสนหวีฟูา องค์ที่ 24 ได้ แบ่งหัวเมืองต่าง ๆ 30 หัวเมือง ออกเป็น 12 กลุ่ม เพื่อความสะดวกในการเก็บเงิน เก็บข่อน (ส่ วย) เงินหัวเรือน เมืองแต่ละกลุ่มมีจํานวนเมืองไม่เท่ากันบางกลุ่มมีเพียง 1 หัวเมือง บางกลุ่มมีจํานวน 2-3 หัวเมือง บางกลุ่มมีถึง 5 หัวเมือง กลุ่มเมือง 12 กลุ่มได้แก่ ฟากตะวันตกของแม่น้าของ (แม่น้าโขง) มี 6 ปันนา คือ - เชียงรุ่ง เมืองรํา (เมืองงํา) ขึน้ ตรงต่อเจ้าแสนหวี เป็นหนึ่งปันนา - เมืองแช่ (เมืองแจ้) – เมืองลู – เมืองวง เป็นหนึ่งปันนา - เมืองโรง เป็นหนึ่งปันนา - เมืองหน (เมืองหนุ) – เมืองพาน (เมืองปาน) เป็นหนึ่งปันนา - เมืองลอ – เมืองบง – เมืองออง – ลําเหนือ – เมืองคัง เป็นหนึ่งปันน ฟากตะวันออกของแม่น้าของ (แม่น้าโขง) มี 6 ปันนา คือ - เมืองล่า – เมืองบาน เป็นหนึ่งปันนา - เมืองฮิง – เมืองบ่าง เป็นหนึ่งปันนา - เมืองลา – เมืองวัง เป็นหนึ่งปันนา - เมืองพง – เมืองโหยน – เมืองมาง (มี 2 เมืองอยู่คนละฟากแม่นํา้ ) เป็นหนึ่งปันนา - เชียงทอง – อีปาง – อีงู เป็นหนึ่งปันนา ใน พ.ศ. 2348 เมืองอูเหนือ เมืองอูใต้ ได้ตกเป็นของฝรั่งเศส ในคราวแบ่งเขตแดนระหว่าง จีน (สมัยราชวงศ์เซ็ง รัชการพระเจ้ากวงซี) และฝรั่งเศส เมืองสิบสองปันนาจึงเหลือเพียง 28 เมือง เมื่อเมืองอูเหนือ-อูใต้ ได้ตกเป็นของฝรั่งเศสก็มีการแบ่งกลุ่มสิบสองปันนาใหม่ให้ครบสิบสองปันนา เช่นเดิม ลั ก ษณะการแบ่ ง หั ว เมื อ งเป็ น ปั น นาเช่ น นี้ เป็ น วิ ธี ก ารเดี ย วกั น กั บ การแบ่ ง เขตการ ปกครองในสังคมล้านนา อันเป็นสังคมเกษตรกรรม การแบ่งเขตการปกครองตามลักษณะ “ปันนา” หรือ “พัฒนา” จะสะดวกต่อการควบคุมประชากร และผลผลิตที่ได้มานั้น จะอยู่ภายใต้การดูแล ของเจ้าหน้าที่บ้านเมืองระดับต้น เช่น ขุนนางฝุายหมื่นสามนา ฯลฯ เป็นต้น ในบรรดาเมืองทั้ง 30 หัว เมือง เมืองเชียงรุง่ เป็นเมืองที่สําคัญที่สุด เป็นเสมือนเมืองหลวง เป็นเมืองที่ประทับของกษัตริย์เชียง รุ่ง กษัตริย์ของเชียงรุ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “เจ้าแสนหวีฟูา” ราชวงศ์แสนหวีนับตั้งแต่ป ฐมกษัตริย์ ถึงขุนเจื๋อง หรือพญาเจิงเป็นต้นมา มีกษัตริย์ปกครองโดยลําดับถึง 44 พระองค์2
2
ไสว เชื่อสะอาด, ไทลื้อ – ล้านนา ถึง สิบสองปันนา, สํานักงานศึกษาธิการอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา, หน้าที1่ 8
11
สิบสองปันนา มีเมืองใหญ่ ๆ 4 เมือง ซึ่งเป็นเมืองสําคัญมาแต่โบราณ ตั้งอยู่คนละทิศ คือ เมืองฮํา (อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเชียงรุ่ง) เมืองฮาย (อยู่ทางทิศตะวันตก) เมืองแซ่ (อยู่ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือเลยเมืองฮายขึ้นไป) และเมืองลวง (อยู่ทางทิศใต้) 2.3 การอพยพของชาวไทลื้อ เจีย แยน จอง นักวิชาการยูนนาน อ้างถึง ตํานานปฐมกัลป์พรหมสร้างโลก ของสิบสอง ปันนา กล่าวว่า “ในสมัยโบราณ” ไทลือ้ ได้อพยพมาจากเมืองลื้อหลวง ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือลงมาตั้ง ถิ่นฐานที่เมืองลื้อใหม่ คือเมืองเชียงรุง่ ในปัจจุบัน3 แต่ยังไม่อาจค้นพบได้ว่า เมืองลือ้ หลวงอยู่ที่ไหน คําว่า ลื้อ เป็นชื่อเมืองใดเมืองหนึ่งในยูน นาน ชนชาติไทสร้างเมืองขึ้นมาแล้วตั้งชื่อเมือง ของตนว่า “เมืองลื้อ” คําว่า ลื้อ นี้อาจเป็นชื่อน้ําหรือสถานที่สักแห่งหนึ่ง ซึ่งคนเผ่าไทมีคตินิยม นํามาตั้งชื่อเป็นมงคลนาม กลุ่มคนชาติไทที่อาศัยอยู่เมืองลือ้ จึงถูกเรียกชื่อว่า ไทลื้อ หรือชาวไทลื้อ เหมือนอย่างที่เราเรียกประชากรของอําเภอเชียงม่วนว่าชาวม่วน เรียกประชาชนของอําเภอเชียงคํา ว่า ชาวเชียงคํา ตามภาษาพูดที่ใช้ในชีวติ ประจําวัน เมืองลื้อ ถูกสร้างโดยกลุ่มไทน้อย ที่แยกออกเป็นสองกลุ่มคือ พวกไทลาว ได้แก่พวก ที่มาตั้งหลักแหล่งในอาณาบริเวณฟากตะวันออกของแม่น้ําโขง ฝั่งประเทศลาว กลุ่มที่สองคือพวก ไทลือ้ หรือไทเมือง คือพวกที่มาตั้งหลักแหล่งของฟากตะวันตกของแม่น้ําโขง ฝั่งประเทศไทย ดังนั้น จึงแสดงว่า ไทลื้อกับไทเมืองคือคนกลุ่มเดียวกัน โดยนัยนี้แสดงว่า กลุ่มไทเมืองของพระเจ้าสิงหน วัติก็คือไทลือ้ นั่นเอง ที่เรียกว่า ไทลือ้ เพราะไปสร้างเมืองลื้อ (หลวง) เป็นถิ่นอาศัยแห่งใหม่ จึงได้ชื่อ ใหม่ตามชื่อเมือง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าเมืองไทเสียอาณาจักรน่านเจ้าแก่จีนแล้ว ต่างแยกย้ายกัน หลบหนีภัย ที่หลบหนีไม่ทันก็ต้องติดอยู่ในยูนนานภายใต้การปกครองของจีน ไทเมืองกลุ่มหนึ่งคง ช่วยกันฟื้นฟูสร้างบ้านเมืองขึ้นมาใหม่ เรียกชื่อว่า เมืองลื้อและน่าจะเป็นเมืองค่อนข้างใหญ่ เพราะ ได้คําว่า ลือ้ หลวง ต่ อ มาย่ า คํ า แดง ได้ นํ า ไทลื้ อ กลุ่ ม หนึ่ ง จากเมื อ งลื้ อ หลวง เดิ น ทางมุ่ ง ลงใต้ ใช้ เ วลา เดินทางอพยพถึงสองปีมาถึงริมแม่น้ําแห่งหนึ่ง จึงสร้างบ้านเมืองขึน้ เป็น “เมืองลื้อใหม่” ปัจจุบันคือ เมืองเชียงรุ่ง แต่อย่างไรก็ตาม หลักฐานที่ เจีย เยน จอง นําเสนอได้แสดงว่า “ลื้อ” ในชั้นแรกเป็น ชื่อเมือง เมื่อชนชาติไทกลุ่มหนึ่งไปตั้งถิ่นฐานในเมืองลื้อ จึงได้ชื่อว่า “ไทลื้อ” และคนไทกลุ่มนั้น น่าจะเป็นกลุ่มไทเมืองของสิงหนวัติกุมาร โดยสรุปจากหลักฐานของอาจารย์พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ ที่ อ้างมาแล้ ว นั้น และพระเจ้ าสิงหนวั ติก็ เ ป็นกษัตริย์ของชาวไทลื้อ โยนกนคร (เชีย งแสน) ก็ เ ป็ น อาณาจักรของชาวไทลือ้
3
สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ 2535 - 2537
12
2.4 เทคนิคการทอ วัฒนธรรมการทอผ้าของสตรีชาวไทลื้อโดยทั่วไปได้รับการปลูกฝังมาตั้งแต่เด็กโดยเริ่ม เรียนรู้การทอผ้าที่ช่วงอายุประมาณ 7 – 10 ปีในสมัยก่อน ซึ่งในปัจจุบันนั้นสตรีชาวไทลื้อรุ่นใหม่แถบ จะไม่มีการเรียนรู้การทอผ้าแล้ว อันเนื่องมาจากในสมัยก่อนสตรีชาวไทลื้อยังไม่ได้รับการศึกษาจึง อยู่แต่กับบ้านเรียนรู้งานบ้านงานเรือนต่าง ๆ รวมถึงการทอผ้าด้วย แต่ในปัจจุบันมีการศึกษาที่ พัฒนาและเข้าถึงผู้คนในทุกพืน้ ที่จึงทําให้ผู้คนมีความรู้และหน้าที่การงานที่แตกต่างกันออกไป การ ทอผ้าของสตรีชาวไทลือ้ จะเริ่มเรียนรู้จากการทอผ้าฮํา ซึ่งเป็นผ้าพื้นที่มีเทคนิคเพียงการขัดสานกัน ธรรมดา และต่อมาคือการเรีย นรู้การทอถุงย่าม ปูาเช็ดน้อย เป็นต้น โดยเริ่มเรีย นรู้จากผ้าที่มี เทคนิคการทอจากพืน้ ฐานไปสู่เทคนิคการทอต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างสรรค์งานที่สวยงามและยุ่งยาก ขึน้ ไป เช่น การทอแบบด้วยเทคนิคขิด จก เกาะ มัดหมี่ และยกดอก และนอกจากเทคนิคที่ใช้ในการ ทอผ้าของชาวไทลื้อที่มีการสร้างสรรค์ออกมาอยากสวยงามเป็นที่ขึ้นชื่อ ยังมีการใช้เทคนิคตกแต่ง ผ้าเพื่อเพิ่มความสวยงามให้แก่ชิ้นงานอีกด้วย เช่น การเย็บปักเส้นเงินเส้นทอง การปักเลื่อม และ การถัก 2.4.1 ขิด (Coninuous Supplementary Wefl) ขิ ด เป็ น เทคนิ ค การทํ า ลวดลายบนผื น ผ้ า ด้ ว ยวิ ธี ก ารเพิ่ ม เส้ น พุ่ ง พิ เ ศษเข้ า ไป โดยพุ่ ง เส้นด้ายจากริมผ้าหนึ่งไปสู่ริมผ้าอีกด้านหนึ่ง ทําให้เกิดลวดลายตลอดหน้ากว้างของผืนผ้า ในการ ทําลายขิดจะใช้ไม้คํา้ (shed stick) หรือ เขา ที่ทําพิเศษ (string heddles) ซึ่งทําด้วยไม้ไผ่เหลาโยงเข้า กับด้ายเส้นยืน เมื่อต้องการทอลายใดก็ดึงเขาชุดนั้นมาเพื่อแยกเส้นยืนที่จะทําให้เกิดเป็นลวดลาย ขึน้ โดยใช้ไม้ดาบ (blade) สอดผ่านเส้นยืนไปตามที่เขากําหนดไว้ แล้วพลิกดาบให้เส้นตั้งขึ้นพอที่จะ สอดกระสวยเข้าไปได้เมื่อกระสวยผ่านหน้าผ้าไปแล้วก็จะดึงไม้ดาบออก4 เขาลักษณะนี้ ชาวไทลื้อเมืองเงินเรียกว่า “เขายัง” ได้มีการนํามาใช้เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2533 หลังจากแม่ค้าคนไทยที่จังหวัดน่านมีการติดต่อจ้างผู้หญิงไทลื้อเมืองเงินทอผ้าเพื่อส่งมาขาย ยังประเทศไทย การใช้เขายังสามารถเก็บไว้ใช้ต่อได้ในการทอลวดลายเดียวกันจึ งไม่ต้องทําชุดใหม่ ขึน้ ทุกครั้งที่มีการทอลายเดิม ดังนั้นเทคนิคการใช้เขาลักษณะนี้จึงทําให้มีการแพร่หลายไปทั่วเมือง เงินอย่างรวดเร็ว ซึ่งก่อนหน้านั้น ชาวไทลื้อเมืองเงินใช้เขาอีกแบบหนึ่งในการเก็บลายที่เรียกว่า “เขาปฺอก” หมายถึงเขาขนาดเล็ก ในการจกและขิ ด “เขาปฺอก” เป็นเขา หรือ ตะกอ 3 ไม้ เวลาทอจะใช้เท้า เหยีย บและดึงเชือกยกตะกอขึ้นตามลวดลายแล้วใช้มือสอดด้ายเส้นพุ่งพิเ ศษทําให้เ กิดลายรูป สี่เหลี่ยมขนาดเล็กประกอบกันจนกลายเป็นลวดลาย ชาวไทลือ้ เมืองเงินเรียกเทคนิคนี้ว่า “มุกหมัด” 4
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ์. สารานุกรมผ้าและเครื่องถักทอ. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. 2550 หน้าที่ 41
13
การทํา “มุก” หรือ “เก็บมุก” ในภาษาไทลื้อหมายถึงการทําลายขิดที่เกิดจากเส้นพุ่งพิเศษ เรียก ลวดลายที่เกิดจากเทคนิคนีว้ ่า “มุกเก็บ” หรือ “มุก” ส่วนคําว่า “หมัด” บางคนอธิบายว่าเป็นลายที่ ขนาดเล็กเป็นจุดเหมือนตัวหมัด หรืออาจมีความเกี่ยวข้องกับตํานานเรื่อง “ธาตุหมัดคํา” ที่ชาวไท ลื้อเมืองเงินเล่าสืบต่อกั นมา ซึ่งอย่างไรก็ตามชาวไทลื้อทั่วไปรวมไปถึงชาวไทลื้อเมืองเงิน มีความ นิยมใช้เทคนิคขิดหรือมุกเก็บในการตกแต่งผ้าหลายชนิด เช่น ผ้าเช็ด ผ้าหลบ ผ้าห่ม ตุง ฯลฯ5 2.4.2 จก จกเป็นเทคนิคกรทําลวดลายบนผืนผ้าด้วยวิธีการเพิ่มเส้นพุ่งพิเศษเข้าไป จะใช้นิ้วมือ ไม้ หรือขนเม่น สอดนั บ ด้ายเส้นยืน แล้วยกขึ้น จากนั้น สดใส่ ด้ายเส้ นพุ่งพิ เ ศษเข้าไปทํ าให้เ กิดเป็ น ลวดลายเฉพาะจุดหรือเป็นช่วง ๆ สามารถสลับสีของลวดลายได้หลากลหายสี ต่างจากลายขิดที่ เป็นการใช้ด้ายเส้นพุ่งพิเศษเพียงสีเดียวพุ่งตลอดแนวหน้ากว้างของผืนผ้า ชาวไทลื้อเมืองเงินในอดีต นิยมจกด้วยเส้นพุ่งเป็นด้ายเส้นไหมตกแต่งลงบนผืนผ้าของซิ่นเมือง ผ้าเช็ด ตุง และผ้าหลบ แต่ใน ปัจจุบันมักใช้เป็นเส้นฝูายโรงงาน หรือเส้นด้ายไหมโทเรแทนเส้นไหม ในปั จจุ บันชาวไทลื้ อเมืองเงิ นนิย มใช้เ ขายั งเพื่อทํ าลวดลายจกเช่น เดีย วกั บ เทคนิ คขิ ด โดยเฉพาะเวลาทอผ้าซิ่นที่ได้รับการสั่งจากแม่ค้าจากฝั่งไทย เพราะสามารถเก็บเขาใช้ได้ซ้ํา ๆ กัน แต่ยังใช้เทคนิค “มุกหมัด” เพื่อทอลวดลายของซิ่นเมือง ลายคอเสื้อของผู้ชาย ลายสาบเสื้อของ ผูห้ ญิง ผ้าเช็ดและตุง ซึ่งเป็นลักษณธพิเศษและมีความโด่ดเด่นของผ้าทอเมืองเงิน 2.4.3 เกาะ หรือ ล้วง (Tapestry Weave) เทคนิ ค เกาะ คื อ การทอผ้ า ให้ เ กิ ด ลวดลายโดยใช้ เ ส้ น พุ่ ง ธรรมดาหลายสี พุ่ ง ย้ อ นไป ย้อนกลับไปมาเป็นช่วง ๆ ทอด้วยเทคนิคขัดสานธรรมดา ทําการเกาะเกี่ยวและผูกเป็นห่วงรอบด้าย เส้นยืนเพื่อยึดเส้นพุ่งแต่ละช่วงไว้ให้แน่นแต่ไม่ได้เอาเส้นพุ่งสอดจากริมผ้าด้ายหนึ่งไปสู่ริมผ้าอีก ด้านหนึ่ง ชาวไทลือ้ บางพื้นที่นยิ มใช้เทคนิคเกาะในการทอลวดลายผ้าซิ่นโดยเฉพาะในแถบลุ่มแม่น้ํา โขงตอนบนของประเทศลาว ได้แก่ แขวงหลวงน้ําทา บ่อแก้ว อุมดมไชย และ ไชยะบุรี สําหรับใน ประเทศไทยมีการทอด้วยเทคนิคนีใ้ นเขตจังหวัดน่าน เชียงราย และพะเยา6 ส่วนชาวไทลื้อเมืองเงิน 5
มาริ ซากาโมโต. กระบวนการสร้างอัตลักษณ์และความสัมพันธุ์ระหว่างชาวขมุกับไทลื้อ : ศึกษาจากวัฒนธรรมผ้าทอในเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป. ลาว. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ธันวาคม 2556 .หน้าที่ 119 6
ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล. มรดกวัฒนธรรมผ้าทอไทลื้อ. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1 . สิงหาคม 2551 . หน้าที่ 15
14
ในอดีตเมื่อดูจากลักษณะของผ้าเก่าอายุประมาณ 50 – 80 ปี ไม่ค่อยมีการนิยมใช้เทคนิคเกาะ แต่ กลับกันในปัจจุบันได้มีก ารทอผ้าซิ่นด้วยเทคนิคนี้อย่างแพร่หลายในเมืองเงินตามการสั่งซื้อจาก แม่ค้าในจังหวัดน่าน ซึ่งมักเรียกลวดลายนีว้ ่า “ลายน้ําไหล” สันนิษฐานว่าเริ่มต้นในช่วงแม่ค้าชาวไท ลือ้ จากจังหวัดน่านเข้ามาสั่งซื้อผ้าซิ่นเมืองเงินสมัย 15 – 20 ปีที่แล้ว และนอกจากนี้ ยังมีผา้ ซิ่นไทลือ้ ที่บ้านนางัว เมืองเงิน ที่เรียกว่า “ซิ่นเชียงแสนโบราณ” ใช้ เทคนิค เกาะทอฝูายและไหม 7 ซึ่งไม่แน่ชัดว่าซิ่นลัก ษณะนี้ท อด้วยฝีมือของชาวไทลื้อเมืองเงิน หรือไม่ โดยมีการสันนิษฐานว่าในอดีตได้มีการถ่ายทอดเทคนิคการตกแต่งผ้าลักษณะนี้ภายในชาว ไทลื้อเมืองเงิน เพราะบรรพบุรุษของชาวไทลื้อเมืองเงินส่วนหนึ่งมาจากหลวงน้ําทาและเชียงคํา (พะเยา) แล้วในอดีตก็มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับเมืองน่าน ซึ่งผ้าซิ่นของเมืองเหล่านี้มีการใช้ เทคนิคเกาะในการตกแต่งลวดลายของผ้าซิ่นอยู่แล้ว8 2.4.4 มัดหมี่ หรือ มัดก่าน (Weft Ikat) เทคนิคการมัดด้ายให้เกิดเป็นลวดลายก่อนนําไปย้อมสี ภาษาไทลื้อเรียกว่า “มัดก่าน” ชาวไทลือ้ โดยรวมมัดด้ายเส้นพุ่ง ส่วนชาวไทลื้อเมืองเงินในอดีต ประมาณ 40 – 50 ปีที่แล้ว นิยมใช้ วิธีมัดก่านในการทําลวดลายเป็นจุด ๆ ของซิ่นต๋าลื้อและซิ่นต๋าโยน โดยย้อมด้ายเส้ นพุ่งด้วยหม้อ ห้อม แต่ไม่ได้ทํามัดก่านเพื่อเกิดลวดลายอย่างชัดเจนเป็นภาพ ชาวไทลื้อเมืองเงินผู้สูงวัยยังนิยมนุ่ง ซิ่นที่ใช้เทคนิคมัดก่านเป็นลักษณะซิ่นต๋า โดยส่วยใหญ่เคยทํามัดก่านเอง ผู้สูงวัยบางคนเล่าว่า 7 – 8 ปีที่แล้วยังมัดด้ายเส้นพุ่งและน้อมสีด้วยตนเองอยู่ ซึ่ งในปัจจุบันไม่ค่อยมีการมัดก่านแล้วในเมือง เงิน 2.4.5 ยกดอก (Twill and Satin weave) เทคนิคการทําลวดลายที่เกิดจากวิธีการยกเขาแยกเส้นยืนขึ้นลง แต่ไม่ได้เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษ เข้าไปในผืนผ้าเหมือนกับจกและขิด การยกดอกในบางครั้งจะมีการใช้เส้นพุ่งจํานวนสองเส้นหรือ มากกว่านั้นเข้าไป หรือใช้เส้นในโลหะสีเงินสีทองเข้าไปอีกด้วย ชาวไทลื้อทั่วไปนิยมใช้เทคนิคยก ดอกในการทอผ้าห่มโดยใช้เขา 4 เขา ใช้เส้นฝูายสีขาวล้วนหรือสีดํา แดง สลับกันทําให้เกิดเป็นลาย
7
ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล. มรดกวัฒนธรรมผ้าทอไทลื้อ. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1 . สิงหาคม 2551 . หน้าที่ 133 8 มาริ ซากาโมโต. กระบวนการสร้างอัตลักษณ์และความสัมพันธุ์ระหว่างชาวขมุกับไทลื้อ : ศึกษาจากวัฒนธรรมผ้าทอในเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป. ลาว. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ธันวาคม 2556 .หน้าที่ 118
15
ตารางสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ 9 นอกจากนี้ถึงย่ามชองชาวไทลื้อเมืองเงินในอดีตนิ ยมใช้เทคนิคการยก ดอกด้วยเส้นฝูายหลายสี เช่น สีเหลืองกับส้ม เป็นต้น 2.4.6 ปั่นไก (Twisted yarn) ปั่นไก คือ การปั่นหรือตีเกลียวเส้นด้ายสองสีที่แตกต่างกันเข้าด้วยกัน ทําให้เกิดสีเหลือบ เหมือนตะใคร่น้ํา ที่ชาวไทลื้อเรียกว่า “ไค” (ออกเสียง “ไก”) เช่น สีเหลืองกับสีเขียว สีแดงกับสีดํา เป็นต้น เทคนิคนี้พบในการตกแต่งลายริ้วของผ้าซิ่นไทลื้อแทบทุกกลุ่ม 10 ชาวไทลื้อเมืองเงินจะเรียก เทคนิคนีว้ ่า “ลั่นหัวไก” (“ลั่น” น่าจะมาจากเสียงลั่นในขณะที่ปั่นเส้นฝูาย11) หรือ “บิดหัวไก” คนไทยเรียกเทคนิคนีว้ ่า “หางกระรอก” ซึ่งผ้าหางกระรอกเป็นผ้าไหมโดยใช้เส้นไหมสีพื้น เป็นเส้นยืน และใช้เส้นไหมเส้นพุ่งที่ตีเกลียวควบกันสองเส้นระหว่างไหมสีกับไหมขาว เมื่อนํามาทอ กับเส้นยืนสีพืน้ จะทําให้เกิดลายเหลื่อมกันเป็นสีเหลือบคล้ายหางกระรอก ผ้าหางกระรอกนี้จะนิยม ใช้เป็นผ้านุ่งของผู้ชาย 12 ผ้าหางกระรอกมีการพบเห็นในการใช้เป็นผ้านุ่งแบบลอยชายในพิธีบวช ลูกแก้วและนุ่งแบบโจงกระเบนในการฟูอนเชิงในวันปีใหม่ในเมืองเงินอีกด้วย13
9
ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล. มรดกวัฒนธรรมผ้าทอไทลื้อ. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พิมพ์ครัง้ ที่ 1 . สิงหาคม 2551 . หน้าที่ 17 10 ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล. มรดกวัฒนธรรมผ้าทอไทลื้อ. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พิมพ์ครัง้ ที่ 1 . สิงหาคม 2551 . หน้าที่ 113 11 มาริ ซากาโมโต, กระบวนการสร้างอัตลักษณ์และความสัมพันธุ์ระหว่างชาวขมุกับไทลื้อ : ศึกษาจากวัฒนธรรมผ้าทอในเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป. ลาว. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ธันวาคม 2556 .หน้าที่ 121 12 วิบูลย์ ลี้สุวรรณ์. สารานุกรมผ้าและเครื่องถักทอ. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. 2550 หน้าที่ 207 13 มาริ ซากาโมโต. กระบวนการสร้างอัตลักษณ์และความสัมพันธุ์ระหว่างชาวขมุกับไทลื้อ : ศึกษาจากวัฒนธรรมผ้าทอในเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป. ลาว. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ธันวาคม 2556 .หน้าที่ 121
16
2.5 เทคนิคในการตกแต่ง 2.5.1 การเย็บปักเส้นเงิน เส้นทอง (Couching) เป็นเทคนิคการใช้เส้นโลหะสีเงินสีทองวางทาบลงบนผืนผ้าให้เกิดเป็นลวดลายแล้วเย็บ ตรึงเป็นจุด ๆ เทคนิคนีป้ รากฏบนลายหน้าหมอนที่ชาวไทลือ้ นิยมทําถวายหรือใช้ในโอกาสพิเศษ 2.5.2 การปักเลื่อม (Sequins) เป็นการเอาเลื่อมเงินขนาดเล็กเย็บติดตกแต่ง ลงบนผืนผ้าให้เกิดความแวววาว ชาวไทลื้อ นิยมปักเลื่อมเงินที่เรียกว่า “มักเหลิ้ม” โดยใช้เลื่อมกับเสื้อที่สวมใส่ในโอกาสพิเศษต่าง ๆ และหน้า หมอน ผ้าจีวร (ม้ามุญจนะ) แล้วผ้ากั้ง เป็นต้น 2.5.3 ถัก (Macramé) เป็นเทคนิคการเก็บชายครุยด้ายเส้นยืนโดยการมัดและถักให้เป็นลวดลายต่าง ๆ ตกแต่ง ชายผ้าให้สวยงาม ชาวไทลือ้ โดยรวมนิยมใช้เทคนิคนี้ในการตกแต่งชายครุยของผ้าหลบ และตุง14 2.6 ผ้าทอ บทบาท ความเชื่อของวิถชี ีวติ หญิงชาวไทลื้อ ผ้าทอไทลื้อเป็นผ้าที่ได้ชื่อว่ามีความวิจิตรงดงามเป็นอย่างมากกลุ่มหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันมา ช้านานว่าชาวไทลื้อมีฝีมือและภูมิปัญญาในการถักทอเครื่องนุ่งห่มที่มีเอกลักษณ์เป็นเลิศทางฝีมือ และการสร้างสรรค์ลวดลาย สีสัน และรูปแบบ สามารถนํามาศึกษาถึงภูมิปัญญาอารยธรรม ความ เป็นมาความเจริญรุ่งเรืองของกลุ่มชาติพันธุ์ไทลือ้ ได้เป็นอย่างดี ผ้าทอไทลือ้ จึงมิใช่เป็นเพียงผ้าทอที่มีความงดงามเท่านั้น ยังมีเรื่องราวของประวัติศาสตร์ ชาติพันธุ์อันยาวนานในแถบเอเชียอุษาคเนย์ ซึ่งถือว่าเป็นดินแดนแห่งความสมบูรณ์และเป็นแหล่ง อารยธรรมอีกแห่งหนึ่งที่มี ความสําคัญยิ่ง ชาวไทลื้อเป็นชนชาติที่รักความสันติและมีความผูกพัน ทางเชื่อ ชาติ ขนบธรรมเนีย มจารี ตประเพณี ที่ป ฏิบั ติถ่ ายทอดออกมาพร้ อมกั บ ความเชื่ อทาง พระพุทธศาสนาและไสยศาสตร์ ควบคู่กับไปโดยยึดแนวทางการประพฤติปฏิบัติถึงคุณงามความดี ทําให้วัฒนธรรมต่าง ๆ มีความงดงามเจริญรุง่ เรืองรวมถึงผ้าทอที่แสดงฝีมือและลวดลายอันงดงาม วิจติ รไม่แพ้กลุ่มใด ๆ ในแถบภูมภิ าคนี้ ชาวไทลื้อได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ทอผ้าที่มีเอกลักษณ์ทั้งทางด้านลวดลาย สีสันอันสดใส และมี ความรู้ ค วามสามารถในเรื่อ งเทคนิ ควิ ธี ก ารทอผ้ า ที่ ห ลากหลายสามารถทอผ้ า ธรรมด าทั่ ว ไป ตลอดจนวิธีการทอที่มขี ั้นตอนยุ่งยากยิ่งขึ้นเช่น มักหมี่ ซึ่งเรียกว่า “คาดก่าน” หรือ “มัดก่าน” การ จก เรี ย กว่ า “จกดอกมุ ก ” ขิ ด เรี ย กว่ า “ดอกมุ ก ” หรื อ “ดอกปุู ง ” หรื อ “เกาะล้ ว ง” ซึ่ ง เป็ น 14
ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล. มรดกวัฒนธรรมผ้าทอไทลื้อ. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พิมพ์ครัง้ ที่ 1 . สิงหาคม 2551 . หน้าที่ 17 - 18
17
เอกลั ก ษณ์ ที่ โ ดดเด่ น ที่ สุ ด ของชาวไทลื้ อ การทอผ้ า ถื อ ว่ า เป็ น สิ่ ง สํ า คั ญ ในชี วิ ต ประจํ า วั น ของ ลูก ผู้หญิง ถือว่าเป็นบทบาทที่สํ าคั ญ ในการจัดหาและเตรีย มให้พ่อบ้านและลูก ๆ ได้ใ ช้รวมทั้ง เตรียมไว้ไหว้พ่อ แม่ ปูุ ย่า ตา ยาย ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ที่เคารพนับถือ และใช้เป็นของไหว้ของฝากของกํานัล ที่มี ค่ า ยิ่ ง ดั ง นั้ น ผู้ ท อนอกจากจะมี ค วามขยั น อดทนแล้ ว ยั ง ต้ อ งมี ศิ ล ป์ ใ นการทอผ้ า เพื่ อ ให้ เ กิ ด ลวดลายและสีสั น ที่ งดงาม ซึ่ ง จะเป็ น ที่ ภาคภู มิ ใ จของ พ่ อ แม่ ผู้ เ ป็ น สามี ลู ก บ้า นของตนด้ ว ย ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อต่าง ๆ จะถูกนํามาประกอบการทอผ้าและการวางแผนการ ทอ การนําไปใช้ใ ห้เ สร็จเหมาะสมตามประเพณีและเทศกาลอีก ด้วย ซึ่งดูเ หมือนจะเป็นเรื่องที่ ยุ่งยากมาก แต่ผู้หญิงชาวไทลื้อก็สามารถจัดการกับกิจกรรมดังกล่าวได้เป็นอย่างดี แม้ว่าปัจจุบัน วิถีชีวติ อาจปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยบ้างแต่ก็ยังไม่เปลี่ยนแปลงไปมากนัก บทบาทของผ้าทอในชีวิตประจําวันนอกจากการนุ่งห่มตามประเพณีนิยมรวมทั้งข้าวของ เครื่องใช้ของกลุ่มชนแล้ว ก็ยังรวมถึงผ้าที่ใช้ในพิธีกรรม 15ต่าง ๆ เช่น ผ้าที่ใช้ถวายพระ ได้แก่ สบง จีวร หรือผ้าขาวในพิธีบวช ผ้าห่อคัมภีร์ ผ้าปูกราบ ผ้าตุง ผ้ารับขวัญหลาย และอีกมากมาย ผ้าที่ใช้ ตั้งแต่เกิด ช่วงที่มชี ีวติ อยู่ และพิธีศพ การทอผ้าถือเป็นบทบาทหน้าที่สําคัญของผู้หญิงในชาติพันธุ์ตระกูลไท เด็กหญิงจะคลุก คลีกับผูเ้ ป็นแม่ เรียนรู้การถ่ายทอดถึงกระบวนการและวิธีการทอโดยค่อย ๆ ซึมซับฝึกฝนทอผ้าแต่ ละประเภท เช่น เครื่องนุ่งห่ม ข้าวของเครื่องใช้ที่ต้องผ่านกระบวนการทอจนถึงเชี่ย วชาญและ พัฒนาได้ ชาวไทลื้อ ก็ เช่นกั นเพราะนั่นย่อมหมายถึงว่ามีความพร้อมที่จะออกเรือนมีครอบครัว หรือไม่ เมื่อถึงวัยสาวผูเ้ ป็นแม่และลูกสาวจึงต้องร่วมกันทําและฝึกฝนกิจกรรมอันเกี่ยวเนื่องกับงาน บ้านงานเรือน งานทอผ้าเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับบุตรสาวในการออกเรือน เด็กสาวจะได้รับการปลูกฝังความรู้เรื่องการทอผ้า เทคนิคลวดลาย กระบวนการของการ ทอผ้าทั้งคติความเชื่อแห่งกลุ่มชนควบคู่ไปด้วย ผ้าซิ่นถือเป็นเวทีแรกที่ใช้ในการนําเสนองานฝีมือ ของตนเองหรือผู้เป็นแม่ เด็กหญิงจนถึงเป็นสาวจึงต้องแสดงฝีมือในการถักทอ พัฒนาความงาม เมื่อนุ่งห่มไปให้ผู้คนได้พบเห็นและชมเชยโดยเฉพาะชายหนุ่มที่หมายปอง รวมถึงพ่อ แม่ ญาติของ ฝุายชายด้วย เนื่องจากเป็นเครื่องแสดงถึงฝีมือและความสามารถในงานทอผ้าที่สามารถพบเห็นได้ ก่อนอันดับแรก เทคนิควิธีการทอต่าง ๆ จะถูกนํามาเสนอเรียบเรียงราวไว้บนผืนผ้า โดยเฉพาะวิธี “เกาะล้ว ง” หรือ “ดอกเกาะ” ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ก ารทออันโดดเด่นของไทลื้อจะถู กสร้างสรรค์ ลวดลายเป็นสัญลักษณ์ต่าง ๆ ตามความเชื่อของชาวไทลื้อ และจะมีการพัฒนาความงามในลาย ละเอียดแตกต่างกันไป แต่ยังคงโครงสร้างและรูปลักษณ์ไว้คงเดิม16 15
บุญถิ่น อินดาฤทธิ์, ผ้าซิ่นไทลื้อ, กรุงเทพ ฯ : อมรินทร์ บุ๊ค เซ็นเตอร์ จํากัด, 2551, หน้าที่ 50-51 16 กฤตพงศ์ แจ่มจันทร์, การศึกษาลายผ้าเช็ดไทลื้อในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ตอนเหนือ, 2551, หน้าที่ 13-16
18
2.7 ผ้าทอไทลื้อเมืองเงินและพิธีกรรม : ความเชื่อ และความหมายทางวัฒนธรรม ผ้าทอไทลื้อเมืองเงินที่ใช้ในพิธีกรรมสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1.ผ้าทอที่เป็น เครื่องนอนใช้ในพิธีกรรมการเปลี่ยนผ่านของชีวิตและการบูชาสําหรับผู้ล่วงลับ เช่น ผ้าเสื่อ ผ้าหลบ ผ้าห่ม เป็นต้น 2. ผ้าทอที่เป็นเครื่องไทยทานในพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ เช่น ตุง หมอน ผ้ามุ้งบน เป็นต้น 3. ผ้าทอที่เป็นเครื่องนุ่งห่มที่ใช้ในพิธีกรรมเรียกขวัญและพิธีส่งเคราะห์ เช่น ผ้าซิ่นและเสื้อ โดย 2 ประเภทแรกจะใช้เฉพาะชาวไทลือ้ ส่วนประเภทที่ 3 จะใช้โดยชาวไทลือ้ และชาวขมุ 2.7.1 ผ้าทอที่เป็นเครื่องนอนและพิธีกรรมเปลี่ยนผ่านของชีวติ ผ้าทอที่เป็นเครื่องนอนมีบทบาทการใช้สอยหลายอย่าง ได้แก่ การใช้สอยในครัวเรือน ใน การต้อนรับแขกที่มาเยือน และการทําบุญถวายพระสงฆ์ได้ใช้สอย พร้อมให้บรรดาฆราวาสได้ใช้ นอนที่วัดเมื่อมีงานบุญต่าง ๆ ในอดีตหญิงสาวชาวไทลื้อที่จะแต่งงานต้องเตรียมผ้าทอที่ใช้ส อยใน ครัวเรือน เช่น สะลีหรือผ้าเสื่อ ผ้าหลบ ผ้าห่ม ผ้าแหลบหรือผ้าก็อบ ผ้านั่ง หมอน และมุ้ง ไว้ให้ พร้อมเป็นจํานวนหลายชุด เพื่อใช้ในชีวิตครอบครัวใหม่ ตลอดจนใช้เป็นของไหว้ญาติผู้ใหญ่ฝุาย ชาย17 1. สะลี หรือ ผ้าเสื่อ เป็นที่นอนหรือฟูกใช้ปูบนพื้นห้อง ภาษาไทลื้อออกเสียงเป็น “ผ้าเส่อ” มีขนาดกว้างประ มาร 60 เซนติเมตร ยาวประมาณ 180 เซนติเมตร โดยทั่วไปเย็บเป็นปลอกผ้าสีครามเข้ม ด้านขอบ ของฟูกเย็บด้วยผ้าสีเดียวกันหรือสีแดง บางตัวใช้ผ้าลูกไม้มาติดขอบ ขอบมีความหนาประมาณ 510 เซนติเมตร ยัดด้วยนุ่น ใช้สําหรับนอนคนเดียว มักจะมีการเย็บผ้าสีอื่นหรือพู่ห้อยมาติด เพื่อ แสดงตํ า แหน่ ง ส่ ว นล่ า ง เพราะในวั ฒ นธรรมของกลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ไ ท ให้ ค วามสํ า คั ญ ในการแยก ส่วนบน-ล่าง หรือส่วนหัวกับตีนให้เชื่อมโยงกับความคิดเกี่ยวกับร่างกาย คือ ศีรษะเป็นของสู งและ เท้าเป็นของต่ํา ผ้าแต่ละประเภทจึงมีโครงสร้างหรือเครื่องหมายแสดงตําแหน่งบน-ล่างเสมอ 2. ผ้าหลบ เป็นผ้าปูที่นอน ปูทับลงบนฟูกหรือผ้าเสื่ออีกทีหนึ่ง ในอดีตนิยมใช้เส้นฝูายปั่นมือ ทอขัด สานธรรมดา ด้วยฟืมขนาดเล็ก มีหน้ากว้างประมาณ 40-60 เซนติเมตร จึงต้องทอสองผืนแล้ว นํามาเย็ บ ต่อ กลางเพื่อให้มีขนาดพอเหมาะกั บ การปูบ นฟูก ลวดลายตกแต่ งผ้าหลบของไทลื้ อ
17
ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล, มรดกวัฒนธรรมผ้าทอไทลื้อ, ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1 , สิงหาคม 2551 , หน้าที่ 14
19
โดยรวมจะอยู่ที่เชิงผ้า ทอด้วยเทคนิคขิด สีที่นิยมใช้แบบดั้งเดิม คือ สีดํา แดง ตรงชายครุยมักจะถัก เก็บชายหรือใช้เส้นฝูายทําเป็นพู่หอ้ งตกแต่ง ผ้า หลบของเมื อ งเงิ น แบบดั้ ง เดิ ม นิ ย มใช้ เ ทคนิ ค จก ตกแต่ ง ด้ว ยเส้ น ไหมและฝู า ยเป็ น ลวดลายเรขาคณิต หรือรูป สี่เ หลี่ย มขนมเปีย กปูน ลายขอ ลายกาบ ให้มีสีสันหลากสี ลักษณะ คล้ายคลึงกับลวดลายบนผ้าเช็ด ส่วนใหญ่ผู้หญิงไทลื้อเมืองเงินจะทอผ้าหลบไว้ใช้ในครอบครัว อย่างน้อย 4-6 ผืน พร้อมกับไว้ใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ อีกต่างหาก เช่น งานบวช พิธีกรรมทานธรรม เป็นต้น 3. ผ้าแหลบ หรือ ผ้าก็อบ เป็นผ้าที่ใช้ปูนอนสําหรับพระสงฆ์ หรือคนเฒ่าคนแก่ขณะถือศีลที่วัด หรอฆราวาสใช้ปู นอนขณะเดินทาง แต่ต่างจากผ้าหลบตรงที่ใช้ปูกับพื้นได้เลย เป็นผ้าที่มีขนาดพอเหมาะกับการ พกพาในเวลาเดินทางหรือนําไปปูนอนที่วัด เป็นผ้าฝูายสีขาวทอลวดลายขิดสีแดงหรือสีดําเป็นรูป สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนจนเต็มผืน หรือบางผืนมีรูปสี่เหลี่ยมจกด้วยเส้นไหมสีเหลืองตรงกลาง ผ้า ประเภทนี้มีขนาดความกว้างประมาณ 1 เมตร ยาวประมาณ 2 เมตร ทอใช้ฟืมเดียว ไม่ต่อ 2 ผืน เหมือนผ้าหลบ ใช้ผ้าสีแดงหรือสีดําเย็บติดขอบเป็นขอบทั้ง 4 ด้านมักจะมีผ้าซับรองด้านหลัง บาง ผืนใช้ปุยฝูายหรือนุ่นดาดแล้วเย็บจริงเป็นจุด ๆ 4. ผ้าห่ม เป็นผ้าที่ใช้ห่มให้ความอบอุ่นซึ่งในวัฒนธรรมไทลื้อโดยทั่วไป ผ้าห่มมี 2 ประเภท คือ “ผ้า ตุ๊ ม ” ที่ ใ ช้ ห่ ม คลุ ม ในเวลาปกติ แ บบพอดี ตั ว และ “ผ้ า ต๊ ว บ” ที่ มี ไ ส้ ทํ า ด้ ว ยฝู า ย ลั ก ษณะผ้ า ห่ ม มาตรฐานมีขนาดความกว้างประมาณ 120 เซนติเมตร และยาวประมาณ 200 เซนติเมตร มักจะใช้ ผ้าทอสองผืนเบ็บด้านข้างต่อกัน 2.7.2 ผ้าทอที่เป็นเครื่องไทยทานและพิธีกรรมทางพุทธศาสนา ผ้าทอที่ใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาพุทธที่พบเห็นในเมืองเงิน คือ ตุง ผ้าจีวร ผ้าเช็ดน้อย ผ้า มุงบน ผ้ามุงสังฆะ หมอน ถุงเปูงและซองพลู ซึ่งชาวไทลื้อโดยรวมจะมีประเพณีการทําบุญถวาย ทานในแต่ละเดือน ที่เรียกว่า “ฮีตสิบสอง” สิ่งของในเครื่องไทยทานที่เรียกว่า “ครัวทาน” นั้น มักจะ มีผ้าทอเป็นส่วนประกอบเสมอ เช่น การทอตุงถวายในช่วงสงกรานต์ หรือปีใหม่ของชาวไทลือ้ ทรงศั ก ดิ์ ปรางค์ วั ฒ นากุ ล กล่า วว่ า “การทอผ้า ของผู้ ห ญิ งไทลื้ อมี บ ทบาทสํ าคั ญ ใน พิธีกรรมทางศาสนาพุทธ เป็นการสะสมสร้างบุญด้วยความศรัทธา ด้วยการทอผ้าถวายให้พระสงฆ์ เพื่อใช้ในโอกาสต่าง ๆ และถวายเป็นพุทธบูชา นอกจากนี้ลวดลายที่ปรากฏบนผืนผ้าทอบางชนิด
20
เช่น ตุง ผ้าเช็ดหลวงยังคงเป็นสัญลักษณ์เก่าแก่ที่สืบทอดมาจาดความเชื่อดั้งเดิมในการนับถือผี หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ ต่าง ๆ อีกด้วย”18 1. ตุง เป็นธงแบบห้อยยาวลงมาจากเพดานวิหาร เบื้อหน้าพระประธานของวิหารไทลื้อ ตุ ง เหล่านี้ทําจากวัสดุหลายย่าง เช่น ผ้า กระดาษ ธนบัตร เป็นต้น ตุงผ้ าทอที่ทําจากผ้าฝูายโดยทั่วไป จะมีขนาดกว้างประมาณ 30-40 เซนติเมตร ความยาวประมาณ 1-5 เมตร โครงสร้างของตุงจะ ประกอบด้วยส่วนหัว ตัว และหาง โดยมีไม้ไผ่สอดคั่นเป็นระยะ ๆ นิยมตกแต่งด้วยเศษผ้า กระดาษ ไหมพรม เมล็ดฝักเพกา ทําเป็นพู่ห้อยประดับตลอดทั้งผืน ส่วนหัวตุงมักจะทํา เป็นรูปปราสาท โดย ใช้ไม้ไผ่ขนาดต่าง ๆ เรียงติดต่อกันแล้วต่อกันเป็นโครง ส่วนหางตุงก็มักจะตกแต่งด้วยการถักเป็น ตาข่าย หรือเย็บเป็นรูปหมอน หรือใช้ไม้ไผ่หอ้ ยชายตุงเป็นการถ่วงน้ําหนัก 2. ผ้าจีวร หรือ ผ้ามุญจนะ เป็นผ้าที่ชาวไทลื้อทอถวายพุท ธบูชาในช่วงเทศการออกพรรษา งานบวชและในงานเทศน์ มหาชาติหรือทานธรรม ทารงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล อธิบายว่าเวลาบูชาจะใช้มือจับผ้าจีวร ส่วนมือ อีกข้างหนึ่งก็จะกรวดน้ําไปพร้อม ๆ กัน ทั้งกล่าวคําอุทิศส่วนกุศลให้แก่สรรพสัตว์ทั้งหลายให้พ้น ทุกข์ ผ้าจีวรเป็นผืนผ้าสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ มีขนาดตั้งแต่กว้างประมาณ 18 เซนติเมตร ยาวประมาณ 26 เซนติเมตร ถึงกว้างประมาณ 50 เซนติเมตร ยาวประมาณ 60 เซนติเมตร อาจเป็นผ้าทอสีขาวหรือ หลากสี มีทั้งที่ทําด้วยผ้าทอลายขิดหรือจก มีลวดลายคล้ายตุง หรือบางครั้งทําด้วยผ้าสําเร็จจาก โรงงาน โดยมีการประดับ ตกแต่งบนผืนผ้าด้านหน้า เช่น ปักเลื่อมเงิน ริบ บิ้นจีน ลูกปัด เศษผ้า กระดาษสีต่าง ๆ มีอุบะ ตาข่ายหรือพู่ห้อยหลากสี ส่วนบนของผ้าจะขึงติดอยู่กับแท่งไม้รูปตัวที หรือโครงไม้สามเหลี่ยม มีดา้ มใช้สําหรับถือขณะทําพิธี 3. ผ้าเช็ดน้อย เป็นผืน ผ้าฝูา ยสีขาวขนาดเล็ก ที่ ชาวไทลื้อทั่ วไปจะใช้ใ นพิธีก รรมต่าง ๆ โดยเฉพาะใช้ ตกแต่งครัวทาน หรือเครื่องปัจจัยไทยทานถวายพระสงฆ์ ลักษณะของผ้ามีความกว้างประมาณ 15 เซนติเมตร ความยาวประมาณ 25 เซนติเมตร มักจะมีลายริ้วขนาดเล็กตรงชายผ้าทั้งสองข้าง บาง ผืนก็ทอด้วยเทคนิคขิดและจกประกอบกับลายริ้วสองข้าง ในเมืองเงินพบเห็นการใช้ผ้าเช็ดน้อยใน
18
ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล, มรดกวัฒนธรรมผ้าทอไทลื้อ, ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1 , สิงหาคม 2551 , หน้าที่ 107
21
งานบวชพระหรือ “บวชเพ็ก” ที่บ้านบิหมี โดยพับผ้าเช็ดน้อยเป็นรูปสามเหลี่ยมเพื่อนําไปใช้กราบ ไหว้ในพิธีบวชที่อุโบสถ 4. หมอน หมอนของชาวไทลื้อเมืองเงินมีหลายรูป แบบ ได้แก่ หมอนสี่ หมอนหก หมอนผาและ หมอนกลอน ในปัจจุบันหมอนส่วนใหญ่จะถูกเก็บไว้ในตู้กระจกเพื่อแสดงฝีมือและฐานะของผู้เป็น เจ้าของ และนํามาใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น งานบวช งานทานธรรม เป็นต้น ส่วนหมอนผาบางชิ้นที่ มีลายปักด้วยเส้นฝูายธรรมดา ใช้นั่งเล่นอิงกายยามพักผ่อนหย่อนใจ - หมอนสี่ เป็นหมอนรูปสี่เหลี่ยมทําด้วยผ้าฝูายสีขาวเป็นช่องสําหรับยัดนุ่น มี 4 ช่อง หน้าหมอนใช้ผ้าสีแดงหรือผ้าลายจกเย็บติด - หมอนหก เป็นหมอนรูปสี่เหลี่ยมเช่นเดียวกับหมอนสี่ แต่เรียกหมอนหกเพราะมีช่อง สําหรับยัดนุ่น 6 ช่องด้วยกัน ในเมืองเงินนิยมปักลวดลายด้วยเส้นโลหะเงิน มีเลื่อม ตกแต่งผ้าหน้าหมอน ในปัจจุบันมักจะใช้กระดาษสีเงินสีทองแทนเส้นโลหะ - หมอนผา เป็นหมอนรูปสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ ใช้สําหรับโอกาสพิเศษ เช่นหมอนอิง ในพิ ธี แต่ งงาน หรือเป็นหมอที่ ทําถวายพระสงฆ์ หรื อใช้ ใ นพิ ธีบ วช มี ก ารปัก ตก แต่งหน้าหมอนเป็นลวดลายงดงามด้วยเส้นโลหะสีเงินหรือสีทอง มีเลื่อมตกแต่งผ้า หน้าหมอน ในอดีต หมอนชนิดนี้นิยมใช้ในชนชั้นสูง มีนัยแสดงฐานะและอํานาจของ ผู้ใช้ ปัจจุบันหมอนผากลายเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้ในพิธีกรรมเช่น งานบวช พิธีทาน ธรรม เป็นต้น - หมอนปล่องหรือหมอนอิง เป็นหมอนรูปสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ เย็บเป็นช่องเล็ก ๆ ยัด ด้วยนุ่น การเย็บเป็นรูปสี่เหลี่ยมทําให้ตรงใจกลางด้านหน้าหมอนมีช่องว่าเป็นรูป กากบาททะลุสองด้าน จากลักษณะนี้เรียกกันว่า “หมอนปล่อง” มีการนําแกนผ้า กลม ๆ หรือใช้แกนไม้สอดตรงกลางปล่องนี้ดว้ ย เพื่อให้หมอนคงรูปแข็งแรงเวลาอิง 5. ถุ งแปูง เป็น ถุ งใส่ของมีค่า เช่นเงินหมัน สําหรับผู้ชายไทลื้อเมืองเงินพกติดตัวใน สมัยก่อนประมาณ 60-70 ปีที่แล้ว โยเย็บจากฝูายทอมือ ในปัจจุบัน เมื่อมีงานบวชจะเอถึงแปูงมา ห้อยไว้กับบาตรที่จะนําไปเข้าอุโบสถในพิธีบวช ซึ่งเหลือแต่ความหมายเชิงสัญลักษณ์มากกว่า 6. ซองพลู เป็นภาชนะใส่ใบพลู สานด้วยไม้ไผ่ หุ่มผ้าลายจกหลากสี มีขนาดความกว้าง ประมาณ 13 เซนติเมตร ยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร อยู่ในชุดขันหมากที่เป็นเครื่องเขน ทรงกระบอก เครื่องกินหมากประกอบด้วยเต้าปูน ซองพลู ตลับหมาก ยาเส้น ตะบัน ฯลฯ เพื่ อใช้
22
รับแขกและเป็นเชี่ยนของผู้เฒ่าผู้แก่ มักวางไว้กับกระโถนและน้ําต้น นอกจากนี้จะใช้เป็นของถวาย แก่พระสงฆ์ในพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น งานบวช พิธีทานธรรม เป็นต้น 2.7.3 เครื่องนุ่งห่มกับพิธีเรียกขวัญและพิธีส่งเคราะห์ 1. พิธีเรียกขวัญ พิธีเรียกขวัญ หรือฮ้องขวัญของชาวไทลื้อจัดเพื่อเรียกขวัญคนที่ไม่สบายหรือเพิ่งหายจาก การเจ็บปุวยใหม่ให้กลับมาสู่ตัวคนจะทําให้บุคคลที่เสียขวัญมีสภาพจิตใจที่ดีข้นึ และมีกําลังใจ 2. พิธีสงเคราะห์ เป็นการส่งสิ่งชั่ว ร้ายต่าง ๆ ออกไปจากผู้มีเ คราะห์หรือผู้ป ระสบเคราะห์ก รรมต่าง ๆ เพื่อให้อยู่สุขสบายปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บและอันตรายทั้งปวง รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างแรงใจ ให้แก่ผู้ประสบเคราะห์กรรมอีกด้วย19 อย่างไรก็ ตามผ้ าทอเป็นสิ่ งที่มี ความหมายและความผูก พั นต่อ ศรัท ธาของผู้หญิ ง และ สามารถปกปูองดูแลความเรียบร้อยของครอบครัวรวมถึงหมูบ่ ้านหรือชุมชน
19
ประชัน รักพงษ์, 2539, การศึกษาสภาพเศรษฐกิจและวัฒนธรรมชุมชนในเขตเส้นทางสี่เหลี่ยม เศรษฐกิจ ไทย-ลาว-จีน, เชียงใหม่ : โครงการเพื่อนบ้านศึกษา สถาบันราชภัฏเชียงใหม่, หน้าที่ 155
บทที่ 3 รายงานผลการเก็บข้อมูล “ผ้าหลบ” ไทลื้อ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กระบวนการเก็บข้อมูลเป็นกระบวนการขั้นพื้นฐานหนึ่งในการนาข้อมูลมาเปรียบเทียบ และวิเคราะห์ ซึ่งต้องใช้ความน่าเชื่อถือและความมีเหตุและผลของข้อมูลเป็นสิ่งสาคัญ ดังนัน้ การ เก็บข้อมูลในแต่ละเรื่องจึงต้องออกแบบวิธีการให้ตา่ งกันตามเนือ้ หาของงานที่จะทาการวิจัย ซึ่ง งานวิจัยชิน้ นีเ้ ป็นการศึกษารูปแบบและลวดลายผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว วิธีการในการเก็บและบันทึกข้อมูลจึงต้องให้ความสาคัญกับการ บันทึกภาพถ่ายมาเป็นพิเศษ ขั้นตอนการเก็บข้อมูล โดยการศึกษาหาข้อมูลเบือ้ งต้นที่จะใช้เป็นข้อมูลพืน้ ฐานสาหรับ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจะนาไปสู่ผลสรุปของผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งขั้นตอนในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย การค้นคว้าข้อมูลทางภาค เอกสารและการเก็บข้อมูลภาคสนาม ดังนี้ ในขั้นตอนของการเก็บข้อมูลภาคสนามนั้น ได้ทาการเก็บข้อมูลหลังจากมีการเก็บข้อมูล ภาคเอกสารเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อมาคือการเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม จนกระทั่งถึงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2559 โดยผู้วจิ ัยใช้วธิ ีการออกพืน้ ที่ (Field Survery) โดยการ เดินทางลงพืน้ ที่ ณ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อทาการเก็บ ข้อมูลและบันทึกข้อมูลของผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ณ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยทาการเก็บข้อมูล บันทึกภาพ และสัมภาษณ์ชาวไทลือ้ ที่บ้านหลวง มีไชย บ้านขอน บ้านเพียงามและบ้านนางัว เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว
บ้านเพียงาม บ้านขอน
บ้านหลวงมีไชย บ้านนางัว
ภาพที่ 1 : แผนทีแ่ สดงการลงพื้นที่เก็บข้อมูล ณ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป.ลาว
24
3.1 ผลการเก็บข้อมูลภาคเอกสาร 3.1.1 เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 3.1.1.1 สภาพทางภูมิศาสตร์ เมืองเงินมีเนื้อที่ 785 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของแขวงไชยะบุรี โดยอยู่บนฝัง่ ขวาของแม่น้าโขง มีลักษณะภูมปิ ระเทศเป็นภูเขาและปุาไม้ ล้อมรอบด้วยเทือกเขาปันน้าตะวันตก และเทือกเขาหลวงพระบางที่กั้นเขตแดนระหว่างไทย – ลาว หรือเมืองน่านและเมืองหลวงพระบาง มีที่ราบและที่ลุ่มเพียงเล็กน้อยตามริมน้าห้วยลาธาร แม่น้าลายหลักมี 4 สาย คือ น้ายาง น้าเงิน ย้า งื่ม และน้าแหวน ที่ตงั้ ของเมืองเงินโอบรอบด้วยเทือกเขา จึงทาให้ในอดีตเมืองเงินติดต่อกับเมืองอื่น ได้ยาก สภาพภูมอิ ากาศของเมืองเงินในฤดูร้อนตอนกลางวันอากาศจะร้อนจัดและแห้งแล้ง แต่เมื่อ ตกเย็นอากาศจะเย็นลงเพราะล้อมรอบด้วยปุาไม้ ในฤดูฝนจะมีปริมาณน้าฝนค่อนข้างมาก บางครั้ง เกิดน้าท่วมฉับพลัน ส่วนฤดูหนาวอากาศจะแห้งแล้งและหนาวจัด มีหมอกหนาทุกเช้า อุณหภูมิบาง วันต่ากว่า 10 องศาเซลเซียส เมืองเงินมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ - ทิศเหนือ ติดกับแม่น้าโขง ข้างฟากไปฝั่งซ้ายเป็นเมืองปากแบง แขวงอุดมไชย - ทิศตะวันออก ติดกับเมืองหงสา แขวงไชยะบุรี - ทิศตะวันตก ติดกับเมืองเชียงฮ่อน แขวงไชยะบุรี - ทิศใต้ ติดกับบ้านห้วยโก๋น อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน
เมืองเงิน
บ้านห้วยโก๋น
ภาพที่ 2 : แผนที่ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศลาว ที่มา: Walker. 1999. The Legend of Golden Boat
25
3.1.1.2 ประชากรและการปกครอง เมืองเงินมีประชากรทั้งหมด 16,866 คน ประกอบด้วย 22 หมูบ่ ้าน ได้แก่ บ้านน้าเงิน บ้านนางัว บ้านนายางคา บ้านแก้วดอนกูน บ้านหลวงมีไชย บ้านขอน บ้านเพียงงาม บ้านบิหมี บ้าน กาง บ้านห้วยผึ้ง บ้านดอกเกด บ้านน้าทม บ้านดอนสว่าง บ้านทอง บ้านผาแดง บ้านโฮมไชย บ้าน ห้วยปากแคน บ้านห้วยเงย บ้านปางบง บ้านปุุงฝาด และบ้านกิ่วงิว้ หมูบ่ ้านที่อยู่ในเขตเทศบาลมี 8 หมูบ่ ้านได้แก่ บ้านน้าเงิน บ้านนางัว บ้านหลวงมีไชย บ้านดอกแก้วดอนกูน บ้านขอน บ้านเพียงงาม บ้านบิหมี และบ้านกาง ระบบการปกครองส่วนท้องถิ่นในปัจจุบันจะแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ แขวง (จังหวัด) เมือง (อาเภอ) กุมบ้าน (กิ่งอาเภอ) และบ้าน (หมูบ่ ้าน) โดยมีเจ้าแขวง เจ้าเมือง หัวหน้ากุมบ้าน นายบ้าน เป็นผู้ปกครอง ผูด้ านงตาแหน่งเจ้าแขวง เจ้าเมือง และหัวหน้ากุมบ้าน จะได้รับการแต่งตั้ง โดยรัฐบาลส่วนกลาง ส่วนตาแหน่งนายบ้าน จะคัดเลือกโดยการเลือกตั้ง นอกจากนี้ ในระบบหาร ปกคอรงส่วนท้องถิ่น ตะมีสภาผูแ้ ทนประชาชนในระดับแขวง ทาหน้าที่ตรวจสอบการบริหารงาน พร้อมมีองค์การปกครองระดับแขวงและเมือง ประกอบด้วยข้าราชการประจา ทาหน้าที่บริการ ประชาชน เก็บภาษี และรักษาความสงบเรียบร้อยในท้องถิ่น โดยทั่วไปการปกครองระดับแขวง มี อานาจการปกครองที่เป็นอิสระในระดับหนึ่ง โดยเจ้าแขวงร่วมกับองค์กรการปกครองแขวง มีหน้าที่ นานโยบายของพรรค หรือนานโยบายที่คณะกรรมการพรรคระดับแขวงไปปฏิบัติ ในการบริหาร การปกครองระดับเมือง ส่วนใหญ่จะปฏิบัติตามนโยบายจากแขวง และคณะกรรมการพรรคระดับ เมือง20 3.1.1.3 การประกอบอาชีพและสภาพเศรษฐกิจ ประชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็นเกษตรกร ปลูกข้าวนาและข้าวไร รวมถึงข้าวโพด ลูก เดือน ถั่วลิสง งา ขิง ฝูาย จากข้อมูลของเมืองเงินในปี พ.ศ. 2555 ระบุไว้วา่ มีครอบครัวที่ทาไร่ 945 ครอบครัว ทานา 786 ครอบครัว พนักงานและข้าราชการ 232 ครอบครัว และอื่น ๆ 52 ครอบครัว21 เนื่องจากเมืองเงินอยู่ในพืน้ ที่ชายแดนและติดต่อค้าขายกับรัฐที่อยู่ทางภาคเหนือของไทย มานานจนถึงปัจจุบัน การประกอบอาชัพและสภาพทางเศรษฐกิจที่น่ี จึงมีการพัฒนาตาม สถานการณ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศ ซึ่งภายหลังรัฐบาลลาวใช้นโยบาย การค้าตามระบบตลาดเสรีมากขึ้น พร้อมทั้งมีอิทธิพลของกระแสโลกาภิวัฒน์เข้ามาทาให้ระบบทุน 20
สุรชัย ศิริไกร, 2548, การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมืองลาว, พิมพ์ครั้งที่ 4, กรุงเทพ ฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, หน้าที่ 109-111 21 สานักงานการปกครองเขตเมืองเงิน, 2012, บทรายงานผลการจัดตั้ง ปฏิบัติข้อแข่งขัน 3 ดี ของ สหพันธ์แม่หญิง การสร้างบ้านพัฒนาและบ้านวัฒนธรรม, เอกสารอัดสาเนา, 7 พฤศจิกายน 2012
26
นิยมจากประเทศเพื่อนบ้านข้ามเข้ามาจากทางชายแดน โดยเฉพาะในช่วงระยะ 5 ปีที่ผา่ นมา นัก ธุรกิจชาวไทยและชาวจีนเข้ามามีบทบาทในการสั่งซือ้ ข้าวโพดและลูกเดือยจากชาวบ้านเป็นจานวน มากในลักษณะพันธะสัญญา ชาวเมืองเงินหลายครอบครัว ทั้งชาวขมุ ชาวม้ง และชาวไทลือ้ มีการ เพิ่มปริมาณการปลูกพืชสองชนิดนี้มากขึ้น นอกจากนี้นัดธุรกิจชาวจีน ได้เข้ามาเปิดโรงงานแปรรูป ลูกเดือยในเมืองเงินอีกด้วย สาหรับผู้หญิงชาวไทลือ้ ส่วนใหญ่จะรับจ้างทอผ้าที่บ้านของตนเป็น อาชีพเสริม บางคนเป็นแม่ค้าคนกลางในการส่งออกผ้าทอไทลือ้ ไปขายในประเทศไทย หรือ ภายในประเทศลาว นอกจากนี้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 มีชาวเมืองเงินที่ไปทางานเป็นกรรมกรในเหมืองถ่าน ลิกไนต์และก่อสร้างโรงผลิตไฟฟูาที่เมืองหงสามากขึ้น สถานที่ก่อสร้างอยู่ใกล้ตัวเมืองหงสา ห่าง จากเมืองเงินประมาณ 30 กิโลเมตร ซึ่งการทาเหมืองถ่านหินลิกไนต์และโรงไฟฟูา ได้เริ่มต้นการ ก่อสร้างตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2553 เป็นการร่วมทุนระหว่างไทยและลาว การค้าขายชายแดน ผ่านจุดผ่านแดนถาวรห้วยโก๋นเป็นแหล่งรายได้ดีอกี ส่วนหนึ่งของ ชาวเมืองเงิน ตามข้อมูลบันทึกรวม ณ ด่านศุลกากรทุ่งช้างในปี พ.ศ. 2553 มีมูลค่าการค้าชายแดน กับประเทศลาวรวม 892.66 ล้านบาท มูลค่าการนาเข้า 326.04 ล้านบาท มูลค่าการส่งออก 566.52 ล้านบาท สินค้าหลักจากลาวคือสินค้าเกษตร เช่น ข้าว พืชผัก หอม กระเทียม รวมถึงของ ปุาและผ้าทอ ส่วนสินค้าของไทยมีสิ่งของเครื่องใช้ เครื่องใช้ไฟฟูาและน้ามัน สภาพเศรษฐกิจของเมืองเงินในปัจจุบันอยู่ในเกณฑ์ที่ดี มีอัตราความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจร้อยละ 11.8 ใน พ.ศ. 2555 รายได้ตอ่ คนต่อปีสูงถึง 1,313 เหรียญสหรัฐ ฯ ในขณะที่ปี พ.ศ. 2552 มีรายได้เพียง 580 เหรียญสหรัฐ ฯ โดยมีอัตราส่วนของผลผลิตทางการเกษตรร้อยละ 47 อัตราส่วนของผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรมร้อยละ 18 และอัตราของผลผลิตทางด้านการ บริการร้อยละ 35 22 3.1.1.4 การคมนาคม การคมนาคมทางบก มีเส้นทางสากลหมายเลข N. 2W หรือ AH13 เชื่อมต่อทางหลวง หมายเลข 1080 จากบ้านห้วยโก๋น อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน เข้ามาฝัง่ ลาวจากด่านน้า เงินไปท่าเรือปากห้วยแคน ข้ามแม่น้าโขงด้วยเรือบั๊คไปปางปาง แขวงอุดมไชย มีระยะทางประมาณ 53 กิโลเมตร ก่อสร้างแล้วเสร็จตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2553 ใช้งบประมาณ 840 ล้านบาท โดยความ ช่วยเหลือจากรัฐบาลไทย เส้นทางนี้ได้เชื่อมต่อถึงแขวงอุดมไชย เข้าเส้นทาง R3a ไปบ่อเต็นและสิบ 22
สานักงานการปกครองเขตเมืองเงิน, 2012, เอกสารรวบรวมคาปราศรัยในงานเฉลิม ฉลองการก่อตั้งเมืองเงินครบรอบ 20 ปี, เอกสารอัดสาเนา , 14 พฤศจิกายน 2012
27
สองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน ส่วนเส้นทางหมายเลข N. A4 ไปเมืองหงสา มีระยะทาง 43 กิโลเมตร และไปหลวงพระบาง ระยะทาง 262 กิโลเมตร ซึ่งบางส่วนกาลังก่อสร้างอยู่ นอกจากนี้มี เส้นทางเรือไปห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว และหลวงพระบาง โดยขึ้นเรือจากท่าเรือปากแบง ใช้เวลา ประมาณ 6 ชั่วโมง 3.1.2 กลุ่มชาติพันธุ์ในเมืองเงิน ในเมืองเงินมีกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งสิ้น 6 กลุ่มคือ ชาวไทลือ้ 5,960 คน (ร้อยละ 35.33) ชาวชมุ 5,471 คน (ร้อนละ 32.43) ชาวม้ง 4,405 คน (ร้อยละ 26.11) ชาวลาว 937 คน (ร้อยละ 5.55) ชาวปรัย 82 คน (ร้อยละ 0.48) ชาวไทดา 11 คน (ร้อยละ 0.06) และอื่น ๆ รวมกัน ร้อยละ 0.04 ตามข้อมูลทางการของเมืองเงิน ส่วนใหญ่แต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ก็จะแยกกันอยู่อาศัยอยู่ในแต่ละ หมูบ่ ้าน ได้แก่ บ้านนางัว บ้านนายางคา บ้านแก้วดอนกูน บ้านหลวงมีไชย บ้านขอน บ้านเพียงาม และบ้านบิหมี ซึ่งเป็นหมู่บ้านของชาวไทลือ้ บ้านดอกเกด บ้านน้าทน บ้านดอนสว่าง บ้านทอง บ้าน โฮมไชย บ้านปากห้วยแคน บ้านห้วยเงย บ้านปุุงฝาด เป็นหมูบ่ ้านของชาวขมุ บ้านห้วยผึง้ บ้านผา แดง บ้านบ่อหลวง และบ้านปางบงเป็นหมูบ่ ้านชาวม้ง ส่วนบานน้าเงินมีประชากรหลายกลุ่มชน คือ ชาวลาว ชาวม้ง และชาวลือ้ และบ้านกิ่วงิว้ มีชาวม้งและชาวขมุอาศัยอยู่ด้วยกัน 3.1.2.1 กลุ่มชาติพันธุ์ไทลื้อ ชาวไทลือ้ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลไท อพยพเข้ามาอยู่ในเขตสิบสองปันนาทาง ตอนใต้ของประเทศจีน ในราวพุทธศตวรรษที่ 18 แล้วสร้างเมืองเชียงรุง่ ขึ้น ชาวไทลือ้ นิยมตั้ง บ้านเรือนอยู่ตามที่ราบลุ่มแม่น้าและที่ราบระหว่างหุบเขา โดยมีแม่น้าโขงเป็นแม่นาสายส ้ าคัญ รวมถึงแม่น้าสายย่อยที่ไหลผ่านเมืองต่าง ๆ ไทลือ้ ในประเทศลาวได้อพยพเข้ามาแล้วตั้งถิ่นฐานตาม ลุ่มน้าต่าง ๆ ได้แก่ ลุ่มน้าอูในแขวงพงสาลีและหลวงพระบาง ลุ่มน้าทาและลุ่มน้าสิงในแขวงหลวง น้าทา ลุ่มน้าแบงในแขวงอุดมไชย และลุ่มน้างาวในแขวงบ่อแก้ว นอกจากนี้อพยพเข้ามาอยู่ใน บริเวณที่ราบระหว่างหุบเขาในแขวงไชยะบุรี ได้แก่ เมืองเงิน เชียงฮ่อน เชียงลม คอบ หงสา และ เมืองเพียง23 23
โครงการพิพธิ ภัณฑ์วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ลา้ นนา, 2551, ไทลื้อ อัตลักษณ์แห่งชาติพันธุไ์ ท, เชียงใหม่ : โครงการพิพธิ ภัณฑ์วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ลา้ นนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, หน้าที่ 1
28
จากข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของเมืองเงินที่จัดทาขึน้ ในปี พ.ศ. 255524 ชาวเมืองเงินส่วน หนึ่งโดยไม่ระบุกลุ่มชาติพันธุ์ มีถิ่นกาเนิดดั้งเดิมมาจากสิบสองปันนาทางตอนใต้ของประเทศจีน และอีกส่วนหนึ่งมาจากหลวงน้าทาในราว พ.ศ. 2279 มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองเงิน นอกจากนี้ ยังมี อีกกลุ่มหนึ่งย้ายจากเชียงตุงและเมืองยอง ซึ่งชาวไทลื้อกลุ่มนี้เรียกตนเองว่า “ไทเขิน” หรือ “ไทย อง” ต่อมาเคลื่อนย้ายมาตั้งหมูบ่ ้านนางัวและนายาง ซึ่งในปัจจุบันบ้านนายางและบ้านดอนคามีการ รวมตัวเป็นบ้านนายางคา ทางทิศตะวันออกของเมืองเงิน สาหรับหมูบ่ ้านสองแห่งนี้ ยังมีหลาย ครอบครัวมาจากเชียงคา (พะเยา) และชาวไทใหญ่มาอยู่ร่วมกัน จนเกิดเป็นวัฒนธรรมที่ผสมผสาน ที่แตกต่างจากหมู่บ้านอื่น ๆ ในเมืองเงิน บ้างก็เรียกว่าเป็นชาว “ยวนเขิน” ชาวไทลือ้ อาศัยอยู่มากในเขตทางภาคเหนือหรือทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศลาว โดยเฉพาะบริเวณลุ่มน้าโขง ลุม่ น้าแบง น้าอู ในแขวงต่าง ๆ ต่อไปนี้ - แขวงอุดมไชย ได้แก่ เมืองไชย เมืองแบง เมืองปากทา เมืองฮุน เมืองงา เมืองน้าบาก - แขวงไชยะบุรี ได้แก่ เมืองเงิน เมืองเชียงฮ่อน เมืองเชียงลม เมืองเชียงคอบ เมืองหงสา - แขวงบ่อแก้ว ได้แก่ เมืองห้วยทราย เมืองต้นผึง้ - แขวงหลวงน้าทา ได้แก่ เมืองนาแล เมืองสิงห์ - แขวงพงสาลี ได้แก่ เมืองอูเหนือ เมืองอูใต้ เมืองงายเหนือ เมืองงายใต้ เมืองบุนเหนือ เมืองบุนใต้ - แขวงหลวงพระบาง ได้แก่ บ้านผานม และบ้านนายาง 3.1.2.2 กลุ่มชาติพันธุ์ขมุ ชาวขมุเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร เชื่อกันว่า เป็นกลุ่มชนที่เก่าแก่ที่สุดในดินแดนสุวรรณภูมิ ในราวพุทธศตวรรษที่ 16 (ราวคริสตศตวรรษที่ 1011) ก่อนที่ชาวลาวก่อตัง้ อาณาจักรล้านช้าง ชาวขมุเคยมีอาณาจักรเป็นของตนเอง ที่มชี ื่อว่า เมืองซ วา หรือ เมืองเซ่า อยู่ในแขวงหลวงพระบางของประเทศลาวในปัจจุบัน ชาวขมุเรียกตนเองว่า “กา หมุ” หรือ “กึมหมุ” แปลว่าคนหรือมนุษย์25 การตัง้ ถิ่นฐานของชาวขมุในลาว ส่วนใหญ่อยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ได้แก่ แขวงพง สาลี อุดมไชย หลวงน้าทา บ่อแก้ว ไชยะบุรี หัวพัน เชียงขวาง และหลวงพระบาง นอกจากนี้สว่ น 24
สานักงานการท่องเที่ยวเขตเมืองเงิน,กระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรม, 2012, ประวัตศิ าสตร์ของ เมืองเงิน, เอกสารอัดสาเนา 25 นิพัทธเวช สือบแสง, 2539, สังคมและวัฒนธรรมชาวขมุกับการพัฒนา, เชียงใหม่ : สถาบันวิจัย ชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม, หน้าที่ 1
29
หนึ่งอาศัยอยู่ที่ภาคกลาง คือ แขวงเวียงจันทร์ คาม่วน และบอลิคาไซ มีประชากรชาวขมุในประเทศ ลาว 613,893 คน ร้อยละ 10.9 (ข้อมูลสถิตแิ ห่งชาติครั้งที่ 3 ของ ปี ค.ศ. 2005) ถือเป็นกลุ่มชาติ พันธุ์ที่มจี านวนมากเป็นอันดับ 2 รองลงมาจากกลุ่มชาติพันธุ์ลาว นอกจากประเทศลาวแล้ว ชาวขมุ ยังอาศัยอยู่ในประเทศจีน เวียดนาม และไทยอีกด้วย กลุ่มชาติพันธุ์ขมุในประเทศลาวจะแบ่งออกเป็น 2 สาขาใหญ่ตามความแตกต่างทางด้าน สาเนียงภาษาพูด คือ ขมุอู และขมุร็อก ขมุอูอาศัยอยู่ทางด้านตะวันออกของภาคเหนือและภาค กลางแบ่งออกเป็นสาขาย่อย ได้แก่ ขมุอู ขมุเจือง ขมุขัด ขมุอา ขมุเบิง ส่วนขมุร็อกอยู่ทางตะวันตก ของภาคเหนือ แบ่งออกเป็นสาขาย่อย ได้แก่ ขมุร็อก ขมุแควน ขมุขรอง ขมุยวน และขมุลือ้ ชาวขมุในเมืองเงินส่วนใหญ่แบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ ขมุร็อกและขมุลื้อ สมัยก่อนการตั้ง ถิ่นของแต่ละกลุ่มจะแยกกันอยู่ในคนละหมู่บ้าน ขมุลื้ออาศัยอยู่ที่บ้านกลาง บ้างทองและบ้านโฮม ไชย แต่เนื่องจากทางการกาหนดนโยบายการโยกย้ายประชนที่อาศัยอยู่ในเขตภูเขาให้ลงมาอยู่ใกล้ ถนนสายหลัก ชาวขมุร็อกจากหลายหมู่บ้านจึงรวมกันอยู่ที่บ้านทองตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2543 ทั้งนีเ้ พื่อความสะดวกต่อการปกครองและการจัดโครงสร้างพื้นฐานให้กับแต่ละชุมชน แต่ชาวขมุ บางส่วนได้รับผลกระทบต่อชีวติ ความเป็นอยู่ เพราะหมูบ่ ้านบางแห่งถูกโยกย้ายหลายครั้งจนต้อง อยู่หา่ งไกลจากไร่ของตน จึงไม่สะดวกในการเดินทางไปทาการเกษตร ส่วนชาวขมุร็อกเนื่องจาก เคยอยู่หา่ งไกลจากหมูบ่ ้านไทลือ้ การดารงชีวติ และจารีตประเพณีมีลักษณะเป็นของตัวเอง มากกว่าขมุลื้อ ถึงแม้จะมีการติดต่อค้าขายกับชาวไทลื้อเช่นเดียวกัน ประชัน รักพงษ์ (2539: 168) กล่าวว่า โดยทั่วไปชาวขมุดานงชีพอยู่ด้วยการถางปุาทาไร่ แบบหมุนเวียน ปลูกข้าวเหนียวไว้เป็นอาหารหลัก แต่ละครอบครัวมีพืน้ ที่ทาไร่ 3-5 แห่ง จะย้าย พืน้ ที่หมุนเวียนไปในแต่ละปีเพื่อให้ดินฟื้นคืนสภาพความสมบูรณ์แล้วกลับมาทาที่เดิมอีก นอกจาก ข้าวแล้วชาวขมุก็ยังปลูกพืชต่าง ๆ เช่น ข้าวโพก เผือก ถั่ว พริก มะเขือ กล้วย ยาสูบ ฝูาย เป็นต้น แต่นอกจากการทาไรแล้ว ชาวขมุบางกลุ่มจะทานาในบริเวณที่ราบระหว่างหุบเขา เช่นที่บ้านโฮม ไชย ในเมืองเงิน ลักษณะการแต่งกายโดยทั่วไป ประชัน รักพงษ์ (2539:168) อธิบายว่า ชาวขมุนยิ มสวม ใส่เสือ้ ผ้าสีดาหรือสีคล้าเข้ม ย้อมด้วยฮ่อมหรือเปลือกไม้ ไม่นิยมใส่สีขาว เพราะถือว่า ขะลา หรือ อัปมงคล เนื่องจากเสือ้ ผ้าสีขาวใช้สวมใส่ในพิธีงานศพ การแต่งกายของผู้ชายสมัยก่อนจะนุ่ง กางเกงสะดอ เสื้อหม้อฮ่อม ส่วนผูห้ ญิงจะนุ่งซิ่นลายขวางแบบไทลือ้ หรือซิ่นของชาวไทกลุ่มอื่นที่ อยู่ใกล้เคียงกัน โดยนาฝูาย หรือของปุาไปแลกกับผ้าซิ่นและเสื้อ ชาวขมุมนบางพื้นที่ เช่น แขวง อุดมไชย จะทอผ้าซิ่นใช้เองโดยการใช้กี่เอว ผ้าซิ่นของชาวขมุเหล่านีม้ ีลักษณะลายริ้วขวาง แต่ สาหรับชาวขมุในเมืองเงินยังไม่พบหลักฐานของการทอผ้าแบบใช้กี่เอว ชาวขมุทั่วไปมักจะสวมเสื้อ แบบเสื้อปั๊ด หรือเสื้อดา ของชาวไทลือ้ นิยมนาผ้าแพรหรือผ้าสีต่าง ๆ มาเย็บติดกับเสท้อให้
30
สวยงาม และชาวขมุเมืองเงินเคยสวมเสื้อที่มลี ักษณะคล้ายกับเสื้อชาวปกากะญอ แต่ในปัจจุบันไม่ นิยมสวมเสือ้ แบบนีแ้ ล้ว ในโอกาสพิเศษนิยมใส่กาไลข้อมือ ปลอกคอที่ทาด้วยเงิน จากการสังเกต พบว่า หญิงชาวขมุลื้อบ้านกางจะนิยมมัดศีรษะด้วยผ้าสีแดงในโอกาสพิเศษ ส่วนหญิงชาวขมุร็อก บ้างทอง บ้านดอกเกดนิยมใช้ผ้าโพกศีรษะในงานพิเศษต่าง ๆ เป็นผืนผ้าสีดาหรือสีครามเข้มปัก ลวดลายรูปเรขาคณิตพร้อมการปะผ้าชิ้นเล็ก ๆ (appliqué) ตกแต่งด้วยกระดุมและเครื่องประดับ เงิน ทาให้มคี วามโดดเด่นและแตกต่างจากชุดชาวไทลื้อ ถึงแม้ว่าจะใส่ซิ่นและลือ้ ของไทลือ้ ก็ตาม26 สุวิไล เปรมศรีรัตน์(2541: 18) กล่าวว่าชาวขมุเชื่อว่าตนมีโคตรวงศ์หรือบรรพบุรุษที่ เรียกว่า “ซึนตะ” สืบเชื้อสายมาจากสัตว์หรือพืชบางชนิด ยกตัวอย่าง “ซึนตะ” ของชาวขมุเมืองเงิน อาทิ รวาย (เสือ) ซิมอม (นกกดหอย) ตะราง (นกกก) ตะบอน (อีเห็น) เป็นต้น ชาวขมุที่อยู่ในสาย ตระกูลเดียวกันเป็นผู้ที่นับถือผีบรรพบุรุษร่วมกัน จะมีขอ้ ห้ามมิให้คนในตระกูลบริโภคเนือ้ สัตว์ที่ เป็นที่มาของชื่อตระกูลนั้น ๆ27 ทั้งนี้ นิพัทธเวช สืบแสง (2539 :9) อธิบายว่า ในทางมานุษยวิทยา เรียกสายตระกูลประเภทนี้ว่า “โทเท็ม” (Totem) มีการนับความเป็นญาติที่ค่อนข้างจะกว้างขวาง เพราะทุกคนที่เกิดในสายตระกูลเดียวกันจะถือว่าเป็นญาติพี่นอ้ งกันหมด28 จารีตประเพณีที่ต้องถือปฏิบัติในครอบครัวคือ การถือผีบรรพบุรุษหรือผีเรือน เป็นสิ่งที่ ควบคุมระเบียบวิธีการปฏิบัติในเรื่องต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ถ้าผูใ้ ดประพฤติผดิ จะต้องมีพิธีเลี้ยง ผีมิฉะนั้นจะเกิดการเจ็บปุวยล้มตายได้ ชาวขมุจะถือผีฝุายชายหรือสามี เนื่องจากส่วนมากเมื่อ แต่งงานแล้วฝุายหญิงจะไปอยู่บ้านพ่อแม่สามี นอกจากผีเรือนแล้ว ชาวขมุจะมีการเลี้ยงผีหมูบ่ ้าน เป็นประจาทุกปีเพื่อความเป็นสิริมงคล เพื่อความอยู่เป็นสุขของคนในหมู่บ้าน29 3.1.2.3 กลุ่มชาติพันธุ์ม้ง ชาวม้งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน ภาคเหนือของพม่า ลาว เวียดนาม และไทย จากการรุกรานของชาวฮั่น นโยบายการสร้างรัฐชาติและการกบฏหลายครั้งใน 26
มาริ ซากาโมโต, กระบวนการสร้างอัตลักษณ์และความสัมพันธ์ระหว่างชาวขมุกับไทลื้อ : ศึกษาจากวัฒนธรรมผ้าทอในเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป. ลาว, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ธันวาคม 2556 ,หน้าที่ 31-33 27 สุวไิ ล เปรมศรีรัตน์, 2541, สารานุกรมกลุ่มชาติพนั ธุ์ : ขมุ, กรุงเทพ ฯ : สานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย, หน้าที่ 18 28 นิพัทธเวช สืบแสง, 2539, สังคมและวัฒนธรรมชาวขมุกับการพัฒนา, เชียงใหม่ : สถาบันวิจัย ชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม, หน้าที่ 9 29 สุวไิ ล เปรมศรีรัตน์, 2541, สารานุกรมกลุ่มชาติพนั ธุ์ : ขมุ, กรุงเทพ ฯ : สานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย, หน้าที่ 18
31
ประวัติศาสตร์จีน ได้ผลักดันให้ชาวม้งต้องอพยพออกจากบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าเหลืองและแม่น้า แยงซีไปทางทิศใต้ทิศตะวันออกเฉียงใต้ เข้าสู่บริเวณภาคเหนือของเวียดนาม ลาว ไทย และพม่า ประชากรชาวม้งในประเทศลาวมี 451,946 คน เท่ากับร้อยละ 8 ของประชากรทั้งประเทศ30 ชาวม้ง ในลาวได้อพยพมาจากบริเวณภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนามเข้ามาในลาวราวต้นศตวรรษที่ 19 โดยเส้นทางอพยพมี 2 เส้นทาง ได้แก่ จากแขวงหัวพันมาทางหลวงน้าทา บ่อแก้วและไชยะบุรี อีกทางหนึ่งก็คือ จากแขวงหัวพันมาทางเขียงขวาง หลวงพระบาง เวียงจันทร์ และบอริคาไซ ส่วน ใหญ่มาตั้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัยในภาคเหนือของลาวตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 2393 (ค.ศ. 1850) นอกจากนี้ หลังหารยึดอานาจของรัฐบาลคอมมิวนิสต์ในปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ได้มชี าวม้งอพยพไปอยู่ที่ สหรัฐอเมริกา ผรั่งเศส ออสเตรเลีย ฯลฯ เป็นจานวนมากกว่า 170,000 คน เนื่องจากได้เข้าร่วมสู่ รบกับทหารฝุายคอมมิวนิสต์ดว้ ยการสนับสนุนจาก ซี.ไอ.เอ. ของสหรัฐอเมริกาใน “สงครามลับ” ชาวม้งนิยมตั้งถิ่นฐานอยู่บนภูเขาสูงที่มีอากาศเย็น แต่ชาวม้งบางกลุ่มทีย้ายมาอยู่ในเมือง เงินในภายหลัง เช่น ชาวม้งที่อยู่บ้านน้าเงินจะอาศัยอยู่บริเวณที่ราบลุ่มระหว่างหุบเขา ดารงชีพด้วย การทาไร่ ปลูกข้าวไร่ ข้าวโพด ยาสูบและพืชผักต่าง ๆ รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์ ความเชื่อของชาวม้ง ส่วนใหญ่นับถือผีฟูาและผีเรือน (ผีบรรพบุรุษ) และมีการเซ่นไหว้ผีปุา ผีไร่ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บ และการแผ่วถางปุาทาไร่ เครื่องแต่งกายของชาวม้งในเมืองเงิน ในชีวิตประจาวันมักจะสวมใส่เสื้อผ้าแบบสากล นุ่ง ผ้าซิ่นแบบซิ่ลาวและซิ่นแบบไทลือ้ เมืองเงิน หรือแบบผ้าถุงของไทย การใส่เสื้อผ้าแบบดั้งเดิมของ ชาวม้งทั้งหญิงและชายมีแต่ในโอกาสพิเศษ เช่น งานปีใหม่ของชาวม้ง งานฉลองต่าง ๆ ที่จัดเป็น ทางการโดยกาหนดให้แต่งชุดประจาชาติพันธุ์ 3.1.2.4 กลุ่มชาติพันธุ์ลาว กลุ่มชาติพันธุ์ลาวในเขตเมืองเงินเป็นกลุ่มชนที่มเี ป็นส่วนน้อย มีอัตราส่วนเพยงร้อยละ 5.5 ของประชากรเท่านั้น ฐานะของชาวลาวในเมืองเงินค่อนข้างมั่งคั่ง เพราะส่วนใหญ่ทางานรับ ราชการ มีเงินเดือนตามอันตราค่าจ้างของราชการส่วนกลาง หรือมีรายได้จากการค้าปลีกและ การค้าส่งในท้องถิ่นหรือระหว่างท้องถิ่น ชาวลาวส่วนใหญ่ไม่มีที่นาและไร่เป็นของตนเองนอกจาก จะเป็นคู่สมรสกับชาวไทลือ้ อาจทาสวนครัวเล็กน้อยบริเวณใกล้บ้าน จึงต้องซือ้ ข้าวสารจากชาวไท ลือ้ มาบริโภค ชาวลาวในเมืองเงินส่วนใหญ่อาศัยอยู่ที่บ้าน้าเงิน เพราอยู่ใกล้กับที่ทางาน คือ สานักงาน ต่าง ๆ ของเมืองเงินและตลาดยามเย็นที่เรียกว่า “ตลาดแลง” พ่อค้าแม่ค้าชาวลาวในตลาดแลงส่วน ใหญ่มีคสู่ มรสเป็นเจ้าหน้าที่สว่ นราชการระดับเมือง ส่วนชาวลาวที่อยู่ตามหมูบ่ ้านของชาวขมุและ 30
ข้อมูลสถิตแิ ห่งชาติลาวครั้งที่ 3, ปี 2005
32
ไทลือ้ นั้นประกอบอาชีพเป็นครู หมอ และพยาบาล ซึ่งส่วนใหญ่ย้ายถิ่นที่อยู่มาจากเมืองหงสาตั้งแต่ พ.ศ. 2535 ในช่วงการก่อตั้งเมืองเงิน แยกตัวออกจากเมืองหงสา และยกฐานะจากกิ่งอาเภอให้เป็น อาเภอเมื่อเทียบกับระบบการปกครองของไทย ส่วนข้าราชการระดับสูงบางคนเป็นชาวลาวที่มาจาก เมืองไชยะบุรี สาเนียงภาษาลาวของชาวลาวในเมืองเงินมีความแตกต่างจากภาษาลาวเวียงจันทร์ คล้ายกับสาเนียงหลวงพระบางแต่มีคาศัพท์ที่แตกต่างไปโดยเฉพาะ เนื่องจากเมืองหงสามีประวัติ ความเป็นมาเกี่ยวข้องกับกลุ่มชนหลากหลาย เช่น ชาวมอญ พม่า ไทญ้อ และลาวหลวงพระบาง การแต่งกายของชาวลาวเมืองเงินส่วนใหญ่นุ่งซิ่นลาวในชีวติ ประจาวัน แต่บางคนนิยมนุ่ง ซิ่นแบบไทลือ้ โดยกล่าวว่า “นุ่งซิ่นฝูายไทลือ้ เย็นสบายกว่า เพราเหมาะสมกับอากาศที่มคี วามชืน้ ลวดลายของผ้าซิ่นก็สวยดี อยู่เมืองไทลือ้ ก็นุ่งแบบชาวไทลือ้ ดีกว่า” ข้าราชการบางคนนิยมใช้ผ้าซิ่น สีย้อมธรรมชาติ ซึ่งผูด้ าเนินโครงการผ้าทอสีธรรมชาติก็เป็นชาวลาวที่มาจากเมืองหงสา เขาได้ พยายามส่งเสริมให้ชาวไทลื้อที่เมืองเงินทอผ้าลวดลายแบบดั้งเดิมและฟื้นฟูการย้อมสีธรรมชาติ ตามภูมิปัญญาท้องถิ่น เมื่อมีงานบุญไปวัด ชาวลาวส่วนใหญ่จะนุ่งผ้าซิ่นลาว แต่มีคนจานวนไม่น้อย ใช้ผ้าเช็ดไทลือ้ เมืองเงินมาพาดบ่าเป็นผ้าสไบ ส่วนผูช้ ายชาวลาวก็เอาผ้าเช็ดแบบไทลือ้ เมืองเงินมา พาดบ่าเช่นเดียวกัน 3.1.2.5 กลุ่มชาติพันธุ์ปรัย “ปรัย” เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ-เขมร เช่นเดียวกับชาวขมุ ซึ่งชาวปรัย หรือ มัล ในประเทศไทยจะเรียกว่ากลุ่มชาติพันธุ์ “ถิ่น” อาศัยอยู่ที่ อาเภอทุ่งช้าง อาเภอปัว และอาเภอเมือง จังหวัดน่านเป็นส่วนใหญ่ การตัง้ ถิ่นฐานของชาวปรัยใน ลาวส่วนใหญ่จะอยู่ที่แขวงไชยะบุรีและอุดมไชย ประชากรชาวปรัยในประเทศลาวมีจานวนทั้งหมด 21,922 คน34 ในเมืองเงินบางคนเรียกกลุ่มชนนีเ้ ป็น “ลาวใหม่” เพราชาวปรัยเคยอพยพไปอยู่ที่ค่าย ผูล้ ีภ้ ัยในประเทศไทยหลังปี พ.ศ. 2518 แล้วบางส่วนกลับเข้ามาใหม่อกี ครั้งในช่วงกลางทศวรรษที่ 2530 (ต้นทศวรรษที่ 1990) และก่อนหน้านั้นก็เคยอพยพจากแขวงไชยะบุรีเข้าไปอยู่ในประเทศไทย เมื่อประมาณ 60-80 ปีที่แล้ว การตัง้ ถิ่นฐาน ส่วนใหญ่จะอยู่ที่บริเวณเชิงเขา ดารงชีพด้วยการถางปุาทาไร่หมุนเวียน กณีชาวปรัยเมืองเงิน บางส่วนย้ายมาอยู่ร่วมกับชาวไทลือ้ ที่บ้านนางัวซึ่งเป็นที่ราบระหว่างหุบเขา ทาไร่ทาสวนโดยปลูกข้าวไร่ เมี่ยง ลูกเดือยและข้าวโพด ชาวปรัยในเมืองเงินสามารถพูดภาษาไทลือ้ และลาวได้ นิยมสวมชุดไทลือ้ รวมทั้งเสือ้ และผ้าซิ่น โดยซือ้ มาจากชาวไทลือ้ หรือแลกเปลี่ยนกับ ของปุา สัตว์ปุาเป็นต้น แต่ในปัจจุบันนิยมซือ้ ผ้าถุงของไทยและซิ่นลาวมานุ่งมากขึ้น ทางด้านความ 34
ข้อมูลสถิตแิ ห่งชาติลาวครั้งที่ 3, ปี 2005
33
เชื่อ ชาวปรัยนับถือผี เช่น ผีเจ้าที่ ผีเรือน ผีบ้าน ผีไร่ รวมถึงมีความเชื่อเรื่องขวัญโดยทาพิธีสู่ขวัญ เช่นเดียวกับชาวขมุ 3.1.3 ประวัติความเป็นมาของเมืองเงินและรัฐอื่น ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เนื่องจากที่ตงั้ ของเมืองเงินอยู่ในบริเวณชายแดนของประเทศไทยและประเทศ สปป.ลาว ในปัจจุบัน การศึกษาทางประวัติศาสตร์ของเมืองเงินจึงไม่ค่อยปรากฏในข้อมูลแห่งชาติของทั้งสอง ประเทศ ดังนัน้ ต้องอาศัยข้อมูลท้องถิ่น และต้องพิจารณาจากหลักฐาน แหล่งข้อมูลของแต่ละ ยุค สมัยตามขอบเขตอิทธิพลของรัฐอื่น ๆ ที่เมืองเงินส่งบรรณาการอยู่ในสมัยนั้น ๆ ซึ่งส่วนใหญ่ เมือง เงินขึ้นกับเมืองน่านตั้งแต่ยุคแว่นแคว้น-นครรัฐ ก่อนกาเนิดอาณาจักรล้านนาและล้านช้างในเวลา ต่อมา อีกทั้งกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในเขตนีไ้ ด้มกี ารอพยพและการตั้งถิ่นฐานอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ ก่อนสมัยราชวงศ์ มังรายของล้านนาเรื่อยมาจนถึงสมัยราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน เป็นการอพยพย้ายถิ่น ฐานอย่างเสรี เนื่องจากแต่ละรัฐไม่มีพรมแดนทางการเมืองที่แน่นอนและไม่มกี ารแบ่งแยกชาติพันธุ์ อย่างชัดเจน 1) ยุคแว่นแคว้น-นครรัฐ ก่อนกาเนิดอาณาจักรล้านนาและล้านช้าง เมืองเงินก่อนพุทธศตวรรษที่ 18 สันนิษฐานว่ามีชุมชนของกลุ่มชนพูดภาษาตระกูล มอญ-เขมรอาศัยอยู่ เหมือนดินแดนที่อยู่ใกล้เคียงกัน ดังเช่น เมืองซวา หรือเมืองเซ่าของชาวขมุอยู่ ในแขวงหลวงพระบางที่ก่อตั้งรัฐของตนเองในราวพุทธศตวรรษที่ 16 ก่อนที่ชาวลาวจะก่อตั้ง อาณาจักรล้านช้าง35 หลักฐานจาก “พืน้ เมืองน่าน” ได้กล่าวถึงปฐมกษัตริย์ราชวงศ์กาวหรือพญาภู คาครองเมืองย่าง ซึ่งอยู่ในที่ราบลุ่มน้าย่าง ลาน้าสาขาของแม่น้าน่านในเขตบ้านปุาตอง หมู่ 3 ตาบลศิลาเพชร อาเภอปัว พญาภูคาได้นาไพร่พลจานวน 220 คน อพยพจากเมืองเงินยาง เมื่อปี ค.ศ. 1277 (พ.ศ. 1820) ต่อมามีชาวเชียงแสนและสิบสองพันนาอพยพมาอยู่ดว้ ยแล้วขยายออกไป ตั้งหมูบ่ ้านใหม่ ในชุมชนใหม่แห่งนี้ได้สร้างระบบเหมืองฝายขึ้นเพื่อขยายที่ทากิน จากนั้นมีการสร้าง บ้านเมืองของราชวงศ์ภูคา ตานานเล่าว่า ฤๅษีพระยาเถรแต๋งแห่งดอยติว้ ดอยวาวได้หาทาเลและ สร้างเมืองให้พระโอรสสององค์ของพญานาคซึ่งพญาภูคารับเป็นลูก คือ ขุนนุ่นและขุนฟอง ให้ขุน
35
นิพัทธเวช สืบแสง, 2539, สังคมและวัฒนธรรมชาวขมุกับการพัฒนา, เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม, หน้าที่ 1
34
นุ่นข้ามแม่น้าโขงไปปกครองหลวงพระบาง ให้ขุนฟองปกครองเมืองปัว มีลักษณะเป็นบ้านพี่เมือง น้องกัน สะท้อนความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดในระบบเครือญาติของรัฐสมัยโบราณ36 2) สมัยอยูภ่ ายใต้อานาจของอาณาจักรล้านนา พ.ศ. 1839-2100 (ค.ศ.1296-1558) อาณาจักรล้านนาก่อตั้งขึน้ เมื่อ พ.ศ. 1839 (ค.ศ.1296) มีเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง ของอาณาจักร จากนั้นรวบรวมแว่นแคว้น - นครรัฐไว้ด้วยกันเป็นรัฐใหม่ มีลักษณะการรวมตัวเป็น แบบหลวม ๆ คือศูนย์กลางอานาจแผ่อิทธิพลออกไปสู่เมืองบริวารด้วยการเมืองการปกครองใน ระบบเครือญาติ สร้างความเชื่อในพระพุทธศาสนานิกายลังกาวงศ์ร่วมกัน และมีผลประโยชน์ทาง การค้าระหว่าง ประเทศ นอกจากอาณาจักรล้านนาแล้วยังมีรัฐใหม่ที่มพี ื้นฐานการเมืองการ ปกครองเหมือนกันเกิดขึ้น คือ อาณาจักรล้านช้าง สุโขทัย และอยุธยา โดยกลุ่มชาติพันธุ์ไทเป็นผู้ ครองเมืองและกษัตริย์ของอาณาจักร อาณาจักรล้านนามีสภาพรัฐเป็นรัฐในหุบเขา ซึ่งมีขอ้ จากัดใน การสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของอาณาจักร ในที่สุดอาณาจักรล้านนาจึงล่มสลายลงใน พ.ศ. 2101 (ค.ศ.1558) ตกเป็นเมืองชายขอบของพม่าและสยามสืบต่อมา เมืองน่านเป็นเมืองประเทศราชของอาณาจักรล้านนาตั้งแต่ พ.ศ. 1992 (ค.ศ.1449) เป็น เมืองที่อยู่ชายขอบของอาณาจักร โดยแต่งตั้งเจ้าเมืองปกครองด้วยตนเองตามประเพณีท้องถิ่น และสามารถสืบทอดตาแหน่งเจ้าเมืองตามสายสกุลวงศ์ได้ แต่เจ้าเมืองประเทศราชต้องส่ง บรรณาการมาให้เมืองราชธานีเพื่อแสดงความจงรักภักดี ฐานะของประเทศราชเหล่านี้ข้นึ อยู่กับ นโยบายหรือความเข้มแข็งอานาจของกษัตริย์ เมื่อเชียงใหม่อ่อนแอเมืองประเทศราชอาจตั้งตัวเป็น รัฐอิสระหรือไปขึน้ กับศูนย์อานาจอื่นที่มีความเข้มแข็งอยู่ในขณะนัน้ ก็ได้ ในสมัยนีเ้ มืองเงินซึ่งตั้งอยู่ ฝัง่ ขวาแม่น้าโขงอยู่ภายใต้การปกครองของเมืองน่านและอิทธิพลของอาณาจักรล้านนา ดังที่ สรัสวดี อ๋องสกุลกล่าวว่าอาณาเขตล้านนาจรดแม่น้าโขงฝัง่ ขวาติดกับหลวงพระบางที่ตั้งอยู่ริมน้า โขงฝัง่ ซ้ายตามตานานพืน้ เมืองน่านมีความสัมพันธ์ระหว่างเมืองน่านและหลวงพระบางหรือเชียง ทองเป็นบ้านพี่เมืองน้องกัน37
36
รัตนาพร เศรษฐกุล, 2538. “การอพยพและการตั้งถิ่นฐานของลื้อเมืองน่าน”. เชียงใหม่ : สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. หน้าที่ 1416 37 สรัสวดี อ๋องสกุล. 2552. ประวัตศิ าสตร์ลา้ นนา. พิมพ์ครัง้ ที่ 6. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์อมรินทร์ หน้าที่ 255 - 257
35
3) สมัยพม่าปกครองล้านนา พ.ศ. 2101-2317 (ค.ศ. 1558-1774) พม่าปกครองล้านนาเป็นเวลากว่า 200 ปี สรัสวดี อ๋องสกุลอธิบายถึงลักษณะทาง การเมืองในสมัยนั้นว่า ได้เกิดเป็นระบบการเมืองแบบแว่นแคว้นอีกครั้งหนึ่ง และแต่ละเมืองแยกตัว จากอานาจศูนย์กลาง มีฐานะเป็นรัฐอิสระเกิดเป็นกลุ่มการเมืองท้องถิ่น พม่าไม่อาจปกครอง ดินแดนล้านนาทั้งหมดได้ แต่เมื่อใดที่พม่าไม่มีปัญหาทางการเมืองภายในแล้วจึงยกกองทัพมา จัดการปราบปรามรัฐอิสระเหล่านี้ อย่างไรก็ตาม ในระหว่าง พ.ศ. 2207-2317 (ค.ศ. 1664-1774) พม่าเปลี่ยนลักษณะการปกครองโดยเข้ามาแทรกแซงกิจการในท้องถิ่นมากขึ้นและใช้อานาจขูดรีด เก็บเกี่ยวผลประโยชน์จากชาวพื้นเมืองจนได้รับความเดือดร้อนกันทั่วไป ความบีบคั้นจากการ ปกครองเหล่านีท้ าให้ผู้นาชาวล้านนาหันมาสวามิภักดิ์ต่อสยาม และร่วมกันขับไล่พม่าออกจาก เชียงใหม่ได้สาเร็จใน พ.ศ. 2317 (ค.ศ. 1774) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของเมืองเงินในสมัยพม่าปกครอง มีศิลาจารึกวัดศรีบุญยืนสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2359 (ค.ศ. 1816) และศิลาจารึกพระพุทธรูปที่ขุดค้นได้จากธาตุเก่าที่บ้านน้าเงินในปี พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) ซึ่งสานักงานการท่องเทีย่ วเขตเมืองเงิน กระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรมได้ จัดทาเอกสารสาเนาประวัติศาสตร์เมืองเงินจากศิลาจารึกดังกล่าว มีเนื้อหาโดยย่อดังนี้ เมืองเงิน หรือเมืองกุฎสาวดี เคยตกอยู่ภายใต้อานาจการปกครองพม่าตั้งแต่ต้นพุทธ ศตวรรษที่ 22 (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16) ตั้งแต่นั้นมา ชาวพม่าได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย สร้างวัดวาอาราม ซึ่งมีการค้นพบซากวัดร้างและวัตถุโบราณ เช่น ในปี พ.ศ. 2550 ได้พบซากวัด ร้างที่ หัวทุ่งขาม และพระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์28 นอกจากนี้ ยังมีพระธาตุอีกองค์หนึ่งที่ชาวเมือง เงินเรียกว่า พระธาตุหมัดคา ปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตปุาสงวนบ้านแก้วดอนกูน มีตานานประวัติความ เป็นมาที่เล่าสืบทอดมาดังนี้ “ในปี พ.ศ. 2139 (ค.ศ. 1576) ชาวพม่าและชาวไทเขินที่อาศัยอยู่ในบริเวณหัวทุ่งขามได้ พบเห็นช้างเผือกเชือกหนึ่ง มีผิวหนังสีเงินคล้ายเงินหมัน เดินเลาะตามแคมแม่น้าสายหนึ่งล่องลงมา ชาวพม่ารู้สกึ ประหลาดใจไม่เคยเห็นช้างเผือกสีเช่นนี้ จึงพากันติดตามช้างเชือกนีไ้ ปจนถึงแม่น้าอีก สายหนึ่ง เมื่อไปถึงประมาณหนึ่งพันวา ช้างเชือกนี้แวะเข้าป่าทางซ้ายมือแล้วเดินเข้าไปในถ้า ทันใด นั้นดินที่อยู่บนปากถ้าก็ถล่มลงมาปิดรูถ้าอย่างมหัศจรรย์ ชาวพม่าที่เห็นเหตุการณ์นตี้ ื่นตาตื่นใจเลย พากันกลับบ้านไปแจ้งให้ชาวบ้านรับทราบ หลังจากนั้น พวกชาวพม่าพากันขุดค้นหาช้างดังกล่าวที่ บริเวณถ้า แต่ไม่พบตัวช้าง มีแต่ตัวหมัดสีทองจานวนมากพากันออกมา พวกหมัดทั้งหลายเติบโต ขึน้ เท่าตัวคนแต่ไม่กัดคน เมื่อไม่มีใครอยู่ในบริเวณนั้นตัวหมัดจะหายไป ภายหลังชาวพม่าระดม เกณฑ์แรงงานไปก่อสร้างพระธาตุเจดีย์ข้ึนครอบปากถ้าดังกล่าว ตั้งแต่นั้นมา ลาน้าห้วยที่ช้างเดิน เลาะนั้นได้เรียกว่า “น้้าเงิน” ส่วนห้วยที่ช้างเดินเลาะไปอีกสายหนึ่งเรียกว่า “น้้าย่าง” (“ย่าง” เป็น
36
ภาษาลาว หมายถึง “เดิน”) นาน ๆ เข้าได้เปลี่ยนแปลงเป็น “น้้ายาง” ตามชื่อแม่น้าในปัจจุบัน ส่วน สถานที่ที่ชาวพม่าขุดค้นตัวช้างเรียกว่า “ห้วยขุดเงิน” พระธาตุที่สร้างครอบปากถ้านั้นเรียกว่า “พระธาตุหมัดคา””38 ตานานดังกล่าวได้สะท้อนให้เห็นว่า เมืองเงินในสมัยนั้นมีแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ กลายเป็น เรื่องเล่าเป็นตัวช้างสีเงินที่ถูกทับถมใต้ดนิ สอดคล้องกับข้อมูลที่ รัตนาพร เศรษฐกุล กล่าวถึงเมือง เงินว่า “เป็นเมืองที่มแี ร่เงินและตะกั่วอยู่แถบภูเขา นอกจากนีท้ ี่ส้าคัญยังเป็นจุดผ่านของ เส้นทางการค้าเกลือ เป็นบริเวณที่มกี ารตัง้ ถิ่นฐานของชาวลือ้ จากสิบสองปันนา ในช่วงต้น คริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ เป็นช่องทางของการอพยพและตั้งถิ่นฐาน เพราะระยะทางไม่ไกล สามารถ เดินทางเข้าสู่น่านได้สะดวก”39 สมัยสร้างบ้านแปงเมืองของเมืองเงิน บรรพบุรุษของชาวเมืองเงินมีต้นกาเนิดมาจากหลายแห่ง อาทิ เมืองยอง เมืองหลวง เมืองหลวงน้าทาเป็นต้น มีตานานและคาบอกเล่าเรื่องความเป็นมาของเมืองเงินและหมู่บ้านต่าง ๆ ในเมืองเงินหลายฉบับ ซึ่งบางฉบับมีความขัดแย้งกันในเรื่องเวลาและเนื้อหารายละเอียด ไม่ สามารถพิสูจน์ได้ว่าฉบับใดเป็นความจริงทางประวัติศาสตร์ ดังนัน้ ขออธิบายความเป็นมาของ เมืองเงินตามฉบับล่าสุดที่จัดทาโดยสานักงานการท่องเที่ยวเขตเมืองเงิน กระทรวงแถลงข่าวและ วัฒนธรรม ปี พ.ศ. 2555 (พ.ศ. 2012) เป็นหลัก แต่ถ้ามีขอ้ มูลบางส่วนที่แตกต่างกัน จะอ้างอิงและ อธิบายถึงส่วนที่ตา่ งกับฉบับล่าสุด จากข้อมูลฉบับล่าสุดนั้นกล่าวว่า บรรพบุรุษของชาวเมืองเงินมาจากหลวงน้าทา โดยไม่ ระบุกลุ่มชาติพันธุ์แต่สว่ นใหญ่น่าจะเป็นชาวไทลือ้ เพราะกล่าวถึงการใช้ปฏิทินไทลือ้ ในระหว่างปี พ.ศ. 2245 ถึง พ.ศ. 2257 (ค.ศ. 1702-1714) ที่เมืองหลวงน้าทาได้เกิดน้า ท่วมทุกปี เป็นเหตุทาให้ประชาชนได้รับผลกระทบอันใหญ่หลวง ขณะนั้นเมืองหลวงน้าทามี ผูป้ กครองสององค์คอื เจ้านางขันคาและเจ้านางสุธรรมา เมื่อพระนางทั้งสองเห็นประชาชนได้รับ ความเดือดร้อนจากเหตุการณ์นาท่ ้ วม จึงได้ขนึ้ เรือไปทอดพระเนตรความเสียหายของหมูบ่ ้านต่าง ๆ จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดก็คือ เรือที่พระนางทั้งสองนั่งถูกกระแสน้าพัดพาอย่างรุนแรง 38
สานักงานการท่องเที่ยวเขตเมืองเงิน,กระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรม, 2012, ประวัตศิ าสตร์ ของเมืองเงิน, เอกสารอัดสาเนา 39 รัตนาพร เศรษฐกุล, 2538. “การอพยพและการตั้งถิ่นฐานของลื้อเมืองน่าน”. เชียงใหม่ : สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. หน้าที่ 23
37
มีขอนไม้ไผ่ท่อนใหญ่ลงมาทับใส่เรือจึงทาให้เรือจมลงจนคนที่นั่งเรือลานั้นหายไปกับกระแสน้า ดังนัน้ พระนางทั้งสองจึงสิ้นพระชนม์ ตั้งแต่นนั้ มาคนในเมืองหลวงน้าทาจะปฏิบัติตามคาพระราช ดารัสคือ “เมื่อถึงวันเริ่มต้นของเดือน 8 ตามปฏิทินไทลือ้ จงให้พวกเจ้าเอาวัวแม่ลูกอ่อน 1 ตัวไป ถวายให้แก่ดวงวิญญาณของเราทั้งสอง” ทั้งนีเ้ พื่อเป็นเกียรติคุณต่อการเสียสละอันยิ่งใหญ่ของพระ นางทั้งสอง จึงได้อัญเชิญเอาดวงวิญญาณของพระนางทั้งสองขึน้ เป็นมเหศักดิ์หลักเมือง หลังจาก นั้น เมืองหลวงน้าทาขาดผูป้ กครองไปในระยะเวลา 3 ปี จนราษฎรเชิญเจ้าหม่อมหลวงหรือเจ้าสุริน ทาที่อยู่เมืองเชียงรุ่ง สิบสองพันนาให้มาปกครองเมืองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2260 (ค.ศ. 1717) ชาวหลวงน้า ทาจึงได้อยู่เย็นเป็นสุข จนกระทั่งปี พ.ศ. 2275 (ค.ศ. 1732) เจ้าหม่อมน้อยผู้เป็นหลานชายของเจ้า หม่อมหลวงได้นากาลังทหารมาบุกโจมตีเมืองหลวงน้าทาเพื่อแย่งชิงอานาจจากอา จึงทาให้ทหาร ทั้งสองฝุายเสียชีวิตเป็นจานวนมาก ฝุายเจ้าหม่อมหลวงได้ปรึกษาหารือกับเสนาอามาตย์ตัดสินใจ จะเลิกศึกกับฝุายหม่อมน้อย จนปี พ.ศ. 2276 (ค.ศ.1733) เจ้าหม่อมหลวงได้อพยพลี้ภัยไปอยู่เมือง น่านเพื่อปกปูองไพร่ฟาู ราษฎร นับตั้งแต่นั้นมา เมืองหลวงน้าทาก็ถูกเจ้าหม่อมน้อยปล้นสะดมเอา ทรัพย์สมบัติ ขุดค้นพระธาตุต่าง ๆ เพื่อเอาวัตถุมีค่านากลับไปที่เมือง เชียงรุ่ง จนทาให้เมืองหลวง น้าทากลายเป็นเมืองร้าง เจ้าหม่อมหลวงอาศัยอยู่ที่เมืองน่านเป็นเวลา 3 ปี จนถึงปี พ.ศ. 2279 (ค.ศ.1736) และ ขออนุญาตเจ้าชีวิตเมืองน่านไปก่อตั้งเมืองใหม่ โดยตั้งชื่อเมืองนี้ว่า เมืองกุฎสาวดี หรือ เมืองเงินใต้ (เมืองเงินในปัจจุบัน) เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว เจ้าหม่อมหลวงก็ได้นาเสนาอามาตย์ ขุนนาง ไพร่ฟาู ราษฎรไปตั้งถิ่นฐานอยู่เขตเมืองเงินปัจจุบันนี้ โดยจัดแบ่งเขตที่อยู่อาศัยและที่ทากินให้แต่ละฝุาย ดังนี้ - ฝุายขุนนางเชื้อกษัตริย์ให้ตงั้ ถิ่นฐานอยู่ที่เนินริมแม่น้าสายหนึ่ง ตั้งชื่อหมูบ่ ้านนีว้ ่า บ้าน เวียง หรือบ้านหลวง คือ บ้านหลวงมีไชยในปัจจุบัน - ฝุายที่เป็นเชือ้ สายมเหศักดิ์หลักเมือง คือ เจ้านางขันคาและเจ้านางสุธรรมา ให้ตงั้ ถิ่น ฐานอยู่รมิ แม่น้าอีกสายหนึ่งที่อยู่ตรงข้ามกับบ้านเวียง ตั้งชื่อหมูบ่ ้านนี้ว่า บ้านช้าง หรือ บ้านดอน แก้ว หรือบ้านแก้วดอนกูนปัจจุบัน - ฝุายเสนาอามาตย์และผูร้ ับใช้ทั้งหลายให้ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เชิงดอยทางตะวันตกของบ้าน เวียงติดกับปากแม่นา้ ทั้งสองสาย คือน้าเงินและน้ายาง ตั้งชื่อหมูบ่ ้านนี้วา่ บ้านดอนใจ หรือ บ้าน หลวงมีไชยในปัจจุบัน - ฝุายไพร่ฟูาราษฎรชาวเมืองทั่วไปให้ตงั้ ถิ่นฐานอยู่บริเวณสองแห่ง คือ แห่งที่หนึ่งอยู่ บริเวณเชิงดอยติดกับบ้านเวียงไปทางทิศตะวันออก ตั้งชื่อหมู่บ้านนีว้ ่า บ้านโกง หรือบ้านดอนมูน ปกครองโดยแสนหลวงคะนะทิบ คือ บ้านแก้วดอนกูนปัจจุบัน และแห่งที่สอง คือ ที่ราบลุ่มไปทาง ทิศเหนือจากบ้านเวียง ตั้งชื่อหมูบ่ ้านนีว้ ่า บ้านขอน ปกครองโดยแสนปัน
38
เมื่อมีการจัดระเบียบการปกครองเมืองได้ 4 ปีแล้ว เจ้าหม่อมหลวงก็ปรึกษาหารือกับ เสนาอามาตย์เพื่อสร้างวัดวาอาราม จึงได้นิมนต์ครูบาคาแสนที่เป็นเจ้าอาวาสของวัดบ้านนางัว มา เป็นผู้ออกแบบก่อสร้างวัดใหม่ เมื่อได้ก่อสร้างเสร็จสิน้ แล้วอีก 2 ปีตอ่ มาก็จัดพิธีเฉลิมฉลองและตั้ง ชื่อวัดแห่งนี้วา่ วัดรวม หรือวัดหลวง จากนั้นได้นิมนต์ครูบาคาแสนมาเป็นเจ้าอาวาส หลังจากครูบา คาแสนมรณภาพแล้ว ไพร่ฟูาราษฎรได้ก่อสร้างพระธาตุเพื่อบรรจุอัฐิของครูบาคาแสนไว้ โดยตั้งชื่อ ว่าพระธาตุศรีบุญยืน ตั้งแต่นั้นมา วัดแห่งนี้จึงถูกเรียกว่า วัดศรีบุญยืนจนถึงปัจจุบัน เอกสารประวัติความเป็นมาฉบับล่าสุดที่กล่าวมานีไ้ ม่ได้พูดถึงความเป็นมาของบ้านนา งัว ซึ่งสันนิษฐานจากเนื้อหาข้างต้นได้ว่าหมู่บ้านนีอ้ าจเก่าแก่กว่าที่อ่นื ในเมืองเงิน ส่วนเอกสารอีก ฉบับหนึ่งจัดทาในปี พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) นั้นระบุว่า การตัง้ ที่อยู่อาศัยที่บ้านนางัวเกิดขึ้นราวปี ค.ศ. 1620 (พ.ศ. 2163) มีผู้นาคนหนึ่งพาครอบครัว 7 ครอบครัว (มาจากเมืองหลวง 4 ครอบครัว และมาจากเมืองยอง 3 ครอบครัว) ทั้งหมด 37 คน ในขณะนัน้ ครูบาคาแสนกับหมาดาเดินทางมา พร้อมกัน โยกย้ายมาตัง้ ถิ่นฐานอยู่ที่บ้านนางัว ตามเอกสารฉบับปี พ.ศ. 2545 ส่วนหมู่บ้านอื่น เช่น บ้านเวียง (บ้านหลวงในปัจจุบัน) มี ผูน้ าชื่อ เจ้าหลวงกมมะช้าง ได้นาครอบครัวจานวนหนึ่งมาจากเชียงรุ่ง สิบสองพันนามาตั้งถิ่นฐาน อยู่บริเวณบ้านเวียงในปี ค.ศ. 1637 (พ.ศ. 2180) หลังจากนั้นประมาณ 4 ปี ได้นิมนต์ครูบาคาแสน จากวัดนางัวมาสร้างวัดที่บ้านเวียงขึน้ ต่อมาเรียกว่าวัดศรีบุญยืน จากนั้นเมื่อปี ค.ศ.1681 (พ.ศ. 2224) มีครอบครัวจานวนหนึ่งโยกย้ายมาจากหลวงน้าทา (ส่วนใหญ่มาจากบ้านหลวงขอน) มาตั้ง ถิ่นฐานอยู่ที่บ้านขอน บ้านดอนแก้ว บ้านดอนไชย และบางส่วนมาอยู่ที่บ้านเวียง แต่เนือ้ หาที่กล่าว ในข้างต้นตามฉบับปี พ.ศ. 2543 ระบุเวลาแตกต่างกับฉบับล่าสุดร้อยกว่าปี อย่างไรก็ตาม เอกสาร ฉบับล่าสุด (2012) กล่าวต่อไปว่า เจ้าหม่อมหลวงได้ปกครองเมือง กุฎสาวดีหรือเมืองเงินใต้แห่งนี้ ด้วยหลักพุทธศาสนา ถือสัจธรรมและคุณธรรมเป็นพืน้ ฐานในการอบรมสั่งสอนไพร่ฟาู ราษฎร ชาวเมือง ทาให้ชาวเมืองมีความพึงพอใจ บ้านเมืองมีความสงบสุข เจริญรุ่งเรือง ยังมีการส่งเสริม การทาพิธีกรรมต่าง ๆ ในแต่ละเดือนตามจารีตประเพณีของชาวไทลือ้ เรียกว่า “ฮีตคองประเพณีสิบ สองเดือน คองสิบสี่ ฮีตยี่คองเจียง” เจ้าหม่อมหลวงได้ปกครองเมืองอยู่นานถึง 15 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2279 ถึง 2294 (ค.ศ. 1736-1751) หลังจากนั้น เจ้าหม่อมกองก็ขนึ้ ครองราชย์ต่อเป็นระยะเวลา 22 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2294 ถึง 2316 (ค.ศ. 1751-1773) จากข้อความเหล่านี้ สามารถอธิบายได้วา่ การปกครองเมืองเงินในสมัยนั้นใช้ระบบ อุปถัมภ์เป็นหลัก และอาศัยพิธีกรรมต่าง ๆ ตามจารีตประเพณีเพื่อสร้างบารมีและความชอบธรรม แก่ผู้ปกครอง อนึ่ง แม้ในเอกสารของสานักงานเขตเมืองเงิน กระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรม ไม่ได้ระบุถึงการอพยพย้ายถิ่นฐานของชาวขมุ แต่ชาวขมุลื้อบ้านกางได้สืบทอดเล่าขานว่าพวกเขามี
39
ประวัติศาสตร์ร่วมกับไทลือ้ คือถิ่นกาเนิดของบรรพบุรุษอยู่ที่หลวงน้าทาแล้วได้เดินทางมาอพยพ พร้อมกับชาวไทลือ้ ประมาณ 250-300 ปีที่แล้ว โดยตั้งถิ่นฐานใกล้กับหมูบ่ ้านไทลื้อในเมืองเงิน40 4) สมัยรัฐสยามปกครอง ล้านนา และ 3 อาณาจักรในลาว พ.ศ. 2317-2436 (ค.ศ.1774-1893) ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 สถานการณ์ในภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างมาก เนื่องจากเกิดรัฐมหาอานาจ 3 แห่ง คือ พม่า ไทย และเวียดนาม รัฐไทยใน สมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น ขยายอานาจออกไปอย่างกว้างขวาง ครอบคลุมไปถึง ล้านนา ภาคอีสาน ล้านช้าง เขมร และหัวเมืองมลายู เมื่ออานาจพม่าค่อย ๆ ลดลงในดินแดน ล้านนาผูน้ าเมืองต่าง ๆในล้านนาหันมาเข้าสวามิภักดิ์ต่อสยาม ดังเช่นในกรณีเจ้าเมืองน่านยอม ขึน้ กับสยามใน พ.ศ. 2331 (ค.ศ. 1788) จากนั้น ทุ่มเทช่วยทาสงครามขับไล่พม่าและฟื้นฟูเมืองน่าน โดยกวาดต้อนผู้คนจากเมืองต่าง ๆ ดังนี้41 - ใน พ.ศ. 2333 (ค.ศ.1790) ไพร่เมืองยองถูกพม่าตีแตกพ่ายได้อพยพมาเมืองน่าน จานวน 600 คน - ใน พ.ศ. 2334 (ค.ศ.1791) เจ้าเมืองเชียงของพาไพร่ 500 ครอบครัวเข้ามาอยู่ เมืองน่าน - ใน พ.ศ. 2347 (ค.ศ.1804) ในสงครามขับไล่พม่าออกจากเชียงแสน น่านได้ส่วนแบ่งไพร่ชาวเชียงแสนจานวนหนึ่ง - ใน พ.ศ. 2348 (ค.ศ.1805) ได้กวาดต้อนเจ้านายขุนนางไทลือ้ จากสิบสองพันนา - ใน พ.ศ. 2355 (ค.ศ.1812) กวาดครัวชาวลือ้ จากเมืองล้า เมืองพง เมืองหลวงภูคา เมืองเชียงแขง เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณด้านเหนือของเมืองน่าน ประมาณ 6,000 คน ต่อมาเจ้าเมืองน่านก็ได้เข้ามาฟื้นฟูการปกครองเมืองเชียงของและเมืองเทิง โดยเฉพาะ เมืองเชียงของอยู่ชายแดนเป็นเมืองหน้าด่าน จึงส่งกองทัพเข้ามาดูแล ดังพบร่างสารตราเจ้าพระยา จักรีฯ ความว่า “...แลเมืองน่านเป็นเมืองใหญ่มเี มืองขึ้นหลายเมือง ทหารไพร่พลมีมากกว่าแต่ก่อน
40
มาริ ซากาโมโต. กระบวนการสร้างอัตลักษณ์และความสัมพันธุ์ระหว่างชาวขมุกับไทลื้อ : ศึกษาจากวัฒนธรรมผ้าทอในเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป. ลาว. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ธันวาคม 2556 .หน้าที่ 70 41 รัตนาพร เศรษฐกุล, 2538. “การอพยพและการตั้งถิ่นฐานของลื้อเมืองน่าน”. เชียงใหม่ : สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.
40
ทั้งพญาน่านก็มีสติปัญญาเคยทาทัพทาศึกมาหลายครั้งแล้ว ได้ตงั้ เมืองเชียงของ เมืองเทิง แผ่เขต แดนออกไปจนใกล้ชิดพวกลื้อสิบสองปันนาไปมาสืบสวนถึงกันไม่ขาด...”42 กล่าวโดยสรุปว่า ในสมัยนั้นเมืองน่านมีอาณาเขตทางเหนือจรดฝั่งแม่น้าโขงที่เมืองเชียง ของ ทางตะวันตกจรดเขตเชียงรายบริเวณแม่น้าอิงวกเข้าหาเขตแม่น้ายม และติดต่อกับลาปางและ แพร่ ทางตะวันออกมีอาณาเขตที่ลอ่ งตามลาแม่น้าโขงลงมาถึงเมืองเชียงลม เชียงฮ่อนไปถึงเมือง เงิน จรดทิวเขาหลวงพระบางทางใต้ ส่วนทิศใต้ตดิ ต่อกับเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ถึงบ้านผาเลือด อาเภอท่าปลา นอกจากนี้ ยังมีเมืองสิง เมืองนัง เมืองหลวงน้าทา เมืองภูคา เมืองเชียงลาบและ เมืองเชียงแขง ที่อยู่ฝั่งซ้ายแม่น้าโขงเป็นเมืองขึ้น43 เมืองเงินในปี พ.ศ. 2316 (ค.ศ. 1773) เจ้าหม่อมอาชญามหาวงศ์ขึ้นปกครองเมือง จนถึง ปี พ.ศ. 2346 (ค.ศ. 1803) ในช่วงระยะเวลาเดียวกัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2322 เป็นต้นมา เป็นช่วงที่ สยาม รุกรานเอาอาณาจักรจาปาสัก เวียงจันทน์ และหลวงพระบางเป็นหัวเมืองขึน้ ของสยาม จึง ทาให้เมืองเงินเป็นส่วนหนึ่งที่สยามเข้ามาปกครอง และก่อตัง้ ฐานที่มั่นทางทหารหลายแห่ง เช่น ปูอมปราการจิกจอง ปูอมสันพูห้วยหก ปูอมบ้านเวียง เป็นต้น พวกทหารสยามนัน้ นาวัฒนธรรม การดารงชีวติ ประจาวันเข้ามาเผยแพร่อย่างกว้างขวาง ได้จัดตั้งสถานศึกษาภาษาไทยให้แก่คนใน ท้องถิ่น44 สุวิทย์ ธีรศาศวัต กล่าวว่าข้อมูลเกี่ยวกับการเก็บส่วยในลาวโดยรัฐบาลไทย มีแต่หัวเมือง 17 เมือง ส่วนใหญ่อยู่ในภาคใต้ของลาว เมืองที่อยู่ในภาคกลางและภาคเหนือมีเพียง 2 เมือง คือ เวียงจันทน์และแก่นท้าว ในสมัยการปกครองของสยาม เมืองเงินมีเจ้าครองเมืองตามลาดับดังนี้ - พ.ศ. 2346 (ค.ศ. 1803) เจ้าหม่อมอาชญามหาวงศ์ถึงแก่กรรม - พ.ศ. 2346-2378 (ค.ศ. 1803-1835) เจ้าหม่อมอาชญามหานามขึน้ ครองราชย์ - พ.ศ. 2378-2394 (ค.ศ. 1835-1851) เจ้าหม่อมอาชญาน้อยปกครองรวมระยะเวลา 16 ปี - พ.ศ. 2394-2396 (ค.ศ. 1851-1853) เจ้าหม่อมเทพขึ้นครองราชย์เป็นเวลา 2 ปี แล้ว ถึงแก่กรรม - พ.ศ.2396-2414 (ค.ศ.1853-1871) เจ้าหม่อมเต็ดปกครอง 42
สรัสวดี อ๋องสกุล. 2552. ประวัติศาสตร์ล้านนา. พิมพ์ครัง้ ที่ 6. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์อมรินทร์
หน้าที่ 333 43
รัตนาพร เศรษฐกุล, 2538. “การอพยพและการตัง้ ถิ่นฐานของลื้อเมืองน่าน”. เชียงใหม่ : สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.:24 44 สานักงานการท่องเที่ยวเขตเมืองเงิน,กระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรม, 2012, ประวัตศิ าสตร์ของ เมืองเงิน, เอกสารอัดสาเนา
41
- พ.ศ. 2414-2426 (ค.ศ.1871-1883) เจ้าลังกาขึน้ ครองราชย์ รวมระยะเวลา 12 ปี45 หลังจากเจ้าหม่อมลังกาได้ถึงแก่กรรมแล้ว เจ้าพญาซ้ายพมมินเสนอตัวขึน้ ครองราชย์ โดยเดินทางไปขอรับการแต่งตั้งจากเจ้าชีวติ เมืองน่าน พอเดินทางไปถึงบ้านตาแฝกก็ได้ล้มปุวย สิน้ พระชนม์อยู่ที่นั่น เสนาอามาตย์พร้อมบ่าวไพร่ไทเมืองจึงอัญเชิญเจ้าวงสุวันขึ้นปกครอง เมื่อ ปกครองได้ระยะหนึ่ง เจ้าวงสุวันมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ทาให้เสนาอามาตย์และไพร่ฟูาราษฎร ไม่พอใจ จึงเกิดเหตุการณ์วุ่นวาย เจ้าวงสุวันจึงต้องสละอานาจลงจากตาแหน่งและมีการแต่งตั้งเจ้า หลวงกมมะจ้าง (เจ้าหลวงสิดทิสานสุวันนะลังสีสลิ ิวาทะลาชะพูทอนอุดอนพูบาน) ให้เป็นผู้ปกครอง เมืองเงินจนกระทั่งปี พ.ศ. 2434 (ค.ศ. 1891) เจ้าชีวิตเมืองน่านได้ออกพระราชโองการแต่งตั้งเจ้า หลวงกมมะจ้างไปฟื้นฟูสร้างเมืองหลวงน้าทาใหม่ ส่วนเมืองกุฎสาวดี หรือเมืองเงินใต้ได้แต่งตั้งเจ้า หม่อมหลวงขาลายขึ้นปกครองแทน46 หลักฐานเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงการแผ่อานาจของเจ้าเมืองน่านในการปกครองเมืองขึ้น ต่าง ๆ ในบริเวณทางเหนือของเมืองน่านรวมถึงหลวงน้าทา นอกจากนีย้ ังมีหลักฐานจากพืน้ เมือง น่านกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างราชวงศ์เมืองน่านและเมืองเงินโดยมีการสมรสของเจ้าชีวติ เมือง น่านองค์หนึ่ง คือเจ้าอานันทากับแม่เจ้าแหวน ซึ่งเป็นหญิงชาวไทลือ้ เชื้อเจ้าจากเมืองกุฎสาวดีใน ราว ค.ศ. 1886-1887 5) สมัยอยู่ภายใต้อิทธิพลของจักรวรรดินิยมฝรั่งเศส พ.ศ. 2436-2496 (ค.ศ. 1893-1953) การเข้ามาของจักรวรรดินิยมสู่ดนิ แดนแห่งนี้ทาให้รัฐแบบจารีตเสื่อมสลายลง สยาม ประเทศจึงจาเป็นจะต้องปฏิรูปการปกครองจากการปกครองแบบจารีตของเมืองเป็นการปกครอง แบบรัฐชาติการขยายอานาจเข้ามายึดครองดินแดนในบริเวณเมืองเงินของฝรั่งเศสเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2436 (ค.ศ.1893) ฝรั่งเศสได้ยึดครองดินแดนฝัง่ ซ้ายแม่น้าโขง คือฝั่งหลวงพระบาง ทาให้มณฑล พายัพทางด้านตะวันออกแถบเมืองน่านของสยามมีพรมแดนติดต่อกับเขตอิทธิพลของฝรั่งเศส ซึ่ง ปัจจุบันอยู่ในแขวงไชยะบุรีรวมถึงเมืองเงิน สรัสวดี อ๋องสกุล กล่าวถึงหลักการในการแบ่งเขตแดนระหว่างล้านนาและล้านช้างว่า บริเวณฝั่งขวาแม่น้าโขงถือกันว่าเป็นเขตอิทธิพลของล้านนาโดยแม่น้าโขงเป็นพรมแดนธรรมชาติกั้น
45
สุวทิ ย์ ธีรศาศวัต. 2543. ประวัตศิ าสตร์ลาว 1779 - 1975. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย. หน้าที่ 72 - 73 46 สานักงานการท่องเที่ยวเขตเมืองเงิน,กระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรม, 2012, ประวัตศิ าสตร์ของ เมืองเงิน, เอกสารอัดสาเนา
42
ล้านนาและล้านช้าง47 หลักการข้างต้นยังปฏิบัติสบื มาจนถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 25 (ปลาย คริสต์ศตวรรษที่ 19) ซึ่งมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์จากเอกสารคัมภีร์ใบลานและพับหนังสา กล่าวถึงเมืองเงิน หรือกุฎสาวดีว่าอยู่ในเขตปกครองของเมืองน่าน โดยมีการกล่าวถึงคนในบังคับ อังกฤษเดินทางเข้าไปค้าขายที่เมืองเงิน และถูกคนร้ายฆ่าตาย เจ้าเมืองน่านเป็นผู้ชดใช้ค่าเสียหาย หัวเมืองชายแดนด้านฝัง่ ขวาแม่น้าโขงที่ขนึ้ กับเมืองน่านประกอบด้วย เมืองเงิน เมืองคอบ เมืองเชียง ลม เมืองเชียงฮ่อน ต่อมาทางกรุงเทพฯ ก็ได้ปฏิรูปการปกครองหัวเมืองทางภาคเหนือ ได้มกี ารตรา พระราชบัญญัติปกครองท้องที่ ร.ศ. 116 กาหนดการปกครองแขวงหัวของ มีเมืองทั้ง 4 แห่ง ดังกล่าวอยู่รวมกันโดยตั้งที่ว่าการอยู่ที่เมืองเชียงลม48
ภาพที่ 3 : ภาพแสดงแผนที่บริเวณฝั่งขวาของแม่นาโขง ้ : แผนที่จังหวัดล้านช้าง ที่มา : คณะบรรณาธิการสุรเสฏฐ รามสมภพและคณะ. 2541. ประวัตกิ ารรบของทหารไทยกรณีพพิ าทอินโดจีน ฝรั่งเศส. กรุงเทพฯ : กรมยุทธศึกษาทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด กระทรวงกลาโหม,
47
สรัสวดี อ๋องสกุล. 2552. ประวัตศิ าสตร์ลา้ นนา. พิมพ์ครัง้ ที่ 6. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์อมรินทร์
หน้าที่ 402 48
รัตนาพร เศรษฐกุล, 2538. “การอพยพและการตัง้ ถิ่นฐานของลื้อเมืองน่าน”. เชียงใหม่ : สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. 24
43
การปกครองของฝรั่งเศสในอาณาจักรลาว มีการจัดการบริหารการปกครองโดยบ้าน (หมูบ่ ้าน) รวมเป็นตาแสง ตาแสง (ตาบล) รวมเป็นเมือง เมือง (อาเภอ) รวมเป็นแขวง (จังหวัด) และ แบ่งกลุ่มชนเป็นลาวลุ่ม ลาวเทิง และลาวสูงตามพืน้ ที่ตั้งถิ่นฐานของแต่ละกลุ่มชน ในระยะหลัง ตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2442 (ค.ศ. 1899) เป็นต้นมาการปกครองเพิ่มความเข้มงวดมากขึ้นตาแหน่ง ราชการฝุายทหาร พลเรือน ตุลาการในระดับแขวงและในส่วนกลางเกือบทั้งหมดเป็นของชาว ฝรั่งเศส ฝรั่งเศสได้กาหนดให้พลเมืองผู้ชายทุกคนที่มีอายุระหว่าง 18-60 ปี ต้องทางานให้ ฝรั่งเศส 100 วันต่อปี โดยแยกเงื่อนไขตามกลุ่มชน 2 ประเภท คือ ประเภทแรกลาวลุ่มและลาวสูง จะต้องไป ทา งานครั้งละ 16 วัน ประเภทที่ 2 คือลาวเทิงจะต้องไปทา งานครั้งละ 20 วัน นอกจากนีย้ ังต้องถูก เกณฑ์ไปทางานรับจ้างอีกคนละ 3 ครั้งต่อปี สาหรับลาวลุ่มและลาวสูงครัง้ ละ 16 วัน โดยได้รับ ค่าจ้างวันละ 0.40 กีบ และสาหรับลาวเทิงครั้งละ 20 วัน โดยรับค่าจ้างวันละ 0.20 กีบ กล่าวโดย สรุปว่า ชาวลาวถูกขูดรีดแรงงานโดยถูกเกณฑ์แรงงานไปทา งานให้ฝรั่งเศสถึง ปี ละ 148-160 วันงานที่ใช้แรงงานเหล่านี้ก็คือ งานโยธาตามที่ฝรั่งเศสสั่งมา เช่น สร้างค่ายทหาร สนามบิน สะพาน ถนน สร้างและซ่อมแซมอาคารราชการเป็นต้น ซึ่งฝรั่งเศสให้เจ้าแขวง เจ้าเมือง ตาแสงทาบัญชีรายชื่อแรงงานเหล่านี้ เพื่อเกณฑ์แรงงานให้มปี ระสิทธิภาพ นอกจากการเกณฑ์ของ ฝรั่งเศสแล้ว พวกเขายังจะถูกพวกเจ้านายลาว เช่น เจ้าแขวง เจ้าเมือง นายกอง และตาแสงใช้ แรงงาน ต่อ หลังจากทีท่ างานให้ฝรั่งเศสครบตามเวลาที่กาหนดแล้ว49 ตั้งแต่ราว พ.ศ. 2443 (ค.ศ. 1900) เป็นต้นมา ผลจากการขูดรีดแรงงานและภาษีต่าง ๆ ทาให้เกิดการต่อต้านฝรั่งเศสจากชาว ลาว โดยส่วนใหญ่เป็นชาวลาวเทิงและลาวสูงทางภาคเหนือและภาคใต้ แล้วต่อมาก็ขยายไปยังภาค อื่น ๆ อีกด้วย
49
สุวทิ ย์ ธีรศาศวัต. 2543. ประวัตศิ าสตร์ลาว 1779 - 1975. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย. หน้าที่ 227 - 230
44
ในสมัยฝรั่งเศสปกครอง เศรษฐกิจลาวส่วนใหญ่ยังเป็นเศรษฐกิจแบบพอเพียง การผลิต ในหมู่บ้านชนบทก็เป็นการผลิตเพื่อบริโภคในชุมชน ในพืน้ ที่บริเวณแขวงไชยะบุรี เนื่องจากพืน้ ที่ส่วน ใหญ่เป็นภูเขา ชาวบ้านจึงต้องปลูกข้าวโดยทั้งทานาและทาไร่พร้อมกัน ชีวติ ความเป็นอยู่ของ ชาวบ้านในเมืองเงินในสมัยนั้นต้องขึน้ อยู่กับสถานการณ์ทางการเมือง ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อ ฝรั่งเศสพ่ายแพ้สงครามในยุโรป ทหารญี่ปุนเข้ามาไกล่เกลี่ยข้อพิพาทไทยกับอินโดจีนของฝรั่งเศส ได้ลงนามในอนุสัญญาโตเกียวให้ฝรั่งเศสคืนดินแดนฝัง่ ขวาแม่น้าโขง ประเทศไทยจึงได้เข้ามาตั้ง จังหวัดใหม่ 4 จังหวัดในบริเวณนี้ คือ จังหวัดล้านช้าง (แขวงไชยะบุรี) จังหวัดจาปาศักดิ์ จังหวัด พิบูลสงคราม และจังหวัดพระตะบองระหว่าง พ.ศ.2484-2488 (ค.ศ.1941-1945)
ภาพที่ 4 : ตราประจาจังหวัดลานช้างเมื่ออยูใ่ ต้การปกครองของไทย ( พ.ศ. 2484 - 2489) ที่มา :28 กันยายน 2486 ราชกิจจานุเบกสา เล่ม 60 ตอนที่ 51 .ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่องจัดตั้ง อาเภอเชียงแมน จังหวัดลานช้าง.
การสู้รบระหว่างฝุายไทยและฝุายฝรั่งเศสในบริเวณชายแดนเกิดขึ้นบ่อยครั้ง นายเที่ยง ชาวลาวเชื้อสายคนเมืองน่าน อายุ 55 ปี ในปัจจุบันอยู่ที่บ้านน้าเงิน เมืองเงิน กล่าวถึงเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นระหว่างเมืองน่านและเมืองเงิน ซึ่งจาได้ว่าสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายก รัฐมนตรีของไทย กล่าวคือพ่อของนายเที่ยงเป็นคนเมืองน่านซึ่งรับตาแหน่งเป็นกานัน ถูก ผูส้ นับสนุนฝุายฝรั่งเศสจับกุมที่น่านแล้วถูกลักพาตัวมาที่เมืองเงินโดยถูกกักขังในวัดบ้านหลวงหรือ วัดศรีบุญยืน นายเที่ยงสันนิษฐานเหตุการณ์ลักพาตัวของพ่อเขาน่าจะมาจากข้อพิพาทการจัดการ เขตแดนระหว่างไทยและฝรั่งเศส ต่อมาฝุายไทยส่งตารวจและเจ้าหน้าที่มาช่วยเหลือพ่อของนาย
45
เที่ยง เกิดการสูร้ บระหว่างสองฝุาย จนได้ชัยชนะของฝุายไทย หลังจากญี่ปุนแพ้สงครามแล้ว ดินแดนแห่งนี้ได้ส่งคืนให้ฝรั่งเศสปกครองต่อไปในปี พ.ศ. 2489 (ค.ศ.1946) ถึงแม้เจ้าเพชรราช ผูส้ าเร็จราชการและนายก รัฐมนตรีในขณะนั้นยืนยันความเป็นเอกราชของลาวพร้อมประกาศใช้ รัฐธรรมนูญชั่วคราว โดยจัดตั้งรัฐบาลลาวอิสระที่นครเวียงจันทน์ในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) แต่ก็มีความขัดแย้งกับเจ้าสว่างวัฒนาที่หลวงพระบาง เพราะเจ้าสว่างวัฒนากลับ ตัดสินใจให้ลาวเป็นประเทศอารักขาของฝรั่งเศสเหมือนเดิม จนในวันที่ 27 สิงหาคม ปี พ.ศ.2489 (ค.ศ.1946) ลาวกับฝรั่งเศสจึงได้ลงนามในข้อตกลงประนีประนอม ซึ่งรับรองว่าลาวรวมกันเป็น ประเทศเดียวในระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และเป็นสมาชิกสหพันธ์ฝรั่งเศส28 6) สมัยรัฐบาลราชอาณาจักรลาว พ.ศ. 2497-2517 (ค.ศ. 1954-1974) ถึงแม้ได้ลงนามข้อตกลงระหว่างลาวกับฝรั่งเศสใน และมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร เปิดการประชุมสภาเป็นครั้งแรกเพื่อรับรองรัฐธรรมนูญ แต่ในขณะเดียวกัน ระหว่าง พ.ศ.2489-2497 (ค.ศ. 1946-1954) ได้เกิดการต่อสู้ของลาวอิสระเพื่อเรียกร้องเอกราชจาก ฝรั่งเศส ผูน้ าของฝุายลาวอิสระบางคนอพยพไปอยู่ที่ประเทศไทยโดยมีทหารจานวนหนึ่งติดตามไป เพื่อ ปลุกระดมให้ชาวลาวในแขวงไชยะบุรี หัวของ และอุดมไชยต่อต้านฝรั่งเศส แต่เมื่อรัฐบาลไทย หันมาประสานไมตรีกับฝรั่งเศส ส่งผลให้ปฏิบัติการทางทหารของลาวอิสระที่ใช้ฐานจากประเทศ ไทยจาเป็นต้องยุติลง จนกระทั่งใน พ.ศ.2492 (ค.ศ.1949) เมื่อฝรั่งเศสประกาศนิรโทษกรรมพวก ลาวอิสระ ผูน้ ารัฐบาลพลัดถิ่นจึงแตกแยกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ยุติการเคลื่อนไหวทางการเมือง ของเจ้าเพชรราช กลุ่มที่รว่ มมือกับฝรั่งเศสของเจ้าสุวรรณภูมา และกลุ่มที่ตอ้ งการต่อสู้กับฝรั่งเศส ของเจ้าสุภานุวงศ์โดยร่วมมือกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งอินโดจีน จากนั้นในระหว่าง พ.ศ. 24912497 (ค.ศ. 1948-1954) ขบวนการต่อต้านฝรั่งเศสของแนวลาวอิสระ หรือขบวนการ “ปะเทศ ลาว” โดยเจ้าสุภานุวงศ์และนายภูมวิ งศ์วิจติ ร ขบวนการส่วนหนึ่งได้เคลื่อนไหวปลุกระดมประชาชน อยู่ตามแนวชายแดนในเขตเชียงฮ่อน เชียงลมของแขวงไชยะบุรีด้วย ในที่สุด เมื่อปี พ.ศ.2497 ลาว ได้เอกราชตามสนธิสัญญาเจนีวา ฝรั่งเศสจึงได้ถอนกาลังออกจากแถบอินโดจีน29 รัฐธรรมนูญลาวฉบับแรกใน ค.ศ.1947 (พ.ศ.2490) ได้กาหนดว่าราชอาณาจักรลาว ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยที่มพี ระมหากษัตริย์อันเป็นประมุข ระบุว่า “พลเมืองลาวคือ บุคคลทุกคนที่มีเชือ้ ชาติและมีภูมิลาเนาถาวรอยู่ในเขตแดนของประเทศลาวและมิได้มสี ัญชาติ
28
สุวทิ ย์ ธีรศาศวัต. 2543. ประวัตศิ าสตร์ลาว 1779 - 1975. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย. หน้าที่ 287 - 301 29 แกรนท์ อีแวนส์, 2549; สุวทิ ย์ ธีรศาศวัต, 2543
46
อื่น”30 โครงสร้างการปกครองส่วนภูมิภาคกาหนดให้มีแขวง (จังหวัด) ปกครองด้วยเจ้าแขวง เมือง (อาเภอ) ปกครองด้วยเจ้าเมือง กอง (กิ่งอาเภอ) ปกครองด้วยนายกอง ตาแสง (ตาบล) ปกครอง ด้วยตาแสง และบ้าน (หมูบ่ ้าน) ปกครองด้วยนายบ้าน จากสถิติของ ค.ศ. 1955 ประเทศลาวมี 12 แขวง 77 เมืองและกอง 594 ตาแสง 10,097 บ้าน และมีประชากร 1,320,402 คน ส่วนแขวง ไชยะ บุรีมี 3 เมือง คือ เมืองไชยะบุรี เมืองหงสาและเมืองปากลาย 26 ตาแสง 523 บ้าน มีประชากร 98,786 คน31 สภาพเมืองเงินในสมัยนั้นเป็นเขตทุรกันดาร การคมนาคมระหว่างหมู่บ้านและระหว่าง เมืองต้องเดินเท้าข้ามปุาและลาห้วย โดยใช้เวลาเดินทางทั้งวันจากเมืองเงินถึงหงสาหรือไปถึงท่าเรือ ริมแม่น้าโขง ถ้าต้องการไปเมืองเชียงฮ่อนต้องใช้เวลาถึง 2 วัน สมัยนั้นการลาเลียงสิ่งของต้องอาศัย พาหนะที่เป็นสัตว์ เช่น ม้า ช้าง เป็นต้น ซึ่งชาวเมืองเงินนิยมใช้ช้างในการขนข้าวและฟืนจากนาหรือ ปุาไปยังหมูบ่ ้านของตน นอกจากนีย้ ังใช้ช้างในการขนส่งสินค้าที่เอาไปขายระยะไกลถึงเมืองไทย ด้วย สาหรับสภาพความเป็นอยู่ของเมืองเงินในช่วงเวลานัน้ ยังไม่มโี รงพยาบาลหรือสถานีอนามัย ชาวบ้านจึงต้องอาศัยหมอพื้นบ้าน หมอดูและหมอผี ต้องใช้ยาพืน้ เมืองที่เป็นยาสมุนไพร มีโรงเรียน ประถม 6 แห่ง นักเรียนส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย จากจานวนนักเรียนทั้งหมด 312 คน มีนักเรียนหญิง เพียง 59 คนเท่านั้น และเด็กผู้ชายจะไปบวชเรียนที่วัดมากกว่าไปโรงเรียน การบริหารประเทศของรัฐบาลราชอาณาจักรลาวประสบปัญหาตั้งแต่ฝรั่งเศสถอน ออกไป เนื่องจากงบประมาณไม่เพียงพอ ขาดแคลนบุคลากรในทุก ๆ ด้าน รวมทั้งนักการเมืองชน ชั้นนาส่วนใหญ่แสวงหาอานาจและคิดถึงผลประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าผลประโยชน์ของประเทศชาติ การกาหนดนโยบายก็มุ่งเน้นการพัฒนาเมืองสาคัญ ๆ เป็นหลัก แต่ประชาชนในเขตชนบท โดยเฉพาะกลุ่มชนชาติพันธุ์ส่วนน้อยกลับไม่ได้รับประโยชน์และสิทธิ์ให้เข้ามามีสว่ นร่วมในการสร้าง ชาติ จึงไม่สามารถสร้างสานึกความเป็นปึกแผ่นของชาติได้ ในขณะเดียวกันขบวนการ “ประเทศ ลาว” ก็ดาเนินการปฏิวัติอย่างต่อเนื่องตามนโยบายทางการเมืองเพื่อสถาปนาประเทศลาวเป็นเอก ราชโดยสมบูรณ์และมีเอกภาพ32 นอกจากนี้ ยังมีการแทรกแซงของสหรัฐ ฯ และไทยในประเทศลาว โดยเริ่มมีความชัดเจนขึ้นตั้งแต่ ปลายปี พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) โดยได้ช่วยเหลือทั้งด้านการเงินและการทหาร ต่อมาเริ่มเข้าไป ควบคุมนโยบายของรัฐบาลลาวโดยตรง จนกระทั่งราว พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) สงครามเวียดนาม 30
แกรนท์ อีแวนส์, 2549 : 145 บุญช่วย ศรีสวัสดิ์. 2547. ราชอาณาจักรลาว. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ศยาม. หน้าที่ 57 - 58 32 มาร์ติน สจ๊วด ฝอกซ์. 2553. ประวัตศิ าสตร์ลาว : A History of Loas. แปลโดย จิราภรณ์ วิญญ รัตน์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย. หน้าที่ 147 31
47
ได้ขยายขอบเขตครอบคลุมดินแดนลาวและกัมพูชาอย่างกว้างขวาง ส่วนฝุายคอมมิวนิสต์จะบุก โจมตีฝุายรัฐบาลในช่วงฤดูแล้ง ส่วนฝุายรัฐบาลและทหารม้งจะตอบโต้ในช่วงฤดูฝนโดยถูกโจมตี ด้วยเครื่องบินอย่างหนัก การสู้รบและการทิ้งระเบิดของสหรัฐ ฯ ทาให้ประชาชนลาวสูญเสียชีวติ และทรัพย์สินเป็นจานวนมาก ยังมีประชาชนอพยพลี้ภัยจากเฉพาะบริเวณทุ่งไหหินช่วงปี พ.ศ. 2512-2513 (ค.ศ. 1969-1970) มีมากถึง 150,000 ใน พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) ทหาร “ปะเทศ ลาว” และเวียดนามเหนือสามารถยึดที่มั่นของฝุายรัฐบาลลาวที่ทุ่งไหหินได้ ทาให้ฝุายคอมมิวนิสต์ สามารถยึดพื้นที่ประเทศได้ประมาณร้อยละ 80 จนสหรัฐ ฯ ต้องถอนตัวออกจากเวียดนาม และได้ ลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพกับเวียดนามเหนือที่กรุงปารีส จนกระทั่งในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ได้มกี ารประกาศจัดตั้งรัฐบาลสังคมนิยมภายใต้การนาของพรรคประชาชน ปฏิวัตลิ าว และสถาปนาประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีเจ้าสุภาณุวงศ์ดารง ตาแหน่งประธานาธิบดี และนายไกรสร พรหมวิหาร ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ส่วนเจ้าสว่าง วัฒนาถูกบีบบังคับให้สละราชสมบัติ 7) สมัยรัฐบาล สปป. ลาวในยุคอยู่ภายใต้การปกครองแบบคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2518-2534 (ค.ศ. 1975-1991) เมื่อพรรคประชาชนปฏิวัติลาวยึดอานาจการปกครองจากรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรลาว มีแต่โครงสร้างการบริหารงานที่อ่อนแอและระบบสังคมที่มีลักษณะกึ่งศักดินาที่สืบทอดมาจาก รัฐบาลเก่า รวมถึงความเสียหายทุก ๆ ด้าน ที่เกิดจากผลกระทบของสงครามอันยาวนาน รัฐบาล ใหม่มคี วามจาเป็นที่จะต้องสร้างความชอบธรรมแก่อานาจทางการเมืองของตัวเองโดยมีพรรค ประชาชนปฏิวัติลาวเป็นเพียงพรรคเดียวในระบอบการปกครอง ซึ่งมุ่งเน้นการพิทักษ์รักษาการ ปฏิวัตแิ ละการสร้างเศรษฐกิจสังคมนิยมใหม่ รวมทั้งการสร้างความเป็นเอกภาพของทุกระดับชั้น ของสังคม ชนกลุ่มน้อยทั้งหมด และพลเมืองทุกคน การเข้าควบคุมและปกครองเมืองใหญ่ ๆ ในที่ราบลุ่มแม่น้าโขงของพรรคคอมมิวนิสต์ เริ่มต้นด้วยการจัดระเบียบใหม่ เพื่อกาจัดอิทธิพลของระบบเก่าและวัฒนธรรมตะวันตก เช่นสั่งให้ เยาวชนชายตัดผมสั้นและห้ามนุง่ กางเกงยีนส์ ส่วนผู้หญิงให้นุ่งผ้าซิ่นและห้ามสวมแว่นตากันแดด ที่ สาคัญคือ ห้ามประชาชนทั่วไปฟังวิทยุของประเทศไทย รวมทั้งการมุ่งแสวงหาผลกาไรจากการทา การค้าเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสมและเป็นการไม่รักชาติในยามที่ภารกิจใหญ่ของประชาชนคือการสร้าง ชาติและพัฒนาบ้านเมือง เหตุการณ์เหล่านีท้ าให้ประชาชนลาวจานวนไม่น้อย โดยเฉพาะพ่อค้าเชือ้ สายจีน38 คนลาวที่มีการศึกษาและเป็นผู้เชี่ยวชาญอพยพหนีออกนอกประเทศและบางส่วนก็เข้า ร่วมกับฝุายต่อต้านรัฐบาลคอมมิวนิสต์ ในปี พ.ศ. 2518-2519 ประเทศไทยปิดชายแดนที่ตดิ กับ ลาวเกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจลาว ถึงแม้ไทยเปิดชายแดนอีกครั้งในเวลาต่อมา ก็ยังไม่สามารถ
48
แก้ไขปัญหาภาวะขาดแคลนสินค้าได้ อีกทั้งรัฐบาลยังพยายามเปลี่ยนมาใช้ระบบสหกรณ์ การเกษตร โดยทางพรรคเร่งบังคับให้ชาวนา เข้าร่วมสหกรณ์โดยไม่สมัครใจ ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2521 ผลที่ตามมาก็คือ ชาวนาไม่พอใจอย่างรุนแรง บ้างก็เชื่อว่าการทาเป็นสหกรณ์คือก้าว แรกของการทาลายความเป็นเจ้าของในทรัพย์สินส่วนบุคคลทั้งหมด ดังนัน้ จึงเกิดการต่อต้านและ ไม่ให้ความร่วมมือกับระบบนารวมหลายรูปแบบ เช่น ทาลายผลผลิตการเกษตรและการฆ่าสัตว์ เลี้ยงของตน รวมถึงอพยพหนีไปอยู่ที่ไทย จนทาให้ปริมาณการผลิตลดลงไปมาก เมื่อประเทศไทย เกิดการรัฐประหารในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2519 มีเหตุการณ์หลายอย่างเกิดขึน้ ตามแนวชายแดน ไทย-ลาว ซึ่งฝุายไทยกล่าวหาว่าลาวเข้ามาแทรกซึมความคิดระบอบคอมมิวนิสต์ในไทย โดย นักศึกษาไทยส่วนหนึ่งได้อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ที่บ้านนายาง เมืองเงิน ชาวเมืองเงินผู้หนึ่งเล่าว่า ตอนนัน้ เขามีอายุประมาณ 20 กว่าปี ได้ช่วยเหลือนักศึกษาคนไทย โดยลาเลียงข้าวปลาอาหารไป ให้นักศึกษาเหล่านีท้ ี่เดินข้ามชายแดนไปฝัง่ ไทยเพื่อต่อสู้กับทหารไทยร่วมกับขบวนการของพรรค คอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย ทางหลวงหมายเลข 1080 ระหว่าง ตัวเมืองน่านถึงอาเภอทุ่งช้างสู่ ตาบลห้วยโก๋น ได้ก่อสร้างขึน้ ในยุคนี้ เพื่อให้ทหารไทยเข้ามาปราบปรามฝุายคอมมิวนิสต์ได้อย่าง สะดวกและรวดเร็ว ในช่วงปี พ.ศ. 2522 ประเทศลาวกาลังเผชิญกับปัญหาทั้งในเรื่องความมั่นคงภายในและ เรื่องการเพิ่มผลผลิตตามระบอบสังคมนิยม รวมถึงความขัดแย้งทางการเมืองกับประเทศจีนและ ไทย รัฐบาลลาวจึงทบทวนนโยบายเปลี่ยนมาใช้ระบบการตลาด โดยเฉพาะด้านการค้าต่างประเทศ เนื่องจากรัฐบาล สปป.ลาว ไม่สามารถควบคุมการลักลอบขายสินค้าตลอดแนวชายแดนไทย-ลาว ได้ ดังนัน้ รัฐบาลจึงตัดสินใจอนุญาตให้เอกชนนาเข้าสินค้าได้โดยเสรี และยังสนับสนุนให้เอกชน ส่งออกสินค้าของลาว ต่อมารัฐบาลลาวอนุญาตให้รัฐวิสาหกิจ สหกรณ์ และเจ้าแขวงมีอานาจใน การทาการค้ากับต่างประเทศได้ เพื่อเป็นการฟื้นฟูเศรษฐกิจและส่งเสริมการส่งออก มาตรการนี้ทา ให้การค้าชายแดนไทย-ลาวมีความคึกคักและธุรกิจในนครเวียงจันทน์กลับมีชีวติ ชีวาขึน้ อีกครั้งหนึ่ง ในช่วง พ.ศ. 2528-2529 (ค.ศ. 1985-1986) การเปลี่ยนแปลงนโยบายใหม่ของผู้นาโซเวียตนาไปสู่ การปรับนโยบายการต่างประเทศของลาว เรียกว่านโยบาย “จินตนาการใหม่” โดยพยายาม ปรับปรุง ความสัมพันธ์กับสหรัฐ ฯ ไทย และจีน ขณะเดียวกันกองทหารเวียดนามก็ถอนกาลัง ออกจาก สปป.ลาว สอดคล้องกับนโยบายผู้นาคนใหม่ของไทยในปลายปี พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) คือ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ได้รเิ ริ่มปรับปรุงนโยบายต่างประเทศของไทยต่อกลุ่มประเทศอิน โดจีนใหม่ เพื่อเปลี่ยนอินโดจีนจากสนามรบมาเป็นสนามการค้า ในขณะเดียวกัน ด้านความมั่นคง ภายในประเทศยังมีอดีตสมาชิก “กองทัพลับ” ของชาวม้งฝุายวังเปาต่อสู้อยู่แนวชายแดนไทย-ลาว และบางพื้นที่ตามทางหลวงหมายเลข 13 ระหว่างเวียงจันทน์และหลวงพระบาง ในคืนวันสิ้นปี พ.ศ.
49
2528 (1985) เกิดเหตุการณ์ทหารฝุายวังเปาโจมตีเรือนของเจ้าเมืองเมืองเงินอยู่ที่บ้านแก้วดอนกูน ทาให้เจ้าเมืองถูกยิงเสียชีวติ ทันที ช่วงนั้นเมืองเงินไม่ได้เป็นหน่วยการปกครองระดับอาเภอ แต่ยัง เป็นกิ่งอาเภอของเมืองหงสา เส้นทางระหว่างเมืองเงิน-หงสาและทางไปชายแดนไทยยังเป็นถนนดิน ลูกรัง และต้องเดินผ่านปุา ส่วนเส้นทางระหว่างหมู่บ้านต่าง ๆ ก็มีแต่ปุาไม้ ทุ่งนาและลาห้วย แสดง ให้เห็นว่าในสมัยนั้นยังไม่มคี วามสงบเรียบร้อยในบริเวณแนวชายแดนไทย-ลาว อย่างไรก็ตาม กองทัพลาวและเวียดนามได้ปราบปรามการเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาลมาโดยตลอด จนทาให้ชาว ม้งถึงหนึ่งในสามต้องหลบหนีออกจากประเทศเป็นผูล้ ีภ้ ัย ถึงแม้รัฐบาลลาวส่งเสริมระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีตามกระแสการเปลี่ยนแปลง ทางด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ แต่ยังไม่ยอมเปิดเสรีทางการเมือง ประเด็นนีเ้ ห็นได้ชัดเจน ในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในปี พ.ศ. 2534 (1991) โดยระบุว่า สปป.ลาว เป็น “รัฐประชาธิปไตยของ ประชาชนภายใต้การนาของพรรคประชาชนปฏิวัติลาว” และอ้างถึง “หลักการประชาธิปไตยแบบ รวมศูนย์” นอกจากนั้น ผูน้ าพรรคยังกล่าวถึงข้อตักเตือนหลายประเด็นว่าอุดมการณ์สังคมนิยม เสื่อมลงนับตั้งแต่มีการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ รวมถึงการใช้อานาจโดยมิชอบ การเล่นพรรคพวก การยักยอกเงิน การฉ้อโกง เป็นต้น33 8) สมัยการก่อตั้งเป็นเมืองเงิน พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ถึงปัจจุบัน หลังการกาหนดรัฐธรรมนูญฉบับแรกและเปิดประเทศไปสู่เศรษฐกิจตามกลไกตลาดเสรี รัฐบาล สปป.ลาว พยายามสร้างชาติลาวอยู่บนพื้นฐานความสามัคคีของประชาชนทุกกลุ่มชน มุ่งเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจและขจัดความยากจนตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในช่วง เวลานั้นรัฐบาลลาวประกาศตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงฮ่อน-หงสา (เขตเศรษฐกิจพิเศษนี้มฐี านะ เท่ากับจังหวัดของไทย) ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) รวมถึงพื้นที่ของเมืองเงิน เพื่อ เป็นพืน้ ที่ยุทธศาสตร์ในการเชื่อมเส้นทางชายแดนสายสาคัญระหว่างไทย-ลาวโดยไม่มแี ม่น้าโขงคั่น และต่อไปจะพัฒนาเป็นทางผ่านการค้าและการท่องเที่ยวจากไทยสู่ประเทศจีน อีกทั้งเพื่อส่งเสริม การลงทุนในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ โดยเฉพาะเมืองหงสามีแหล่งถ่านหินลิกไนต์ขนาดใหญ่ และ สามารถสร้างโรงงานผลิตกระแสไฟฟูาเพื่อขายกระแสไฟฟูาแก่ประเทศไทย ต่อมาในวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535 (ค.ศ.1992) รัฐบาลได้ก่อตัง้ เมืองเงิน (เท่ากับ ระดับอาเภอของไทย) โดยแยกออกจากเมืองหงสา เนื่องจากเมืองเงินมีศักยภาพสูงเท่าเมืองหงสา โดยเฉพาะในด้านการค้าชายแดนระหว่างไทย-ลาวและเป็นเส้นทางการค้า การท่องเที่ยวโดย เชื่อมโยงประเทศไทย ลาว และจีน และในปี พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) ได้เปิดจุดผ่านแดนถาวร 33
มาร์ติน สจ๊วด ฝอกซ์. 2553. ประวัตศิ าสตร์ลาว = A History of Loas. แปลโดย จิราภรณ์ วิญญ รัตน์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย. หน้าที่ 405-409
50
ระหว่างบ้านห้วยโก๋น อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน และบ้านน้าเงิน เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี เปิดตลาดนัดชายแดนไท-ลาวที่ฝั่งไทยทุกวันเสาร์ (ปัจจุบันมีตลาดนัดทุก ๆ วันพุธและเสาร์) ในต้นทศวรรษที่ 2540 รัฐบาลลาวพยายามเร่งการพัฒนาโดยมุ่งเน้นการผลิตพลังงาน ไฟฟูาส่งไปยังประเทศเพื่อนบ้านและส่งเสริมการลงทุนและการค้าในอนุภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้รวมถึงทางใต้ของจีน ได้แก่ โครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ โดยเฉพาะลาวมุ่งจะเป็นศูนย์กลาง การค้าและคมนาคมรวมทั้งการท่องเที่ยวในภูมิภาคนี้ ไม่เป็นเพียงแต่ทางผ่านเท่านั้น จึงพยายาม พัฒนาศักยภาพในการเชื่อมโยงเส้นทางต่าง ๆ เช่น การสร้างสะพานมิตรภาพแม่น้าโขงระหว่าง ไทย-ลาวและเส้นทางรถไฟจากหนองคาย-เวียงจันทน์โดยร่วมมือกับไทย นอกจากนี้ยังมีโครงการ ความร่วมมือระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงของธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB’s Greater Mekong Sub-region: GMS) ที่กาหนดแนวพื้นที่เศรษฐกิจ (Economic Corridor) ไว้ ครอบคลุมทั้งภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ของ สปป.ลาว การพัฒนาตามนโยบายเหล่านีจ้ ึงนา ชนบทลาวไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมอย่างชัดเจนและรวดเร็วมากขึ้น ช่วงปลายทศวรรษที่ 2540 เริ่มเห็นผลกระทบจากการเร่งรัดการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ โดยไม่คานึงถึงปัญหาด้านสภาพแวดล้อมและปัญหาทางสังคม เช่น การตัดไม้ทาลายปุา การ พังทลายของหน้าดิน เกิดความเหลื่อมล้าระหว่างคนในชนบทและคนในเมือง การยักยอกเงิน การ ฉ้อโกง ปัญหาในการครอบครองที่ดิน และการกระจายรายได้ที่ไม่เท่าเทียมกัน ทั้งที่การค้าและการ ลงทุนทั้งจากภายในและจากต่างชาติจะเพิ่มมากขึ้นจนอัตราเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพิ่มขึน้ ถึง ร้อยละ 7.9 ก็ตาม การประชุมสมัชชาพรรคครั้งที่ 9 ในปี ค.ศ. 2011 (พ.ศ. 2554 ) มีการแถลง นโยบายเพื่อทบทวนยุทธศาสตร์การพัฒนาให้เกิดความสมดุลระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจและ ทางสังคม โดยมุ่งเน้นการบรรลุเปูาหมาย MDGs (Millennium Development Goals) ของ สหประชาชาติ เพื่อให้พ้นจากสถานภาพของประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (the least developed country) ก่อนปี ค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563) พร้อมดาเนินการปรับปรุงและพัฒนาทางเศรษฐกิจตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 7 ของ ค.ศ. 2011-2015 (พ.ศ. 2554-2558) (Yamada, 2012: 12-13) เมืองเงินในปัจจุบันยังมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วตามกระแสการ พัฒนาทางเศรษฐกิจสังคม โดยมีการยกระดับจุดผ่านแดนถาวรเป็นด่านสากลในปี พ.ศ. 2551 เพื่อ จัดให้เป็นเส้นทางการท่องเที่ยวเชื่อมต่อถึงหลวงพระบาง อุดมไชย จนถึงจีนตอนใต้ พร้อมกับการ ก่อสร้างถนนราดยางระหว่างเมืองเงิน-ปากแบงจนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2553 และในเดือน พฤศจิกายน ปี พ.ศ. 2554 ได้เริ่มก่อสร้างโรงงานผลิตไฟฟูาถ่านหินลิกไนต์เมืองหงสา มีแผนการ ก่อสร้างแล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2558
51
3.2 ผลการเก็บข้อมูลภาคสนาม ในการศึกษาครั้งนีไ้ ด้ทาการเก็บข้อมูลผ้าหลบไทลือ้ ในเขต บ้านหลวงมีไชย บ้านขอน บ้านเพียงาม และบ้านนางัว เมืองเงิน เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว และได้รับความอนุเคราะห์จากท่าน ผศ. กันต์ พูนพิพัฒน์ จานวน 3 ผืน ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน จากการเก็บข้อมูลผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ได้จานวนทั้งหมด 60 ผืน โดยจาแนกตาม บ้าน (หมูบ่ ้าน) ได้ดังนี้ บ้านหลวงมีไชย 35 ผืน บ้านขอน 12 ผืน บ้านเพียงาม 2 ผืน บ้านนางัว 8 ผืน
52
3.2.1 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 1 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงนวล แหวนคา อายุ 62 ปี บ้านเลขที่ 20 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 70 cm. / ยาว 210 cm. อายุผ้า : 54 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เหลือง เขียว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ดา แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายหน่วยเครือ , ลายดอกบ่าง , ลายขอน้อย , ลายขอเขีย้ วหมา , ลายดอกจัน , ลายขอหลวง , ลายนกน้อย , ลายนาคน้อย , ลายขอกูดหลวง , ลายดอกกูดเครือ , ลายดอกจ้ายขอ
ภาพที่ 5 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 1
53
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อ เมื องเงิน ผืน ที่ 1 มี ลัก ษณะเป็น รูป ทรงสี่ เ หลี่ย มผืนผ้ า ด้านกว้า ง 70 เซนติเมตร ด้านยาว 210 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้นเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเหลืองและสีเขียวทอเป็นสีพื้นเป็นแถบเพื่อเป็นลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืน ผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่ง เรียกว่า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 1 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษ โดนใช้เส้นพิเศษสีดาและสีแดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนก เป็นทั้งหมด 7 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายหน่วยเครือ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไปด้วย ลาย ขอน้อย , ลายขอเขีย้ วหมา และ ลายดอกจัน (“ดอกจัก” ในภาษาไทลื้อ) และในแถบที่สองจะมีแถบ ลายดอกหน่วยเครืออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 3 : ลายดอกบ่างที่มีขนาดความกว้างกว่าในแถบที่ 1 ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขี้ยวหมา , ลายหน่วย , ลายนกน้อย และ ลายนาคน้อย ซึ่งใน แถบที่สามจะมีแถบลายดอกหน่วยเครือและลายนาคน้อยอยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 4 : ประกอบไปด้วยลายขอกูดหลวง และลายนาคน้อย โดยมีแถบลายขอกูดเครือ และลายดอกกูดเครืออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 5 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 6 และ แถบที่ 7 : ลายดอกจ้ายขอ
54
ภาพที่ 6 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 1
55
3.2.2 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 2 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงนวล แหวนคา อายุ 62 ปี บ้านเลขที่ 20 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 97 cm. / ยาว 210 cm. อายุผ้า : 56 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เหลือง เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ดา แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกกูดเครือ , ลายดอกบ่าง , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย , ลายดอกเขีย้ วหมา , ลายนาคน้อย , ลายขอกูดหลวง , สร้อยสา , ลายดอกจ้ายขอ , ลายหน่วยเครือ , ลายขอกูดเครือ
ภาพที่ 7 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 2
56
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้ อเมืองเงิน ผืนที่ 2 มีลัก ษณะเป็นรูป ทรงสี่เ หลี่ ย มผืนผ้า ด้ านกว้าง 95 เซนติเมตร ด้านยาว 210 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้นเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเหลืองทอเป็นสีพื้นเป็นแถบเพื่อเป็นลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเ วณชายผ้ามีการถั กเก็บ เป็นลวดลาย เรีย กว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่ า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 2 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษ โดนใช้เส้นพิเศษสีดาและสีแดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนก เป็นทั้งหมด 9 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขี้ยวหมา และ ลายนกน้อย ซึ่งในแถบที่สองจะ มีแถบลายดอกขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในประกอบไปด้วยลายหน่วย , ลายเขี้ยวหมา และลายขอ หลวง โดยมีแถบลายดอกหน่วยเครืออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดบนผืนผ้า ซึ่งภายในประกอบไปด้วยลายขอ น้อย , ลายขอหลวง , ลายเขี้ยวหมา , ลายหน่วย , ลายดอกเขี้ยวหมา และ ลายนาคน้อย โดยมี แถบลายดอกจ้ายขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 5 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในประกอบไปด้วยลายหน่วย และ ลายงูน้อย โดยมีแถบ ลายขอกูดเครืออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 6 : ประกอบไปด้วยลายขอกูดหลวง , ลายนาคน้อย และสร้อยสา โดยมีแถบลาย นาคน้อยอยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 7 : ลายหน่วยเครือ แถบที่ 8 : ลายขอกูดเครือ แถบที่ 9 : ลายดอกจ้ายขอ
57
ภาพที่ 8 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 1
58
3.2.3 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 3 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงนวล แหวนคา อายุ 62 ปี บ้านเลขที่ 20 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 72 cm. / ยาว 205 cm. อายุผ้า : 49 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เขียว ส้ม เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ดา แดง ม่วง น้าเงิน เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายนาคน้อย , ลายดอกบ่าง , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย , ลายนาค , ลายหงส์ , ลายหน่วย , ลายนาคสร้อยสา , ลายดอกกูดขอ , ลายหน่วยเครือ
ภาพที่ 9 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 3
59
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิ น ผืนที่ 3 มีลัก ษณะเป็น รูป ทรงสี่เ หลี่ย มผืนผ้า ด้านกว้าง 72 เซนติเมตร ด้านยาว 205 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้นเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเขียวและส้มทอเป็นสีพื้นเป็นแถบเพื่อเป็นลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้า หลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 3 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษ โดนใช้เส้นพิเศษสีดา สีแดง ม่วง และน้าเงิน ซึ่งลวดลายที่ป รากฏบนผ้าหลบผืนนี้ โดยจาแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายนาคน้อย แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขี้ยวหมา , ลายนกน้อย , ลายนาค และ ลายหงส์ ซึ่งใน แถบที่สองจะมีแถบลายดอกขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในประกอบไปด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลาย หน่วย , ลายเขี้ยวหมา , ลายนกน้อย , ลายนาคน้อย และลายดอกจัน โดยมีแถบลายดอกหน่วย เครืออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 4 : ลายนาคสร้อยสา โดยมีแถบลายดอกขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 5 : ลายดอกกูดขอ แถบที่ 6 และ แถบที่ 7 : ลายหน่วยเครือ
60
ภาพที่ 10 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 3
61
3.2.4 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 4 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงนวล แหวนคา อายุ 62 ปี บ้านเลขที่ 20 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 72 cm. / ยาว 205 cm. อายุผ้า : 54 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เขียว ส้ม เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ดา แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกจ้ายขอ , ลายขอหลวง , ลายขอน้อย , ลายดอกหน่วย , ลายดอกจัน, ลายเขีย้ งหมา , ลายดอกบ่าง , ลายนาค , ลายนาคน้อย , ลายนกน้อย , ลายม้าต่างปราสาท , ลายดอกกูดเครือ , ลายเครือขอ , สร้อยสา
ภาพที่ 11 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 4
62
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้ อเมือ งเงิน ผืน ที่ 4 มีลัก ษณะเป็นรูป ทรงสี่ เ หลี่ ย มผืน ผ้า ด้ านกว้ าง 72 เซนติเมตร ด้านยาว 205 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้ นเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเขียวและส้มทอเป็นสีพื้นเป็นแถบเพื่อเป็นลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้า หลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 4 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษ โดนใช้เส้นพิเศษสีดาและสีแดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนก เป็นทั้งหมด 9 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายดอกจ้ายขอ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขี้ยวหมา , ลายหน่วย และ ลายนาค ซึ่งในแถบที่สองจะมี แถบลายดอกหน่วยเครืออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 3 : ลายนาค และ ลายนาคน้อย โดยมีแถบลายดอกหน่วยเครือและลายดอกจ้าย ขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลาย หน่วย , ลายเขี้ยวหมา , ลายดอกเหล๋ม , ลายนาคน้อย และ ลายม้าต่างปราสาท โดยมีแถบลาย ดอกจ้ายขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 5 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายขอ , ลายเขี้ ยวหมา , ลายดอก เหล๋ม ,ลายดอกจัน และ ลายนกน้อย โดยมีแถบลายดอกจ้ายขอและลายดอกกูดเครืออยู่ในส่วนหัว และส่วนท้าย แถบที่ 6 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายหน่วย และ สร้อยสา โดยมีแถบ ลายดอกจ้ายขอและลายดอกกูดเครืออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 7 , 8 , 9 : ลายเครือขอ
63
ภาพที่ 12 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 4
64
3.2.5 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 5 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงคา คงมี อายุ 65 ปี บ้านเลขที่ 18 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 72 cm. / ยาว 205 cm. อายุผ้า : 54 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ดา แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกขอ , ลายดอกบ่าง , ลายขอน้อย , ขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย , ลายขอขะแจ , ลายดอกจัน , ลายเครือหน่วย , ลายดอกจ้ายขอ
ภาพที่ 13 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 5
65
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิ น ผืนที่ 5 มีลัก ษณะเป็น รูป ทรงสี่เ หลี่ย มผืนผ้า ด้านกว้าง 72 เซนติเมตร ด้านยาว 205 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้นเมือง ตรงบริเ วณชายผ้ามีการถั กเก็บ เป็นลวดลาย เรีย กว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 5 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษ โดนใช้เส้นพิเศษสีดาและสีแดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนก เป็นทั้งหมด 7 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายดอกขอ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอน้อย , ขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขี้ยวหมา และ ลายนกน้อย ซึ่งในแถบที่สองจะมี แถบลายดอกขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลาย เขี้ยวหมา , ลายหน่วย , ลายขอขะแจ , ลายดอกจัน และ ลายนกน้อย โดยมีแถบลายดอกหน่วย เครือและลายดอกขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายหน่วย และ สร้อยสา โดยมีแถบ ลายดอกขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 5 : ลายเครือหน่วย แถบที่ 6 , 7 : ลายดอกจ้ายขอ
66
ภาพที่ 14 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 5
67
3.2.6 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 6 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงคา คงมี อายุ 65 ปี บ้านเลขที่ 18 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 75 cm. / ยาว 205 cm. อายุผ้า : 52 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ดา แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกเขี้ยวหมา , ลายดอกบ่าง , ลายขอ , ลายหน่วย , ลายเขี้ยวหมา , ลายนกน้อย , ลายงูน้อย
ภาพที่ 15 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 6
68
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมื องเงิน ผืนที่ 6 มีลั ก ษณะเป็ นรูป ทรงสี่เ หลี่ ย มผืนผ้ า ด้านกว้าง 72 เซนติเมตร ด้านยาว 205 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้นเมือง ตรงบริเ วณชายผ้ามีการถั กเก็บ เป็นลวดลาย เรีย กว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 6 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษ โดนใช้เส้นพิเศษสีดาและสีแดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โ ดยจาแนก เป็นทั้งหมด 9 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายดอกเขีย้ วหมา (เส้นสีดา) แถบที่ 2,6 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบ ไปด้วย ลายขอ , ลายหน่วย , ลายเขี้ยวหมา และ ลายนกน้อย ซึ่งในแถบที่สองจะมีแถบลายดอก เขี้ยวหมา อยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 3,5 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายเขี้ยวหมา , ลายหน่วย และ ลายนกน้อย โดยมีแถบลายดอกเขีย้ วหมาอยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง ที่มขี นาดกว้างที่สุดบนผืนผ้า ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายขอ , ลายเขี้ย วหมา , ลายหน่ว ย และ ลายนกน้ อย โดยมีแถบลายดอกเขี้ย วหมา อยู่ใ นส่ว นหัวและ ส่วนท้าย แถบที่ 7 : ลายดอกเขีย้ วหมา (เส้นสีแดง) แถบที่ 8 : ลายดอกเขีย้ วหมา แถบที่ 9 : ลายงูนอ้ ย
69
ภาพที่ 16 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 6
70
3.2.7 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 7 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงคา คงมี อายุ 65 ปี บ้านเลขที่ 18 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 75 cm. / ยาว 205 cm. อายุผ้า : 55 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เหลือง เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ดา แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกกูดเครือ , ลายดอกบ่าง, ลายเขีย้ วหมา , ลายหน่วย , ลายนาคน้อย , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายดอกจ้ายขอ , ลายขอกูดเครือ , ลายขอกูดหลวง , ลายดอกไก่น้อย
ภาพที่ 17 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 7
71
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน ผืนที่ 7 มีลัก ษณะเป็น รูป ทรงสี่เ หลี่ย มผื นผ้า ด้านกว้าง 75 เซนติเมตร ด้านยาว 205 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้ นเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเหลืองทอเป็นสีพื้นเป็นแถบเพื่อเป็นลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเ วณชายผ้ามีการถั กเก็บ เป็นลวดลาย เรีย กว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 7 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษ โดนใช้เส้นพิเศษสีดาและสีแดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนก เป็นทั้งหมด 9 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอ , ลายเขีย้ วหมา , ลายหน่วย และ ลายนาคน้อย ซึ่งในแถบที่สองจะมีแถบลายดอกกูด เครือและลายขอกูดเครืออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายขอ , ลายเขี้ยวหมา , ลายหน่วย และ ลายนาคน้อย โดยมีแถบลายขอกูดเครือและลายดอกขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง ที่มีขนาดกว้างที่สุดบนผืนผ้า ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายขอ น้อย , ลายขอหลวง , ลายเขี้ยวหมา , ลายหน่วย และ ลายนาคน้อย โดยมีแถบลายดอกขอและ ดอกจ้ายขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 5 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายขอ , ลายเขี้ยวหมา , ลายหน่วย และ ลายนาคน้อย โดยมีแถบลายดอกจ้ายขอและลายดอกกูดเครืออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 6 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในจะประกอบไปด้วย ลายขอ , ลายเขี้ยวหมา , ลาย หน่วย และ ลายนาคน้อย ซึ่งในแถบที่สองจะมีแถบลายดอกกูดเครือและลายดอกจ้ายขออยู่ในส่วน หัวและส่วนท้าย แถบที่ 7 : ลายขอกูดเครือ แถบที่ 8 : ลายขอกูดหลวง แถบที่ 9 : ลายดอกไก่น้อย
72
ภาพที่ 18 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 7
73
3.2.8 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 8 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงคา คงมี อายุ 65 ปี บ้านเลขที่ 18 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 70 cm. / ยาว 205 cm. อายุผ้า : 50 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว แดง เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ดา แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายงูนอ้ ย , ลายดอกเขี้ยวหมา , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายนาคน้อย , ลายขอหลวง , ลายขอน้อย , ลายดอกบ่าง , ลายดอกจัน , ลายดอกกูดเครือ , ลายขอกูดหลวง , สร้อยสา
ภาพที่ 19 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 8
74
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมือ งเงิน ผื นที่ 8 มีลัก ษณะเป็นรู ป ทรงสี่เ หลี่ย มผืน ผ้า ด้านกว้าง 75 เซนติเมตร ด้านยาว 205 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้นเมือง ตรงบริเ วณชายผ้ามีการถั กเก็บ เป็นลวดลาย เรีย กว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 8 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษ โดนใช้เส้นพิเศษสีดาและสีแดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนก เป็นทั้งหมด 7 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายงูนอ้ ย แถบที่ 2 : ลายดอกบ่างซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม ด้วยเทคนิคขิดสีแดงบน พื้นที่ทอด้วยเส้นยืนสีขาวเส้นพุ่งสีแดงด้วยเทคนิค 3 ตระกอ โดยภายในจะประกอบไปด้วย ลาย เขี้ยวหมา , ลายหน่วย และ ลายนาคน้อย ซึ่งในแถบที่สองจะมีแถบลายดอกเขีย้ วหมา อยู่ในส่วนหัว และส่วนท้าย แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง ที่มีขนาดกว้างที่สุดบนผืนผ้า ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายขอ น้อย , ลายขอหลวง , ลายเขี้ยวหมา , ลายหน่ วย , ลายดอกเขี้ยวหมา , ลายดอกจัน และ ลาย นาคน้อย โดยมีแถบลายดอกเขีย้ วหมา ยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 4 : ลายขอกูด หลวง และ สร้อยสา โดยมีแถบลายเขี้ยวหมา อยู่ในส่วนหัวและ ส่วนท้าย แถบที่ 5 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 6 : ลายดอกเขีย้ วหมา แถบที่ 7 : ลายงูนอ้ ย
75
ภาพที่ 20 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 8
76
3.2.9 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 9 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงคา คงมี อายุ 65 ปี บ้านเลขที่ 18 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 53 cm. / ยาว 185 cm. อายุผ้า : 56 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ดา ชมพู เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายเครือขอ , ลายดอกกูดเครือ , ลายดอกจัน , ลายขอหลวง , ลายขอน้อย , ลายเขีย้ วหมา , ลายกาบตั้ง , ลายดอกจ้ายขอ , ลายนาคน้อย ,ลายขอเหลียว , ลายดอกไก่นอ้ ย , ลายนาคสร้อยสา , ลายดอกบ่าง , ลายนกคู่ , ลายม้าต่างปราสาท
ภาพที่ 21 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 9
77
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืน ที่ 9 มีลัก ษณะเป็นรูป ทรงสี่ เ หลี่ย มผืนผ้า ด้านกว้าง 53 เซนติเมตร ด้านยาว 185 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิ คปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้นเมือง ตรงบริเ วณชายผ้ามีการถั กเก็บ เป็นลวดลาย เรีย กว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 9 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษ โดนใช้เส้นพิเศษสีดาและสีชมพู ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนก เป็นทั้งหมด 7 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายดอกบ่าง ซึ่งภายในประกอบด้วยลายนกน้อย ด้วยเทคนิคขิดโดยใช้ฝ้ายสี ชมพู แถบที่ 2 : ลายดอกบ่างซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอหลวง และ ลายหน่วย ซึ่งในแถบที่สองจะมีแถบลายนาคน้อยและลายไก่น้อยอยู่ในส่วน หัวและส่วนท้าย แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง ด้วยเทคนิคขิดโดยใช้เส้นฝ้ายสีดามีขนาดกว้างที่สุดบนผืนผ้า ซึ่ ง ภายในประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขี้ยวหมา , ลายหน่วย และ ลายดอกจัน โดยมีแ ถบลายขอเหลี ย วและลายดอกจ้า ยขอด้ วยเทคนิ คขิ ดโยใช้ ฝ้า ยสี ชมพูอ ยู่ใ นส่ วนหัว และ ส่วนท้าย แถบที่ 4 : ลายนาคสร้อยสา โดยมีแถบลายนาคน้อยและลายดอกกูดเครืออยู่ในส่วนหัว และส่วนท้าย แถบที่ 5 : ลายม้าต่างปราสาท แถบที่ 6 : ลายเครือขอ แถบที่ 7 : ลายนาคน้อย
78
ภาพที่ 22 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 9
79
3.2.10 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 10 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงคา คงมี อายุ 65 ปี บ้านเลขที่ 18 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 53 cm. / ยาว 185 cm. อายุผ้า : 58 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้ายตุ่น เส้นพุ่ง ฝ้ายตุ่น เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ดา ส้ม เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายเครือขอ , ลายดอกกูดเครือ , ลายดอกตั้งขอ , ลายหน่วย , ลายดอกจ้ายขอ , ลายเขีย้ วหมา , ลายดอกบ่าง , ลายดอกกาบตั้ง
ภาพที่ 23 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 10
80
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 10 มีลักษณะเป็นรูป ทรงสี่เ หลี่ย มผืนผ้า ด้านกว้าง 53 เซนติเมตร ด้านยาว 185 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายตุ่น ตรงบริเวณชาย ผ้ามีการเกลียวฝ้ายเก็บเป็นชายมัดปมธรรมดา ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 10 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษโดยใช้เส้นพิเศษสีส้ม ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอ และ ลายหน่วย ซึ่งในแถบที่สองจะมีแถบลายดอกขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง ด้วยเทคนิคขิดโดยใช้เส้นฝ้ายสีดา ซึ่งภายในประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขี้ยวหมา และ ลายหน่วย โดยมีแถบลายดอกจ้ายขออยู่ในส่วน หัวและส่วนท้าย แถบที่ 4 : ไม่ทราบชื่อลาย แถบที่ 5 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 6 : ลายดอกจ้ายขอ แถบที่ 7 : ลายนกน้อย
81
ภาพที่ 24 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 10
82
3.2.11 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 11 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงคา คงมี อายุ 65 ปี บ้านเลขที่ 18 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 70 cm. / ยาว 185 cm. อายุผ้า : 51 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / ขาว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ดา เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายขอกูดเครือ , ลายเขีย้ วหมา , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายดอกจัน , ลายหน่วย , ลายขอขะแจ , ลายดอกกูดเครือ , ลายหน่วยเครือ , ลายขอเหลียว , ลายนาคน้อย , ลายไก่นอ้ ย , ลายนาคสร้อยสา , ลายดอกเขีย้ วหมา
ภาพที่ 25 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 11
83
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 11 มีลัก ษณะเป็นรูป ทรงสี่เ หลี่ย มผืนผ้า ด้านกว้าง 70 เซนติเมตร ด้านยาว 185 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้นเมือง ตรงบริเ วณชายผ้ามีการถั กเก็บ เป็นลวดลาย เรีย กว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 11 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษโดยใช้เส้นพิเศษสีดาและสีแดง ซึ่ งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนก เป็นทั้งหมด 9 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายขอกูดเครือ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอ , ลายเขีย้ วหมา และ ลายหน่วย ซึ่งในแถบที่สองจะมีแถบลายขอกูดเครือและลายดอก ขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง โดยภายในประกอบไปด้วย ลาย โดยมีแถบลายดอกขอและดอก จ้ายขออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วย ลายขอ , ลายขอขะแจ , ลายดอก เขี้ยวหมา , ลายเขี้ยวหมา และ ลายหน่วย และมีแถบลายดอกจ้ายขอและลายดอกกูดเครืออยู่ใน ส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 5 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วย ลายขอ , ลายเขี้ยวหมา และ ลาย หน่วย และมีแถบลายขอกูดเครือและลายนาคน้อยอยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 6 : ลายนาคสร้อยสา และมีแถบลายนาคน้อยและลายเครือหน่วยอยู่ในส่วนหัว และส่วนท้าย แถบที่ 7 : ลายขอเหลียว แถบที่ 8 : ลายเครือหน่วย แถบที่ 9 : ลายนกน้อย
84
ภาพที่ 26 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 11
85
3.2.12 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 12 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงนวล แหวนคา อายุ 62 ปี บ้านเลขที่ 20 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 72 cm. / ยาว 205 cm. อายุผ้า : 50 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เหลือง เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ดา แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายขอเหลียว , ลายขอหลวง , ลายขอน้อย , ลายเขีย้ วหมา , ลายขอขะแจ๋ , ลายดอกหน่วย , ลายเครือขอ , ลายดอกบ่าง , ลายขอกูดหลวง , ลายนาคน้อย , สร้อยสา , ลายดอกขอ
ภาพที่ 27 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 12
86
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 12 มีลักษณะเป็นรูป ทรงสี่เหลี่ย มผืนผ้า ด้านกว้าง 72 เซนติเมตร ด้านยาว 205 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้นเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเหลืองทอเป็นสีพื้นเป็นแถบเพื่อเป็นลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเ วณชายผ้ามีการถั กเก็บ เป็นลวดลาย เรีย กว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 12 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษโดยใช้เส้นพิเศษสีดาและสีแดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนก เป็นทั้งหมด 9 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายขอเหลียว แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอ , ลายขอขะแจ , ลายเขีย้ วหมา , ลายหน่วย และ ลายนาคน้อย แถบที่ 3,5 : ลายขอหลวง , ลายขอน้อย , ลายหน่วย แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วย ลายขอหลวง , ลายขอน้อย, ลาย เขี้ยวหมา , ลายหน่วย , ลายดอกเขี้ยวหมา และลายนาคน้อย และมีแถบลายขอเหลียวอยู่ในส่วน หัวและส่วนท้าย แถบที่ 6 : ลายขอกูหลวง , ลายหน่วย และ สร้อยสา และมีแถบลายดอกขออยู่ในส่วนหัว และส่วนท้าย แถบที่ 7 : ลายนกน้อย แถบที่ 8 : ลายดอกขอ แถบที่ 9 : ลายขอ และ ลายดอกบ่าง
87
ภาพที่ 28 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 12
88
3.2.13 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 13 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงนวล แหวนคา อายุ 62 ปี บ้านเลขที่ 20 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 72 cm. / ยาว 205 cm. อายุผ้า : 50 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม ฟ้า แดง เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี แดง เขียว คราม ม่วง ฟ้า เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายเครือดอก , ลายงูลอย , ลายดอกบ่าง , ลายหน่วยเครือ , ลายดอกเขีย้ วหมา, ลายขอกูดหลวง , ลายดอกบ่าง , ลายเขีย้ วหมา , ลายขอขะแจ , ลายนก , ลายต้นไม้ , ลายดอกหน่วย , ลายนาค , สร้อยสา , ลายดอกไก่นอ้ ย ,
ภาพที่ 29 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 13
89
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 13 มีลัก ษณะเป็นรูป ทรงสี่เ หลี่ย มผืนผ้า ด้านกว้าง 72 เซนติเมตร ด้านยาว 205 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้นเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีส้ม สีฟ้า และสีแดง ทอเป็นสีพื้นเป็นแถบเพื่อเป็นลายพื้นสลับกับแทบลายบน ผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่ง เรียกว่า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 13 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษโดยใช้เส้นพิเศษสีแดง เขียว คราว ม่วง และฟ้า ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืน นีโ้ ดยจาแนกเป็นทั้งหมด 9 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายดอกขอ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วยลายธรรมชาติ ซึ่งสามารถตีความเป็นลายของต้นไม้ โดยมีแถบลายงูน้อยและแถบลายหน่วย เครืออยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบที่สอง แถบที่ 3 : ลายขอกูดหลวง และลายนกน้อย โดยมีแถบลายดอกเหล๋มอยู่ในส่วนบนและ ส่วนล่างของแถบที่สอง แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วย ลายขอหลวง , ลายขอน้อย, ลาย เขี้ยวหมา และ ลายหน่วย โดยมีแถบลายเครือดอกและลายขอกูดเครืออยู่ในส่วนบนและส่วนล่าง ของแถบที่สอง แถบที่ 5 : ลายนก และ ลายต้นไม้ ที่มีลักษณะเหมือนกับต้นไม้ที่มีกิ่งก้านและใบประกอบ กัน จะมีลวดลายสัตว์ปรากฏอยู่โดยรอบเพื่อแสดงถึงธรรมชาติที่มีสรรพสัตว์อาศัยอยู่ เช่น ลายนก ลายม้า เป็นต้น และยังมีแถบลายดอกเขีย้ วหมาอยู่ในส่วนหัวและส่วนท้าย แถบที่ 6 : ลายนาคสร้อยสา โดยมีแถบลายเครือดอกอยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบ ที่สอง แถบที่ 7 : ลายเครือดอก แถบที่ 8 : ไม่ทราบชื่อลายที่แน่นอน แต่จากการสันนิษฐานคาดว่าได้แรงบัลดาลใจมาจาก รูปทรงของต้นไม้ในธรรมชาติ แถบที่ 9 : ลายดอกไก่น้อย
90
ภาพที่ 30 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 13
91
3.2.14 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 14 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงยอด เพชรปัญญา อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 21 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 82 cm. / ยาว 180 cm. อายุผ้า : 45 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี แดง ดา เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายขอกูดเครือ , ลายดอกบ่าง , ลายเขีย้ วหมา , ลายหน่วย , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายดอกจ้ายขอ , ลายนาค , สร้อยสา , ลายนกน้อย , ลายนาคน้อย , ลายดอกกูดเครือ
ภาพที่ 31 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 14
92
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 14 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เ หลี่ย มผืนผ้า ด้านกว้าง 82 เซนติเมตร ด้านยาว 180 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพื้นทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุ่งและเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พื้นเมือง ตรงบริเ วณชายผ้ามีการถั กเก็บ เป็นลวดลาย เรีย กว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 14 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ เพิ่มเส้นพุ่งพิเศษโดยใช้เส้นพิเศษสีแดงและสีดา ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนก เป็นทั้งหมด 9 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายขอกูดเครือ และ ลายดอกบ่าง แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วยลายขอ , ลายเขีย้ วหมา และ ลายหน่วย โดยมีแถบลายขอกูดเครืออยู่ในส่วนบนแถบที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วย ลายขอขะแจ , ลายเขี้ยวหมา และ ลายหน่วย โดยมีแถบลายดอกขอและแถบลายนาคน้อยอยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบลายที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วย ลายขอขะแจ , ลายขอน้อย, ลาย เขี้ยวหมา และ ลายหน่วย โดยมีแถบลายขอกูดเครือและลายขอกูดหลวงอยู่ในส่วนบนและส่วนล่าง ของแถบที่ 4 แถบที่ 5 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วย ลายขอหลวง , ขอน้อย , ลายเขี้ยว หมา , ลายดอกเขี้ยวหมา และ ลายหน่วย และยังมีแถบลายขอกูดหลวงและลายดอกจ้ายขออยู่ใน ส่วนหัวและส่วนท้ายของแถบที่ 5 แถบที่ 6 : ลายนาค , ลายดอกบ่าง และ สร้อยสา โดยมีแถบลายดอกหน่วยเครือและ ลายนาคน้อยอยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบที่สอง แถบที่ 7 : ลายนกน้อย แถบที่ 8 : ลายนาคน้อย แถบที่ 9 : ลายดอกกูดเครือ
93
ภาพที่ 32 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 14
94
3.2.15 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 15 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงยอด เพชรปัญญา อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 21 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 127 cm. / ยาว 230 cm. อายุผ้า : 42 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ไหมพรม / สี ม่วง เขียว ส้ม เส้นเงิน เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี ม่วง น้าเงิน เขียว ฟ้า เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายขอกูดเครือ , ลายดอกบ่าง , ลายขอขะแจ , ลายหน่วย , ลายนาคน้อย , ลายนกน้อย , ลายดอกกูดเครือ , ลายนาค จก : ลายดอกหับ
ภาพที่ 33 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 15
95
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 15 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 127 เซนติเมตร ด้านยาว 230 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณ ตรงกลาง ในส่ว นของผ้า พื้น ทอด้ ว ยเทคนิ คปกติ โดยใช้ เ ส้น พุ่ง และเส้น ยืน จากฝ้ ายสีข าวพั น ธุ์ พื้นเมืองและมีการใช้เส้นไหมพรมนามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิด เป็นแทบสีสันสวยงาม โดยในผืนนี้ไ ด้มีการใช้เส้นไหมพรม ได้แก่ สีเขียว ม่วง และส้ม และมีการใช้ เส้นเงินแทรกในการทอเป็นแถบสีพื้นที่ใช้เป็นแถบเพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเ วณชายผ้ามีการถั กเก็บ เป็นลวดลาย เรีย กว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 15 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีน้าเงิน เขียว และฟ้า ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนกเป็นทั้ งหมด 7 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายขอกูดเครือ และ ลายดอกบ่าง แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วยลายขอขะแจ , ลายหน่วย , ลายนาคน้อย และ ลายนกน้อย โดยมีแถบลายดอกขอและแถบ ลายดอกกูดเครืออยู่ในส่วนบนแถบที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกหับ ด้วยเทคนิคการจก โดยภายในดอกหับจะประกอบไปด้วย ลาย ดอกกาบขอ และ ลายขอ และในแถบที่ 3 มีลวดลาย ขอน้อย , ขอหลวง , ลายหน่วย , ลายนกน้อย และลายขอขะแจ ซึ่งเกิดจากเทคนิคการขิดโดยใช้เส้นไหมพรมสีเขียวเป็นตัวสร้างลาย และมี แถบ ลายดอกขอและแถบลายนาคน้อยอยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบลายที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง ที่มลี ายดอกจัน (ฝั่งบน) และ ลายนกสร้อยสา (ฝั่งล่าง) เป็นลาย ประกอบ และมีลายขอเหลียวไขว้กันอยู่ตรงกลางช่องว่างของลวดลายดอกบ่างทั้งสอง นอกจากนี้ ยังมีแถบลายดอกจ้ายขอและลายนกน้อยอยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบที่ 4 แถบที่ 5 : ไม่ทราบชื่อลาย แถบที่ 6 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 7 : ลายนาค
96
ภาพที่ 34 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 15
97
3.2.16 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 16 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงยอด เพชรปัญญา อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 21 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 62 cm. / ยาว 130 cm. อายุผ้า : 42 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ไหมพรม / สี ส้ม ม่วง เขียว ฟ้า เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ม่วง น้าเงิน เขียว แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกขอ , ลายหงส์ , ดอกบ่าง , ลายนก , ลายขอน้อย , ลายเขีย้ วหมา , ขอเหลียว , ขอหลวง , ลายหน่วย , ลายดอกจัน , ลายนาค, ลายนก , ลายต้นไม้ , ลายนาค , ลายนก , ลายช้าง , ลายม้าต่างปราสาท จก : ลายดอกหับ
ภาพที่ 35 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 16
98
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 16 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 62 เซนติเมตร ด้านยาว 130 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณ ตรงกลาง ในส่ว นของผ้า พื้น ทอด้ ว ยเทคนิ คปกติ โดยใช้ เ ส้น พุ่ง และเส้น ยืน จากฝ้ ายสีข าวพั น ธุ์ พื้นเมืองและมีการใช้เส้นไหมพรมนามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิด เป็นแทบสีสันสวยงาม โดยในผืนนีไ้ ด้มกี ารใช้เส้นไหมพรม ได้แก่ สีเขียว ม่วง ฟ้า และส้ม และมีการ ใช้เส้นเงินแทรกในการทอเป็นแถบสีพื้นที่ใช้เป็นแถบเพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้า หลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 16 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีน้าเงิน ม่วง เขียว และแดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนกเป็นทั้งหมด 9 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายดอกขอ แถบที่ 2 : ไม่ทราบชื่อลาย แถบที่ 3 : ลายหงส์ และดอกบ่าง ซึ่งภายในดอกบ่างมีลายประกอบดังนี้ ลายนก , ลาย ขอน้อย และ ลายเขี้ย วหมา และมีแถบลายดอกไก่น้อยและแถบลายดอกขออยู่ใ นส่วนบนและ ส่วนล่างของแถบลายที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกหับ ด้วยเทคนิคการจก โดยภายในดอกหับจะประกอบไปด้วย ลาย ดอกกาบขอ และ ลายขอ โดยตรงส่ ว นกลางของดอกกาบขอมี ก ารจกโดยใส่ เ ส้ น เงิ น ไว้ ต รง ส่วนกลางของลวดลาย และในแถบที่ 4 มีลวดลาย ขอเหลียว , ขอหลวง , ลายหน่วย และลายดอก จัน ซึ่งเกิดจากเทคนิคการขิดโดยใช้เส้นไหมพรมสีแดงเป็นตัวสร้างลาย นอกจากนี้ยังมีแถบลาย ดอกขอและลายเครือหน่วยอยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบที่ 4 แถบที่ 5 : ลายนาค และแถบลายเครือหน่วยและลายดอกขออยู่ในส่วนบนและส่วนล่าง ของแถบที่ 5 แถบที่ 6 : ลายนก และ ลายต้นไม้ และแถบลายดอกขอและลายนกน้อยอยู่ในส่วนบน และส่วนล่างของแถบที่ 6 แถบที่ 7 : ลายนก แถบที่ 8 : ลายช้าง แถบที่ 9 : ลายม้าต่างปราสาท
99
ภาพที่ 36 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 16
100
3.2.17 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 17 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงยอด เพชรปัญญา อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 21 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 102 cm. / ยาว 195 cm. อายุผ้า : 44 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เหลือง ส้ม เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ชมพู น้าเงิน เขียว ฟ้า เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายกุดเครือ , ลายต้นไม้ , ลายนก , ลายเครือดอก , ลายขอเหลียว , ลายขอขะแจ , ลายดอกหน่วย , ลายนกหัสดีลงิ ค์ , ลายนกสร้อยสา , ลายไก่นอ้ ย , ลายคนขี่ม้า , ลายงูน้อย , ลายดอกจัน จก : ลายดอกหับ
ภาพที่ 37 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 17
101
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 17 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 102 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณ ตรงกลาง ในส่ว นของผ้า พื้น ทอด้ ว ยเทคนิ คปกติ โดยใช้ เ ส้น พุ่ง และเส้น ยืน จากฝ้ ายสีข าวพั น ธุ์ พื้นเมืองและมีการใช้เส้นไหมพรมนามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิด เป็นแทบสีสันสวยงาม โดยในผืนนี้ไ ด้มีการใช้เส้นไหมพรม ได้แก่ สีเหลือง และส้ม ทอเป็นแถบสี พื้นที่ใช้เป็นแถบเพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บ เป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 17 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีชมพู น้าเงิน เขียว และฟ้า ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจาแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 2 : ลายนก และ ลายต้นไม้ และมีแถบลายดอกกูดเครือและแถบลายดอกขออยู่ใน ส่วนบนและส่วนล่างของแถบลายที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกหับ ด้วยเทคนิคการจก โดยภายในดอกหับจะประกอบไปด้วย ลาย ดอกกาบขอ และ ลายหน่วย โดยตรงส่วนกลางของดอกมีการจกเกสรเป็นสีขาวไว้ตรงส่วนกลาง ของลายดอก และในแถบที่ 3 มีลวดลาย ขอเหลียว , ลายเขี้ยวหมา , ลายหน่วย และลายดอกจัน ซึ่งเกิดจากเทคนิคการขิดโดยใช้เส้นไหมพรมสีชมพูเป็นตัวสร้างลาย นอกจากนี้ยังมีแถบลายดอก ขอเป็นแถบอยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 4 : ลายหงส์ และดอกบ่าง ซึ่งภายในดอกบ่างมีลายประกอบดังนี้, ลายขอน้อย และ ลายเขีย้ วหมา (ฝัง่ บน) และลายนกน้อยสร้อยสา (ฝัง่ ล่าง) และมีแถบลายดอกขอและแถบลาย ดอกไก่นอ้ ยอยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบลายที่ 4 แถบที่ 5 : ลายคนขี่มา้ แถบที่ 6 : ลายงูนอ้ ย แถบที่ 7 : ลายดอกจัน
102
ภาพที่ 38 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 17
103
3.2.18 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 18 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงยอด เพชรปัญญา อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 21 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 102 cm. / ยาว 195 cm. อายุผ้า : 41 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม ชมพู เขียว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ชมพู เขียว ฟ้า แดง น้าเงิน เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายลายเครือดอก , ลายขอกูดเครือ , ลายขอกูดเครือหลวง , ลายม้าต่างปราสาท , ลายกาบนาคตั้งขอ , ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายเครือขอเหลียว , ลายนาค , ลายนก , ลายงูน้อย , ลายเครือดอกจันแปดกลีบ
ภาพที่ 39 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 18
104
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 18 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 102 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณ ตรงกลาง ในส่ว นของผ้า พื้น ทอด้ ว ยเทคนิ คปกติ โดยใช้ เ ส้น พุ่ง และเส้น ยืน จากฝ้ ายสีข าวพั น ธุ์ พื้นเมืองและมีการใช้เส้นไหมพรมนามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิด เป็นแทบสีสันสวยงาม โดยในผืนนี้ได้มีการใช้เส้นไหมพรมได้แก่ สีชมพู เขียว และส้ม ทอเป็นแถบสี พื้นที่ใช้เป็นแถบเพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บ เป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 17 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ ใช้เส้นพุง่ พิเศษโดยใช้เส้นพิเศษสีชมพู แดง น้าเงิน เขียว และฟ้า ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืน นีโ้ ดยจาแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายขอกูดเครือ และมีแถบลายดอกขออยู่ในส่วนบนและส่วนล่าง แถบที่ 2 : ลายนาค แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายดอกจัน , ลายหน่วย และลายนาค และมีแถบลายคนขี่ม้าและแถบลายดอกจ้ายขออยู่ใน ส่วนบนและส่วนล่างของแถบลายที่ 3 แถบที่ 4 : ลายนาค และ ลายนกน้อย และมีแถบลายดอกจ้ายขอและแถบลายงูน้อยอยู่ใน ส่วนบนและส่วนล่างของแถบลายที่ 4 แถบที่ 5 : ลายดอกจัน แถบที่ 6 : ลายงูนอ้ ย แถบที่ 7 : ลายคนขี่มา้
105
ภาพที่ 40 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 18
106
3.2.19 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 19 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงยอด เพชรปัญญา อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 21 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 66 cm. / ยาว 93 cm. อายุผ้า : 41 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม น้าเงิน เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ขาว ชมพู ส้ม น้าเงิน เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายเครือดอก , ลายขอขะแจ๋ , ลายขอหลวง , ลายดอกตั้งขอ , ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายขอน้อย , ลายเขีย้ วหมา , ลายขอเหลียว , ลายดอกกูดเครือ , ลายนกน้อย , ลายคนขี่ม้า , ลายนาคน้อย , ลายนก , ลายช้าง , ลายม้าต่างปราสาท จก : ลายดอกหับขอกูดเครือ , ดอกจันแปดกลีบ
ภาพที่ 41 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 19
107
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 19 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 66 เซนติเมตร ด้านยาว 93 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณ ตรงกลาง ในส่ว นของผ้า พื้น ทอด้ ว ยเทคนิ คปกติ โดยใช้ เ ส้น พุ่ง และเส้น ยืน จากฝ้ ายสีข าวพั น ธุ์ พื้นเมืองและมีการใช้เส้นไหมพรมนามาปั่นเพื่อให้ มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิด เป็นแทบสีสันสวยงาม โดยในผืนนี้ได้มีการใช้เส้นไหมพรม ได้แก่ สีน้าเงิน และส้ม และมีการใช้เส้น เงินแทรกในการทอเป็นแถบสีพื้นที่ใช้เป็นแถบเพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรง บริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 19 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีชมพู ส้ม น้าเงิน และเขียว ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจาแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายดอกขอ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายใน จะประกอบไปด้วย ลายขอหลวง , ลายขอน้อย , ลายขอเหลียว , ลายหน่วย , ลายดอกจัน และ ลายนกน้อย และมีแถบลายดอกขออยู่ในส่วนบนของแถบลายที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกหับ ด้วยเทคนิคการจก โดยภายในดอกหับจะประกอบไปด้วย ลาย ดอกกาบขอ และในแถบที่ 3 มีลวดลาย ขอน้อย , ขอหลวง , ลายขอขะแจ , ลายเขี้ยวหมา , ลาย หน่วย , ลายดอกจัน , ลายนกน้อย และ ลายม้าต่างปราสาท ซึ่งเกิดจากเทคนิคการขิดโดยใช้เส้น ไหมพรมสีเขียวเป็นตัวสร้างลาย นอกจากนีย้ ังมีแถบลายนาคน้อยอยู่ในส่วนล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลาย ขอเหลียว , ลายดอกจัน และ ลายนกน้อย โดยมีแถบลายนาคน้อยและลายดอกกูดขอเป็นแถบลาย ในส่วนบนและล่างของแถบที่ 4 แถบที่ 5 : ลายช้าง แถบที่ 6 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 7 : ลายม้าต่างปราสาท
108
ภาพที่ 42 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 19
109
3.2.20 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 20 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงยอด เพชรปัญญา อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 21 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 61 cm. / ยาว 93 cm. อายุผ้า : 40 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ม่วง เขียว ส้ม น้าเงิน เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ม่วง เขียว ส้ม ฟ้า เหลือง ดา แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย จก : ลายนกดอกเครือ , ลายนกยูง , ลายม้าต่างปราสาท , ลายช้างต่างปราสาท , ลายนาค
ภาพที่ 43 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 20
110
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 20 มีลัก ษณะเป็นรูปทรงสี่เ หลี่ย มผืนผ้า ด้านกว้าง 61 เซนติเมตร ด้านยาว 93 เซนติเมตร เกิดจากการนาผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณ ตรงกลาง ในส่ว นของผ้า พื้น ทอด้ ว ยเทคนิ คปกติ โดยใช้ เ ส้น พุ่ง และเส้น ยืน จากฝ้ ายสีข าวพั น ธุ์ พื้นเมืองและมีการใช้เส้นไหมพรมนามาปั่นเพื่อให้ มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิด เป็นแทบสีสันสวยงาม โดยในผืนนี้ได้มีการใช้เส้นไหมพรม ได้แก่ สีม่วง เขียว ส้ม น้าเงิน และส้ม และมีการใช้เส้นเงินแทรกในการทอเป็นแถบสีพื้นที่ใช้เป็นแถบเพื่อแสดงลายพืน้ สลับกับแทบลายบน ผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่ง เรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 20 นี้มีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการจก โดยการใช้ เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้เส้นพิเศษสีม่วง เขียว ส้ม ฟ้า เหลือดา และแดง ซึ่งลวดลายที่ ปรากฏบนผ้า หลบผืนนีโ้ ดยจาแนกเป็นทั้งหมด 8 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1,6 : ลายนก แถบที่ 2,5 : ลายม้าต่างปราสาท แถบที่ 3 : ลายนกยูง แถบที่ 4 : ลายช้างต่างปราสาท แถบที่ 7,8 : ลายนาค
111
ภาพที่ 44 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 20
112
3.2.21 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 21 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงยอด เพชรปัญญา อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 21 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 80 cm. / ยาว 175 cm. อายุผ้า : 38 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว แดง เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ชมพู น้้าเงิน ฟ้า เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกกูดเครือ , ลายเครือดอกจันแปดกลีบ , ลายดอกจ้ายขอ , ลายหน่วยเครือ, ลายขอกูดเครือ , ลายนาค , ลายคนขี่ม้า , ลายนกน้อย
ภาพที่ 45 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 21
113
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 21 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 80 เซนติเมตร ด้านยาว 175 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณ ตรงกลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์ พืน้ เมืองและมีการใช้เส้นไหมพรมน้ามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิด เป็นแทบสีสันสวยงาม โดยในผืนนีไ้ ด้มกี ารใช้เส้นไหมพรมได้แก่ สีแดง ทอเป็นแถบสีพื้นที่ใช้เป็นแถบ เพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 21 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ ใช้เส้นพุง่ พิเศษโดยใช้เส้นพิเศษสีชมพู น้้าเงิน เขียว และฟ้า ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดย จ้าแนกเป็นทั้งหมด 8 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 2 : ลายดอกจัน แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายดอกจัน และลายนกน้อย และมีแถบลายนก น้อยและแถบลายดอกจ้ายขออยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบลายที่ 3 แถบที่ 4 : ลายนาค และ ลายนกคู่ และมีแถบลายดอกเขีย้ วหมาและแถบลายหน่วยเครือ อยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบลายที่ 4 แถบที่ 5 : ลายคนขี่มา้ แถบที่ 6 : ลายหน่วยเครือ แถบที่ 7 : ลายขอกูดเครือ
114
ภาพที่ 46 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 21
115
3.2.22 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 22 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงยอด เพชรปัญญา อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 21 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 102 cm. / ยาว 175 cm. อายุผ้า : 46 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ชมพู เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ชมพู เหลือง เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี ชมพู ม่วง เขียว ฟ้า เหลือง ส้ม เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย จก : ลายม้าต่างปราสาท , ลายคนขี่ม้า , ลายนาค , ลายนก , ลายช้างต่างปราสาท
ภาพที่ 47 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 22
116
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 22 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 61 เซนติเมตร ด้านยาว 93 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณ ตรงกลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีชมพูพันธุ์ พืน้ เมืองและมีการใช้เส้นไหมพรมน้ามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิด เป็นแทบสีสันสวยงาม โดยในผืนนีไ้ ด้มกี ารใช้เส้นไหมพรม ได้แก่ สีชมพูและเหลือง ใช้เป็นแถบเพื่อ แสดงลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 22 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการจก โดยการใช้ เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้เส้นพิเศษสีมว่ ง เขียว ส้ม ฟ้า เหลือง และชมพู ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบ ผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 6 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1,5 : ลายม้าต่างปราสาท แถบที่ 2,6 : ลายนาค แถบที่ 3 : ลายนก แถบที่ 4 : ลายช้างต่างปราสาท
117
ภาพที่ 48 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 22
118
3.2.23 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 23 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงยอด เพชรปัญญา อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 21 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 102 cm. / ยาว 175 cm. อายุผ้า : 47 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม เขียว น้้าเงิน เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี เขียว ม่วง น้้าเงิน ฟ้า เหลือง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายม้าต่างปราสาท , ลายคนขี่ม้า , ลายนาค , ลายนก จก : ลายนาค
ภาพที่ 49 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 23
119
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 23 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 61 เซนติเมตร ด้านยาว 93 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณ ตรงกลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีชมพูพันธุ์ พืน้ เมืองและมีการใช้เส้นไหมพรมน้ามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิด เป็นแทบสีสันสวยงาม โดยในผืนนีไ้ ด้มกี ารใช้เส้นไหมพรม ได้แก่ สีสม้ ม่วง เขียว และน้้าเงิน โดย ผ้าหลบผืนนีม้ ีการเพิ่มเส้นพุ่งพิเศษโดยการใช้เส้นเงินทอเข้าไปในเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดเป็นแถบสีพื้น เพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบโดยผ้าหลบผืนนีจ้ ะมีความแวววาวอย่างมาก เนื่องจากมีการใช้เส้นเงินเป็นจ้านวนมากในการทอ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 23 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีม่วง เขียว ส้ม ฟ้า เหลือง และน้้าเงิน ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนก เป็นทั้งหมด 8 แถบ ได้แก่ แถบที่ 1,6 : ลายนก แถบที่ 2 : ลายนกยูง แถบที่ 3,5 : ลายม้าต่างปราสาท แถบที่ 4 : ช้างต่างปราสาท แถบที่ 7 : ลายนก (ขัน) แถบที่ 8 : ลายช้าง แถบที่ 9 : ลายนาค (ด้วยเทคนิคการจก)
120
ภาพที่ 50 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 23
121
3.2.24 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 24 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงยอด เพชรปัญญา อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 21 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 62 cm. / ยาว 200 cm. อายุผ้า : 42 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เหลือง เขียว ชมพู เส้นเงิน เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี น้้าเงิน ชมพู เหลือง เขียว ส้ม ฟ้า ขาว ด้า เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายเครือขอ , ลายดอกกูดเครือ , ลายนกน้อย , ลายขอ , ลายนาคตั้งขอ จก : ลายช้าง , ลายนก , ลายนกยูง , ลายม้างต่างปราสาท , ลายดอกหับขอกูด , ลายนก (ขัน) , ลายนาค ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายม้าต่างปราสาท , ลายช้างต่างปราสาท ,
ภาพที่ 51 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 24
122
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 24 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 61 เซนติเมตร ด้านยาว 93 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณ ตรงกลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์ พืน้ เมืองและมีการใช้เส้นไหมพรมน้ามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิด เป็นแทบสีสันสวยงาม โดยในผืนนีไ้ ด้มกี ารใช้เส้นไหมพรมได้แก่ สีเหลือง เขียว และชมพู โดยผ้า หลบผืนนีม้ ีการเพิ่มเส้นพุ่งพิเศษโดยการใช้เส้นเงินทอเข้าไปในเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดความแวววาวบนผืน ผ้าให้เกิดเป็นแถบสีพื้นเพื่อแสดงลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบโดยผ้าหลบ ตรงบริเวณ ชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหม พรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 24 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีด้า ขาว ชมพู เหลือง เขียว ส้ม และฟ้า ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนก เป็นทั้งหมด 14 แถบ ลายที่ใช้เทคนิคการขิดในการสร้างลายได้แก่ แถบที่ 1,3 : ลายดอกขอ แถบที่ 2 : ลายดอกกูดเครือ และ แถบที่ 7 : มีการสร้างลวดลายด้วยเทคนิคขิดได้แก่ ลายขอ , ลายหน่วย , ลายนก น้อย และลายนาค ลายที่ใช้เทคนิคจกในการสร้างลายได้แก่ แถบที่ 4 : ลายช้าง แถบที่ 5,11 : ลายนก แถบที่ 6 : ลายนกยูง แถบที่ 7 : มีการใช้เทคนิคจกในการสร้างลายดอกหับตรงกลางผืนผ้า โดยภายในดอก หับมีลวดลายจากการจกได้แก่ ลายดอกกาบขอ และลายม้าต่างปราสาท แถบที่ 8,10 : ลายม้าต่างปราสาท แถบที่ 9 : ลายช้างต่างปราสาท แถบที่ 12 : ลายนก (ขัน) แถบที่ 13 : ลายคนขี่มา้ แถบที่ 14 : ลายนาค
123
ภาพที่ 52 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 24
124
3.2.25 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 25 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงเมือง เขียวสีฟ้า อายุ 48 ปี บ้านเลขที่ 108 หมู่ท่ี 13 บ้าน/เมือง บ้านขอน แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 85 cm. / ยาว 180 cm. อายุผ้า : 32 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม เขียว เส้นเงิน เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี ชมพู ส้ม เขียว น้้าเงิน ฟ้า เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกจ้ายขอ , ลายขอน้อย , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย , ลายนาคขอตั้ง , ลายขอกูดเครือ , ลายลายดอกจันแปดกลีบ , ลายขอหลวง , ลายขอขะแจ๋ , ลายนกหัสดีลิงค์ , ลายนาค จก : ลายม้าต่างปราสาท , ลายคนขี่ม้า , ลายนก , โค๊ะดอกไม้
ภาพที่ 53 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 25
125
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 25 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 85 เซนติเมตร ด้านยาว 180 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นไหมพรมน้ามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดเป็นแทบ สีสันสวยงาม โดยในผืนนีไ้ ด้มีการใช้เส้นไหมพรมได้แก่ สีเขียว และส้ม โดยผ้าหลบผืนนีม้ ีการเพิ่ม เส้นพุ่งพิเศษโดยการใช้เส้นเงินทอเข้าไปในเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดความแวววาวบนผืนผ้าให้เกิดเป็นแถบสี พืน้ เพื่อแสดงลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบโดยผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บ เป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 25 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีชมพู ส้ม เขียว น้้าเงิน และฟ้า ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็น ทั้งหมด 9 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกจ้ายขอ แถบที่ 2,3,5 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบ ไปด้วย ลายขอ , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย และ ลายนาค ซึ่งในแถบที่สองจะมีแถบลายดอกจ้าย ขออยู่ในส่วนบนของแถบที่ 2 ส่วนลายเครือหน่วยจะอยู่ในแถบล่างของแถบลายที่ 2 และแถบบน ของแถบลายที่ 3 และลายกูดดอกเครืออยู่ในแถบล่างของแถบลายที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง โดยภายในประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลาย หน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายดอกจัน , ลายนกน้อย และ ลายหงส์ โดยมีแถบลายคนขี่มา้ อยู่ใน ส่วนบนและส่วนล่างของแถบที่ 4 ซึ่งเป็นการใช้เทคนิคจกลวดลาย แถบที่ 6 : ลายนาคนกน้อย โดยมีแถบลายหน่วยเครือและลายขอเหลียวอยู่ในส่วนบน และส่วนล่างของแถบที่ 6 แถบที่ 7 : ลายม้าต่างปราสาท โดยเป็นการใช้เทคนิคจกลงบนพื้นที่มกี ารใส่เส้นพิเศษ ด้วยเส้นเงิน แถบที่ 8 : ลายนก และ โค๊ะดอกไม้ ด้วยเทคนิคจก และแถบลายขอเหลียวด้วยเทคนิคขิ ดซึ่งอยู่บนแถบลายที่ 8 แถบที่ 9 : ลายนาค
126
ภาพที่ 54 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 25
127
3.2.26 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 26 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงเมือง เขียวสีฟ้า อายุ 48 ปี บ้านเลขที่ 108 หมู่ท่ี 13 บ้าน/เมือง บ้านขอน แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 65 cm. / ยาว 195 cm. อายุผ้า : 36 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม เขียว เส้นเงิน เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี ด้า แดง ชมพู ส้ม น้้าเงิน ฟ้า เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกจ้ายขอ , ลายขอน้อย , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย , จก : ลายม้าต่างปราสาท , ลายคนขี่ม้า , ลายนก
ภาพที่ 55 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 26
128
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 26 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 65 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นไหมพรมน้ามาปั่นเพื่อให้มขี นาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดเป็นแทบ สีสันสวยงาม โดยในผืนนีไ้ ด้มีการใช้เส้นไหมพรมได้แก่ สีเขียว และส้ม โดยผ้าหลบผืนนีม้ ีการเพิ่ม เส้นพุ่งพิเศษโดยการใช้เส้นเงินทอเข้าไปในเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดความแวววาวบนผืนผ้าให้เกิดเป็นแถบสี พืน้ เพื่อแสดงลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบโดยผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บ เป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 26 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีด้า แดง ชมพู ส้ม น้้าเงิน ฟ้า และเขียว ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนก เป็นทั้งหมด 8 แถบ แถบที่ 1 : ลายขอเหลียว แถบที่ 2.3 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอหลวง , ลายขอน้อย , ลายขอขะแจ , ลายเขีย้ วหมา , ลายหน่วย และ ลายนกน้อย ซึ่ง ในแถบที่สองจะมีแถบลายขอเหลียวและลายเครือหน่วยจะอยู่ในแถบด้านบนและแถบด้านล่างของ แถบลายที่ 2 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง ที่มขี นาดใหญ่ที่สุดบนผืนผ้า โดยภายในประกอบไปด้วย ลายขอ น้อย , ลายขอหลวง , ลายขอขะแจ , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย และ ลายหงส์ โดยมี แถบลายคนขี่ม้าอยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบที่ 4 ซึ่งเป็นการใช้เทคนิคจกท้าให้เกิดเป็น ลวดลาย แถบที่ 5 : ลายดอกบ่าง โดยภายในลายประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา , ลายหน่วย และลายดอกจัน โดยมีแถบลายหน่วยเครือและลายขอเหลียวอยู่ใน ส่วนบนและส่วนล่างของแถบที่ 5 แถบที่ 6 : ลายนาคนกน้อย โดยมีแถบลายดอกจ้ายขอและลายดอกกูดเครืออยู่ใน ส่วนบนและส่วนล่างของแถบที่ 6 แถบที่ 7 : ลายคนขี่มา้ โดยการใช้เทคนิคจก แถบที่ 8 : ลายนก ที่เกิดจากการใช้เทคนิคจกเพื่อท้าให้เกิดลวดลาย และมีแถบลาย ดอกกูดเครืออยู่ในแถบบนของลายนกซึ่งเกิดจากการใช้เทคนิคการขิด และแถบลายคนขี่ม้าซึ่งอยู่ ด้านล่างของลายนกที่เกิดจากการใช้เทคนิคการจกเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายขึ้น
129
ภาพที่ 56 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 26
130
3.2.27 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 27 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงเมือง เขียวสีฟ้า อายุ 48 ปี บ้านเลขที่ 108 หมู่ท่ี 13 บ้าน/เมือง บ้านขอน แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 85 cm. / ยาว 180 cm. อายุผ้า : 35 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ชมพู ส้ม เขียว เส้นเงิน เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี ด้า ขาว ชมพู น้้าเงิน ฟ้า ส้ม เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกจ้ายขอ , ลายนกยูง , ลายไก่น้อย , ลายนาคน้อย จก : ลายคนขี่ม้า , ลายนก , ลายหงส์ , ลายนกกับปราสาท , ลายดอกไก่นอ้ ย
ภาพที่ 57 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 27
131
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 27 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 85 เซนติเมตร ด้านยาว 180 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นไหมพรมน้ามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดเป็นแทบ สีสันสวยงาม โดยในผืนนีไ้ ด้มีการใช้เส้นไหมพรมได้แก่ สีชมพู ส้ม เขียว โดยผ้าหลบผืนนีม้ ีการเพิ่ม เส้นพุ่งโดยการใช้เส้นเงินทอเข้าไปในเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดความแวววาวบนผืนผ้าให้เกิดเป็นแถบสีพื้น เพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบโดยผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็น ลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 27 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีด้า ขาว ชมพู น้้าเงิน ฟ้า ส้ม และเขียว ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนก เป็นทั้งหมด 7 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกจ้ายขอ แถบที่ 2 : ลายม้าต่างปราสาท ที่เกิดจากการสร้างลายด้วยเทคนิคจก โดยในแถบที่ 2 นี้ จกลงบนพืน้ สีชมพูที่เกิดจากการใช้เส้นยืนสีขาวและเส้นพุ่งสีแดงด้วยวิธีการทอแบบ 2 ตะกอ ซึ่งใน แถบที่สองจะมีแถบลายดอกจ้ายขอและลายม้าจะอยู่ในแถบด้านบนและแถบด้านล่างของแถบลาย ที่ 2 โดยใช้เทคนิกการขิดเป็นตัวสร้างลาย แถบที่ 3 : ลายหงส์ โดยการจกลงบนพืน้ สีเขียวที่เกิดจากการใช้เส้นยืนสีขาวและเส้นพุ่งสี เขียวด้วยวิธีการทอแบบ 2 ตะกอ โดยมีแถบลายนกอยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบที่ 3 ซึ่งเป็น การใช้เทคนิคจกท้าให้เกิดเป็นลวดลาย โดยการจกลงบนผ้าพืน้ ที่ใช้เส้นยืนสีขาวและการใช้เส้นเงิน เป็นเส้นพุ่งที่ท้าให้มีความแวววาวลงบนผืนผ้า แถบที่ 4 : ลายหงส์ และ ลายปราสาท โดยลายปราสาท สามารถสื่อความหมายโดย เปรียบเหมือนเรือนพัก ที่อยู่อาศัย หรือใช้ส้าหรับอุทิศให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ซึ่งลายนกและลาย ปราสาทเกิดจากการใช้เทคนิคจกลงพบพืน้ สีชมพู และมีแถบลายนกน้อยและลายนาคน้อยอยู่ใน ส่วนบนและส่วนล่างของแถบที่ 4 ที่เกิดจากการใช้เทคนิดการขิดเพื่อสร้างเป็นลวดลาย แถบที่ 5 : ลายนกน้อย ด้วยวิธีการสร้างลายโดยการจกลงบนพืน้ สีชมพู แถบที่ 7 : ลายนาคน้อย โดยการใช้เทคนิคการขิด แถบที่ 8 : ลายนก ที่เกิดจากการใช้เทคนิคจกลงบนผ้าพืน้ สีชมพูเพื่อท้าให้เกิดลวดลาย
132
ภาพที่ 58 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 27
133
3.2.28 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 28 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงเมือง เขียวสีฟ้า อายุ 48 ปี บ้านเลขที่ 108 หมู่ท่ี 13 บ้าน/เมือง บ้านขอน แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 65 cm. / ยาว 195 cm. . อายุผ้า : 35 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ชมพู เขียว ฟ้า เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี ด้า ขาว ชมพู น้้าเงิน ฟ้า ส้ม เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายนาคน้อย , ลายม้าต่างปราสาท , ลายนาค , ลายนกน้อย , ลายช้างต่างปราสาท , ลายไก่น้อย จก : ลายนาค , ลายนก , ลายคนขี่มา้ , ลายหงส์ , ลายนกหัสดีลิงค์ , โค๊ะดอกไม้
ภาพที่ 59 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 28
134
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 28 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 65 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นไหมพรมน้ามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดเป็นแทบ สีสันสวยงาม โดยในผืนนีไ้ ด้มีการใช้เส้นไหมพรมได้แก่ สีชมพู ฟ้า เขียว โดยผ้าหลบผืนนีม้ ีการเพิ่ม เส้นพุ่งโดยการใช้เส้นเงินทอเข้าไปในเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดความแวววาวบนผืนผ้าให้เกิดเป็นแถบสีพื้น เพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบโดยผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็น ลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 28 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีด้า ขาว ชมพู น้้าเงิน ฟ้า ส้ม และเขียว ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนก เป็นทั้งหมด 7 แถบ แถบที่ 1 : ลายนาคน้อย แถบที่ 2 : ลายนาคและลายนกน้อย ที่เกิดจากการสร้างลายด้วยเทคนิคจก โดยในแถบที่ 2 นีจ้ กลงบนพืน้ สีชมพูที่เกิดจากการใช้เส้นยืนสีขาวและเส้นพุ่งสีชมพูด้วยวิธีการทอแบบ 2 ตะกอ ซึ่งในแถบที่สองจะมีแถบลายนาคน้อยและลายม้าต่างปราสาทจะอยู่ในแถบด้านบนและแถบ ด้านล่างของแถบลายที่ 2 โดยใช้เทคนิกการขิดเป็นตัวสร้างลาย แถบที่ 3 : ลายหงส์ และ โค๊ะดอกไม้ โดยการจกลงบนพืน้ สีฟ้าที่เกิดจากการใช้เส้นยืนสี ขาวและเส้นพุ่งสีฟ้าด้วยวิธีการทอแบบ 2 ตะกอ โดยมีแถบลายนาคอยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของ แถบที่ 3 ด้วยเทคนิกการขิด แถบที่ 4 : ลายนก โดยเกิดจากการใช้เทคนิคจกลงพบพืน้ สีชมพู และมีแถบลายนกน้อย และลายช้างต่างปราสาทอยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบที่ 4 ที่เกิดจากการใช้เทคนิดการขิดเพื่อ สร้างเป็นลวดลาย แถบที่ 5 : ลายคนขี่มา้ ด้วยวิธีการสร้างลายโดยการจกลงบนพืน้ สีชมพู แถบที่ 7 : ลายดอกไก่น้อย โดยการใช้เทคนิคการขิด แถบที่ 8 : ลายนาค ที่เกิดจากการใช้เทคนิคจกลงบนผ้าพืน้ สีชมพูเพื่อท้าให้เกิดลวดลาย
135
ภาพที่ 60 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 28
136
3.2.29 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 29 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงเมือง เขียวสีฟ้า อายุ 48 ปี บ้านเลขที่ 108 หมู่ท่ี 13 บ้าน/เมือง บ้านขอน แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 97 cm. / ยาว 195 cm. . อายุผ้า : 37 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ม่วง ส้ม เขียว เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ด้า แดง ม่วง เขียว น้้าเงิน เหลือง ส้ม เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายขอเหลียว , ลายดอกจ้ายขอ , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา , ลายเครือดอก , ลายลายนาคตั้งขอ , ลายดอกกูดเครือ , ลายดอกตั้งขอ , ลายนกหัสดีลิงค์ , ลายนาค จก : ลายคนขี่ม้า , ลายนก
ภาพที่ 61 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 29
137
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 29 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 97 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นไหมพรมน้ามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดเป็นแทบ สีสันสวยงาม โดยในผืนนีไ้ ด้มีการใช้เส้นไหมพรมได้แก่ สีมว่ ง ส้ม เขียว โดยผ้าหลบผืนนีม้ ีการเพิ่ม เส้นพุ่งโดยการใช้เส้นเงินทอเข้าไปในเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดความแวววาวบนผืนผ้าให้เกิดเป็นแถบสีพื้น เพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบโดยผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็น ลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 29 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีด้า แดง ม่วง น้้าเงิน ส้ม และเหลือง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็น ทั้งหมด 8 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกจ้ายขอ แถบที่ 2,3 : : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบ ไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา , ลายหน่วย , ลายนกน้อย และ ลายนาค โดย ในแถบที่ 2 จะเป็นการใช้เทคนิคขิดเพื่อสร้างลายลงบนพืน้ สีขาวโดยใช้เส้นพุง่ พิเศษสีแดง และใน แถบที่ 3 การใช้เทคนิคขิดลงบนพื้นสีมว่ งโดยใช้เส้นพุ่งพิเศษสีด้า เป็นตัวสร้างลาย ซึ่งในแถบที่สอง จะมีแถบลายดอกจ้ายขอและลายหน่วยเครืออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้ายของแถบที่ 2 และมีแถบลาย ดอกกูดเครืออยู่ด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่างที่มขี นาดใหญ่ที่สุดบนผืนผ้า โดยการใช้เส้นพุง่ พิเศษสีแดงเป็นตัว สร้างลาย โดยภายในลายประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายขอเหลียว , ลายนกน้อย , ลายนาค และ ลายหงส์ โดยมีแถบลายคนขี่ม้าซึ่งเกิดจากเทคนิค จกเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 4 แถบที่ 5 : ลายดอกบ่าง โดยภายในลายประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย และลายเขีย้ วหมา โดยวิธีการขิดเป็นการสร้างลายด้วยการใช้เส้นพุ่งพิเศษสีด้าขิดลงบน พืน้ สีมว่ ง และมีแถบลายดอกกูดเครือและลายขอเหลียวเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของ แถบลายที่ 5 แถบที่ 7 : ลายนาค โดยมีแถบลายขอเหลียวเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของ แถบลายที่ 7
138
แถบที่ 8 : ลายนก และแถบลายคนขี่ม้า โดยใช้เทคนิคการจกเพื่อสร้างลวดลาย และแถบ ลายขอเหลียวเป็นแถบลายที่อยู่ดา้ นบนแถบลายที่ 8 ที่ใช้เทคนิคการขิดเป็นการสร้างลาย
ภาพที่ 62 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 29
139
3.2.30 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 30 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงเมือง เขียวสีฟ้า อายุ 48 ปี บ้านเลขที่ 108 หมู่ท่ี 13 บ้าน/เมือง บ้านขอน แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 85 cm. / ยาว 180 cm. อายุผ้า : 34 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เขียว ส้ม เส้นเงิน เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี ม่วง ชมพู น้้าเงิน ฟ้า เขียว ส้ม เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกกูดเครือ , ลายขอน้อย , ลายเขีย้ วหมา , ลายนาคตั้งขอ , ลายนกน้อย , ลายขอเหลียว , ลายดอกบ่าง , ลายหงส์ , ลายนกสร้อยสา , ลายไก่นอ้ ย จก : ลายม้าต่างปราสาท , ลายสิงห์
ภาพที่ 63 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 30
140
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 30 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 85 เซนติเมตร ด้านยาว 180 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นไหมพรมน้ามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดเป็นแทบ สีสันสวยงาม โดยในผืนนีไ้ ด้มีการใช้เส้นไหมพรมได้แก่ สีส้ม เขียว โดยผ้าหลบผืนนี้มีการเพิ่มเส้นพุ่ง โดยการใช้เส้นเงินทอเข้าไปในเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดความแวววาวบนผืนผ้าให้เกิดเป็นแถบสีพื้นเพื่อ แสดงลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบโดยผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็น ลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 30 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีม่วง ชมพู น้้าเงิน ฟ้า ส้ม และเขียว ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจ้าแนกเป็น ทั้งหมด 9 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 2,3,5 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบ ไปด้วย ลายขอ , ลายเขีย้ วหมา , ลายหน่วย , ลายนกน้อย และ ลายนาค โดยในแถบที่ 2,3,5 จะ เป็นการใช้เทคนิคขิดเพื่อสร้างลายลงบนพื้นสีขาว โดยในแถบที่ 2 ใช้เส้นพุง่ พิเศษสีชมพู แถบที่ 3 ใช้เส้นพุ่งพิเศษสีน้าเงิน และในแถบที่ 5 ใช้เส้นพุง่ พิเศษสีเขียว ซึ่งในแถบที่ 2 จะมีแถบลายดอกกู เครือและลายหน่วยเครืออยู่ในส่วนหัวและส่วนท้ายของแถบที่ 2 แถบที่ 3 มีแถบลายหน่วยเครือ และลายขอเหลียวอยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 3 และแถบที่ 5 มีแถบลายขอเหลียวและลาย ดอกจ้ายขออยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 5 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่างที่มขี นาดใหญ่ที่สุดบนผืนผ้า โดยการใช้เส้นพุง่ พิเศษสีชมพูเป็นตัว สร้างลาย โดยภายในลายประกอบไปด้วย ลายขอ , ลายหน่วย , ลายเขี้ยวหมา , นกน้อย และ ลาย นาค โดยมีแถบลายม้าม้าต่างปราสาทซึ่งเกิดจากเทคนิคจกเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่าง ของแถบลายที่ 4 แถบที่ 6 : ลายดอกบ่าง โดยภายในลายประกอบไปด้วย ลายขอน้อย, ลายหน่วย และ ลายเขีย้ วหมา และลายนกน้อยสร้อยสา ที่อยู่ในรูปทรงสามเหลี่ยมของดอกบ่างที่อยู่ตรงข้างกัน โดยท้าให้เกิดเป็ยช่องลายสี่เหลี่ยมที่มีลายหงส์อยู่ตรงกลาง และมีแถบลายดอกจ้ายขอและลายไก่ น้อยเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 6 แถบที่ 7 : ลายนก โดยเทคนิคการจกลงบนพื้นที่มีการใช้เส้นพุ่งด้วยเส้นเงิน แถบที่ 8 : ลายไก่นอ้ ย
141
แถบที่ 9 : ลายคชสีห์ ซึ่งเป็นลายที่เกิดจากลวดลายในจินตนาการ โดยเป็นสัตว์ที่มกี าร ผสม
ภาพที่ 64 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 30
142
3.2.31 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 31 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงเมือง เขียวสีฟ้า อายุ 48 ปี บ้านเลขที่ 108 หมู่ท่ี 13 บ้าน/เมือง บ้านขอน แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 85 cm. / ยาว 180 cm. อายุผ้า : 34 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เขียว ส้ม เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ม่วง ชมพู น้้าเงิน ฟ้า เขียว ส้ม เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกกูดเครือ , ลายขอน้อย , ลายเขีย้ วหมา , ลายนาคตั้งขอ , ลายดอกบ่างหงส์ , ลายดอกจ้ายขอ , ลายขอหลวง , ลายดอกหน่วย , ลายดอกตั้งขอ , ลายดอกไก่น้อย , ลายคนขี่ม้า , จก : ลายคนขี่ม้า , ลายดอกหับหงส์ , ลายนก , ลายนาค
ภาพที่ 65 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 31
143
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 31 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 85 เซนติเมตร ด้านยาว 180 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นไหมพรมน้ามาปั่นเพื่อให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงโดยใช้เป็นเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดเป็นแทบ สีสันสวยงาม โดยในผืนนีไ้ ด้มีการใช้เส้นไหมพรมได้แก่ สีส้ม เขียว โดยผ้าหลบผืนนี้มีการเพิ่มเส้นพุ่ง โดยการใช้เส้นเงินทอเข้าไปในเส้นพุ่งเพื่อให้เกิดความแวววาวบนผืนผ้าให้เกิดเป็นแถบสีพื้นเพื่อ แสดงลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบโดยผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็น ลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 31 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีมว่ ง ชมพู น้้าเงิน ฟ้า ส้ม และเขียว ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนี้โดยจ้าแนกเป็น ทั้งหมด 8 แถบ แถบที่ 1 : ลายหน่วยเครือ แถบที่ 2,3 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา , ลายหน่วย , ลายนกน้อย และ ลายหงส์ โดยใน แถบที่ 2,3 จะเป็นการใช้เทคนิคขิดเพื่อสร้างลายลงบนพืน้ สีขาว โดยในแถบที่ 2 ใช้เส้นพุง่ พิเศษสี แดง แถบที่ 3 ใช้เส้นพุง่ พิเศษสีด้า ซึ่งในแถบที่ 2 จะมีแถบลายหน่วยเครือและลายดอกจ้ายขออยู่ ในส่วนหัวและส่วนท้ายของแถบที่ 2 และแถบที่ 3 มีแถบลายดอกจ้ายขอและลายดอกกูดเครืออยู่ ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่างที่มขี นาดใหญ่ที่สุดบนผืนผ้า ด้วยเทคนิคขิดโดยการใช้เส้นพุ่ง พิเศษสีแดงเป็นตัวสร้างลายลงบนพืน้ สีขาว โดยภายในลายประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอ หลวง , ลายหน่วย , ลายเขี้ยวหมา , ลายนกน้อย และลายนาคน้อย และมีแถบลายคนขี่ม้าซึ่งเกิด จากเทคนิคจกเป็นแถบลายที่อยู่ดา้ นบนและด้านล่างของแถบลายที่ 4 แถบที่ 5 : ลายดอกบ่าง โดยภายในลายประกอบไปด้วย ลายขอน้อย, ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย และลายนาค โดยการใช้เส้นพิเศษสีด้าสร้างลวดลายด้วย เทคนิคขิกลงบนพืน้ ผ้าสีชมพูที่ใช้เส้นยืนสีขาวและเส้นพุ่งสีชมพูด้วยการทอแบบ 2 ตะกอ และมีแถบ ลายกูดเครือและลายดอกจ้ายขอเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 5 แถบที่ 6 : ลายดอกหับ โดยมีลายหงส์อยู่ตรงกลางลายด้วยเทคนิดจก และลายดอกบ่าง โดยภายในลายประกอบด้วยลายเขี้ยวหมา กับลายหน่วย และลายนกน้อยสร้อยสา และมีแถบลาย ดอกจ้ายขอและลายดอกไก่นอ้ ยเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 6
144
แถบที่ 7 : ลายคนขี่มา้ แถบที่ 8 : ลายนก และแถบลายนาค ด้วยเทคนิคจก โดยลายนาคเป็นการจกลงบนพืน้ สี เขียวจากการใช้เส้นยืนสีขาวและเส้นพุ่งสีเขียวในการทอแบบ 2 ตะกอ และมีแถบลายดอกไก่น้อย เป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนแถบลายที่ 8
ภาพที่ 66 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 31
145
3.2.32 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 32 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงค้า เพชรปัญญา อายุ 50 ปี บ้านเลขที่ 18 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 62 cm. / ยาว 130 cm. อายุผ้า : 62 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ด้า แดง เหลือง ม่วง ชมพู เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายเครือดอก , ลายดอกหน่วย , ลายดอกบ่าง , ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายขอ , ลายดอกเหล๋ม , ลายเขี้ยวหมา , ลายดอกตาไก่ , ลายขอกูดหลวง , สร้อยสา , ลายไก่นอ้ ย , ลายนาคน้อย , ลายขอเหลียว จก : ลายดอกหับ
ภาพที่ 67 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 32
146
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 32 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 62 เซนติเมตร ด้านยาว 130 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 32 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยใช้ เส้นพิเศษสีด้า แดง เหลือง ม่วง ชมพู และเขียว ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนก เป็นทั้งหมด 7 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกบ่าง โดยเกิดจากการน้าหน่วยลายมารวมกันจนเกิดเป็นลายขึ้น แถบที่ 2 : ลายดอกหับ โดยภายในลายประกอบด้วย ลายดอกกาบตั้ง , ลายหน่วย และ ลายเขีย้ วหมา โดยตรงกลางเกสรของดอกกาบตั้งมีการใช้ฝ้ายสีจกลงตรงส่วนกลางลาย และใน แถบที่ 2 ยังประกอบด้วยลายดอกบ่าง ซึ่งภายในลายประกอบด้วย ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และ ลายนกน้อย โดยมีแถบลายหน่วยเครืออยู่ในส่วนบนและส่วนล่างของแถบลายที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกหับ โดยภายในลายประกอบด้วยลายกาบขอ , ลายดอกจัน , ลาย หน่วย , ลายเขีย้ วหมา และลายขอ โดยตรงส่วนกลางเกสรของดอกกาบขอมีการใช้เทคนิคจกด้วย เส้นพิเศษเป็นสีสันเป็นลายดอกหับ นอกจากนี้แถบที่ 3 ยังมีลายดอกบ่างเป็นลายประกอบ โดย ภายในลายประกอบ ด้วยลายขอ , ลายเขีย้ วหมา , ลายหน่วย และลายดอกจัน โดยมีแถบลายดอกขออยู่ในแถบด้านบน และด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 5 : ลายไก่นอ้ ย แถบที่ 6 : ลายนาคน้อย แถบที่ 7 : ลายขอเหลียว
147
ภาพที่ 68 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 32
148
3.2.33 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 33 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงค้า เพชรปัญญา อายุ 50 ปี บ้านเลขที่ 18 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 97 cm. / ยาว 195 cm อายุผ้า : 68 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ด้า แดง ไหม / สี ม่วง เหลือง ชมพู ขาว เทา เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกเหล๋ม , ลายดอกหน่วย , ลายบ่าง , ลายดอกหับ เกาะ : ลายน้้าไหล
ภาพที่ 69 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 33
149
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 33 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 97 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีสันสดใส ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 33 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคเกาะล้วงเข้ามาตกแต่งเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยในผืนนีม้ ีการใช้เส้นพุ่ง พิเศษสองชนิดคือ ใช้เส้นฝ้ายสีด้า แดง ในการขิด และใช้เส้นไหมสีขาว เหลือง ม่วง ชมพู เทา และ แดง ในการท้าลายเกาะล้วง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกเหล๋ม แถบที่ 2,4 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายหน่วยและลายเขี้ยวหมา และมีแถบลายดอกเหล๋มเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่าง ของแถบลายที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกหับ โดยภายในลายดอกหับประกอบด้วยลายกาบตั้ง และนอกจากนี้ แถบที่ 3 ยังมีลายดอกบ่างเป็นลายประกอบ โดยภายในลายประกอบ ลายเขีย้ วหมาและลายหน่วย โดยมีแถบลายดอกเหล๋มอยู่ในแถบด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 5,6 : ลายดอกเหล๋ม แถบที่ 7 : ลายน้้าไหล โดยเกิดจากเทคนิคเกาะล้วง คือ การน้าเส้นพุ่งธรรมดาหลายสีพุ่ง ย้อนกลับไปกลับมาเป็นช่วง ๆ ด้วยวิธีขัดสานแบบธรรมดา โดยมีการเกาะเกี่ยวและผูกปมเป็นห่วง รอบได้เส้นยืนเพื่อยึดเส้นพุ่งแต่ละช่วงไว้
150
ภาพที่ 70 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 33
151
3.2.34 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 34 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงค้า เพชรปัญญา อายุ 50 ปี บ้านเลขที่ 18 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 65 cm. / ยาว 195 cm อายุผ้า : 55 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เหลือง เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ด้า แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายงูน้อย, ลายขอกูดเครือ , ลายดอกหน่วย , ลายขอน้อย , ลายเขีย้ วหมา , ลายกาบตั้งขอ , ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายขอหลวง , ลายกาบขอ , ลายขอกูดหลวง , ลายนาคน้อย , สร้อยสา , ลายเครือเขี้ยวหมา
ภาพที่ 71 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 34
152
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 34 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 97 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเหลืองทอเป็นสีพ้ืนเป็นแถบเพื่อเป็นลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรมสีแดง ขาว ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 34 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) มีการใช้ เส้นพุ่งพิเศษคือเส้นฝ้ายสีด้า แดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ แถบที่ 1 : ลายงูน้อย แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และลายดอกจัน เป็นแถบลายขิดด้วย เส้นพุ่งพิเศษสีแดง และมีแถบลายขอกูดเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลาย หน่วย , และลายเขีย้ วหมา เป็นแถบลายขิดด้วยเส้นพุ่งพิเศษสีด้า แถบที่ 4 : ลายขอกูดหลวง , ลายดอกบ่าง และลายนาคสร้อยสา และมีแถบลายงูนอ้ ย และลายดอกเหล๋มเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 4 แถบที่ 6,7 : ลายดอกเหล๋ม
153
ภาพที่ 72 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 34
154
3.2.35 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 35 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงค้า เพชรปัญญา อายุ 50 ปี บ้านเลขที่ 18 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 85 cm. / ยาว 180 cm. อายุผ้า : 78 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ด้า แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกเหล๋ม , ลายกาบตั้งขอ , ดอกหน่วย , ลายนกน้อย , ลายดอกหับ ลายหอเหลียว , ลายดอกกาบ, สร้อยสา
ภาพที่ 73 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 35
155
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 35 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 85 เซนติเมตร ด้านยาว 180 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม แต่ในผืนนีม้ ีตรงส่วนชายผ้าที่ช้ารุดเป็นอย่างมากเนื่องจากอายุที่ยาวนานของ ตัวผ้าและการเก็บรักษา ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 35 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) มีการใช้ เส้นพุ่งพิเศษคือเส้นฝ้ายสีด้า แดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 9 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกเหล๋ม แถบที่ 2,3,5 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยในแถบที่ 2 3 และ 5 เป็นชุดลายที่ซ้ากัน ซึ่งภายในจะประกอบไปด้วยลายขอ , ลายหน่วย และ ลายนกน้อย โดยแถบ ลายที่ 2 ใช้เส้นพุง่ สีแดงในการทอ ส่วนแถบลายที่ 3 และ 5 ใช้เส้นพุง่ สีด้าในการทอ และมีแถบลาย ดอกเหล๋มเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของทั้ง 3 แถบลาย โดยในแถบลายที่ 2 จะเป็นสี แดง และแถบลายที่ 3 และ 5 จะเป็นสีด้า แถบที่ 4 : คือการน้าลายของแถบที่ 2 (ในข้างต้น) มาประกบกัน ซึ่งท้าให้เกิดเป็นลาย ดอกหับ ซึ่ง คือลายที่มรี ูปทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนจากการน้าลายบ่างมาประกบเข้าหากัน โดยจะ เกิดเป็นลาย ดอกหับ และลายดอกตั้งขอ ขึ้นในแถบที่ 4 และมีแถบลายดอกเหล๋มเป็นแถบลายที่อยู่ ด้านบนและด้านล่างแถบลายที่ 4 แถบที่ 6 : ลายขอกูดหลวง , ลายดอกบ่าง และ สร้อยสา และมีแถบลายดอกเหล๋มเป็น แถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 5 แถบที่ 7,8,9 : ลายดอกเหล๋ม
156
ภาพที่ 74 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 35
157
3.2.36 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 36 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางแสงค้า เพชรปัญญา อายุ 50 ปี บ้านเลขที่ 18 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 73 cm. / ยาว 210 cm. อายุผ้า : 36 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม ชมพู เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ด้า แดง เหลือง น้้าเงิน ชมพู เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายเครือดอก , ลายนาคน้อย , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายงูนอ้ ย , ลายดอกหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายหน่วยเครือ , ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายนาคสร้อยสา , ลายขอกูดเครือ , ลายนกคู่ ลายดอกกูดเครือ , ลายนกน้อย , ลายกาบตั้ง , ลายดอกจ้ายขอ , จก : ลายดอกหับ
ภาพที่ 75 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 36
158
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 36 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 75 เซนติเมตร ด้านยาว 210 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีส้มและชมพู ทอเป็นสีพ้ืนเป็นแถบเพื่อเป็นลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืนผ้า หลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 36 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม มีการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีด้า แดง เหลือง น้้าเงิน ชมพู และเขียว ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 8 แถบ แถบที่ 1 : ลายเครือดอก แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และ ลายนาคน้อย และมีแถบลาย นาคน้อยและลายหน่วยเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกหับ โดยภายในจะประกอบไปด้วยลายดอกกาบขอ และลายหน่วย ที่ ใช้เทคนิคจกเป็นตัวสร้างลายด้วยเส้นพิเศษสีน้าเงินและสีเหลือง และมีลายดอกบ่างเป็นลาย ประกอบโดยปรกกอบด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายขอขะแจ , ลายหน่วย , ลายดอกจัน และ ลายเขีย้ วหมา ด้วยเทคนิคขิด โดยมีแถบลายดอกหน่วยเครือและลายดอกกูดเครือเป็นแถบ ลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง โดยภายในประกอบด้วยลายขอ , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และ ลายนกน้อย โดยมีแถบลายดอกกูดเครือและลายดอกจ้ายขอเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและ ด้านล่างของแถบลายที่ 4 แถบที่ 5 : ลายนาคสร้อยสา และมีแถบลายดอกจ้ายขอและลายดอกหน่วยเครือเป็นแถบ ลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 5 แถบที่ 6 : ลายดอกจ้ายขอ แถบที่ 7 : ลายขอกูดเครือ แถบที่ 8 : ลายนกคู่
159
ภาพที่ 76 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 36
160
3.2.37 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 37 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางจันทร์แก้ว วงสุวรณ อายุ 52 ปี บ้านเลขที่ 24 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 97 cm. / ยาว 196 cm. อายุผ้า : 35 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม เขียว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี แดง ชมพู เขียว น้้าเงิน เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกกูดเครือ , ลายดอกจ้ายขอ , ลายขอหลวง , ลายขอน้อย , ลายดอกหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายกาบตั้ง , ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายกาบตั้งขอ , ลายหน่วยเครือ , ลายขอกูดหลวง , ลายนาคสร้อยสา , ลายนกคู่ , ลายนาคน้อย , ลายเครือดอก
ภาพที่ 77 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 37
161
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 37 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 97 เซนติเมตร ด้านยาว 196 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีส้มและเขียว ทอเป็นสีพ้ืนเป็นแถบเพื่อเป็นลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืนผ้า หลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 37 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) มีการใช้ เส้นพุ่งพิเศษ สีแดง น้้าเงิน ชมพู และเขียว ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็น ทั้งหมด 7 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย และ ลายเขีย้ วหมา โดยมีแถบลายดอกจ้ายขอเป็น แถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง มีขนาดกว้างที่สุดบนผืนผ้า โดยภายในลายประกอบด้วยลายขอ น้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และลายดอกจัน โดยมีแถบลายดอกหน่วยเครือ เป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 4 : ลายขอกูดหลวง และลายดอกบ่าง โดยมีลายนาคสร้อยสาเป็นส่วนประกอบ ของลาย และมีแถบลายหน่วยเครือและลายดอกดอกกูดเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและ ด้านล่างของแถบลายที่ 4 แถบที่ 5 : ลายนกคู่ แถบที่ 6 : ลายนาคน้อย แถบที่ 7 : ลายดอกขอ
162
ภาพที่ 78 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 37
163
3.2.38 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 38 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางจันทร์แก้ว วงสุวรณ อายุ 52 ปี บ้านเลขที่ 24 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 70 cm. / ยาว 205 cm. อายุผ้า : 36 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เขียว เหลือง ส้ม เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ด้า แดง น้้าเงิน เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายขอเหลียว , ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายเขี้ยวหมา , ลายดอกหน่วย , ลายดอกจ้ายขอ , ลายดอกเหล๋ม , ลายกาบตั้งขอ , ลายกาบตั้ง , ลายขอกูดหลวง , ลายดอกกูดเครือ, ลายนาค , ลายนาคน้อย
ภาพที่ 79 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 38
164
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 38 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 70 เซนติเมตร ด้านยาว 205 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเหลือง ส้ม และเขียว ทอเป็นสีพ้ืนเป็นแถบเพื่อเป็นลายพืน้ สลับกับแทบลายบน ผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่ง เรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 38 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) มีการใช้ เส้นพุ่งพิเศษ สีด้า แดง และน้้าเงิน ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 8 แถบ แถบที่ 1,8 : ลายขอเหลียว แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และลายดอกจัน โดยมีแถบลายหน่วยเครือและลายดอกจ้ายขอ เป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง มีขนาดกว้างที่สุดบนผืนผ้า โดยภายในลายประกอบด้วยลายขอ , ลายขอขะแจ , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และลายดอกจัน โดยมีแถบลายดอกจ้ายขอและลาย หน่วยเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วยลายขอ , ลายหน่วย , ลายเขีย้ ว หมา และลายนกน้อย โดยมีแถบลายขอกูดเครือและลายหน่วยเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและ ด้านล่างของแถบที่ 4 แถบที่ 5 : ลายนาค , ลายขอกูดหลวง และ สร้อยสาเป็นส่วนประกอบของลาย และมี แถบลายดอกจ้ายขอเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 5 แถบที่ 6 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 7 : ลายนาคน้อย
165
ภาพที่ 80 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 38
166
3.2.39 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 39 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางมี ศรธรรม อายุ 63 ปี บ้านเลขที่ 26 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 70 cm. / ยาว 205 cm. อายุผ้า : 30 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เหลือง ส้ม เส้นเงิน เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี ชมพู น้้าเงิน เขียว ฟ้า เหลือง ส้ม เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกกูดเครือ , ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายม้าต่างปราสาท , ลายนกน้อย ลายนาคตั้งขอ , ลายดอกหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายกาบตั้ง , ลายหงส์ จก : ลายคนขี่ม้า , ลายม้าต่างปราสาท , ลายนาคนกน้อย , ลายไก่น้อย , ลายช้างต่างปราสาท , ลายนาคน้อย
ภาพที่ 81 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 39
167
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 39 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 70 เซนติเมตร ด้านยาว 205 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเหลือง และส้ม และมีการใช้เส้นเงินแทรกในการทอเป็นแถบสีพื้นที่ใช้เป็นแถบ เพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 39 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีชมพู น้้าเงิน เขียว ฟ้า เหลือง และส้ม ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 9 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 2,5 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขี้ยวหมา , ลายดอกจัน และลายนาค ด้วย เทคนิคขิดในการสร้างลาย โดยในแถบลายที่ 2 ใช้เส้นพุง่ พิเศษสีชมพู และในแถบลายที่ 5 ใช้เส้นพุง่ พิเศษสีเขียว และมีแถบลายดอกกูดขอและลายดอกจ้ายขอเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่าง ของแถบที่ 2 และแถบลายดอกจ้ายขอและลายดอกขอเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของ แถบที่ 5 แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง โดยภายในลายประกอบด้วยลายขอ, ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และลายนกน้อย โดยมีแถบลายดอกจ้ายขอและลายหน่วยเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและ ด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วยลายขอ , ลายนกน้อย , ลายม้าต่าง ปราสาท และลายหสง์ ด้วยเทคนิคขิดในการสร้างลาย โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษสีชมพู และมีแถบ ลายคนขี่ม้าและลายม้าต่างปราสาทเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 4 ด้วยเทคนิค จกด้วยเส้นพุ่งพิเศษสีสันต่าง ๆ แถบที่ 6 : ลายนาค และ ลายคนขี่ม้า ด้วยเทคนิคจกโดยใช้เส้นพุง่ พิเศษหลากสีสันในการ จกลงบนพืน้ สีขาวที่มกี ารใช้เส้นเงินเป็นเส้นพุ่งในการทอ และมีแถบลายดอกขอและลายหน่วยเครือ เป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 5 แถบที่ 6 : ลายไก่นอ้ ยด้วยเทคนิคจกลงบนพืน้ สีขาวมีการใช้เส้นเงินเป็นเส้นพุ่งในการทอ แถบที่ 7 : ลายขอกูดเครือ
168
แถบที่ 8 : ลายช้างต่างปราสาทและลายนาคน้อยด้วยเทคนิคจกในการสร้างลายลงบน พืน้ สีขาวมีการใช้เส้นเงินเป็นเส้นพุ่งในการทอ
ภาพที่ 82 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 39
169
3.2.40 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 40 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางมี ศรธรรม อายุ 63 ปี บ้านเลขที่ 26 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 72 cm. / ยาว 168 cm. อายุผ้า : 34 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม เหลือง เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ขาว น้้าเงิน ชมพู เขียว ฟ้า ส้ม เส้นเงิน เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกกูดเครือ , ลายดอกตั้งขอ , ลายนกน้อย , ลายดอกหน่วย , ลายขอน้อย , ลายกาบตั้ง , ลายขอกูดเครือ , ลายขอหลวง , ลายนาคตั้งขอ , ลายม้าต่างปราสาท , ลายนาคน้อย ลายเขีย้ วหมา , ลายนาคนกน้อย จก : ลายนาค , ลายดอกหับ , ลายนกคู่ , ลายนกบนหลังม้า
ภาพที่ 83 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 40
170
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 40 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 72 เซนติเมตร ด้านยาว 168 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเหลือง และส้ม และมีการใช้เส้นเงินแทรกในการทอเป็นแถบสีพื้นที่ใช้เป็นแถบ เพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 40 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีขาว ชมพู น้้าเงิน เขียว ฟ้า ส้ม และเส้นเงิน ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 8 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกกูดเครือ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขี้ยวหมา และลายนกน้อย และมีแถบลายดอก กูดเครือและลายขอกูดเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกหับ โดยภายในลายดอกหับจะประกอบด้วย ลายดอกกาบขอ ซึ่งใช้ เทคนิคการจกเส้นพุ่งพิเศษลงบนผืนผ้าด้วยเส้นไหมพรมและมีการจกเส้นเงินลงบนส่วยกลางของ เกสรดอกหับด้วย และยังประกอบไปด้วย ลายขอ , ลายเขีย้ วหมา ซึ่งแถบที่ 3 ยังมีการใช้เทคนิค การขิดโดยเป็นลวดลาย ดอกบ่าง โดยภายในดอกบ่างประกอบไปด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย และลายนาค และมีแถบลายนาคเป็นแถบลายที่อยู่ดา้ นบนและ ด้านล่างของแถบที่ 3 ซึ่งเป็นลวดลายที่ใช้เทคนิคการจกด้วยเส้นพุง่ พิเศษหลายสีสันเป็นช่วง ๆ ลง บนผืนผ้า แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วยลายขอ , ลายหน่วย , ลายเขีย้ ว หมา , ลายนกน้อย และลายนาค และมีแถบลายนกคู่และลายนาคน้อยเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบน และด้านล่างของแถบที่ 4 แถบที่ 5 : ลายนาค และ ลายคนขี่ม้า และมีแถบลายนาคน้อยและลายขอกูดเครือเป็น แถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 5 แถบที่ 6 : ลายนกคู่ด้วยเทคนิคการจกโดยใช้เส้นพุง่ พิเศษจกลงบนผืนผ้าเป็นช่วง ๆ แถบที่ 7 : ลายนาคน้อย แถบที่ 8 : ลายม้าและนก ด้วยเทคนิคการจกโดยใช้เส้นพุง่ พิเศษจกลงบนผืนผ้าเป็นช่วง ๆ สลับสีกัน
171
ภาพที่ 84 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 40
172
3.2.41 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 41 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางมี ศรธรรม อายุ 63 ปี บ้านเลขที่ 26 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 70 cm. / ยาว 193 cm. อายุผ้า : 33 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม เขียว เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี ด้า ชมพู น้้าเงิน ฟ้า เขียว ส้ม ม่วง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกจ้ายขอ , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย , ลายขอกูดเครือ , สร้อยสา ลายนาคตั้งขอ , ลายกาบตั้ง , ลายดอกไก่นอ้ ย , ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายขอขะแจ๋ , ลายนาคน้อย , ลายดอกกูดเครือ , ลายขอกูดหลวง , จก : ลายนาค , ลายคนขี่ม้า , ลายดอกหับ , ลายนกบนหลังม้า
ภาพที่ 85 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 41
173
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 41 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 70 เซนติเมตร ด้านยาว 193 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พืน้ เมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเขียว และส้ม ในการทอเป็นแถบสีพื้นเพื่อแสดงลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืน ผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่ง เรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 41 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีด้า ชมพู น้้าเงิน ฟ้า เขียว ม่วง และส้ม ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 9 แถบ แถบที่ 1 : ลายหน่วยเครือ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอ , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย และลายนาค และมีแถบลายหน่วยเครือ และลายดอกจ้ายขอเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 2 แถบที่ 3,5 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และ ลายนกน้อย ด้วยเทคนิคการขิดในการสร้างลาย ซึ่งในแถบที่ 3 จะ ใช้เส้นพุง่ พิเศษสีฟ้า และในแถบที่ 5 จะใช้เส้นพุ่งพิเศษสีเขียวในการขิด และมีแถบลายนาคน้อยและ ลายดอกกูดเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 3 และมีแถบลายนาคน้อยและ ลายขอกูดเครือเป็นแถบลายที่อยู่ดา้ นบนและด้านล่างของแถบลายที่ 5 แถบที่ 4 : ลายดอกหับ โดยภายในลายดอกหับจะประกอบด้วย ลายดอกกาบขอ ซึ่งใช้ เทคนิคการจกเส้นพุ่งพิเศษลงบนผืนผ้าด้วยเส้นไหม และในแถบที่ 3 ยังมีการใช้เทคนิคการขิดโดย เป็นลวดลาย ดอกบ่าง โดยภายในดอกบ่างประกอบไปด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลาย ขอขะแจ , ลายเขีย้ วหมา , ลายหน่วย และลายดอกจัน และมีแถบลายคนขี่ม้าเป็นแถบลายที่อยู่ ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 4 ซึ่งเป็นลวดลายที่ใช้เทคนิคการจกด้วยเส้นพุ่งพิเศษหลายสีสันเป็น ช่วง ๆ ลงบนผืนผ้า แถบที่ 6 : ลายขอกูดหลวง และลายดอกบ่างสร้อยสา และมีแถบลายดอกกูดเครือและ ลายดอกขอเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 6 แถบที่ 7 : ลายนาค ด้วยเทคนิคการจกโดยใช้เส้นพุ่งพิเศษจกลงบนผืนผ้าเป็นช่วง ๆ สลับ สีกัน แถบที่ 8 : ลายขอกูดเครือ
174
แถบที่ 9 : ลายม้าและนก ด้วยเทคนิคการจกโดยใช้เส้นพุง่ พิเศษจกลงบนผืนผ้าเป็นช่วง ๆ สลับสีกัน
ภาพที่ 86 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 41
175
3.2.42 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 42 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางใหม่ วงสุวรรณ อายุ 36 ปี บ้านเลขที่ 28 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 70 cm. / ยาว 205 cm. อายุผ้า : 24 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม ม่วง เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี น้้าเงิน ฟ้า ม่วง ชมพู ส้ม เขียว เหลือง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย จก : ลายนาคน้อย , ลายช้าง , ลายไก่น้อย , ลายสิงห์ , ลายหงส์ , ลายม้าต่างปราสาท , ลายนก , โค๊ะดอกไม้ , ลายนาคกาบตั้ง , ลายนกคู่
ภาพที่ 87 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 42
176
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 42 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 70 เซนติเมตร ด้านยาว 200 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีส้ม และม่วง ทอเป็นสีพ้ืนเป็นแถบเพื่อเป็นลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืนผ้า หลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 42 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการจกด้วยการใช้เส้น พุ่งพิเศษหลายสีสันเป็นช่วง ๆ ลงบนผืนผ้าเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่ง พิเศษ สีน้าเงิน ฟ้า ม่วง ชมพู ส้ม เขียว และเหลือง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนก เป็นทั้งหมด 9 แถบ แถบที่ 1 : ลายนาคน้อย แถบที่ 2 : ลายช้าง และมีแถบลายนาคน้อยและลายไก่น้อยเป็นแถบลายที่อยู่ดา้ นบนและ ด้านล่างของแถบที่ 2 แถบที่ 3 : ลายคชสีห์ และมีแถบลายนกเป็นแถบลายที่อยู่ด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 4 : ลายนก และ โค๊ะดอกไม้ และมีแถบลายม้าต่างปราสาทและลายนกเป็นแถบ ลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 4 แถบที่ 5 : ลายคชสีห์ และมีแถบลายนาคกาบตั้งและลายนาคน้อยเป็นแถบลายที่อยู่ ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 5 แถบที่ 6 : ลายนก และมีแถบลายนกคู่และลายนกน้อยเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและ ด้านล่างของแถบลายที่ 6 แถบที่ 7 : ลายม้าต่างปราสาท แถบที่ 8 : ลายนาคน้อย แถบที่ 9 : ลายนกคู่
177
ภาพที่ 88 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 42
178
3.2.43 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 43 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางใหม่ วงสุวรรณ อายุ 36 ปี บ้านเลขที่ 28 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 66 cm. / ยาว 190 cm. อายุผ้า : 21 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ขาว น้้าเงิน ฟ้า ชมพู ส้ม เขียว เส้นเงิน เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกจ้ายขอ , ลายตั้งขอ , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา , ลายดอกกาบขอ , ลายนาค , ลายขอขะแจ ลายดอกหน่วย , ลายนกน้อย , ลายกาบตั้ง , ลายดอกกูดเครือ , จก : ลายนาค , ลายดอกหับขอขะแจ , ลายดอกหับ , ลายไก่น้อย , ลายม้าต่างปราสาท
ภาพที่ 89 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 43
179
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 43 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 66 เซนติเมตร ด้านยาว 190 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีส้ม และมีการใช้เส้นเงินแทรกในการทอเป็นแถบสีพื้นที่ใช้เป็นแถบเพื่อแสดง ลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 43 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีขาว น้้าเงิน ฟ้า ชมพู ส้ม เขียว และมีการใช้เส้นเงินจกให้เกิดเป็นลวดลายและความแวววาวบนผืนผ้า ซึ่ง ลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกจ้ายขอ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขี้ยวหมา และลายนกน้อย และมีแถบลายดอก จ้ายขอและลายดอกกูดเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกหับ โดยภายในลายดอกหับจะประกอบด้วย ลายดอกกาบขอ ซึ่งใช้ เทคนิคการจกเส้นพุ่งพิเศษลงบนผืนผ้าด้วยเส้นไหมพรมและมีการจกโดยใช้เส้นเงินจกเป็นลายดอก กาบขอตรงกลางของดอกหับ และในแถบที่ 3 ยังมีการใช้เทคนิคการขิดโดยเป็นลวดลาย ดอกบ่าง ซึ่งภายในดอกบ่างประกอบไปด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา และลายดอกกาบขอ และมีแถบลายนาคเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 4 ซึ่งเป็นลวดลายที่ใช้เทคนิค การจกด้วยเส้นพุง่ พิเศษหลายสีสันเป็นช่วง ๆ ลงบนผืนผ้า แถบที่ 4 : ลายนาค และมีแถบลายขอกูดเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านล่างของแถบลายที่ 4 แถบที่ 5 : ลายไก่นอ้ ย แถบที่ 7 : ลายหน่วยเครือ แถบที่ 8 : ลายม้าต่างปราสาท
180
ภาพที่ 90 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 43
181
3.2.44 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 44 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางใหม่ วงสุวรรณ อายุ 36 ปี บ้านเลขที่ 28 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 67 cm. / ยาว 200 cm. อายุผ้า : 19 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม เขียว เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ชมพู เขียว น้้าเงิน ฟ้า ส้ม เส้นเงิน เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกไก่นอ้ ย , ลายตั้งขอ , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา , ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายขอเหลียว , ลายนกน้อย , ลายขอกูดเครือ , ลายนาค , ลายดอกจ้ายขอ , ลายดอกกาบขอ, จก : ลายดอกหับขอ , ลายม้า , ลายม้าต่างปราสาท
ภาพที่ 91 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 44
182
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 44 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 67 เซนติเมตร ด้านยาว 200 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีส้ม และเขียว และมีการใช้เส้นเงินแทรกในการทอเป็นแถบสีพื้นที่ใช้เป็นแถบ เพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 44 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีชมพู เขียว น้้างเงิน ฟ้า ส้ม และมีการใช้เส้นเงินจกให้เกิดเป็นลวดลายและความแวววาวบนผืนผ้า ซึ่ง ลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกไก่น้อย แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา , ลายดอกจัน , ลายนาคน้อย และลายดอกกาบ ขอ และมีแถบลายดอกไก่น้อยและลายขอเหลียวเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกหับ โดยภายในลายดอกหับจะประกอบด้วย ลายดอกกาบขอ ซึ่งใช้ เทคนิคการจกเส้นพุ่งพิเศษลงบนผืนผ้าด้วยเส้นไหมพรมหลากลายสีเป็นรูปสีเหลี่ยมขนมเปียกปูน และในผืนนีม้ ีการใช้เส้นเงินจกเป็นลายพืน้ และลายตรงกลางของดอกหับเพื่อสร้างความแวววาว ให้กับผืนผ้า นอกจากนี้ในแถบที่ 3 ยังมีการใช้เทคนิคการขิดโดยเป็นลวดลาย ดอกบ่าง ซึ่งภายใน ดอกบ่างประกอบไปด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย และลายดอก กาบขอ และมีแถบลายขอเหลียวเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 4 แถบที่ 4 : ลายนาค และมีแถบลายขอเหลียวและลายหน่วยเครือเป็นแถบลายที่อยู่ ด้านล่างของแถบลายที่ 4 แถบที่ 5 : ลายม้า ด้วยเทคนิคการจกโดยใช้เส้นพุ่งพิเศษจกลงบนผืนผ้าเป็นช่วง ๆ สลับสี กัน แถบที่ 7 : ลายดอกจ้ายขอ แถบที่ 8 : ลายม้าต่างปราสาท ด้วยเทคนิคการจกโดยใช้เส้นพุง่ พิเศษจกลงบนผืนผ้าเป็น ช่วง ๆ สลับสีกัน
183
ภาพที่ 92 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 44
184
3.2.45 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 45 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางใหม่ วงสุวรรณ อายุ 36 ปี บ้านเลขที่ 28 หมู่ท่ี 2 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 66 cm. / ยาว 190 cm. อายุผ้า : 20 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม ฟ้า เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ชมพู เขียว น้้าเงิน ฟ้า ส้ม เหลือง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายคนขี่ม้า , ลายดอกเหล๋ม , ลายดอกหน่วย , ลายนาค , ลายนกน้อย , ลายหงส์ , ลายดอกกาบขอ , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา ลายขอขะแจ , ลายกาบตั้ง , ลายนกสร้อยสา จก : ลายลายนก , ลายม้าต่างปราสาท , ลายนกหัสดีลงิ ค์ , ลายดอกกูดเครือ ลายนาคน้อย , ลายคนขี่มา้ , ลายนกคู่ , ลายนาค
ภาพที่ 93 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 45
185
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 45 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 66 เซนติเมตร ด้านยาว 190 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีส้ม และเขียว และมีการใช้เส้นเงินแทรกในการทอเป็นแถบสีพื้นที่ใช้เป็นแถบ เพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 45 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีชมพู เขียว น้้างเงิน ฟ้า ส้ม และเหลือง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ แถบที่ 1 : ลายนก ด้วยเทคนิคการจกโดยใช้เส้นพุ่งพิเศษจกลงบนผืนผ้าเป็นช่วง ๆ สลับสี กัน แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายหน่วย , ลายขอ , ลายนกน้อย , ลายนาค , ลายนก และลายดอกกาบขอ และมีแถบลาย ดอกไก่นอ้ ยและลายคนขี่มา้ เป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกหับ ซึ่งในผืนนีเ้ ป็นการจกลายหงส์ลงในลายดอกหับ ด้วยเทคนิคการ จกเส้นพุง่ พิเศษลงบนผืนผ้าด้วยเส้นไหมพรมหลากหลายสีในรูปสีเหลี่ยมขนมเปียกปูน และการจก ลายม้าต่างปราสาทลงในรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนหลายลายต่อกันจนเกิดเป็นดอกหับที่มขี นาด ใหญ่ซ้อนทับดอกหับลายหงส์ นอกจากนี้ในแถบที่ 3 ยังมีการใช้เทคนิคการขิดโดยเป็นลวดลาย ดอกบ่าง ซึ่งภายในดอกบ่างประกอบไปด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเขีย้ วหมา , ลาย หน่วย ,ลายนกน้อย และลายนาค และมีแถบลายนาคน้อยและลายดอกกูดเครือเป็นแถบลายที่อยู่ ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 4 ซึ่งใช้เทคนิคการจกโดยใช้เส้นพุง่ พิเศษจกลงบนผืนผ้าเป็นช่วง ๆ สลับสีกันเป็นลายแถบ แถบที่ 4 : ลายหงส์ , ลายดอกบ่าง และลายนกสร้อยสา และมีแถบลายคนขี่ม้าและลาย นาคน้อยเป็นแถบลายที่อยู่ด้านล่างของแถบลายที่ 4 ซึ่งใช้เทคนิคการจกโดยใช้เส้นพุ่งพิเศษจกลง บนผืนผ้าเป็นช่วง ๆ สลับสีกันเป็นลายแถบ แถบที่ 5 : ลายม้าต่างปราสาท ด้วยเทคนิคการจกโดยใช้เส้นพุง่ พิเศษจกลงบนผืนผ้าเป็น ช่วง ๆ สลับสีกัน แถบที่ 6 : ลายนกคู่ ด้วยเทคนิคการจกโดยใช้เส้นพุ่งพิเศษจกลงบนผืนผ้าเป็นช่วง ๆ สลับ สีกัน
186
แถบที่ 7 : ลายนาค ด้วยเทคนิคการจกโดยใช้เส้นพุ่งพิเศษจกลงบนผืนผ้าเป็นช่วง ๆ สลับ สีกัน
ภาพที่ 94 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 45
187
3.2.46 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 46 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางคันค้า เปร่งแสงแก้ว อายุ 51 ปี บ้านเลขที่ 33 หมู่ท่ี 3 บ้าน/เมือง บ้านหลวงมีไชย แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 75 cm. / ยาว 195 cm. อายุผ้า : 17 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม เขียว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ชมพู เขียว ม่วง ฟ้า น้้าเงิน เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายนาคน้อย , ลายดอกกูดเครือ , ลายตั้งขอ , ลายดอกหน่วย , ลายไก่น้อย , ลายเครือดอกจัน , ลายดอกจ้ายขอ , สร้อยสา ลายเขีย้ วหมา , ลายขอเหลียว , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายเครือหน่วย
ภาพที่ 95 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 46
188
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 46 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 75 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีส้ม และเขียว ในการทอเป็นแถบสีพืน้ เพื่อแสดงลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืน ผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่ง เรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 46 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ ใช้เส้นพุง่ พิเศษ สีชมพู เขียว น้้าเงิน ฟ้า และม่วง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนก เป็นทั้งหมด 7 แถบ แถบที่ 1 : ลายนาคน้อย แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายหน่วย , ลายขอ และลายเขีย้ วหมา โดยมีแถบลายดอกขอเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและ ด้านล่างของแถบที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง ที่มขี นาดกว้างที่สุดบนผืนนีโ้ ดยภายในจะประกอบไปด้วย ลายขอ น้อย , ลายขอหลวง ,ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และลายนาค โดยมีแถบลายขอเหลียวเป็นแถบ ลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 4 : สร้อยสา และมีแถบลายดอกจันเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบ ลายที่ 4 แถบที่ 5 : ลายนกน้อย แถบที่ 6 : ลายหน่วยเครือ แถบที่ 7 : ลายดอกจ้ายขอ
189
ภาพที่ 96 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 46
190
3.2.47 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 47 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางค้า สุทธิโวหารย์ อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 127 หมู่ท่ี 8 บ้าน/เมือง บ้านนางัว แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 75 cm. / ยาว 195 cm. อายุผ้า : 17 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี ด้า ชมพู น้้าเงิน เหลือง ส้ม เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายงูนอ้ ย จก : ลายกาบตั้งขอ , ลายดอกหน่วย , ลายดอกหับ , ลายดอกจ้ายขอ
ภาพที่ 97 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 47
191
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 47 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 75 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 47 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีด้า ชมพู น้้าเงิน เหลือง และส้ม ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 9 แถบ แถบที่ 1,8 : ลายงูน้อย ซึ่งใช้การสร้างลายจากเทคนิคการขิดด้วยเส้นพุ่งพิเศษเหมือนกัน แต่เป็นเส้นที่มีความต่อเนื่องกัน แถบที่ 2,3,5,6 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะ ประกอบไปด้วย ลายหน่วย , ลายขอ และลายเขีย้ วหมา ซึ่งเกิดจากเทคนิคการจกโดยการเพิ่มเส้น พุ่งพิเศษลงบนเส้นยืนเป็นช่วง ๆ โดยมีการสลับสัน และมีแถบลายงูน้อยเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบน และด้านล่างของแถบที่ 2 ซึ่งเกิดจากเทคนิคการขิด แถบที่ 4 : ลายดอกหับ เป็นดอกที่มรี ูปทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนโดยภายในจะ ประกอบด้วย ลายดอกกาบขอ ที่มกี ารใช้เทคนิคการจกด้วยเส้นพุ่งพิเศษลงบนพื้นผ้าเป็นช่วง ๆ ของลาย และในแถบนีม้ ีการจกลายพืน้ สลับกันตัวลายดอกหับและดอกบ่างโดยมีลวดลายมาจาก ลายขอ , ลายหน่วย และลายเขีย้ วหมา แถบที่ 7,9 : ลายดอกจ้ายขอ จากเทคนิคการจกด้วยเส้นพุ่งพิเศษจกลงเป็นช่วง ๆ โดย หลากหลายสีแต่ตัวลวยมีความต่อเนื่องกัน
192
ภาพที่ 98 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 47
193
3.2.48 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 48 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางค้า สุทธิโวหารย์ อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 127 หมู่ท่ี 8 บ้าน/เมือง บ้านนางัว แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 97 cm. / ยาว 210 cm. อายุผ้า : 50 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ด้า แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายขอเหลียว , ลายดอกตั้งขอ , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายดอกหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายดอกจ้ายขอ ลายเครือดอก , ลายกาบตั้ง , ลายไก่น้อย , ลายดอกกูดเครือ , สร้อยสา
ภาพที่ 99 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 48
194
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 48 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 97 เซนติเมตร ด้านยาว 210 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 48 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ ใช้เส้นพุง่ พิเศษ สีด้า แดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 9 แถบ แถบที่ 1 : ลายขอเหลียว แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย และลายเขี้ยวหมา โดยมีแถบลายขอเหลียวและลาย ดอกขอเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 2 แถบที่ 3,5 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และลายดอกจัน โดยมีแถบลายดอกขอและลายดอกจ้ายขอเป็นแถบ ลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง ที่มขี นาดความกว้างที่สุดบนผืนผ้า ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลาย สามเหลี่ยมขนาดใหญ่ โดยภายในจะประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายดอกจัน และลายนาค โดยมีแถบลายดอกจ้ายขอและลายดอกขอเป็นแถบลาย ที่อยู่ดา้ นบนและด้านล่างของแถบที่ 4 แถบที่ 6 : ลายดอกบ่าง และสร้อยสา โดยมีแถบลายดอกขอและลายดอกจ้ายขอเป็น แถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 6 แถบที่ 7 : ลายไก่นอ้ ย แถบที่ 8 : ลายดอกจ้ายขอ แถบที่ 9 : ลายดอกกูดเครือ
195
ภาพที่ 100 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 48
196
3.2.49 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 49 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางค้า สุทธิโวหารย์ อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 127 หมู่ท่ี 8 บ้าน/เมือง บ้านนางัว แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 62 cm. / ยาว 95 cm. อายุผ้า : 3 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เส้นพิเศษ ไหม / สี ด้า แดง ม่วง ชมพู เหลือง เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายงูนอ้ ย , ลายกาบตั้ง , ลายดอกหน่วย จก : ลายดอกหน่วย , ลายดอกหับกาบตั้ง , ลายกาบตั้ง
ภาพที่ 101 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 49
197
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 49 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 62 เซนติเมตร ด้านยาว 95 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยเส้นฝ้าย ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 49 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ คือเส้น ไหมสีด้า แดง ม่วง ชมพู เขียว และเหลือง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็น ทั้งหมด 11 แถบ โดยแถบลวดลายที่เกิดจากการใช้เทคนิคขิดในผ้าหลบผืนนีน้ ั้นคือ ลายงูนอ้ ย ซึ่งใช้เป็นแถบลายที่ แบ่งกั้นระหว่างช่วงลายของแต่ละแทบกับผ้าพืน้ โดยมนการทอด้วยเทคนิคขิดบนผืนนี้จะมีสองสี คือ สีด้า และสีแดงเป็นลายงูนอ้ ย และลวดลายที่ใช้เทคนิคการจกโดยจ้าแนกจากแถบลายมีดังนี้ แถบที่ 2,3,4,6,7 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะ ประกอบไปด้วยลายหน่วยและลายเขีย้ วหมา ด้วยวิธีการจกโดยการใช้เส้นพิเศษจกลงบนพื้นผ้าเป็น ช่วง ๆ ของลายในหลากหลายสีสัน แถบที่ 5 : ลายดอกหับ โดยเกิดจากเทคนิคการจกเส้นไหมเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งภายในมีลายกาบตั้งที่มสี ีสันโด่ดเด่นอยู่บนพื้นที่มเี ทคนิคการขิดด้วยเส้นพุ่งพิเศษสีแดง โดยมีลาย ประกอบคือลายหน่วยและลายเขีย้ วหมา แถบที่ 8 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยมที่เกิดจากเทคนิคการขิด ด้วยเส้นพิเศษสีแดง โดยภายในจะประกอบไปด้วยลายหน่วย และลายเขีย้ วหมา ซึ่งมีการใช้เทคนิค การจกใส่เป็นลายกาบตั้งอยู่ภายในลายดอกบ่างด้วยเส้นพุ่งพิเศษเป็นสีสันในดอกต่าง ๆ
198
ภาพที่ 102 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 49
199
3.2.50 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 50 แหล่งที่พบ : ชือ่ เจ้าของ นางค้า สุทธิโวหารย์ อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 127 หมู่ท่ี 8 บ้าน/เมือง บ้านนางัว แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 75 cm. / ยาว 195 cm. อายุผ้า : 15 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ครีม ชมพู เส้นพิเศษ ไหมพรม / สี แดง ชมพู เหลือง ฟ้า น้้าเงิน เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายหน่วยเครือ จก : ลายดอกกาบ , ลายตั้งขอ , ลายดอกหับ , ลายเครือขอ , สร้อยสา
ภาพที่ 103 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 50
200
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 50 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 75 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีชมพู และสีครีม ในการทอเป็นแถบสีพื้นเพื่อแสดงลายพื้นสลับกับแทบลายบน ผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่ง เรียกว่า “ป๊อก” ด้วยเส้นไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 50 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีแดง ชมพู ฟ้า น้้าเงิน เขียว และเหลือง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 9 แถบ โดยแถบลวดลายที่เกิดจากการใช้เทคนิคขิดในผ้าหลบผืนนี้นั้นคือ ลายงหน่วยเครือ ซึ่ง ใช้เป็นแถบลายที่แบ่งกั้นระหว่างช่วงลายของแต่ละแทบกับผ้าพืน้ โดยมนการทอด้วยเทคนิคขิดบน ผืนนีจ้ ะมีสองสี คือ สีด้า และสีชมพู ซึ่งจะพบอยู่ในทุกแถบลายตามที่ได้จ้าแนกไว้ข้างต้น ส่วน ลวดลายที่ใช้เทคนิคการจกโดยจ้าแนกจากแถบลายมีดังนี้ แถบที่ 2,5 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วยลายขอ , ลายหน่วยและลายเขีย้ วหมา ด้วยวิธีการจกโดยการใช้เส้นพิเศษจกลงบนพื้นผ้าเป็น ช่วง ๆ ของลายในหลากหลายสีสัน แถบที่ 3,7 : ลายขอ และลายดอจ้ายขอ ด้วยวิธีการจกโดยการใช้เส้นพิเศษจกลงบนพื้น ผ้าเป็นช่วง ๆ ของลายในหลากหลายสีสัน แถบที่ 4 : ลายดอกหับ โดยเกิดจากเทคนิคการจกเส้นพุ่งพิเศษเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียก ปูนซึ่งภายในลายเกิดจากการน้าลายหน่วยมารวมกันจนเกิดเป็นลายดอกหับด้วยการจกเส้นพุ่ง พิเศษสันสันมากกมายลงไป และยังมีลายดอกบ่างที่เกิดจากการจกด้วยเส้นพุ่งพิเศษ ซึ่งภายในลาย ประกอบด้วย ลายขอ , ลายหน่วยและลายเขีย้ วหมา แถบที่ 6,8 : ลายดอกบ่าง โดยภายในจะประกอบไปด้วยลายขอ , ลายหน่วยและลาย เขี้ยวหมา ด้วยวิธีการจกโดยการใช้เส้นพิเศษจกลงบนพืน้ ผ้าเป็นช่วง ๆ ของลายในหลากหลายสีสัน โดยในแถบที่ 8 เป็นการจกเส้นพุ่งพิเศษลงบนพื้นสีชมพูจนกลายเป็นลายดอกบ่าง
201
ภาพที่ 104 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 50
202
3.2.51 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 51 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางค้า สุทธิโวหารย์ อายุ 53 ปี บ้านเลขที่ 127 หมู่ท่ี 8 บ้าน/เมือง บ้านนางัว แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 62 cm. / ยาว 95 cm. อายุผ้า : 3 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ชมพู เส้นพิเศษ ไหม / สี ด้า แดง ม่วง ชมพู ฟ้า เหลือง เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายงูนอ้ ย , ลายดอกหน่วย , ลายกาบตั้ง จก : ลายกาบตั้ง , ลายดอกกาบ , ลายดอกหน่วย , ลายดอกจ้ายขอ , ลายเครือขอเหลียว
ภาพที่ 105 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 51
203
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 51 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 75 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีชมพู ในการทอเป็นแถบสีพื้นเพื่อแสดงลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยเส้นไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 51 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ คือเส้น ไหม สีด้า แดง ม่วง ชมพู ฟ้า เหลือง และเขียว ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็น ทั้งหมด 11 แถบ โดยแถบลวดลายที่เกิดจากการใช้เทคนิคขิดในผ้าหลบผืนนีน้ ั้นคือ ลายงูนอ้ ย ซึ่งใช้ เป็นแถบลายที่แบ่งกั้นระหว่างช่วงลายของแต่ละแทบกับผ้าพื้น โดยมนการทอด้วยเทคนิคขิดบนผืน นีจ้ ะมีสองสี คือ สีด้า และสีแดง และลวดลายที่ใช้เทคนิคการจกโดยจ้าแนกจากแถบลายมีดังนี้ แถบที่ 2,3,4,5,6 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะ ประกอบไปด้วยลายหน่วยและลายเขีย้ วหมา ด้วยวิธีการจกโดยการใช้เส้นพิเศษจกลงบนพื้นผ้าเป็น ช่วง ๆ ของลายในหลากหลายสีสัน แถบที่ 3,7 : ลายขอ และลายดอจ้ายขอ ด้วยวิธีการจกโดยการใช้เส้นพิเศษจกลงบนพื้น ผ้าเป็นช่วง ๆ ของลายในหลากหลายสีสัน แถบที่ 5 : ลายดอกหับ โดยเกิดจากเทคนิคการจกเส้นพุ่งพิเศษเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียก ปูนซึ่งภายในเป็นลายกาบตั้ง , ลายหน่วย และลายเขีย้ วหมาที่เกิดจากการจกด้วยเส้นพุ่งพิเศษ แถบที่ 8 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยมที่เกิดจากเทคนิคการขิด ด้วยเส้นพิเศษสีแดง โดยภายในจะประกอบไปด้วยลายหน่วย และลายเขี้ยวหมา ซึ่งมีการใช้เทคนิค การจกใส่เป็นลายกาบตั้งอยู่ภายในลายดอกบ่างด้วยเส้นพุ่งพิเศษเป็นสีสันในดอกต่าง ๆ แถบที่ 9 : ลายดอกจ้ายขอ โดยวิธีการจกโดยการใช้เส้นพิเศษจกลงบนพื้นผ้าเป็นช่วง ๆ ของลายในหลากหลายสีสัน แถบที่ 11 : ลายขอเหลียว โดยวิธีการจกโดยการใช้เส้นพิเศษจกลงบนพื้นผ้าเป็นช่วง ๆ ของลายในหลากหลายสีสัน
204
ภาพที่ 106 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 51
205
3.2.52 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 52 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางบัวค้า ใจโพธิ์ อายุ 73 ปี บ้านเลขที่ 149 หมู่ท่ี 10 บ้าน/เมือง บ้านนางัว แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 102 cm. / ยาว 195 cm. อายุผ้า : 44 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เขียว ส้ม เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ม่วง น้้าเงิน ฟ้า เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกหน่วยเครือ , ลายเขียวหมา , ลายตั้งขอ , ลายดอกจันแปดกลีบ ลายดอกหน่วย , ลายขอน้อย
ภาพที่ 107 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 52
206
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 52 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 102 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเขียว และส้ม ในการทอเป็นแถบสีพื้นเพื่อแสดงลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืน ผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่ง เรียกว่า “ป๊อก” ด้วยเส้นไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 52 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ ใช้เส้นพุง่ พิเศษสีมว่ ง ฟ้า น้้าเงิน และเขียว ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็น ทั้งหมด 8 แถบ โดยลายบนผืนผ้าหลบผืนนีเ้ ป็นการทอซ้้าลายโดยมีลวดลายเพียงสองลาย คือ ลายหน่วย เครือ คือในแถบลายที่ 1,6,7,8 และเป็นแถบลายที่อยู่ส่วนบนและส่วนล่างของแถบลายที่เหลือ โดย ลายหน่วยเครือนี้ซึ่งใช้เป็นแถบลายที่แบ่งกั้นระหว่างช่วงลายของแต่ละแทบกับผ้าพื้น และในแถบ ลายที่ 2,3.4.5 คือ ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในลายจะประกอบ ไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และลายดอกจัน
207
ภาพที่ 108 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 52
208
3.2.53 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 53 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางบัวค้า ใจโพธิ์ อายุ 73 ปี บ้านเลขที่ 149 หมู่ท่ี 10 บ้าน/เมือง บ้านนางัว แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 66 cm. / ยาว 190 cm. อายุผ้า : 46 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เขียว ส้ม เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี น้้าเงิน ม่วง เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายเครือขอ , ลายดอกตั้งขอ , ลายขอน้อย , ลายดอกหน่วย , ลายดอกกาบ , ลายเขีย้ วหมา , สร้อยสา
ภาพที่ 109 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 53
209
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 53 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 66 เซนติเมตร ด้านยาว 190 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีเขียว และส้ม ในการทอเป็นแถบสีพื้นเพื่อแสดงลายพืน้ สลับกับแทบลายบนผืน ผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่ง เรียกว่า “ป๊อก” ด้วยเส้นไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 53 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ ใช้เส้นพุง่ พิเศษสีมว่ ง น้้าเงิน และเขียว ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ โดยลายบนผืนผ้าหลบผืนนีเ้ ป็นการทอซ้้าลายโดยมีลวดลายเพียงสองลาย คือ ลายขอ เหลียว คือในแถบลายที่ 1,5,6,7 และเป็นแถบลายที่อยู่ส่วนบนและส่วนล่างของแถบลายที่เหลือ โดยลายหน่วยเครือนีซ้ ึ่งใช้เป็นแถบลายที่แบ่งกั้นระหว่างช่วงลายของแต่ละแทบกับผ้าพืน้ และใน แถบลายที่ 2,3,4 คือ ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในลายจะ ประกอบไปด้วย ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย และ ลายเขีย้ วหมา ซึ่งในแถบลายที่ 5 นอกจากจะมีลายดอกบ่างแล้วนั้นยังมีลายสร้อยสาเป็นลายประกอบอีกด้วย
210
ภาพที่ 110 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 53
211
3.2.54 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 54 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางบัวค้า ใจโพธิ์ อายุ 73 ปี บ้านเลขที่ 149 หมู่ท่ี 10 บ้าน/เมือง บ้านนางัว แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 82 cm. / ยาว 180 cm. อายุผ้า : 47 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว น้้าตาล เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ด้า แดง น้้าเงิน ชมพู เหลือง ส้ม เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายงูนอ้ ย , ลายดอกหน่วยสร้อยสา จก : ลายเครือขอเหลียว , ลายดอกกาบ , ลายดอกกาบตั้ง , ลายดอกหน่วย , ลายดอกจ้ายขอ
ภาพที่ 111 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 54
212
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 54 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 82 เซนติเมตร ด้านยาว 180 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีน้าตาล ในการทอเป็นแถบสีพื้นในแถบลายสลับกับสีพื้นของผืนผ้าหลบ ตรง บริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยเส้นไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 54 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ คือเส้น ไหมสีด้า แดง น้้าเงิน ชมพู เหลือง และส้ม ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็น ทั้งหมด 12 แถบ โดยแถบลวดลายที่เกิดจากการใช้เทคนิคขิดในผ้าหลบผืนนีค้ ือ ลายงูน้อย ที่จะพบในแถบที่อยู่ ส่วนบนและส่วนล่างของแถบลายทุกแถบ โดยแถบลายงูนอ้ ยจะใช้เป็นแถบลายที่แบ่งกั้นระหว่าง ช่วงลายของแต่ละแทบกับผ้าพืน้ ด้วยเทคนิคการขิดจากการใช้เส้นพุ่งพิเศษสีน้าตาลลงบนผ้าพื้นสี น้้าตาลที่เกิดจากการทอด้วยเส้นยืนสีขาวและเส้นพุ่งสีน้าตาลแบบ 2 ตะกอ ในแถบลายที่ 1,12 คือ ลายขอเหลียว ด้วยวิธีการจกโดยใช้เส้นพุง่ พิเศษจกลงบนผ้าพืน้ เป็นช่วง ๆ ของแต่ละลายโดยใช้ สีสันที่แตกต่างกันสลับกันไป แถบลายที่ 2,3,4,6,7,8 เป็นลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลาย สามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไปด้วยลายหน่วยและลายเขีย้ วหมา ด้วยวิธีการจกโดยการใช้ เส้นพิเศษจกลงบนพื้นผ้าเป็นช่วง ๆ ของลายในหลากหลายสีสัน ส่วนแถบลายที่ 5 ลายดอกหับ โดยเกิดจากเทคนิคการจกเส้นไหมเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนซึ่งภายในมีลายกาบตั้งที่มสี ีสันโดด เด่นอยู่ โดยมีลายประกอบคือลายหน่วยและลายเขีย้ วหมา และในแถบลายที่ 9 จะเป็นการจกลาย ดอกบ่างโดยมาจากการน้าลายหน่วยมารวมกันโดยการการใช้เส้นพุ่งพิเศษจกลงบนผืนผ้าที่มีการ ใช้เทคนิคการขิดด้วยเส้นไหมสีแดงเป็นลายหน่วยและสร้อยสา และในแถบลายที่ 10 จะเป็นการจก ลวดลายดอกจ้ายขอโดยใช้เส้นไหมหลากสีจกลงบนผืนผ้าเพื่อให้เกิดลวดลายขึ้น
213
ภาพที่ 112 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 54
214
3.2.55 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 55 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางบัวแซง แพรศรีนวล อายุ 50 ปี บ้านเลขที่ 209 หมู่ท่ี 13 บ้าน/เมือง บ้านขอน แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 75 cm. / ยาว 195 cm. อายุผ้า : 40 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ด้า แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกจ้ายขอ , ลายดอกตั้งขอ , ลายดอกจันแปดกลีบ , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายนกน้อย , ลายเครือขอเหลียว , ลายเขีย้ วหมา , ลายนาคน้อย , ลายดอกหน่วย , ลายนาคตั้งขอ , ลายดอกกูดเครือ , ลายเครือขอ , ลายดอกบ่าง , ลายคนขี่ม้า , ลายงูน้อย , ลายไก่นอ้ ย
ภาพที่ 113 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 55
215
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 55 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 75 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีส้ม ในการทอเป็นแถบสีพื้นในแถบลายสลับกับสีพื้นของผืนผ้าหลบ ตรง บริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยเส้นไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 55 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) โดยการ ใช้เส้นพุง่ พิเศษ คือเส้นไหมสีด้า แดง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 9 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกจ้ายขอ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายดอกจัน และลายนาคน้อย และ มีแถบลายดอกจ้ายขอและลายขอเหลียวเป็นแถบลายที่อยู่ดา้ นบนและด้านล่างของแถบที่ 2 แถบที่ 3 : ลายดอกบ่าง โดยภายในประกอบด้วยลายขอ , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา โดยมีแถบลายขอเหลียวและลายหน่วยเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง ที่มขี นาดความกว้างที่สุดบนผืนผ้า โดยภายในประกอบด้วยลาย ขอ , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายดอกจัน , ลายนกน้อย และลายเขีย้ วหมา โดยมีแถบลายลา นคน้อยและลายดอกกูดเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 4 แถบที่ 5 : ลายดอกบ่าง โดยภายในประกอบด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย และลายเขีย้ วหมา โดยมีแถบลายขอเหลียวและลายดอกจ้ายขอเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและ ด้านล่างของแถบที่ 5 แถบที่ 6 : ลายนาคสร้อยสา โดยมีแถบลายขอเหลียวและลายดอกขอเป็นแถบลายที่อยู่ ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 6 แถบที่ 7 : ลายคนขี่มา้ แถบที่ 8 : ลายงูน้อย แถบที่ 9 : ลายนกน้อย
216
ภาพที่ 114 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 55
217
3.2.56 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 56 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางชม ใจแก้ว อายุ 56 ปี บ้านเลขที่ 209 หมู่ท่ี 13 บ้าน/เมือง บ้านเพียงาม แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 67 cm. / ยาว 200 cm. อายุผ้า : 42 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม ชมพู น้้าเงิน เหลือง เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ขาว ชมพู เขียว น้้าเงิน ฟ้า ส้ม เหลือง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายนาคน้อย , ลายม้า , ลายไก่นอ้ ย , ลายดอกไก่นอ้ ย , ลายนกน้อย , จก : ลายนก , โค๊ะดอกไม้ , ลายม้าต่างปราสาท , ลายช้างต่างปราสาท , ลายหงส์ , ลายนาค
ภาพที่ 115 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 56
218
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 56 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 75 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีส้ม ชมพู น้้าเงิน เหลือง ในการทอเป็นแถบสีพื้นในแถบลายสลับกับสีพื้นของ ผืนผ้าหลบและนอกจากนี้มีการเพิ่มเส้นเงินเข้าไปในเส้นพุ่งเพื่อเป็นการสร้างความแวววาวให้กับ ผ้าพืน้ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่ง เรียกว่า “ป๊อก” ด้วยเส้นไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 56 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีขาว ชมพู เขียวน้้าเงิน ฟ้า ส้ม เหลือง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 9 แถบ แถบที่ 1 : ลายนาคน้อย ด้วยเทคนิคการขิด แถบที่ 2 : ลายหงส์ และ ลายโค๊ะดอกไม้ ด้วยเทคนิคการจกโดยการเพิ่มเส้นพิเศษในเส้น พุ่งจกลงบนผืนผ้าเป็นช่วง ๆ โดยมีแถบลายช้างและลายม้าเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่าง ของแถบที่ 2 ด้วยเทคนิคการขิด แถบที่ 3 : ลายม้าต่างปราสาทด้วยเทคนิคการจก โดยมีแถบลายไก่นอ้ ยเป็นแถบลายที่อยู่ ด้านบนและด้านล่างของแถบที 3 ด้วยเทคนิคการขิด แถบที่ 4 : ลายช้างต่างปราสาท และลายนาค ด้วยเทคนิคการจกลวดลายลงบนผ้าพืน้ แถบสีชมพูด้วยการทอแบบ 2 ตะกอโดยใช้เส้นยืนสีขาวและเส้นพุ่งสีชมพู โดยมีแถบลายนกเป็น แถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบลายที่ 4 ด้วยเทคนิคการจก แถบที่ 5 : ลายหงส์ ด้วยเทคนิคการจกลวดลายลงบนผ้าพืน้ แถบสีฟ้าจากการทอด้วย เทคนิค 2 ตะกอ โดยมีแถบลายดอกไก่น้อยและลายนกเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของ แถบที่ 5 ด้วยเทคนิคการขิด แถบที่ 6,7 : ลายนาค ด้วยเทคนิคการจกลงบนพืน้ ผ้าแถบสีชมพู โดยมีแถบลายดอกไก่ น้อย ซึ่งเป็นเทคนิคการขิด เป็นแถบลายที่อยู่ด้านล่างของแถบที่ 6 แถบที่ 8 : ลายม้า ซึ่งเป็นเทคนิคการจก แถบที่ 9 : ลายนก ซึ่งเป็นเทคนิคการจกลงบนพืน้ ผ้าสีน้าเงิน
219
ภาพที่ 116 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 56
220
3.2.57 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 57 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ นางชม ใจแก้ว อายุ 56 ปี บ้านเลขที่ 209 หมู่ท่ี 13 บ้าน/เมือง บ้านเพียงาม แขวง ไชยะบุรี สปป. ลาว ขนาด : กว้าง 75 cm. / ยาว 195 cm. อายุผ้า : 31 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม เขียว เส้นเงิน เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ชมพู เขียว น้้าเงิน ฟ้า ส้ม เหลือง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายดอกจ้ายขอ , ลายลายขอน้อย , ลายเขีย้ วหมา , ลายนาคตั้งขอ , ลายขอหลวง , ลายนกน้อย , ลายดอกกูดเครือ , ลาย จก : ลายนาค , ลายนกหัสดีลิงค์ , ลายนาคน้อย , ลายช้างต่างปราสาท , ลายม้าต่างปราสาท
ภาพที่ 117 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 57
221
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 57 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 75 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีส้ม เขียว ในการทอเป็นแถบสีพื้นในแถบลายสลับกับสีพื้นของผืนผ้าหลบและ นอกจากนีม้ ีการเพิ่มเส้นเงินเข้าไปในเส้นพุ่งเพื่อเป็นการสร้างความแวววาวให้กับผ้าพืน้ ตรงบริเวณ ชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่หอ้ ยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยเส้น ไหมพรม ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 57 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีชมพู เขียว น้้าเงิน ฟ้า ส้ม เหลือง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 9 แถบ แถบที่ 1 : ลายดอกจ้ายขอ ด้วยเทคนิคการขิด แถบที่ 2,3,5 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบ ไปด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย และลายนาค และมี แถบลายดอกจ้ายขอและลายหน่วยเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 2 และ แถบที่ 3 แถบที่ 4 : ลายดอกบ่าง มีขนาดกว้างที่สุดบนผืนผ้า โดยมีการใช้เทคนิคการจกเส้นพุ่ง พิเศษเป็นลายดอกหับซึ่งภายในเป็นลวดลายหงส์ และลายประกอบของลายดอกบ่างด้วยเทคนิค การขิดโดยประกอบด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่ว , ลายเขีย้ วหมา , ลายนกน้อย และ ลายนาค โดยมีแถบลายนาค ซึ่งเป็นเทคนิคการจกด้วยเส้นพุ่งพิเศษลงบนผ้าพืน้ ที่มีการใช้เส้นเงิน ทอด้วยเทคนิค 2 ตะกอท้าให้ตัวพืน้ ผ้ามีความแวววาว เป็นแถบลายที่อยู่ด้ายบนและด้านล่างของ แถบที่ 6 แถบที่ 6 : ลายนาค และคนขี่มา้ ด้วยเทคนิคการขิดลงบนพืน้ ผ้าที่มีการใช้เส้นเงินทอเป็น พืน้ ด้วยเทคนิค 2 ตะกอ โดยมีแถบลายดอกกูดเครือและลายหน่วยเครือเป็นแถบลายที่อยู่ด้านล่าง ของแถบที่ 6 แถบที่ 8 : ลายช้างต่างปราสาท และลายนาคน้อย ซึ่งเป็นเทคนิคการจกลงบนผ้าพื้นที่มี การใช้เส้นเงินทอด้วยเทคนิค 2 ตะกอท้าให้ตัวพืน้ ผ้ามีความแวววาว แถบที่ 9 : ลายม้าต่างปราสาท ซึ่งเป็นเทคนิคการจกลงบนผ้าพืน้ ที่มีการใช้เส้นเงินทอด้วย เทคนิค 2 ตะกอ
222
ภาพที่ 118 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 57
223
3.2.58 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 58 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ ผศ. กันต์ พูนพิพัฒน์ อายุ 57 ปี เลขที่ 84 บ้านพูนพิพัฒน์ ซอย 4 บ้านใหม่หลังมอ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 ขนาด : กว้าง 75 cm. / ยาว 195 cm. อายุผ้า : 78 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เส้นพิเศษ ไหม / สี ชมพู ม่วง เขียว เหลือง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายงูลอย , ลายดอกหน่วย , สร้อยสา จก : ลายดอกหับ , ลายดอกบ่าง
ภาพที่ 119 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 58
224
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 58 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 75 เซนติเมตร ด้านยาว 195 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และเกลียวฝ้ายเก็บเป็นชายมัดปม ธรรมดา ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 58 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีชมพู เขียว เหลือง และม่วง ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ โดยแถบลวดลายที่เกิดจากการใช้เทคนิคขิดในผ้าหลบผืนนี้นั้นคือ ลายงูน้อย ซึ่งใช้เป็น แถบลายที่แบ่งกั้นระหว่างช่วงลายของแต่ละแทบกับผ้าพืน้ โดยมีการทอด้วยเทคนิคขิดบนผืนนีจ้ ะมี สองสี ชมพู และสีเขียว เป็นลายงูนอ้ ย และลวดลายที่ใช้เทคนิคการจกโดยจ้าแนกจากแถบลายมี ดังนี้ แถบที่ 2 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบไป ด้วยลายหน่วย ด้วยวิธีการจกโดยการใช้เส้นพิเศษจกลงบนพื้นผ้าเป็นช่วง ๆ สีเขียวและน้้าเงินลงบน พืน้ สีชมพู แถบที่ 3 : ลายดอกหับ โดยเกิดจากเทคนิคการจกเส้นไหมเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ที่มสี ีสันโดดเด่นอยู่บนพื้นที่มเี ทคนิคการขิดด้วยเส้นพุ่งพิเศษสีมว่ ง โดยเกิดจากการน้าลายหน่วยมา ประกอบกัน แถบที่ 4 : ลายดอกบ่างโดยจากการน้าลายหน่วยมารวมกันโดยการการใช้เส้นพุ่งพิเศษ จกลงบนผืนผ้าที่มกี ารใช้เทคนิคการขิดด้วยเส้นไหมสีชมพูเป็นลายหน่วยและสร้อยสา
225
ภาพที่ 120 : ผ้าหลบไทลื้อเมืองเงิน ผืนที่ 58
226
3.2.59 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 59 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ ผศ. กันต์ พูนพิพัฒน์ อายุ 57 ปี เลขที่ 84 บ้านพูนพิพัฒน์ ซอย 4 บ้านใหม่หลังมอ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 ขนาด : กว้าง 80 cm. / ยาว 175 cm. อายุผ้า : 67 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ด้า แดง เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายเขี้ยวหมา , ลายดอกหน่วย , ลายขอขะแจ , ลายกาบตั้ง , ลายขอ , ลายงูน้อย , สร้อยสา จก : ลายดอกหับ
ภาพที่ 121 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 59
227
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 59 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 80 เซนติเมตร ด้านยาว 175 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยเส้นฝ้าย ลวดลายบนผืนผ้าหลบผืนที่ 59 นีม้ ีการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคการขิด (มุก) และมี การใช้เทคนิคจกเข้ามาผสมด้วยเพื่อให้เกิดเป็นลวดลายที่สวยงาม โดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีแดง ด้า ซึ่งลวดลายที่ปรากฏบนผ้าหลบผืนนีโ้ ดยจ้าแนกเป็นทั้งหมด 7 แถบ โดยแถบลวดลายที่เกิดจากการใช้เทคนิคขิดในผ้าหลบผืนนี้นั้นคือ แถบลายเขีย้ วหมา ซึ่ง ใช้เป็นแถบลายที่แบ่งกั้นระหว่างช่วงลายของแต่ละแทบกับผ้าพืน้ โดยมีการทอด้วยเทคนิคขิดบนผืน นีจ้ ะมีสองสีด้าและสีแดงเป็นลายงูน้อย และในแถบที่ 7 มีการใช้เทคนิคขิดเป็นลายงูนอ้ ย และ ลวดลายที่ใช้เทคนิคการจกโดยจ้าแนกจากแถบลายมีดังนี้ แถบที่ 2,4 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบ ไปด้วยลายขอ , ลายหน่วย และลายเขีย้ วหมา ด้วยวิธีการขิดด้วยเส้นพุ่งพิเศษสีแดง และในแถบที่ 4 มีการขิดเป็นลายสร้อยสาด้วยเส้นพุ่งพิเศษสีแดงด้วย แถบที่ 3 : ลายดอกหับ โดยเกิดจากเทคนิคการขิดเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนด้วยเส้น พุ่งพิเศษสีด้าโดยลายดอกหับภายในประกอบไปด้วยลายหน่วย , ลายเขี้ยวหมา และลายกาบตั้ง โดยตรงส่วนกลางของลายกาบตั้งมีการจกด้วยเส้นฝ้ายเป็นลายดอกหับสีเหลืองและแดงสลับกับไป ในแต่ละดอก และนอกจากนีแ้ ถบที่ 3 ยังมีลายดอกบ่างที่เกิดจากเทคนิคการขิดโดยภายในลาย ประกอบด้วย ลายขอ , ลายหน่วย และ ลายเขีย้ วหมา
228
ภาพที่ 122 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 59
229
3.2.60 ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 60 แหล่งที่พบ : ชื่อเจ้าของ ผศ. กันต์ พูนพิพัฒน์ อายุ 57 ปี เลขที่ 84 บ้านพูนพิพัฒน์ ซอย 4 บ้านใหม่หลังมอ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 ขนาด : กว้าง 80 cm. / ยาว 175 cm. อายุผ้า : 52 ปี วัสดุ/สี : เส้นยืน ฝ้าย / สี ขาว เส้นพุ่ง ฝ้าย / สี ขาว ส้ม เหลือง เส้นพิเศษ ฝ้าย / สี ด้า แดง เหลือง น้้าเงิน เขียว เทคนิคที่ใช้ในสร้างลวดลาย / ชื่อของลวดลาย ขิด : ลายเครือขอ , ลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายดอกหน่วย , ลายดอกหน่วยเครือ , ลายเขี้ยวหมา , ลายดอกบ่าง , ลายดอกตั้งขอ , ลายขอกูดเครือ , ลายดอกไก่นอ้ ย , ลายนาคน้อย , ลายดอกจ้ายขอ จก : ลายดอกหับ
ภาพที่ 123 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 60
230
ลักษณะโดยละเอียด ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 60 มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านกว้าง 80 เซนติเมตร ด้านยาว 175 เซนติเมตร เกิดจากการน้าผ้าหน้าแคบสองผืนมาเพลาะต่อกันบริเวณตรง กลาง ในส่วนของผ้าพืน้ ทอด้วยเทคนิคปกติ โดยใช้เส้นพุง่ และเส้นยืนจากฝ้ายสีขาวพันธุ์พ้ืนเมือง และมีการใช้เส้นพุ่งสีส้ม และเหลือง ในการทอเป็นแถบสีพื้นที่ใช้เป็นแถบเพื่อแสดงลายพืน้ สลับกับ แทบลายบนผืนผ้าหลบ ตรงบริเวณชายผ้ามีการถักเก็บเป็นลวดลาย เรียกว่า “ไป่” และมีการใส่พู่ ห้อยตกแต่งเรียกว่า “ป๊อก” ด้วยเส้นฝ้าย แถบที่ 1 : ลายดอกขอ แถบที่ 2,4 : ลายดอกบ่าง ซึ่งเป็นรูปซึ่งเป็นลวดลายสามเหลี่ยม โดยภายในจะประกอบ ไปด้วยลายขอน้อย , ลายขอหลวง , ลายหน่วย และลายเขีย้ วหมา ด้วยวิธีการขิดด้วยเส้นพุ่งพิเศษสี ด้า และในแถบที่ 4 มีการขิดด้วยเส้นพุ่งพิเศษสีด้าเป็นลายสร้อยสา โดยมีแถบลายหน่วยเครือเป็น แถบลายที่อยู่ด้านบนและด้านล่างของแถบที่ 2 และแถบที่ 4 แถบที่ 3 : ลายดอกหับ โดยเกิดจากเทคนิคการขิดเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนด้วยเส้น พุ่งพิเศษสีแดงโดยลายดอกหับภายในประกอบไปด้วยลายหน่วย , ลายเขีย้ วหมา และลายกาบตั้ง โดยตรงส่วนกลางของลายกาบตั้งมีการจกด้วยเส้นฝ้ายเป็นลายดอกหับสีเหลือง และนอกจากนี้ แถบที่ 3 ยังมีลายดอกบ่างที่เกิดจากเทคนิคการขิดโดยภายในลายประกอบด้วยลายขอน้อย , ลาย ขอหลวง , ลายหน่วย และ ลายเขีย้ วหมา และมีแถบลายขอเหลียวเป็นแถบลายที่อยู่ด้านบนและ ด้านล่างของแถบที่ 3 แถบที่ 5 : ลายไก่นอ้ ย ด้วยเทคนิดการขิดโดยใช้เส้นพุง่ พิเศษสีน้าเงิน แถบที่ 6 : ลายขอเหลียว ด้วยเทคนิดการขิดโดยใช้เส้นพุง่ พิเศษสีแดง แถบที่ 7 : ลายนาคน้อย ด้วยเทคนิดการขิดโดยใช้เส้นพุ่งพิเศษสีเขียว แถบที่ 8 : ลายดอกจ้ายขอ ด้วยเทคนิดการขิดโดยใช้เส้นพุง่ พิเศษสีแดง อยู่บริเวณส่วน ชาบขอบล่างสุดของผืนผ้าหลบ
231
ภาพที่ 124 : ผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ผืนที่ 60
บทที่ 4 การวิเคราะห์และตีความ จากการเก็บข้อมูลภาคเอกสารและข้อมูลภาคสนามในบทที่ผ่านมาแล้วนั้น ในบทนีจ้ ะนํา ข้อมูลที่ได้ดังกล่าว มาทําการศึกษาวิเคราะห์และตีความถึงรูปแบบกระบวนการและการจัดวาง ลวดลาย ตลอดจนรวบรวมลวดลายและแปลความหมายของลวดลายที่ปรากฏบนผืนผ้าหลบ ไท ลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ของการศึกษาตามกระบวนวิชา ระเบียบและวิธีการวิจัยศิลปะ โดยสามารถจําแนกหัวข้อในการ วิเคราะห์และตีความออกได้ ดังนี้ 4.1 วัฒนธรรมการทอผ้าและการใช้ผ้าหลบในวิถีชวี ิตชาวไทลื้อ เมืองเงิน 4.1.1 การทอผ้าหลบ วัสดุ และเทคนิคที่ใช้ในการทอ 4.1.2 รูปแบบและองค์ประกอบของผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน 4.1.3 ลักษณะการใช้ผ้าหลบในวิถีชวี ิตของชาวไทลือ้ เมืองเงิน 4.2 ลวดลายและความหมายของลวดลายบนผืนผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน 4.2.1 ลวดลายเรขาคณิต 4.2.2 ลวดลายพรรณพฤกษา 4.2.3 ลวดลายรูปสัตว์
233
4.1 วัฒนธรรมการทอผ้าและการใช้ผ้าหลบในวิถชี ีวิตชาวไทลื้อ เมืองเงิน ผ้าทอไทลือ้ แต่ละผืนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันจะแสดงให้เห็นถึงการลืบทอดทาง วัฒนธรรมการทอผ้ามาอย่างช้านาน ส่วนสําคัญที่มกี ารถ่ายทอดความรู้จากรุ่นสู่รุ่น คือ การเตรียม อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการทอผ้า และวัสดุต่าง ๆ และกระบวนการผลิตผ้าทอ แต่บางส่วนเกิด การเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย อาทิ การเปลี่ยนแปลงทางด้านวัสดุที่นํามาใช้ในการทอ เทคนิค กระบวนการย้อมสี เป็นต้น โดยส่วนใหญ่การผลิตผ้าทอเพื่อขายส่งให้นายหน้าขายผ้าและเพื่อขาย ที่บริเวณด่านชายแดนไทย – ลาวนัน้ ส่วนใหญ่จะใช้วัสดุจากทางฝัง่ ไทย คือ ฝูายโรงงาน 4.1.1 การทอผ้าหลบ วัสดุ และเทคนิคที่ใช้ในการทอ ลักษณะกระบวนการในการทอผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน มีความคล้ายคลึงกับการทอผ้า หลบของชาวไทลือ้ ในทั่วไป โดยกล่าวคือ มีการใช้กี่แบบกี่พืน้ เมืองของล้านนา โดยที่ลักษณะเส้นยืน จะเฉียงขึ้นแล้วขึงลอดไม้ที่ยื่นออกมาด้านหน้าก่อนมัดเส้นยืนไว้ดา้ นบนของกี่ มีตะกอในการทอ อย่างน้อย 3 ตะกอ ซึ่งกี่หนึ่งหลังจะประกอบไปด้วยส่วนประกอบมากมายโดยแต่ละชิน้ จะมี ความสําคัญและหน้าที่ที่แตกต่างกันออกไป โดยส่วนประกอบของกี่ทอผ้ามี ดังนี้ โคร่งกี่ ฟืมและ กรอบฟืม (หรือก๊อบฟืม) ตะกอ ไม้มว้ นผ้า (แกนม้วนผ้า) ไม้เหยียบ และที่นั่ง และนอกจากนี้ยัง มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการทอซึ่งจะเป็นส่วนต่าง ๆ ที่ช่วยให้เกิดการสร้างเป็นลวดลายบนผืนผ้าได้ คือ ฟืม โดยขนาดฟืมที่ใช้ในการทอผ้าหลบจะมีขนาดความกว้างของหน้าฟืมอยู่ 3 ขนาด ซึ่งจากการลง พืน้ ที่และสอบถามข้อมูลทําให้ทราบถึงขนาดของฟืมที่มีการใช้ทอผ้าหลบคือ ขนาดฟืม 6 มีความกว้างของหน้าฟืม 65 เซนติเมตร ขนาดฟืม 7 มีความกว้างของหน้าฟืม 85 เซนติเมตร ขนาดฟืม 9 มีความกว้างของหน้าฟืม 95 เซนติเมตร ซึ่งขนาดความกว้างของหน้าฟืมจะขึน้ อยู่กับผูท้ อว่ามีความต้องการที่จะได้ขนาดความกว้างของผืน ผ้าเท่าใด และอุปกรณ์ในการทอผ้ายังประกอบไปด้วย ตะกอหรือเขา รอกทอผ้า ไม้ค้ํา ไม้ดาบ กระสวย และแกนหลอดด้าย กระบวนการทอผ้าหลบ เริ่มต้นจากการเตรียมเส้น ยืน โดยทั่วไปแล้วชาวไทลื้อนิยมใช้ เส้นฝูายทอผืนผ้าเป็นหลัก เนื่องจากเส้นใยของฝูายมีคุณสมบัติดูดความชื้นได้ดี เหมาะสําหรับการ ใช้เป็นเครื่องนุ่งห่มหรือเครื่องเรือนในเมืองร้อน เพราะเมื่อเส้นใยฝูายดูดซับความชื้นแล้วจะระเหย กลายเป็นไอได้ดี โดยหลังจากมีการผ่านกระบวนการในขั้นตอนการเตรียมเส้นใยเสร็จเรียบร้อย ออกมาเป็นเส้นฝูายสีขาวที่พร้อมสําหรับการทอ ขั้นตอนต่อมาจะเป็นการเตรียมเส้นพุ่งโดยจะใช้ เป็นเส้นฝูายสีขาวเหมือนกับเส้นยืนที่ผ่านกรรมวิธีการเตรียมเส้นใยมาเหมือนกัน ซึ่งผ้าหลบจะนิยม การทอผ้าพืน้ เป็นพืน้ สีขาวโดยใช้ทั้งเส้นยืนและเส้นพุง่ เป็นฝูายสีขาวในการสร้างผืนผ้า
234
และนอกจากนี้ในการทอผ้าหลบยังต้องมีการใช้เส้นพุ่งพิเศษโดยจะใช้เป็นเส้นฝูาย หรือ เส้นไหม ก็ แล้วแต่ตามต้องการ ซึ่งเส้นด้ายจะมีสีดํา และ แดงเป็นหลัก แต่บางผืนมีการใช้เส้นใยสีชมพู เขียว และเหลืองใช้เป็นเส้นพุ่งพิเศษเพื่อทําให้เกิดเป็นลวดลายบนผืนผ้าหลบขึ้น โดยเมื่อมีการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ครบถ้วนเรียบร้อยแล้ว ก็จะเริ่มทอ โดยปกติการทอจะเริ่มจากการทอให้เป็นพืน้ ผ้าธรรมดา ก่อน ด้วยเทคนิคการทอแบบธรรมดา หรือ แบบ 2 ตะกอ โดยหลังจากการทอผ้าพื้นได้ความยาว ประมาณอย่างน้อย 100 เซนติเมตร ก็จะเริ่มมีการเก็บลายด้วยเทคนิคการขิดโดยการใช้เส้นพุ่ง พิเศษสีต่าง ๆ เข้าไปในขณะที่ทอ หรือการเก็บลวดลายด้วยเทคนิคการจกโดยการใช้เส้นพุ่งพิเศษ สีสันต่าง ๆ เพิ่มลงบนผืนผ้าเป็นช่วง ๆ โดยมีการสลับสีสันให้สวยงามขึ้น โดยจะทําการสร้างลาย ด้ว ยเทคนิค การขิด หรือเทคนิค การจิก ไว้บ ริเ วณส่วนเชิงของผืนผ้า และหลังจากทําการสร้าง ลวดลายเสร็จเรียบร้อยแล้วหนึ่งผืน ก็จะมีการทอซ้ําในแบบและลวดลายเดิมอีกหนึ่งผืน เพื่อนําทั้ง สองผืนมา เพลาะ หรือเย็บต่อริมหากันในส่วนตรงกลางเพื่อให้ผ้ามีความกว้างเพิ่มขึ้น แล้วหลังจาก นั้นจะเป็นการตกแต่งชายผืน ผ้าด้วยเทคนิค การถัก (Macramé) เป็นเทคนิคการเก็บชายครุยด้าย เส้นยืนโดยการมัดและถักให้เป็นลวดลายต่าง ๆ ตกแต่งชายผ้าให้สวยงาม ซึ่งมีการเรียกเทคนิคนี้ว่า “ไปุ” และนอกจากนี้ยังมีการนําเส้นฝูายหรือไหมมามันเป็นลูก ๆ แล้วนํามาเย็บต่อกับส่วนปลาย ของไปุ ซึ่งเรีย กว่า “ปฺอก” โดยผ้าหลบแต่ละผืนจะมีขนาดความกว้างและความยาวขอผืนผ้าที่ แตกต่างกันออกไปในแต่ละครัวเรือนอันเนื่องมาจากขนาดของ ฟูกหรือสะลี ของแต่ละครัวเรือนมี ขนาดที่แตกต่างกันออกไป โดยการทอผ้าหลบนั้นจะทอโดยสตรีชาวไทลื้อทุกคน ซึ่งในสมัยก่อนจะ เริ่มหัดเรียนรู้และทอเมื่ออายุได้ประมาณ 7 – 8 ปี โดยจะทอผ้าหลบเก็บไว้เพื่อใช้ในครอบครัวและ ถือเป็นการเตรียมพร้อมสําหรับการออกเรือนของสตรีชาวไทลือ้
235
4.1.2 รูปแบบและองค์ประกอบของผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน โครงสร้างลวดลายบนผืนผ้าหลบ ผ้าหลบ เป็นผ้าปูที่นอน ใช้ปูทับลงบนฟูกหรือเสื่ออีกทีหนึ่ง ในอดีตนิยมใช้เส้นฝูายปั่นมือ ทอขัดสานธรรมดาด้วยฟืมขนาดเล็ก มีหน้ากว้างประมาณ 40 – 60 เซนติเมตร จึงต้องมีการทองสอง ผืนแล้วนํามาเย็บต่อตรงกลางเพื่อให้มีขนาดพอเหมาะกับการปูบนฟูก ลวดลายตกแต่งผ้าหลบของ ไทลือ้ โดยรวมแล้วจะอยู่บริเวณเชิงผ้า ทอด้วยเทคนิคการขิด แต่ที่เมืองเงินชาวไทลือ้ ที่จะมี ความสามารถทางด้านการจก ซึ่งเป็นการรับอิทธิพลนี้มาจากคนลาวที่มคี วามสามารถในการจกได้ ดี ทําให้ในผืนผ้าหลบของเมืองเงิน จะมีการบพทั้งเทคนิคการขิดและการจกเพื่อทําการสร้าง ลวดลายบนผืนผ้า สีที่นิยมใช้แบบดั้งเดิม คือ สีดํา แดง ตรงส่วนชายครุยมักจะมีการถักเก็บชาย หรือใช้เส้นฝูายทําเป็นพู่ห้องตกแต่งที่เรียกว่า “ปฺอก” ผ้าหลบของไทลือ้ เมืองเงิน สามารถแบ่งแยกออกเป็น 2 ประเภทตามโครงสร้างลวดลาย คือ ผ้าหลบที่ใช้ฝ้ายสีดา-แดงสลับกันในการทอลวดลายขิดที่ทอออกมาเป็นสีเดียวกันตลอด แถว ขนาดความยาวของพื้นที่ลวดลายมีขนาดใหญ่หว่าผ้าหลบอีกประเภทหนึ่ง ส่วนใหญ่มลี วดลาย ดอกตั้งกลาง ดอกหับ และดอกบ่างเป็นลวดลายหลัก มีดอกขอ ดอกเครือเถา ลายสร้อยสาเป็น ลายประกอบ บางผืนมีการจกเป็นลายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนด้วยฝูายหรือเส้นไหมสีเหลือง สีนํา้ เงิน สีมว่ งและสีชมพู นิยมจกลวดลายอื่น ๆ เช่น ดอกขอ ดอกจ้าย ดอกกาบ เป็นแถวสลับกับลายขิดสี ดํา-แดง ส่วนผ้าหลบอีกประเภทหนึ่งมีการจัดการโครงสร้างลวดลายคล้ายกับผ้าเช็ด แต่พืน้ ที่ ทอเป็นลวดลายนั้นมีเฉพาะส่วนชายผ้าข้างเดียวมีขนาด 30 – 40 เซนติเมตร อยู่ด้านล่างของผ้าหลบ ลวดลายที่นยิ มมอเป็นดอกบ่าง ดอกหับเป็นลายหลัก มีลายประกอบเป็นดอกขอ ดอกกูดขอ ลาย สร้อยสา เป็นต้น มักจะใช้สีดํา แดง และเหลือง บางผืนใช้เส้นไหมสีเขียว ส้ม ชมพูและม่วง ผ้าหลบ ประเภทนี้มหี น้าแคบกว่าผ้าหลบชนิดแรก ชาวเมืองเงินบางคนเรียกว่า “ผ้าหลบหัวช้าง” เพื่อใช้ใน การประดับหัวช้างในพิธีกรรม เช่น พิธีแห่นาคในงานบวชลูกแก้ว และพิธีสู่ขวัญช้างในช่วงหลังฤดู การเก็บเกี่ยวเสร็จสิ้น34 ผ้าหลบทั้ง 2 ประเภทจะมีการทอออกมาเป็น 2 ผืน แล้วนํามาเย็บต่อตาม ความยาวของผ้าที่มลี วดลายเดียวกัน ตามความยาวของผ้า
34
มาริ ซากาโมโต, กระบวนการสร้างอัตลักษณ์และความสัมพันธุ์ระหว่างชาวขมุกับไทลื้อ : ศึกษาจากวัฒนธรรมผ้าทอในเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป. ลาว, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ธันวาคม 2556 ,หน้าที่ 128
236
237
4.1.3 ลักษณะการใช้ผ้าหลบในวิถีชีวติ ของชาวไทลื้อ เมืองเงิน การทอผ้าถือเป็นบทบาทหน้าที่สําคัญของสตรีในกลุ่มชาติพันธุ์ตระกูลไท โดยเด็กผูห้ ญิง จะมีการคลุกคลีกับผูเ้ ป็นแม่ คอยเรียนรู้การถ่ายทอดถึงกระบวนการและวิธีการทอผ้าโดยค่อย ๆ ซึมซับและฝึกฝนการทอผ้าแต่ละประเภท เช่น เครื่องนุ่งห่ม และข้าวของเครื่องใช้ เมื่อถึงวัยสาวผู้ เป็นแม่และลูกสาวจึงต้องร่วมกันทําและฝึกฝนกิจกรรมอันเกี่ยวเนื่องกับงานบ้านงานเรือน งานทอ ผ้าเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับบุตรสาวในการออกเรือน โดยเป็นการแสดงถึงศักยภาพของตน ทางด้านงานฝีมอื งานบ้านงานเรือน และความเป็นกุลสตรีต่อชายหนุ่มว่าตนมีความสามารถที่ สามารถดูแลครอบครัวได้ในอนาคต โดยสตรีชาวไทลื้อจะมีการฝึกหัดการทอผ้า โดยเริ่มจากการ ทอผ้าฮํา และเริ่มทอผ้าหลบเป็นลําดับถัดมา โดยเป็นการฝึกฝนและเรียนรู้ในทางด้าน ความสามารถและเทคนิคในการสร้างลาย โดยหญิงสาวจะทอผ้าหลบเพื่อเก็บไว้ใช้ในชีวิตประจําวัน และเมื่อถึงวัยสมควรที่จะออกเรือนก็จะทอผ้าหลบไว้ใช้ในครอบครัวใหม่ โดยจะทอด้วยลวดลายที่มี ทั้งเทคนิคขอดและเทคนิคจกลงบนผืนผ้า ใส่ลวดลายอย่างประณีตสวยงามเพื่อแสดงถึงศักยภาพ ของตนอย่างเต็มที่ก่อนออกเรือน และยังมีการทอผ้าหลบเก็บไว้ใช้ในพิธีกรรมทางความเชื่อต่าง ๆ ผ้าทอที่เป็นเครื่องนอนใช้ในพิธีกรรมการเปลี่ยนผ่านของชีวติ และการบูชาสําหรับผู้ลว่ งลับ ผ้าทอที่เป็นเครื่องนอนมีบทบาทการใช้สอยหลายอย่าง อาทิ การใช้สอยในครัวเรือน ในการต้อนรับ แขกที่มาเยือน และการทําบุญถวายพระสงฆ์ได้ใช้สอย พร้อมให้บรรดาฆราวาสได้ใช้นอนที่วัดเมื่อมี งานบุญต่าง ๆ โดยในอดีตหญิงสาวชาวไทลือ้ ที่จะแต่งงานต้องเตรียมผ้าทอที่ใช้สอยในครัวเรือน เช่น ผ้าหลบ ไว้ให้พร้อมเป็นจํานวนหลายชุด อย่างน้อย 4 – 6 ผืน เพื่อใช้ในชีวิตครอบครัวใหม่ ตลอดจนใช้เป็นของไหว้ญาติผู้ใหญ่ฝุายชาย และพร้อมเก็บไว้ใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ อีกต่างหาก อาทิ งานบวช เป็นประเพณีสําคัญสําหรับชาวไทลือ้ โดยเฉพาะผูเ้ ป็นแม่ที่จะให้ลูกชายบวชเป็น พระหรือเณร โดบถือเป็นการทําบุญอันยิ่งใหญ่ในชีวติ ของผู้หญิง ในวันก่อนที่จะเข้าพิธีบวชจะมีการ จัดพิธีสู่ขวัญที่บ้านเจ้าภาพหรือบ้านของญาติพ่นี ้อง มีการจัดเตรียมสิ่งของที่จะถวายวัดไว้บนชัน้ วาง มีหมอนผา หมอนโกลน ผ้าเช็ดน้อย ผ้าเสื่อ ผ้าหลบ ผ้าห่ม บาตร ถุงเปูง(ถุงผ้าเพื่อใส่ของมีค่า) ชุดเคีย้ วหมาก ผ้าจีวร ต้นดอก มะพร้าวสุ้ม เป็นต้น มีบายศรีตั้งกลางห้อง ให้ผู้ที่บวชนั่งบนผ้าเสื่อปู ด้วยผ้าหลบ อาจารย์วัด (พระสงฆ์) จะทําพิธีสู่ขวัญแล้วผูกข้อมือให้นาคและต่อมาเชิญช่างขับมาขับ ลือ้ กันในห้องจัดพิธีสู่ขวัญ พิธีทานธรรม หรือเรียกได้หลายชื่อว่า พิธีตั้งธรรมหลวง เทศน์มหาชาติ หรือทานธรรม เวสสันดร โดยชาวไทลือ้ ถือว่าเป็นการทําบุญขนาดใหญ่เพื่อสะสมบุญให้แก่ตนเองและแก่บรรพ บุรุษหรือญาติพ่นี ้องที่ล่วงลับไปแล้ว โดยมักจะประกอบพิธีกรรมในช่วงเดือน 4 ตามปฏิทินไทลือ้ หรือประมาณเดือนกุมภาพันธ์ โดยการเตรียมสิ่งของเพื่อทานคนตายหรือครัวทาน จะประกอบด้วย เครื่อง
238
แต่งกาย เช่น ผ้าซิ่น เสือ้ ผ้าต้อย เครื่องนอน เช่น ผ้าเสื่อ ผ้าหลบ ผ้าก๊อบ ผ้าห่ม หมอน เครื่องอุปโภคบริโภค เช่น หม้อนึ่งข้าว ไหข้าว กระทะ ทีวี พัดลม รวมทั้งข้าวของที่เป็น ผลผลิตจากเพื่อนบ้านและญาติมิตรนํามาทานให้คนตายเพื่อร่วมทําบุญ และนอกจากนี้ ญาติพี่นอ้ ง ต้องเตรียมเรือนทาน (ภาษาไทลือ้ เรียกว่า “เฮินตาน”) หรือบ้านจาลอง โดยมีตุงสองขาและผ้าจีวร แขวนไว้กับตัวปราสาท พร้อมมีตน้ อ้อยมัดติดไว้กับเสาบันไดแล้วตั้งปราสาทไว้ในวิหาร ด้านในเรือน มีเครื่องนอน เช่น ผ้าเสื่อ ผ้าหลบที่เป็นผ้าทอไทลือ้ หมอนและผ้าห่ม และมีของใช้ในบ้าน เช่น เก้าอี้ กระติกน้าแข็ง แก้วน้า กระบุง ชุดกินหมาก(เครื่องเขิน) เสื้อผ้า ถ้วยชาม ร่ม รวมถึงมะพร้าวสุ้ม เพื่อทําพิธีอุทิศให้แก่บรรพบุรุษที่ลว่ งลับไปแล้ว ซึ่งจากที่ได้กล่าวมาในข้างต้นอาจแสดงให้เห็นว่าผ้าหลบมีความสําคัญและมีความ เกี่ยวเนื่องในวิถีชีวติ ของชาวไทลือ้ เมืองเงิน และชาวไทลื้อในถิ่นอื่น ๆ ที่ยังคงมีการทอเพื่อใช้สอยใน ชีวติ ประจําวันและทอเพื่อใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ ทางความเชื่อดั้งเดิมที่มีสืบต่อกันมาอย่างยาวนาน
239
4.2 ลวดลายและความหมายของลวดลายบนผืนผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน จากการวิ เ คราะห์ ล วดลายบนผื น ผ้ าหลบไทลื้ อ เมื อ งเงิ น โดยมี ก ารจํ าแนกลวดลาย ออกเป็นหมวดหมู่ตามรูปแบบของลวดลาย โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 4.2.1 ลวดลายเรขาคณิต 4.2.2 ลวดลายพรรณพฤกษา 4.2.3 ลวดลายรูปสัตว์ 4.2.1 ลวดลายเรขาคณิต ลวดลายเรขาคณิต เป็นลวดลายพื้นฐานของผืนผ้า มีรูปร่างที่เป็นเหลี่ยมมุมต่าง ๆ อัน ได้แก่ ลายรูปทรง สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม เส้นตรง เส้นทแยง กากบาท ลายเรขาคณิตเป็นลวดลายที่ จะมีการพัฒนาต่อไปเป็นลวดลายชนิดอื่น ๆ ซึ่งลวดลายเรขาคณิตที่พบบนผืนผ้าหลบไทลื้อ เมือง เงิน จากการลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ ดอกหน่วย เป็นลวดลายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน โดยลายหน่วยถือเป็นลายที่มคี วามสําคัญ อย่างมากกับการสร้างลาย โดยถือว่าลายหน่วยเป็นส่วนประกอบที่ทําให้เกิดลวดลายอื่น ๆ ขึ้น มากมาย ดังที่ทฤษฎีของเส้นที่กล่าวว่า เส้นเกิดขึ้นจาก จุด หลายจุดรวมตัวกันจนกลายเป็น เส้น และเส้นหลายเส้นรวมกันจนกลายเป็น รูปทรง
ภาพที่ 125 ; ลายหน่วยจากผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 126 ; ภาพลายเส้น ลายหน่วย
240
ดอกกาบ คือ ลวดลายที่มโี ครงสร้างเป็นรูปสามเหลี่ยมมีหยักแหลมโดยรอบ ลายกาบขอ - เป็นลวดลายที่มโี ครงสร้างสามเหลี่ยมที่มีดอกขอโดยรอบ
ภาพที่ 127 ; ภาพลายกาบขอ จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 128 ; ภาพลายเส้น ลายกาบขอ ลายกาบตั้ง - เป็นลวดลายที่มโี ครงสร้างสามเหลี่ยมที่มีลายเขีย้ วหมาโดยรอบ
ภาพที่ 129 ; ภาพลายกาบตั้ง จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 130 ; ภาพลายเส้น ลายกาบตั้ง
241
ภาพที่ 131 ; ภาพลายดอกกาบขอ จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 132 ; ภาพลายเส้น ลายดอกกาบขอ
242
ดอกขอ คือ ลวดลายที่มหี ัวลายม้วนเข้ารูปตัว U ซึ่งเป็นลายเก่าแก่ของชาวไท
ภาพที่ 133 ; ภาพลายขอ จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 134 ; ภาพลายเส้น ลายขอ
243
ลายขอเป็นลายพืน้ ฐานที่สําคัญที่มักปรากฏในผ้าทอของกลุ่มชาติพันธุ์ไททุกกลุ่มไม่ว่าจะ เป็น ชาวไทยวน ไทลื้อ หรือไทลาว จึงเชื่อได้ว่าน่าจะเป็นลายที่มีความเก่าแก่อีกลายหนึ่ง เพราะ ปรากฏลวดลายนีบ้ นเครื่องปั้นดินเผายุคก่อนประวัติศาสตร์ และพบมากบนหน้ากลองมโหระทึกใน วัฒนธรรมดองซอน ลายขอมรลักษณะเป็นเส้นโค้งงอ หัวมนเข้าคล้ายลักษณะของตะขอ หรือใบ อ่อนของพืชตระกูลเฟิร์น ที่ชาวล้านนาเรียกกันว่า “ผักกูด”
ภาพที่ 135 ; ลักษณะยอดผักกูด ลายขอมีหลากหลายแบบและมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามแต่ละพืน้ ที่ ดังเช่น
ภาพที่ 136 ; ภาพลายขอเหลียว จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 137 ; ภาพลายเส้น ลายขอเหลียว
244
ภาพที่ 138 ; ภาพลายขอเหลียว จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 139 ; ภาพลายเส้น ลายขอหลียว
ภาพที่ 140 ; ภาพลายดอกขอ จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 141 ; ภาพลายเส้น ลายดอกขอ
245
ภาพที่ 142 ; ภาพลายขอกูด จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 143 ; ภาพลายเส้น ลายขอกูด
246
ลายเขี้ยวหมา ลักษณะลายเป็นรูปทรงสามเหลี่ยมคล้ายคลึงกับฟันของสุนัข การทอลายเพื่อ ต้องการให้เป็นลายคั่นระหว่างลายในแต่ละแนว
ภาพที่ 144 ; ภาพลายเขี้ยวหมา จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 145 ; ภาพลายเส้น ลายเขีย้ วหมา (แนวนอน)
ภาพที่ 146 ; ภาพลายเส้น ลายเขีย้ วหมา (แนวเฉียง)
247
ภาพที่ 147 ; ภาพลายดอกเขีย้ วหมา จากผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 148 ; ภาพลายเส้น ลายดอกเขี้ยวหมา
248
ดอกจ้าย คือ ลวดลายที่เป็นเส้นเฉียง ไล่ระดับเป็นแนวเดียวกัน มองเห็นเป็นเส้นแนวเฉียงเรียงกัน
ภาพที่ 149 ; ภาพลายดอกจ้ายขอ จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 150 ; ภาพลายเส้น ลายดอกจ้ายขอ
ภาพที่ 151 ; ภาพลายดอกจ้าย จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 152 ; ภาพลายเส้น ลายดอกจ้าย
249
ลายงูลอย เป็นลวดลายรูปทรงเรขาคณิตเกิดจากการนําเส้นเฉียง 2 มาประกอบโดยจะเกิดการ หัก มุม เป็นมุ มแหลมคล้า ยเส้ นซิก แซ็ก และเมื่ อนํา มาต่อ เป็นเส้นเดี ย วกั นจะได้ออกมาเป็ นเส้ น ซิกแซ็กที่มลี ักษณะเป็นเส้นเดียวยาว อยู่ใน แนวตัง้ ชาวไทลือ้ เรียกว่า ลายงูลอย อยู่ใน แนวนอน ชาวไทลือ้ เรียกว่า ลายงูน้อย
ภาพที่ 153 ; ภาพลายงูน้อย จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 154 ; ภาพลายเส้น ลายงูนอ้ ย
ภาพที่ 155 ; ภาพลายงูน้อย จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 156 ; ภาพลายเส้น ลายงูนอ้ ย
250
ลายงูเป็นลายเก่าแก่อีกลายหนึ่งของกลุ่มชาติพันธุ์ไท เพราะสามารถพบเห็นลายนี้ได้ใน ผ้าทอของชาวไททุกกลุ่ม งูเป็นสัตว์เลื้อยคลานมีพิษ ในประเทศไทยมีจํานวนมากกว่า 108 ชนิด โดยปกติงูจะอยู่ชุกชมในพื้นที่ปุาแลพื้นที่รกชื้น สามารถพบเห็นได้ทั่วไปเกือบทั่วทั้งประเทศไทย และการที่งูส่วนใหญ่เป็นสัตว์มีพิษร้านแรงถึงแก่ความตายได้ จึงทําให้มนุษย์เกิดความเกรงกลัวงู และเกิดเป็นคติความเชื่อเกี่ยวกับงูขึ้นมาอย่างมากมาย ซึ่งจากคติความเชื่อเรื่องการนับถืองู ได้ ส่งผลเป็นอิทธิพลให้กลุ่มชาติพันธุ์ไทคิดประดิษฐ์ลวดลายงูลงบนงานศิลปะ อาทิ บนภาชนะดินเผา ยุคหินใหม่ พบที่ถ้ําเขาสามเหลี่ยม อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เป็นลายเชือกทาบ มีลวดลายงู เลื้อยเป็นรูปคลื่น ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของธาตุน้ํา ต่อมาในยุคโลหะ ราว 2,300 – 1,800 ปี พบ ลวดลายงูเลื้อยบนภาชนะดินเผาลายเขียนสี ที่บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี และต่ อมาได้มีการนํา ลวดลายงูมาทอลงบนผืนผ้า เพื่อใช้ในพิธีกรรมมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ดังปรากฏลวดลาย การทอลายงูลงลนผืนผ้าของกลุ่มชาติพันธุ์ไททุกเผ่า เช่น ผ้ามัดหมี่ของไทลาว ในแถบภาคอีสาน ของประเทศไทย เป็นต้น
ภาพที่ 157 ; ลายงูเลือ้ ยบนภาชนะดินเผาลายเชือกทาบสมัยหินใหม่ที่ถ้ําเขาสามเหลี่ยม จังหวัดกาญจนบุรี
ภาพที่ 158 ; ลายงูเลื้อยบนภาชนะดินเผาเขียนสี สมัยโลหะที่บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี
251
ดอกหับ คือ ลวดลายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน คําว่า “หับ” แปลว่า ปิด เป็นการทอลวดลายรูป สามเหลี่ยมที่เรียกว่า “ดอกบ่าง” ซ้ําอีกครั้งหนึ่งให้มาประกอบกันจะกลายเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน โดย ดอกบ่าง เป็นลวดลายสามเหลี่ยมซึ่งเป็นส่วนครึ่งหนึ่งของลายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ในภาษาไทลือ้ คําว่า “บ่าง” แปลว่า ครึ่ง
ภาพที่ 159 ; ภาพลายดอกหับ จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
252
4.2.2 ลวดลายพรรณพฤกษา ลวดลายพรรณพฤกษา เป็นลวดลายที่มีการได้รับแรงบัลดาลใจมาจากธรรมชาติโดยมี ความเกี่ยวของกับต้นไม้และดอกไม้ ซึ่งแฝงไปด้วยคติความเชื่อที่มีความเกี่ยวข้องกับความอุดม สมบูรณ์ของธรรมชาติ โดยสามารถลวดลายพรรณพฤกษาได้ในรูปแบบของลายเครือเถา หรือรูป ดอกเดี่ยวโดด ๆ ซึ่งลวดลายพรรณพฤกษาที่พบบนผืนผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน จากการลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ ลายดอกจัน หรือ ลายดอกจั๋น เป็นลายดอกไม้ขนาดเล็กที่พัฒนามาจากลายสามเหลี่ยม และลายสี่เหลี่ยม เป็นลวดลายที่เก่าแก่ของงานสิ่งทอไทลื้อ ซึ่งมีความหมายถึง ดอกไม้งามในอุ ดม คติ และความบริบูรณ์ทางความสุขสม
ภาพที่ 160 ; ภาพลายดอกจัน จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 161 ; ภาพลายเส้น ลายดอกจัน
253
ลายดอกเครือ และเครือเถา เป็นลวดลายที่มคี วามหมายถึง ความอุดมสมบูรณ์ของแผ่นดิน และ สายน้ํ าที่ หล่ อเลี้ย งในวิ ถี ชี วิต ชาวไทลื้ อ โดยได้รั บ แรงบัล ดาลใจมาจากลัก ษณะของธรรมชาติ โดยรอบ เช่น เถาของเครือไม้ เส้นสายของต้นไม้และใบไม้
ภาพที่ 162 ; ภาพลายน่วยเครือ จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 163 ; ภาพลายเส้น ลายหน่วยเครือ
ภาพที่ 164 ; ภาพลายหน่วยเครือ จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 165 ; ภาพลายเส้น ลายหน่วยเครือ
ภาพที่ 166 ; ภาพลายเครือเถา จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 167 ; ภาพลายเส้น ลายเครือเถา
254
ลายต้นไม้
ภาพที่ 168 ; ภาพลายต้นไม้ จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 169 ; ภาพลายเส้น ลายต้นไม้
255
4.2.3 ลวดลายรูปสัตว์ ลวดลายรู ป สั ต ว์ เป็ น ลวดลายที่ มี ก ารได้ รั บ แรงบั ล ดาลใจมาจากสั ต ว์ ที่ มี อ ยู่ จ ริ ง ใน ธรรมชาติ และสั ตว์ในปุาหิมพานต์ที่มีต้นกําเนิดมาจากจินตนาการและคติความเชื่อดั้งเดิม ซึ่ง ลวดลายรูปสัตว์ที่พบบนผืนผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน จากการลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ 4.2.3.1 ลวดลายรูปสัตว์ที่มีอยู่จริงในธรรมชาติ ลายช้าง ช้างเป็นสัตว์ที่คุ้นเคยกับสังคมไทมาแต่ช้านาน เป็นทั้งสัตว์ที่เลี้ยงไว้งาน และเป็นทั้งสัตว์ มงคลที่ คู่กั บ สถาบั นกษั ตริ ย์ ซึ่ งเป็ นสั ญ ลั ก ษณ์ ที่ สื่อ ถึง ความยิ่ ง ใหญ่ ความเจริญ รุ่ งเรือ ง และ นอกจากนี้เมืองเงินมีตํานานเกี่ ยวกับ ช้างและช้างยังเป็นสัตว์เ ลี้ยงไว้ใช้งานสําหรับชาว ไทลื้อ เมืองเงิน มาตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ภาพที่ 170 ; ภาพลายช้าง จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
256
ภาพที่ 171 ; ภาพลายเส้น ลายช้าง
257
- ลายข้างต่างปราสาท หรือ ช้างแบกปราสาท คือ ลวดลายในลักษณะช้างมีปราสาทอยู่บน หลัง โดย ปราสาท มีความหมายทางด้านคติความเชื่อเรื่องการอุทิศ หรือการนําไปสู่สรวง สวรรค์
ภาพที่ 172 ; ภาพลายช้างต่างปราสาท จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 173 ; ภาพลายเส้น ลายช้างต่างปราสาท
258
ลายม้า สื่อถึงความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ ม้าเป็นสัตว์ชนิดหนึ่งที่มีความคุ้นเคยควบคู่กับ สังคมไทมาแต่ช้านานเช่นเดียวกับช้าง ลายม้ามักพบคู่กับลายนก และช้าง ในบางทีก็พบเป็นรูปคนขี่ ม้า หรือนกเกาะอยู่บนหลังม้า ซึ่งสื่อถึงความอดทน และการเป็นพาหนะ เพราะในอดีตชาวไทลื้อมัก นิยมใช้ม้าเป็นพาหนะในการเดินทาง
ภาพที่ 174 ; ภาพลายม้า จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 175 ; ภาพลายเส้น ลายคนขี่ม้า
259
- ลายม้าต่างปราสาท หรือ ม้าแบกปราสาท
ภาพที่ 176 ; ภาพลายม้าต่างปราสาท จากผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
260
ภาพที่ 177 ; ภาพลายเส้น ลายม้าต่างปราสาท
261
ลายนก เป็นลายที่พัฒนามาจากลายขอขนาดเล็ก สื่อถึงธรรมชาติและความอุดมสมบูรณ์ มักพบ ควบคู่กับลายม้า
ภาพที่ 178 ; ภาพลายนก จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
262
ภาพที่ 179 ; ภาพลายเส้น ลายนก
263
- ลายนกน้อย
ภาพที่ 180 ; ภาพลายนกน้อย จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 181 ; ภาพลายเส้น ลายนกน้อย
ภาพที่ 182 ; ภาพลายนกน้อย จากผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 183 ; ภาพลายเส้น ลายนกน้อย
264
- ลายนกคู่
ภาพที่ 184 ; ภาพลายนกคู่ จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 185 ; ภาพลายเส้น ลายนกคู่
265
ลายไก่ เป็นสัตว์ที่ชาวไทลื้อนิยมเลี้ยงเอาไว้เพื่อนํามาทําพิธีเลี้ยงผีประจําปี ทั้งนี้ไก่ ยังเป็นเสมือน เงินตราที่ใช้ในการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าในอดีต
ภาพที่ 186 ; ภาพลายดอกไก่น้อย จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 187 ; ภาพลายเส้น ลายดอกไก่นอ้ ย
266
4.2.3.2 ลวดลายรูปสัตว์ในอุดมคติ ลายหงส์ หงส์เป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในปุาหิมพานต์ สื่อถึงสวรรค์ ความสูงส่ง ความศักดิ์สทิ ธิ์
ภาพที่ 188 ; ภาพลายหงส์ จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 189 ; ภาพลายเส้น ลายหงส์
267
- ลายหงส์และปราสาท
ภาพที่ 190 ; ภาพลายหงส์-ปราสาท จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 191 ; ภาพลายเส้น ลายหงส์ – ปราสาท
268
ลายนาค เป็นลายสําคัญของกลุ่มชนชาติไท สื่อถึงคติดั้งเดิมในการนับถือธรรมชาติผู้ให้กําเนิด สรรพสิ่งต่าง ๆ นาคเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ได้ทั้งบนพื้นดิน ท้องน้ํา และแผ่นฟูา ซึ่งหมายถึงผู้สร้าง ความสมดุลแห่งระบบนิเวศ และมีความเกี่ยวโยงกับการนับถือผีบรรพบุรุษที่นําความอุดมสมบูร ณ์ มาให้แก่มนุษย์โลก
ภาพที่ 192 ; ภาพลายนาค จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
269
ภาพที่ 193 ; ภาพลายเส้น ลายนาค
270
ภาพที่ 194 ; ภาพลายเส้น ลายนาค
271
ลายคชสีห์ เป็นสัตว์ผสมระหว่างช้างกับสิงห์ โดยสื่อความหมายถึงการให้กําเนิดชีวิต และความมี อํานาจ
ภาพที่ 195 ; ภาพลายคชสีห์ จากผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยบุรี สปป.ลาว
ภาพที่ 196; ภาพลายเส้น ลายคชสีห์
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา การศึกษารูปแบบและลวดลาย “ผ้าหลบ” ไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษา เพื่อศึกษารูปแบบศิลปกรรมและ รวบรวมลักษณะของลายผ้าในผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน และเพื่อศึกษารูปแบบศิลปะและ กระบวนการทอผ้าหลบไทลื้อ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยผู้ ศึกษาได้ทาการเก็บข้อมูลของผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน จาก 4 หมูบ่ ้าน ภายในเขตเมืองเงิน โดยมี ขอบเขตในการศึกษาถึงรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของกลุ่มชาติพันธุ์ไท ลือ้ ในเมืองเงิน จากการอพยพย้ายถิ่นฐานจากเมืองสิบสองปันนามายังเมืองเงิน สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ศึกษาถึงกระบวนการทอผ้าหลบของชาวไทลือ้ เมืองเงินในอดีตและ ปัจจุบัน และทาการศึกษาและรวบรวมลวดลายบนผืนผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน โดยทาการเก็บ ข้อมูล จาแนก และวิเคราะห์แปลความหมายจากลวดลาย ซึ่งผลการศึกษามีดังนี้ จากการศึกษาถึงกลุ่มชาติพันธุ์ไทลือ้ ในเขตสาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พบว่า มีกลุ่มชาติพันธุ์ไทลือ้ ได้อพยพเข้ามาแล้วตัง้ ถิ่นฐานตามลุ่มน้าต่าง ๆ อันได้แก่ ลุ่มน้าอูใน แขวงพงสาลีและหลวงพระบาง ลุ่มน้าทาและลุ่มน้าสิงในแขวงหลวงน้าทา ลุ่มน้าแบงในแขวงอุดม ไชย และลุ่มน้างาวในแขวงบ่อแก้ว นอกจากนี้อพยพเข้ามาอยู่ในบริเวณที่ราบระหว่างหุบเขาใน แขวงไชยะบุรี ได้แก่ เมืองเงิน เชียงฮ่อน เชียงลม คอบ หงสา และเมืองเพียง ซึ่งจากข้อมูลทาง ประวัติศาสตร์มีการระบุว่า ชาวเมืองเงินส่วนหนึ่งโดยไม่ระบุกลุ่มชาติพันธุ์ แต่มีถิ่นกาเนิดดั้งเดิมมา จากสิบสองปันนาทางตอนใต้ของประเทศจีน และอีกส่วนหนึ่งมาจากหลวงน้าทาในราว พ.ศ. 2279 มาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่เมืองเงิน โดยอาจสันนิษฐานว่ากลุ่มชนพวกนี้มีเชือ้ ชาติของชาวไทลือ้ ที่มกี าร อพยพย้ายถิ่นฐานเนื่องจากปัจจัยทางด้านการคลาดแคลนอาหารและศึกสงครามหรือเหตุปัจจัยอื่น ๆ ในการการศึกษารูปแบบศิลปกรรมและลวดลายผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน นั้นจากการศึกษา ทั้งภาคเอกสารและการลงพืน้ ที่จริงพบว่า ในอดีตชาวไทลือ้ ทุกหลังคาเรือนจะมีการทอผ้าทุกบ้าน โดยจะเห็นได้จากบริเวณหน้าบ้านหรือใต้ถุนบ้านจะมีกี่ทอผ้าตั้งไว้อยู่ เมื่อสตรีชาวไทลือ้ ว่างจาก งานเกษตรกรรม หรืองานบ้านแล้วนั้นก็จะทาการทอผ้า ไม่ว่าจะเป็น ผ้าซิ่น หรือเครื่องนุง่ ห่ม หรือ เครื่องใช้ในครัวเรือน อาทิ ผ้าหลบ ผ้าห่ม เป็นต้น โดยในการทอผ้านั้นจะเป็นบริบทหน้าที่ของสตรี ชาวไทลือ้ โดยจะได้รับการปลูกฝังตั้งแต่เด็ก โดยมีการเริ่มเรียนรู้การทอผ้าประมาณอายุราว 7 – 8 ปี เนื่องจากในสมัยก่อนการได้รับการศึกษาในแถบชนบทหรือชานเมืองยังไม่เป็นที่เฟื่องฟูเท่าไหร่นัก โดยการเรียนรู้การทอผ้าสตรีชาวไทลือ้ จะได้รับการปลูกฝัง อบรมสั่งสอนจากมารดา ยาย หรือ
273
ญาติผใู้ หญ่ภายในบ้านที่เป็นผู้หญิง ซึ่งคอนสั่งสอนหน้าที่ของกุลสตรี งานบ้าน งานเรือน และการ ทอผ้า โดยจะเริ่มหัดทอผ้าจากการทอถุงย่าม หรือผ้าเช็ดน้อย จากเทคนิคขัดสานแบบธรรมดาที่ เรียกว่า ผ้าฮา แล้วค่อยฝึกฝนและพัฒนาการไปสู่เทคนิคที่มีความละเอียดสูงเช่น เทคนิคการทอย กดอก การขิด(มุก) การจก เกาะ ที่มคี วามยากขึ้นไปตามลาดับ โดยเมื่อสตรีชาวไทลือ้ พร้อมที่จะ ออกเรือนหรือมีครอบครัวแล้วนั้นจะเริ่มมีการทอผ้าหลบ ซึ่งคือ ผ้าปูที่นอน ที่ใช้ปูทับลงบนฟูกหรือ สะลีอีกทีหนึ่ง โดยในอดีตสตรีชาวไทลือ้ ที่จะแต่งงานพร้อมออกเรือนจะต้องเตรียมผ้าทอที่ใช้สอย ในครัวเรือนต่าง เช่น สะลี ผ้าห่ม ผ้าหลบ ไว้ให้พร้อมเป็นจานวนหลายชุด โดยผ้าหลบจะมีการทอ อย่างน้อย 4 – 6 ผืน เพื่อใช้ในชีวติ ครอบครัวใหม่ ตลอดจนใช้เป็นของไหว้ญาติผใู้ หญ่ฝุายชาย และ พร้อมเก็บไว้ใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ อีกต่างหาก การศึกษาลวดลายบนผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน จากการศึกษาพบว่ากระบวนการหรือ เทคนิคในการสร้างลายบนผืนผ้าหลบเกิดจาก เทคนิคการขิด และมีการใช้เทคนิคจก เป็นการสร้าง ลวดลายลงบนผืนผ้าเป็นเทคนิครองลงมา โดนเทคนิคจกของชายไทลือ้ เมืองเงินนั้นถือเป็นการ ได้รับอิทธิพลทางการทอผ้ามาจากชาวไทลาว ซึ่งมีความสามารถทางด้านเทคนิคการจกเป็นอย่างดี แต่อย่างไรก็ตามเมื่อนาทั้งสองเทคนิคมาสร้างลวดลายลงบนผืนผ้าหลบแล้วเป็นความลงตัวกัน อย่างสมบูรณ์ โดยไม่มีความขัดแย้ง หรือข้อเสียใด ๆ ให้ได้พบเห็น และจากการจาแนกลักษณะ ของลวดลาย ซึ่งสามารถจาแนกออกได้เป็น 3 รูปแบบ คือ ลวดลายเรขาคณิต ที่เกิดจาก จุด และ เส้น รวมตัวประกอบเข้าด้วยกันจนกลายออกมาเป็นรูปทรงต่าง ๆ และ ลวดลายพรรณพฤกษา ที่ ได้รับแรงบัลดาลใจมาจากสิ่งแวดล้อมที่อยู่ตามธรรมชาติ ต้นไม้ ดอกไม้ ลักษณะของสรรพสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ จนนามาสร้างสรรค์เกิดเป็นลวดลายขึ้น และรูปแบบสุดท้ายคือ ลวดลายรูปสัตว์ โดยมีการนาทั้งสัตว์ที่มกี ารพบเห็นในชีวิตประจาวันตามธรรมชาติ และการนาสัตว์ในคติความเชื่อที่ มีอทิ ธิพลทางด้านความเชื่อและจิตใจมาสร้างเป็นลวดลายขึ้น เพื่อเป็นการสื่อความหมายและสร้าง ความสวยงามให้กับผืนผ้า โดยลวดลายพืน้ ฐานบนผืนผ้าที่สังเกตเห็นได้จากการศึกษาในครั้งนีไ้ ด้ พบว่า ลวดลายพื้นฐานที่สามารถพบเห็นได้บนผืนผ้าหลบทุกผืนและถือว่าเป็นลายพืน้ ฐานของการ ตกแต่งก็คือ ลวดลายขอ ลายเขีย้ วหมา ลายดอกบ่าง และลายหน่วย ซึ่งทั้งหมดนี้ล้วนแล้วแต่เป็น ลวดลายที่มรี ูปทรงเป็นเรขาคณิตทั้งสิ้น จากการลงพื้นที่ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลของผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน จะพบว่า สามารถจาแนกผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ออกได้เป็นสองจาพวกคือ ผ้าหลบที่มอี ายุประมาณราว 50 – 80 ปี และผ้าหลบที่มอี ายุ 50 ปี – ปัจจุบัน ซึ่งมีความแต่งต่างที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือ ทางด้าน การใช้วัสดุในการทอ โดยผ้าหลบไทลือ้ เมืองเงิน ในสมัยก่อนอายุประมาณ 50 – 80 ปี จะนิยมใช้ ฝูายพืน้ เมืองสีขาว หรือฝูายตุ่น (โดยส่วนน้อย) ในการทอ และการนามาย้อมสีธรรมชาติ โดยใน สมัยก่อนชาวเมือเงินมีการทาหม้อห้อมย้อมสีเอง โดยมีการปลูกห้อมเอง และมีการแลกเปลี่ยนมา
274
จากชาวขมุบ้าง เพื่อใช้เป็นเส้นพิเศษในเส้นพุ่งสาหรับการสร้างลวดลายลงบนผืนผ้าหลบ แต่ในผ้า หลบอายุประมาณ 50 ปี – ปัจจุบัน เนื่องด้วยสภาพสังคมและสภาพแวดล้อมมีความเจริญไปตาม กาลเวลาส่งผลให้มีเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาแทนที่ส่งิ ของแบบเก่า ช่วยทุ่นแรงและอานวยความ สะดวก ดังเช่น วัสดุที่ใช้ในการทอผ้าของชาวไทลือ้ เมืองเงิน ที่ปัจจุบันมีการใช้เส้นไหมและเส้นฝูาย สาเร็จรูปย้อมด้วยสีเคมีจากโรงงานมาใช้ในการทอ เพราะเป็นการช่วงร่นระยะเวลาในการทอผ้า โดยไม่ต้องเสียเวลามากเหมือนสมัยก่อนที่ตอ้ งมานั่งปั่นฝูาย ย้อมฝูาย ทาทุกกระบวนการด้วย ตนเอง และชนิดของเส้นด้ายที่ใช้ในการทอก็มีการเปลี่ยนแปลงไปด้วยเช่นการ จากอดีตที่มักมีการ ใช้เส้นฝูายในการทอและตกแต่งลวดลาย หรือมีการใช้เส้นไหมย้อมสีทั้งสีธรรมชาติและสีเคมีที่ นาเข้าจากจีน มาตกแต่งด้วยเทคนิคจกลงบนผ้า ซึ่งในสมัยนีไ้ ด้เปลี่ยนการใช้เส้นพิเศษในการ ตกแต่งลวดลายลงบนผืนผ้าคือการนาเอาเส้นไหมพรมมากรอใหม่ให้มีขนาดเส้นที่เล็กลงเพื่อ นามาใช้ในการทอผ้าหลบ เนื่องจากด้วยลักษณะของสีเส้นไหมพรมที่มีความสดในและหลากหลาย จึงทาให้เป็นที่ช่นื ชอบของชาวไทลือ้ เป็นอย่างมากและสะดวกต่อการนามาใช้งานอีกด้วย และอีก อย่างหนึ่งที่มกี ารเปลี่ยนแปลงจากอดีตจนถึงปัจจุบัน คือจากการสังเกตจากลวดลายผ้าหลบหลาย ผืนในช่วงอายุต่าง ๆ โดยผ้าหลบที่มชี ่วงอายุประมาณ 50 – 80 ปี จะไม่นิยมใช้ลายรูปสัตว์หลาก หลาชนิดทอลงไปบนผืนผ้า แต่ถ้าใช้รูปสัตว์ก็จะเป็นสัตว์จาพวก นาค และลายงู มี่เป็นลักษณะ นามธรรมมากกว่า และเรื่องของการใช้สโี ดยในสมัยอดีตนิยมใช้ สีดา – สีแดง เป็นหลักในการทอ โดยมีบางผืนใช้เส้นไหมสีชมพู เขียว และ เหลือง ทอเป็นลวดลายด้วยเทคนิคจก ต่างจากในปัจจุบัน ที่นยิ มทอเป็นลวดลายรูปสัตว์ตา่ ง ๆ นานาชนิดลงบนผ้าหลบด้วยสีสันที่สดใส โดยหนึ่งผืนอาจมีสี มากกว่า 5 สีและลวดลายมากกว่า 10 ลายเป็นได้ และในปัจจุบันจากการลงพื้นที่เพื่อทาการเก็บ ข้อมูลศึกษานั้นทาให้พบว่า ในปัจจุบันทุกวันนีช้ าวไทลือ้ เมืองเงินไม่ค่อยมีการทอผ้าหลบเพื่อใช้งาน ในครัวเรือนหรือทอเก็บไว้ใช้ในงานอื่น ๆ อีกแล้ว เนื่องด้วยผูท้ ี่ทอเป็นมักจะอยู่ในช่วงอายุ 60 – 80 ปี ซึ่งต่างก็บอกว่าสายตาเริ่มไม่ค่อยดีจงึ ไม่สารมารถทอได้ หรือบ้างก็หันมาทอเป็นผ้าซิ่นชุด ซิ่น พืน้ เมือง หรือผ้าเช็ด เพื่อส่งขายให้กับนายหน้าค้าผ้าต่าง ๆ และที่พบเห็นอีกอย่างหนึ่งคือสตรีชาว ไทลือ้ ในยุคหลังมานีไ้ ม่สามารถทอผ้าได้แล้วโดยเหลือส่วนน้อยอย่างมากที่สามารถทอได้ ซึ่งเป็นผล มาจากการได้รับการศึกษาในขั้นที่สูง ส่งผลให้มีหน้าที่การงานที่ดี จึงเลือกที่จะเลิกทอผ้าและไป ประกอบอาชีพที่มีรายได้ที่มากกว่า ซึ่งก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทาให้การทอผ้าและผ้าหลบในเมืองเงิน เริ่มลดน้อยลง การศึกษาในครั้งนี้ทาให้ได้พบเห็น และได้รับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับวิถีชีวติ ของชาวไทลือ้ ในเมือง เงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทั้งจากอดีตและในปัจจุบันโดยผ่าน วัฒนธรรมการทอผ้าและการใช้ผ้า ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวติ ของชาวไทลือ้ เมืองเงิน เป็น อย่างมากทั้งกระบวนการทอผ้าเพื่อใช้มนชีวติ ประจาวัน พิธีกรรมสาคัญต่าง ๆ และลวดลายบนผืน
275
ผ้าที่ลว้ นเกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อมโดยรอบทั้งจากธรรมชาติและความเชื่อทางคติต่าง ๆ ที่สบื ทอด ต่อเนื่องกันมาหลายช่วงจนถึงปัจจุบัน และยังได้พบเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมการทอ ผ้าของชาวไทลือ้ เมืองเงินที่เปลี่ยนไปจากอดีตเพื่อจุดประสงค์ที่แตกต่างออกไปจากเดิม ทั้งสาเหตุ และปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลให้ชาวไทลือ้ เมืองเงินต้องปรับเปลี่ยนกรรมวิธีในการทอผ้าและการใช้ชีวติ
276
ข้อเสนอแนะ การศึกษารูปแบบและลวดลาย “ผ้าหลบ” ไทลือ้ เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นการศึกษาเพื่อเป็นการเก็บรักษาข้อมูลทางด้านลวดลาย และถือ เป็นการอนุรักษ์ลวดลาย หรือกระบวนการวิธีการทอผ้าแบบดั้งเดิม ที่กาลังจะสูญหายไปหรือถูก ปรับเปลี่ยนไปเพื่อเป็นการตอบสนองต่อระบบทุนนิยม ซึ่งถือเป็นการทาลายงานทางด้านศิลปกรรม อีกทางหนึ่ง ทั้งนีเ้ พื่อให้ตระหนักถึงคุณค่าของงานหัตถกรรม ที่ถือได้ว่าเป็นมรดกทางภูมิปัญญา ของบรรพชนที่มีการสืบต่อกันมาให้คงอยู่สืบไป โดยการส่งเสริมให้ทราบถึงคุณค่าและความสาคัญ ของสิ่งที่มอี ยู่ในชุมชน และควรตระหนักถึงผลเสียที่จะตามมาในภายภาคหน้าหากไม่มกี ารส่งเสริม ให้ความรู้ หรืออนุรักษ์ทรัพย์สนิ ทางด้านภูมิปัญญาเหล่านีไ้ ว้ให้คงอยู่สืบต่อไป
277
บรรณานุกรม
กฤตพงศ์ แจ่มจันทร์. (2551). “การศึกษาลวดลายผ้าเช็ดในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว” รายงานการศึกษา ปริญญาศิลปะบัณฑิต คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. แกรนท์ อีแวนส์. (2549). ประวัติศาสตร์สังเขปประเทศลาว. แปลโดย ดุษฎี เฮย์มอนด์. เชียงใหม่ : ซิลด์เวอร์ม. ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล. (2551). มรดกวัฒนธรรมผ้าทอไทลือ้ = Cultural Heritage of Tai Lue Textiles. เชียงใหม่ : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และแพทรีเซีย ชีสแมน. (2533). ผ้าล้านนา ยวน ลื้อ ลาว = Lan Na Textiles : Yuan Lue Lao. (พิมพ์ครัง้ ที่ 3). เชียงใหม่ : โครงการศูนย์ส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. นิพัทธเวช สืบแสง. (2539). สังคมและวัฒนธรรมชาวขมุกับการพัฒนา. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม. บุญถิ่น อินดาฤทธิ์. (2551). ผ้าซิ่นไทลือ้ . กรุงเทพฯ : อมรินทร์ บุ๊ค เซ็นเตอร์ จากัด. บุญช่วย ศรีสวัสดิ์. (2547). ราชอาณาจักรลาว. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ศยาม. ประชัน รักพงษ์. (2537). “ลือ้ ในลาว” . ใน เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “วัฒนธรรมไทลือ้ การปรับตัวในกระแสของการเปลี่ยนแปลง” วันที่ 16 – 17 กันยายน 2537, เชียงใหม่ : สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. _________. (2539). การศึกษาสภาพเศรษฐกิจและวัฒนธรรมชุมชนในเขตเส้นทาง สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ ไทย-ลาว-จีน = A study of economics and local culture in the economic quardrangle route Thailand-Laos-China. เชียงใหม่ : โครงการเพื่อนบ้านศึกษา สถาบันราชภัฏเชียงใหม่. มาริ ซากาโมโต. (2556). กระบวนการสร้างอัตลักษณ์และความสัมพันธ์ระหว่างชาวขมุกับ ไทลือ้ : ศึกษาจากวัฒนธรรมผ้าทอในเมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สปป. ลาว. บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มาร์ติน สจ๊วต ฝอกซ์. (2553). ประวัติศาสตร์ลาว = A History of Laos. แปลโดย จิราภรณ์ วิญํูรัตน์. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย
278
รัตนาพร เศรษฐกุล. (2537). การอพยพและการตั้งถิ่นฐานของลื้อเมืองน่าน” . ใน เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง “วัฒนธรรมไทลือ้ กับการปรับตัวในกระแส ของการเปลี่ยนแปลง” (หน้าที่ 2-11), เชียงใหม่ : สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และสานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. วิบูลย์ ลีส้ ุวรรณ. (2550). สารานุกรมผ้าและเครื่องถักทอ. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. สรัสวดี อ๋องสกุล. (2552). ประวัติศาสตร์ลา้ นนา. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ อมรินทร์. สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2541). สารานุกรมกลุ่มชาตุพันธุ์ : ขมุ. กรุงเทพฯ : สานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย สุรชัย ศิริไกล. (2548). การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมืองลาว. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ. ไสว เชื่อสะอาด. (2538). ไทลือ้ – ล้านนา ถึง สิบสองป๎นนา. สานักงานศึกษาธิการอาเภอ เชียงคา จังหวัดพะเยา.
ภาษาลาว กรมวัฒนธรรมมหาชน กระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรม. (2002). เวียกงาน วัฒนธรรมมหาชนในไลยะใหม่. เวียงจันทน์ : กรมวัฒนธรรมมหาชน. สานักงานการท่องเที่ยวเขตเมืองเงิน กระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรม. (2012). ประวัติศาสตร์ของเมืองเงิน. (เอกสารอัดสาเนา). สานักงานการปกครองเขตเมืองเงิน. (2012ก). เอกสารรวบรวมคาปราศรัยของเจ้า เมืองในพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 20 ปีการก่อตัง้ เมืองเงิน. (เอกสารอัดสาเนา). สานักงานการปกครองเขตเมืองเงิน. (2012ข). บทรายงานผลการจัดตั้ง ปฏิบัติขอ้ แข่งขัน 3 ดีของสหพันธ์แม่หญิง การสร้างบ้านพัฒนาและบ้านวัฒนธรรม. (เอกสารอัดสาเนา).
279
ประวัติผู้เขียน
ชื่อ – สกุล วัน / เดือน / ปีเกิด ที่อยู่ ประวัติการศึกษา
นายธนกร สุธีรศักดิ์ 9 พฤศจิกายน 2539 2/1 ถนนอาคารสงเคราะห์ ซอนน้้าผึ้ง ต้าบลสะเตง อ้าเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 95000 ส้าเร็จการศึกษา มัธยมต้น – มัธยมปลาย โรงเรียนคณะราษฎรบ้ารุง จังหวัดยะลา