๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา ประวัติศาสตร วรรณกรรม และวัฒนธรรม วาดวยวิวัฒนาการการเดินทางและการขนสงจากบางกอก – ศาลายา
อภิลักษณ เกษมผลกูล (บรรณาธิการ)
ศูนยสยามทรรศนศึกษา คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล จัดพิมพเพื่อเป-นบรรณรฦกเนื่องในโอกาสการจัดงาน “เลาขานตํานานศาลายา” ครั้งที่ ๘ ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๗
ข
| ๑๑๐ ป> สถานีรถไฟศาลายา
๑๑๐ ป> สถานีรถไฟศาลายา ประวัตศิ าสตร วรรณกรรม และวัฒนธรรม วาดวยวิวัฒนาการการเดินทางและการขนสงจากบางกอก – ศาลายา ISBN 978-616-279-428-5 พิมพครั้งแรก ๕๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๕๗ ศูนยสยามทรรศนศึกษา คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล จัดพิมพเผยแพรในโอกาสการจัดงาน “เลาขานตํานานศาลายา” ครั้งที่ ๘
ที่ปรึกษา ศาสตราจารย ดร. คุณหญิงสุริยา รัตนกุล อาจารยวิกัลย พงศพนิตานนท
ประธานที่ปรึกษาศูนยสยามทรรศนศึกษา ที่ปรึกษาศูนยสยามทรรศนศึกษา
บรรณาธิการ ผู&ช(วยศาสตราจารย ดร.อภิลกั ษณ เกษมผลกูล
คณบดีคณะศิลปศาสตร
ผูชวยบรรณาธิการ อาจารยศิธรา จุฑารัตน นายดรณ แก&วนัย นางสาวพัชรี ศรีเพ็ญแก&ว
ประธานศูนยสยามทรรศนศึกษา หน(วยวิชาการเชิงสร&างสรรคและชุมชนสัมพันธ หน(วยวิชาการเชิงสร&างสรรคและชุมชนสัมพันธ
ออกแบบปก: นายสุทธิพงษ ตะเภาทอง
หน(วยศิลปกรรม คณะศิลปศาสตร
พิมพที่ ห&างหุ&นส(วนจํากัด สามลดา เลขที่ ๙/๑๒๐๕ หมู( ๑ ซอยสะแกงาม ๓๕/๓ แยก ๖ ถนนสะแกงาม แขวง แสมดํา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๕๐ โทรศัพท ๐๒-๘๙๕๒๓๐๐-๓, ๐๒-๔๖๒๐๓๘๐ โทรสาร ๐๒-๔๖๒๐๓๐๓, ๐๒-๘๙๕๓๓๑๑
คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล |
ค
คํานํา งา น “ เล( า ขา นตํ า นา น ศา ล าย า” เปB น งา นป ร ะจํ า ปC ข อ ง ชาวศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดลที่มุ(งสร&างสายสัมพันธระหว(างนักวิชาการ ด&า น “พุ ท ธมณฑลศึกษา” กั บปราชญชาวบ&า น ตลอดจนผู&นํ าชุ ม ชน และ องคกรปกครองส(วนท&องถิ่น โดยดําเนินการจัดมาอย(างต(อเนื่องเปBนเวลา ๘ ปC โดยแต(ละปCจะได&ดําเนินการจัดเสวนาวิชาการเชิงประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ในแง(มุมต(างๆ โดยใช&พื้นที่อําเภอพุทธมณฑลเปBนกรณีศึกษา ภายหลังเสร็จสิ้น งานจะมีการค&นคว&าเอกสารและเก็บข&อมูล เพิ่มเติม ก( อนจะเรีย บเรียงและ รวบรวมเนื้อหาของการเสวนานั้นแล&วเผยแพร(แก(ผู&สนใจในปCถัดไป หนังสือ “๑๑๐ ป> สถานีรถไฟศาลายา” ก็เช(นกัน เปBนหนังสือที่ คณะทํางานได&นําเนื้อหามาจากการบรรยายและเสวนาในงานเล(าขานตํานาน ศาลายาครั้งที่ ๗ ตอน “๑๑๐ ป> สถานีรถไฟศาลายา” รวมถึงได&รวบรวม เอกสารประวัติศาสตรเกี่ยวกับการจัดตั้งสถานีรถไฟ และ “นิราศนราธิป” พระนิพนธในพระเจ&าบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศที่ทรงเล(าถึง การเดินทางด&วยรถไฟไปปLกษใต& มีใจความตอนหนึ่งที่ทรงกล(าวถึงพื้นที่ใน อําเภอพุทธมณฑล จึงได&เชิญมาลงไว& ณ ที่นี้ด&วย ขอขอบพระคุ ณ วิ ท ยากรและผู& มี ส( ว นเกี่ ย วข& อ งทุ ก ท( า น ที่ ทํ า ให& หนังสือเล(มนี้สําเร็จเรียบร&อยลงด&วยดี ตลอดจนขอขอบคุณคณะกรรมการ เผยแพร(ผลงานวิชาการคณะศิลปศาสตร ที่สนับสนุนการจัดพิมพครั้งนี้
ง
| ๑๑๐ ป> สถานีรถไฟศาลายา
หวัง เปBน อย( างยิ่ งว( าหนั งสือน&อยเล( มนี้ จะช( วยจุ ดพลังในการศึ กษา ท&องถิ่นให&เติบโตและยั่งยืนต(อไป
(ผู&ช(วยศาสตราจารย ดร.อภิลักษณ เกษมผลกูล) คณบดีคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, ศาลายา
คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล |
จ
สารบัญ คํานํา ..............................................................................................................ค บรรยายเปดสถานี “นั่งรถไฟไปเติมฝ*น” โดยทรงกลด บางยี่ขนั .................................................................... ๑ เสวนาเรื่อง “รถไฟ เรือเมล มอเตอรเวย รถไฟฟ.า: วิวัฒนาการ การเดินทางและการขนสง จากบางกอก - ศาลายา ...................๒๑ ๑๑๐ ป8 สถานีรถไฟ “ศาลายา” (พ.ศ. ๒๔๔๖ – ๒๕๕๖) อภิลักษณ เกษมผลกูล ..................................................................๕๑ “นิราศนราธิปฯ เรียก ดุษฎีจารึกไปป*กษใต พุทธศก ๒๔๗๑”: นิราศที่เลาเรื่องตามเสนทางรถไฟสายใต อภิลักษณ เกษมผลกูล ...................................................................๖๕ ภาคผนวก โครงการ “เล(าขานตํานานศาลายา” ครั้งที่ ๘ .............................................๙๑ กําหนดการงาน “เล(าขานตํานานศาลายา” ครั้งที่ ๘ ..................................๙๗ คําสั่งแต(งตัง้ คณะกรรมการจัดโครงการฯ ....................................................๙๙ ประมวลภาพงาน “เล(าขานตํานานศาลายา” ครั้งที่ ๗ ............................ ๑๐๕ โครงการจัดพิมพหนังสือชุด “ศาลายาศึกษา” ......................................... ๑๑๙ ประวัติและความเปBนมาของศูนยสยามทรรศนศึกษา .............................. ๑๒๒ แนะนําเอกสารวิชาการของศูนยสยามทรรศนศึกษา ................................ ๑๒๔
ฉ
| ๑๑๐ ป> สถานีรถไฟศาลายา
บรรยายเปดสถานี
“นั่งรถไฟไปเติมฝน” ทรงกลด บางยี่ขัน บรรณาธิการนิตยสาร a day
กอนอื่นเลยควรจะเริ่มตนจากการพูดถึงเกี่ยวกับศาลายาสักหนอย ซึ่งผมมีอยูนอยมากเลย ผมเป$นบรรณาธิการนิตยสารชื่อวา “a day” เมื่อสัก ๔ - ๕ ป0กอน a day มีการทํา a day ฉบับหนึ่ง เป$นฉบับเรื่องการเดินทาง เที่ยวเมืองไทย เราก็คิด กันวาหนาปกจะเป$น รูปอะไรดี คิด กันเยอะมากวา อยางแรกนาจะมีคุณเรย8 แมคโดนัลมาขึ้นปก ดูเป$นคนเดินทางดี ถัดมาคือ จะเอาคุ ณ เรย8 ม าทํ า อะไรดี เราก็ คิ ด วาคุ ณ เรย8 น าจะมาขึ้ น รถไฟนาจะดี
๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เพราะรถไฟดูเป$นสัญ ลักษณ8ของการเดินทางที่ดี ก็เลยคิดวาเอาคุณเรย8ม า นั่งรถไฟดีกวา ถัดมาก็คือจะนั่งขบวนไหน ไปไหนดี เราก็ทําการสํารวจขอมูล แลวก็พบวารถไฟตูไมคลาสสิกๆ มันก็มีเหลืออยูไมกี่ตู แลวหนึ่งในนั้นก็คือเสน ที่วิ่งจากสถานีรถไฟบางกอกนอย สถานีธนบุรี ไปถึงทางนครปฐม เราก็เลย จัดแจงจองตั๋วแลวชวนคุณเรย8มาถายปก เอาทีมงาน เอานักแสดงสมทบ มา ถายปก ก็เริ่มตั้งแตที่สถานี นั่งไปในตูแลวก็รอบรรยากาศ ถายไปเรื่อยจน มาถึงศาลายา แลวเราก็คิดวานาจะเพียงพอแลว เลยลงมาจากโบกี้รถไฟที่ ศาลายาแลวก็นั่งรถตูกลับ นั่นก็เป$นความเกี่ยวของสั้นๆ เกี่ยวกับสถานีแหงนี้ แลวถาเกิ ด ใครไปเห็ น ปกเลมนั้ น ก็ จ ะพบวา ในระหวางทางที่ เ ราถาย ซึ่ง ถายเยอะมาก มี ถายกับ นายตรวจ ถายตอนนั่ งมองรถไฟ นั่ ง กิ น ไกยาง นั่งรองเพลงตามประสารถไฟชั้นสามมีทุกอยาง แตรูปปกที่ใชเป$นรูปปกที่เรา ถายกันเลนๆ ตอนสถานีรถไฟกอนออก คุณเรย8ก็เหมือนยืนกอนจะขึ้น รถไฟที่ อุตสาห8จัดมาก็ไมไดใช แตมาใชรูปที่เราถายกันเลนๆ กอนขึ้นรถไฟที่สถานี เทานั้นเอง
รถไฟในวัยเยาว ผมขอเลาเรื่ องตั วผมเองกับ รถไฟ ผมคงเป$ นตัว แทนทุกทานไดวา ความผู กพั นของผมกั บรถไฟคงจะไมหนี จ ากพวกทานสั กเทาไหร กอนอื่ น ผมตองบอกวาผมรั ก รถไฟไทยมากนะครั บ เพราะฉะนั้ น คํ า พู ด ใดตอไปนี้ ที่พูดไปแลวอาจจะดูเหมือนไมคอยรัก แตจริงๆ ผมรักรถไฟไทยมากนะครับ ผมเชื่อวาผมเป$นคนหนึ่งที่รักรถไฟไทยมากนะครับ ถึงแมจะมีคนบนวามันไมดี อยางนั้นอยางนี้ มันก็โอเค ก็เป$นของมันอยางนั้นแหละครับ ถาเกิดใครรับสิ่งนี้ ไมไดก็ ไปรั บสิ่ งอื่ น ดีกวาเพราะวามัน ก็เป$ นอยางนี้แ หละ อีกอยางผมไมได
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล |
๓
ขึ้ น เครื่ อ งบิ น ในประเทศมานานมากแลว ผมไมไดบิ น ในประเทศมาสั ก สองป0กวาแลว เพราะผมรูสึกวามันปลอยคาร8บอนเยอะไปหนอยก็เลยเดินทาง ดวยรถบั ส รถทั ว ร8 รถไฟในประเทศ ก็ เ ลยรั ก ใครกั บ รถไฟมากขึ้ น ไปอี ก ผมจะขอเลาความผูกพันกับรถไฟ ในชวงแรกก็คงเหมือนกับทุกๆ ทาน ผมนั่ง รถไฟครั้งแรกตอนเรียนมหาวิทยาลัย ผมเรียนที่จุฬาฯ แลวก็มีกิจกรรมไป รับนองที่ตางจังหวั ดบาง หรือวาไปออกคายที่ตางจังหวั ดบาง ตามประสา มหาวิทยาลัยที่มีงบประมาณไมมากนัก เราก็ไปรถไฟชั้นสามกัน กอนขึ้นรถไฟ มโนภาพของพวกเราคือวารถไฟมันก็คลาสสิกดี รถไฟมันคงสนุก การขึ้นรถไฟ คงไมตางไปจากควีนปาร8คที่เป$นที่หนึ่งที่สรางประสบการณ8ที่ดีแนๆ เราก็รู อยูแลววามันชามันคงไมสะดวกสบาย ทริปแรกที่ผมไป จําไดวาไปเชียงใหม นั่งรถไฟจากกรุงเทพฯ ไปเชียงใหม ออกตอนบายสามก็จะไปถึงที่นั่นสักตอน เชาๆ เป$นรถไฟชั้นสามที่สมบูรณ8แบบมาก ตูไมๆ เบาะสีเขียวตรงๆ ไมสโลฟ ตั้ง ตรง ๙๐ องศา เป$ น เหมือนรถทหารประมาณนั้น เลย ผมก็นั่ ง ไปเรื่อยๆ อยางมีความสุขดี จนกระทั่งถึงเวลาใกลนอน ก็เลยรูสึกวาเราจะนอนกันยังไง เพราะวานึ กภาพวาเบาะนั่ ง กั น อยู ๔ คน นั่ ง ตรงกั น ขามกั น การหลั บ จะ หลับกันยังไงถึงจะสบายสุด ลําพังนั่งเขาก็ชนกันอยูแลว หลายๆ คนเริ่มจะ นั่งหลับได บางคนก็เริ่มหาวิธีการสรางสรรค8โดยนอนบนตักเพื่อนบาง บางคน ก็เริ่มคิดวา หรือวาเราจะขึ้นไปนอนบนชั้นวางของดี บางคนก็ขึ้นไปนอน แลว เอากระเปJาลงมาขางลาง เพราะกระเปJาเอาวางตรงไหนก็ไดแลวป0นขึ้นไปนอน ขางบน ซึ่งมันก็สบาย มันอยูตัวมาก ขางบนเป$นที่ที่ดีมาก บางคนก็อินดี้ขึ้นอีก ก็นอนใตเกาอี้ก็ส บายกวา ก็ ลงไปนอนใตเกาอี้กัน แตรถไฟชั้น สามลํ าบาก เพราะวาคนเดิ น ไปเดิ น มาทั้ ง คื น คงจะพอนึ ก ออกวาจะมี ค นเดิ น ตลอด คนขายของบาง ผูโดยสารบาง เพราะฉะนั้นพวกที่นอนกั บพื้นก็จะถูกขาม ตลอด บางคนก็เดินไปหาพื้นที่ที่กวางกวาก็คือบริเวณหนาหองน้ํา แตพวกเรา
๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ก็ไมมีใครอาจหาญไปนอนบนหลังคานะครับ บางคนก็ไปนั่งที่บันไดซึ่งผมก็ คิดวามันอันตรายพอสมควร จากทริปนั้นผมก็เจอประสบการณ8ที่ตื่นเตนบนรถไฟชั้นสามซึ่งผมคิด วามันสนุกดี บางทีดึกๆ แลวหองน้ํารถไฟชั้นสามก็คงเหมือนกันหมดทุกชั้น แหละครับ บางทีก็เดินไปเขาหองน้ําซึ่งก็นาจะรูวามันจะมี ๑ – ๒ หองตอตู ซึ่งถามันล็อกก็นาจะรูวามีคนเขาอยู เราก็ตองยืนรอนะครับ ตองรอคนออกมา ผมก็เป$นแบบนั้นแหละครับ ผมก็เดินไปเจอหองล็อกอยูก็ยืนรอ พอยืนรอเสร็จ ก็เจอพี่คนหนึ่งเดินออกมาแลวผมก็เขาไป พอผมเดินเขาไปจังหวะนั้นประตู เปMดออก พอผมเดินเขาผมเจอผูชายคนหนึ่งอยูขางใน คือเขาเขาไป ๒ คน ผมรูสึกวาหองน้ําชั้นสามบรรยากาศดีหรือ ผมก็ไมทราบเหมือนกัน ก็เป$นเรื่อง ที่นารักดีของรถไฟชั้นสาม ผมวาตองไปลองดู แตไมใชลองแบบนั้นนะครับ
เสนหของรถไฟไทย อีกอยางที่ ผ มวานารั กมากและเป$ น ลั กษณะเฉพาะอยางหนึ่ ง ของ อาหารที่มาขายบนรถไฟ ซึ่งนาจะพอทราบวาแตละสถานีจะมีอาหารที่อรอย แตกตางกั น ออกไป สายเหนื อก็จ ะมีอาหารตามเมืองตางๆ จากกรุ ง เทพฯ รวมถึงคนที่รองขายบนรถไฟดวย ตอนหลังผมนอนบนตูนอนชั้นสองก็จะไมมี ของมาขาย ซึ่ ง พวกนี้ ก็ จ ะคลาสสิ ก นอยลง เรื่ อ งของการยื่ น หั ว ออกไป ซื้ออาหารผมวามันเป$นเรื่องที่คลาสสิกมากๆ นะครับ ประสบการณ8รถไฟชั้นสามเราก็ไดเรียนรูมา พอเราโตขึ้นมา พอเรา แกขึ้นมา แลวเราก็ไมสามารถขึ้นไปนอนบนชั้นวางของไดแลว เราก็เริ่มนอน รถไฟตูนอน บางทีก็เดินไปตูเสบียง ลองนึกภาพตูนอนที่เรานอนปกติก็เป$น ตูนอนที่คอนขางดีระดับหนึ่งสะอาดสะอานเป$นระเบียบ การเดินจากตูนอนไป
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล |
๕
ตูเสบียงบางครั้งตองผานตูชั้นสาม คือผมรูสึกเหมือนผมเป$นเจาชายสิทธัตถะ ที่ออกจากวังมา ผมก็จะไปเจอพสกนิกรที่อดๆ อยากๆ คือผมอยากบวชเลย จริ ง ๆ นะ ผมลื ม ภาพนั้ น ไปแลว ผมเจอคนอุ มลู ก ยิ่ ง ไปสายใต จะมี ขนมหมอแกงขึ้ น มาขายตั้ ง แตยั ง ไปไมถึ ง ไหน ตั้ ง แตบางซื่ อก็ ขายกั น แลว แลวเราก็ จ ะเห็ น ขนมหมอแกงที่ ข าย แขวนอยู บนหั ว ชั้ น วางของ แขวนตองแตงๆ ไปตลอดทุ ก ตู เห็ น คนปู ห นั ง สื อ พิ ม พ8 อ ยางที่ ผ มเคยทํ า นอนกับพื้นไปตลอดทาง แลวรถไฟชั้นสามเป$นรถไฟฟรีดวยก็จะยิ่งลําบาก เป$นบรรยากาศที่เราคิดถึงสมัยนั้น พอโตขึ้นมาจากชวงเรียนมหาวิทยาลัยแลว ผมก็มีโอกาสจัดทริปชวนคนไปขึ้นรถไฟบอยๆ มีโอกาสสํารวจขอมูลเรื่องรถไฟ นิดๆ หนอยๆ ผมรูสึกวาผมมองรถไฟเปลี่ยนไป จากการมองเป$นเครื่องดับ ทุ ก ข8 เ ราก็ ม องสนุ ก ขึ้ น คื อ พอเรามองรถไฟอยางตั้ ง คํ า ถาม ผมคนพบวา มัน สนุ กขึ้ นเยอะเลยครั บ จากบางคนที่ ม องวารถไฟเป$ น พาหนะที่ มั น ชาๆ เมื่อไหรจะถึงก็ไมรู แตพอผมมีคําถามหลายๆ อยางเกิดขึ้น ผมวามันก็สนุกดี อยางเชนผมก็อยากรูวา รถไฟตรงหองคนขับหนาตาเป$นยังไง ผมก็เดินไปดู ชวงที่ผมนั่งรถไฟสายจากวงเวียนใหญไปสมุทรสาครระยะทางสั้นๆ ตูก็จะสั้นๆ สามารถเดินหาหองคนขับไดอยางไมยากมาก ผมก็เดินไป ผมก็เห็นหองคนขับ คราวๆ ผมสงสัยวา รถไฟมีคันเรงหรือเปลา มีเบรกไหม เวลาเขาเหยียบเบรก เขาเหยี ย บกั น ยั ง ไง แลวรถไฟมี กระจกมองขางไหม เวลาเขาจอด เขาจะ มองขางกันยังไง ผมก็ไปถามเขา ไปถามคนขับวาเป$นยังไงบาง แลวผมก็พบวา ผมไมไดเป$นคนเดียวในโลก แตมีคนเป$นแบบผมเยอะมาก บางคนพาลูกที่ขวบ สองขวบ สามขวบ พาไปหองขับรถไฟ แลวขอเขาขับ แลวเขาก็ใหนะครับ ใจดีมาก นองก็มานั่งจับพวงมาลัยแลวก็กดปุNมอะไรสักอยาง ซึ่งมันนารักดี แตในใจก็นึ กวา พี่ ผมนั่งรถไฟขบวนนี้ดวยนะครับ เอาใหถึงนะพี่ แตมัน ก็ นารั ก มากนะ ซึ่ ง หลายคนชอบคิ ด วารถไฟเป$ น พาหนะที่ ไ มคอยมี ชี วิ ต
๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
สักเทาไหร ผมเถียงมากๆ เพราะวาคนขับเอย นายตั๋วเอย ทุกคนถาเราคุย กับเขา เขาจะมีเรื่องเลามากมาย โรงเรียนสอนขับรถไฟมีเรื่องระบบจัดการรถไฟที่ผมชอบมาก พอผม ไดรูจักสิ่งหนึ่งขึ้นมา ผมรูสึกวาทุกครั้งที่นั่งรถไฟผานสถานี ผมจะดูสิ่งหนึ่ง ผมไมทราบวามีใครเคยสังเกตหรือเปลา เขาจะมีการโยนหวงกุญแจหวงหนึ่ง คือรถไฟไทยเป$นรถไฟรางเดียวถูกไหมครับ ที่เราจะวิ่งหลบกัน ไมสามารถ สวนกันได ดังนั้นพื้นที่ที่เป$นเสนเดียวก็จะมีการใหทางกันกอนเกิดขึ้น สิ่งที่ ใหทางจะมี สั ญ ลั ก ษณ8 เ ป$ น ลู ก กุ ญ แจที่ ถู ก คลองอยู บนหวง หวงหนึ่ ง มี กระเปJาหนังเล็กๆ มีลูกกุญแจหรือลูกแกวอยูขางใน เมื่อรถไฟมาถึง อยางแรก ตองโยนหวงลงบนเสาใหได แลวยื่นมือควาหวงใหไดเพื่อที่จะไปตอ คือถาควา หวงไมไดก็ไมไดสัญญาณที่จะไปตอ ผมวาเหมือนการเลนเกมมากเลย อาจจะ นึกภาพไมออก อยางตรงผมเป$ นรถไฟมีหนาตางขางผม ผมก็เปMดหนาตาง ออกมา พอจะถึ ง สถานี รถไฟก็จ ะชะลอๆ แลวพยายามยื่ นมื อไปควาหวง จากเสาใหทัน แลวพยายามโยนออกใหทัน มันก็สนุกดี ถาใครมีโอกาสก็ลองไป สังเกตดู เทคนิคตรงนี้มันนาจะสัก ๑๐๐ ป0 ที่แลวก็ยังใชอยู ผมวามันคลาสสิก เห็นบอกวาบางสถานีจะเปลี่ยนเป$นระบบดิจิตอลหมดเพื่อใหมันงายขึ้น พอผม มีโอกาสไดศึกษาเรื่องพวกนี้มากขึ้น ก็สนุกขึ้น พยายามไปถามเขาวาตั๋วแข็งๆ บัตรเล็กๆ เกาๆ มันหายไปไหนกัน ซึ่งสีสันมันสวยมากนะ ผมก็เคยไปตามหา ขอซื้อที่เขาไมใชแลวเขาก็ขายใหมา ผมวามันเป$นความทรงจําที่มันนารักมากๆ หรือแมแตคุณตํารวจบนรถไฟก็ตาม ผมเคยถามวาผมทําของหายบนรถไฟ ผมตองทํายังไง เขาก็บอกวานองก็ตองไปแจงความที่สถานีทองที่ที่เกิดเหตุ สมมติวาผมขึ้นรถไฟจากเชียงใหมไปกรุงเทพฯ แลวผมทํากระเปJาสตางค8หาย ที่พิษณุโลก แลวผมมาบอกเขาที่ลพบุรี เขาก็บอกวานองก็ตองไปแจงความ
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล |
๗
ที่ พิ ษ ณุ โ ลก เพราะวากระเปJ า สตางค8 น องหายที่ พิ ษ ณุ โ ลก คื อ ตํ า รวจเขา อินดี้มาก ตํารวจรถไฟ
ตั๋วรถไฟศาลายา – ธนบุรี ในอดีต (อนุเคราะหตั๋วรถไฟจาก นายแพทยวัฒนา เทียมปฐม ป*จจุบันจัดแสดงที่ศูนยสยามทรรศนศึกษา คณะศิลปศาสตร)
ประสบการณรถไฟในตางแดน พอผมมีโอกาสไดเดินทางไปไกลมากขึ้น ผมก็เริ่มมีโอกาสไปญี่ปุNน เป$ น ทริ ป ทริ ป หนึ่ ง ที่ ผ มไดนั่ ง รถไฟกั บ ขี่ จั ก รยานในญี่ ปุN น ครึ่ ง ประเทศ จากโตเกี ย วไปถึ ง ฟุ กุ โ อกะ ผมนั่ ง รถไฟทุ ก ประเภททั้ ง รถไฟชิ น คั น เซ็ น รถไฟใตดิน รถไฟเอกชน รถไฟเจอาร8 รถไฟชา รถไฟเร็ว เอาทุกๆ รูปแบบเลย
๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เอาจักรยานพับไปดวยก็แวะลงเที่ยวตามเมืองตางๆ ที่นี่ทําใหผมเรียนรูรถไฟ เยอะมากครับ เริ่มตั้งแตที่โตเกียว มีประโยคหนึ่งบอกวารถไฟคือขาคนโตเกียว เพราะคนโตเกียวไมเดิน ขึ้นรถไฟเอา เพราะฉะนั้นรถไฟจะเป$นเหมือนขาของ คนโตเกียว แลวผมก็รูสึกวารถไฟที่ญี่ปุNนเขามีกฎ มีระเบียบอะไรหลายๆ อยาง ที่ บ านเราอาจจะรู สึ ก วาเวอร8 ไ ปหรื อ เปลา แตผมวามั น ก็ ดี น ะ อยางเชน มารยาทในการขึ้ น รถไฟ ผมวาประเทศไทยเราเป$ น ประเทศที่ มี ม ารยาท คนไทยเราจะไมเอาเทาชี้หนาคนอื่น เราจะไมตบหัวกัน เราถือวาประเทศเรา อารยะ มีมารยาท ผมวานาเสียดายนิดเดียว ประเทศเรามีการหยุดการพัฒนา มารยาทใหมมาหลายสิ บ ป0 ม ากแลว มารยาทสุ ด ทายที่ เรากํ า หนดวาเป$ น มารยาทมันหาสิบป0หรือหนึ่งรอยป0กอนไมรู แตในสังคมรุนใหมๆ เราไมเคย บอกวาอั น นี้ คื อ มารยาท อยางที่ ญี่ ปุN น เขาจะบอกวาหลายๆ อยาง ผิ ด มารยาทมาก อยางเชนการคุ ย โทรศั พ ท8 ใ นรถไฟฟT า ใตดิ น เป$ น การ ผิดมารยาทมาก เพราะมันเสียงดัง การสงเสียงคุยเสียงดังบนรถไฟถือวาเป$น การเสี ยมารยาทมาก ผมเคยเจอการคุ ยโทรศัพ ท8 คนญี่ปุN นเขาซีเรีย สเรื่อง ลูกคามาก ลู กคาคื อพระเจาถาลู กคาโทรมาไมรั บ ถือวาเป$ น เรื่องใหญมาก เขาจะรับโทรศัพท8เขาตองลงจากรถไฟ ออกไปขางนอกแลวคอยรับโทรศัพท8 อยางมื อ ถื อ เราก็ จ ะมี ใ หตั้ ง วาปM ด เครื่ อ ง แตที่ ญี่ ปุN น จะมี อ ยู โหมดหนึ่ ง คื อ โหมดขึ้ น รถไฟอยู ถาไมรั บ คื อ ขึ้ น รถไฟอยู รั บ ไมได ผมวามั น ก็ ส ะทอน อะไรหลายๆ อยางที่นารัก อีกเรื่องที่ผมชอบมาก คือผมเอาจักรยานไปดวย จักรยานเขาก็มีกฎชัดเจนมากวาหามขึ้นรถไฟถาคุณไมมีถุงใส ตอนแรกผม ก็คิดวาทําไมถึงเป$นอยางนั้นละ ไมนาจะเป$นอยางนั้นนะ ซึ่งเขาก็ใหเหตุผลวา จักรยานคุณเอาเขาไปได แตคุณตองเคารพคนที่ ขึ้นรถไฟดวย คือคนที่เขา ขึ้นรถไฟคนแนนๆ จักรยานคุณลอเปUVอนหรือเปลา ไปขูด ไปขีดคนหรือเปลา ทํ า ใหเขารองเรี ย นได สวนมากจั กรยานในญี่ ปุN น ถาจะขึ้ น รถไฟตองเอาใส
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล |
๙
กระเปJากอนแลวเอาเขาไป ก็รูสึกวาโอเคเป$นการอยูรวมกันที่โอเคมากของ ชาวจักรยานและของชาวรถไฟที่ สามารถอยูรวมกัน ได ที่ ญี่ ปุN นในตั วเมื อง โตเกียวก็สอนผมเรื่องนี้มา ทีนี้เมื่อผมมีโอกาสเดินทางขามเมืองไปตางเมือง ชินคันเซ็นก็เป$น เรื่องที่นารักมาก ผมก็เป$นเหมือนคนประเทศโลกที่สาม ที่ไปเที่ยวประเทศที่ เจริญแลว ผมก็ไมคิดไมฝXนวาชินคันเซ็นเป$นรถไฟเร็วๆ ที่มีหลายๆ ตู มีบางตูที่ เรียกวา ไซเรนคาร8ท เป$นตูเงียบ เป$นตูที่เงียบมากไมมีเสียงอะไรเลย นอกจาก เสียงประกาศวาถึงสถานีนี้แลว ซึ่งเขาประกาศเบามาก ประกาศผูดี ซึ่งถา หลับลึกผมวาไมมีทางตื่น ซึ่งประเทศเขาเจริญขนาดนั้น มีสมบัติผูดีที่ตองการ ความเป$นสวนตัวขนาดนั้น แลวก็ มีหองพั กตรงที่ เชื่ อมระหวางตู มีหองน้ํ า ใหเขา มีโทรศัพท8ใหโทรไดบริเวณนั้น ชินคันเซ็นผมวาเป$นนวัตกรรมที่ดี รถไฟ ทองถิ่ น ก็ น ารั กดี บางขบวนก็ ง ายๆ มี ค นขั บ อยู คนหนึ่ ง คนจะขึ้ น จะลงก็ จายเงินกับคนๆ นั้นแหละ เหมือนขึ้นรถเมล8 คือขึ้นไปก็ไปหยอดเงินก็เดิ น เขาไป พอคนขึ้นครบ รถไฟก็คอยออก เป$นวิธีการจัดการที่นารักดี ญี่ปุNนผมก็ ไปอยางคนนอกธรรมดา จนกระทั่งผมไปเจอมิวเซียมรถไฟที่เมืองฟูจิโกะซึ่ง อยูแถวเมืองฟุกุโอกะ หางออกไปสักสองสามสถานีรถไฟไมไกลเทาไหร ฟูจิโกะ มีมิวเซียมรถไฟ แตตองเลากอนวาญี่ปุNนจะมีเกาะอยูหลายเกาะ เกาะนี้ชื่อ เกาะคิวชูซึ่งอยูทางใต เกาะคิวชูเป$นเกาะที่ไดชื่อวาดีไซน8รถไฟไดสวยที่สุดใน ญี่ปุNน คือ เจอาร8คิวชู เป$นยานที่รถไฟสวยมาก ผมก็ไปมิวเซียมเขาก็เริ่มโชว8 หั ว รถจั ก รยุ ค ตางๆ ยุ ค ไอน้ํ า ยุ ค โนนยุ ค นี้ เขามี ร ถใหเราลองขึ้ น ไปนั่ ง หลายๆ แบบ มีอยูตูหนึ่งเป$นรถไฟตูนอนตูแรกของโลก เกิดที่ญี่ปุNนนี่แหละ ก็เลยขอขึ้นไปดู รถไฟตูนอนยุค ๖๐ หรือ ๗๐ นี่แหละครับ พอเห็นหนาตา ผมรูเลยวาเหมือนบนเครื่องบิน นึกภาพชองเก็บของเหนือหัวบนเครื่องบิน ออกไหมครั บ จะใชก็ เปMด ลงมา การใชตู นอนเตีย งบนมั น ใชทฤษฎีค ลายๆ
๑๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เครื่องบินของเรา คลายๆ ที่วางของเหนือหัวที่ผมไดลองนอนตอนป0 ๑ ผมก็ พยายามนั่ ง มองมั น วา ผมคุ นๆ มั น ที่ ไ หน แลวผมก็ นึ กออกวามั น เกากวา เมืองไทยแคนิดเดียวนี่หวา คือรถไฟไทยตูนอนที่เราใชอยูมันใหมกวาไอตูรุนนี้ ถาเป$นโปรแกรมคงหางกัน .๐ หรือ .๑ หางกันนิดเดียว ผมรูสึกวาเมืองไทยเรา เจ[ง คือบางคนอาจบอกวาโหเมืองไทยเรากระจอก เราใชตูรุนโคตรเกาเลย ผมวาเราเจ[ ง ญี่ปุN นเขาเลิกใชไปแลวแตวาเรายังสามารถใชสิ่ งที่ มัน วิน เทจ สิ่ ง ที่ มั น คลาสสิ ก มาก คื อ ญี่ ปุN น ตายแลวแตเมื อ งไทยยั ง ใชอยู ถามวาเรา อยากอยูแบบไหน เราแคอยากไปดูมัน ก็ถายรูปวามันสวยดี อยากถายรูป กับมัน ผมวาเมืองไทยเราเจ[งกวาเยอะมาก ผมก็เจอรถไฟแปลกๆ รถไฟยี่หอ โตชิบา ยี่หอรถไฟฟTา เจอเยอะมาก แลวก็เห็นโนนเห็นนี่ ผมจะเลาอั น หนึ่ ง ที่ ผ มชอบมาก มิ ว เซี ย มเขาสวนที่ เ ป$ น ภายใน เปM ด ประตู เขาไปเราจะเจอรถรางเกาคั น หนึ่ ง ที่ ผ านมา ผมเขาใจวารถไฟ เป$นเรื่องของการมองและการสัมผัส ตูรถไฟสวย หัวรถจักรสวย ทีนี้ผมไปถึง ที่ นั่ น มิ ว เซี ย มเขาจั ด การดี ม ากเขาตอนรั บ ผมดวยเสี ย งเขา รู สึ กวาสถานี คาแรกเตอร8มันไมใชแครูปทรง แตมันคือเสียง มันใชวาอาจจะมีเสียงประกาศ ที่นี่สถานีศาลายาแบบนี้ แตวาที่ญี่ปุNน มีเสียงเจ\าะแจ\ะจอแจมีเสียงคนขาย ขาวกลองครับ ผมวานี่มันเป$นหนึ่งในวัฒนธรรมญี่ปุNนที่มันเทมาก เขาเรียกวา “เอกิ เบนโตะ” เบนโตะคือขาวกลอง เอกิเบนโตะคือขาวกลองรถไฟ ซึ่ง มี สั ญ ลั ก ษณ8 คื อ คนที่ เ อาแผงไมมี เ ชื อ ก คลองคอแลวก็ กิ น ขาว เหมื อ นขาย ล็อตเตอรี่ แตอันนี้ขายขาวกลอง ซึ่งแตละสถานีจะไมเหมือนกัน เขาถึงขั้น มีการประกวดระดับประเทศดวยนะครับ ขาวกลองบางอยางบางชนิด มีขาย ที่นี่ที่เดียว ก็คงเหมือนเมืองไทย อยางบางจังหวัดอยางหัวหินมีขาวตมมาขาย คลายๆ แบบนั้น แตความเจ[งเขาคือ เขาไมไดมีแตอาหาร แตเขามีจัดแสดง บางอยาง ที่ผมไปแถวๆ เมืองฟุกุโอกะ มีขาวกลองอยางหนึ่งที่เขาบอกวา
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๑
หายาก เขาเรียกวา คะชิวะเมชิ ประมาณนี้ครับ เป$นขาวกลองไกสามสี่ชิ้น เรี ย งกั น คื อ เมนู ต ามรานอาหารทั่ ว ไปไมมี เ มนู นี้ อยากกิ น ตองมากิ น ขาวกลองรถไฟเทานั้น ผมวามันยิ่งใหญมาก แตรานฟูจิก็เอามาขาย สามารถ สั่งเมนูนี้ที่รานฟูจิที่เมืองไทยได มีเมนูนี้ดวย อาหารเป$นสัญลักษณ8อยางหนึ่ง ที่คนตองหยุดกิน คนขายก็กลายเป$นคนดัง คนขายก็มีแคคนสองคนเป$นคุณลุง ที่แกมากแลวก็ยืนขาย ผมก็สัมภาษณ8เขา แกแกมาก อายุนาจะสัก ๖๐ ป0 ได แกขายมาทั้ ง ชี วิ ต ผมก็ ถามวาคุ ณลุ ง ขายที่ นี่ อายหรื อเปลา ตอบตรงๆ วา อายหรื อเปลา พอรถไฟจอดคนลงมาจากรถไฟ มี ประกาศเรี ย ก มี อาหาร มีขาวรอนๆ แบบนี้ บางคนก็ไมไดเหลียวแล บางคนก็ไมไดกิน เขาบอกวาไม ที่ ผ มขายของแบบนี้ ผ มคิ ด วาผมกํ า ลั ง โชว8 อ ยู ทํ า โชว8 ใ หคนทุ กคนที่ ม าถึ ง ประทับใจกับเมืองเมืองนี้ เขาเจ[งมาก เขาบอกวาแตกอนเขาขี้อายมาก เขามา ขายขาวกลองเขาอาย ไมกลาพูด ไมกลาตะโกนรองขาย แลวก็ขายไมไดเลย เขาก็ เ ลยไปซอมครั บ เวลากลางคื น ที่ มื ด ๆ เขาก็ ไ ปที่ ส วนสาธารณะ ไปซอมรองขาย จนเขากลารองขายอาหาร จนกลายเป$นไอคอนหนึ่งของคิวชู ไปแลว ซึ่ง ขาวกลองผมวามันเทมาก ผมก็มี โอกาสไดไปมิ วเซีย มซึ่ง เขาก็ มี ที่จัดแสดงโชว8ขาวกลองแบบตางๆ ใหดู ขาวกลองก็จะมีการสกีนขางหนา ตางกันออกไป อยางบางเมืองเป$นเมืองที่ขึ้นชื่อเรื่องเบสบอล อยางที่ฮิโรชิมา จะมีชื่อทีมฮิโรชิมาโทโยคัพ จะเป$นทีมที่ดังประจําเมือง ขาวกลองที่ขายดีมาก คือขาวกลองของฮิโรชิมาโทโยคัพ คือสกีนรูปหนากลองเป$นรูปนักเบสบอล เมนูก็แปลกประหลาดมาก อยางมีนักเบสบอลคนหนึ่งสมมติวาชื่อโจ แลวโจ ชอบกิ น ผั ด กะเพรามาก ขาวกลองก็ จ ะเป$ น ผั ด กะเพรา แลวมี รู ป โจและ ลายเซ็นโจแปะอยู ซึ่งขาวผัดกะเพรานี่ธรรมดามาก แคบอกวาเมนูนี้โจชอบ ขายดีมากครับ เขาเพิ่มมูลคาเพิ่มอยางงายและอยางไมนาเชื่อเลยครับ แลวก็มี ของนารักๆ ที่เอามาสคอส เอาคิตตี้ไปแปะ มันก็ดูดีขึ้นมาทีเดียว มิวเซียมนี้
๑๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เขามี การพูดถึ งเรื่ องขาวกลองอยูตรงกลาง ขาวกลองก็ เป$น กลองกระดาษ ยอนกลับ ไปขาวกลองที่ เป$ นชามเซรามิคก็ ยัง เก็บ ไว ผมวามันสวยมันเจ[ง ดี แลวรูปทรงกลองก็แปลกประหลาดมากๆ คราวนี้ ผ มก็ ไ ปเจออี ก ในสวนที่ เ ก็ บ ตั๋ ว ก็ จ ะคลายๆ เมื อ งไทย ที่ยุคกอนๆ เป$นตั๋วกระดาษแข็งๆ แลวก็มีที่แง็บกระดาษ ซึ่งเมืองไทยจะมี หลายลาย มีลายกระดาษโนนนั่นนี่ เขาก็มีหลายลายเหมือนกัน ผมก็คิดวา ไมเทาไหร คื อ ญี่ ปุN น แคเก็ บ ตั๋ ว แคเก็ บ ที่ แ ง็ บ ตั๋ ว ที่ เ มื อ งไทยก็ มี น ะครั บ แลวเมื องไทยยัง ใชอยู ดวย ผมรู สึ กวาเมืองไทยเราเจ[ งกวา แตวาเขาไมได จัดแสดงแคตั๋วแข็งๆ ครับ คือตูหนึ่ง คือตูโชว8ตั๋วแข็งๆ แตอีกตูหนึ่ง เขาโชว8 เพจที่พิมพ8 คือเก็บไดแมกระทั่งเพจที่พิมพ8เมื่อรอยกวาป0กอนก็ยังเก็บเอาไว อั น นี้ เราแพเพราะวาเมื องไทยเราไมมี เก็ บ ไวขนาดนั้ น แลวนั่ น ก็ เป$ น เรื่ อง ที่ญี่ปุNนนะครับ คราวนี้ผมขอขามไป ผมมีโอกาสไดนั่งรถไฟอีกเสนหนึ่งเป$นรถไฟ สายทรานส8ไซบีเรียซึ่งเป$นรถไฟสายที่เขาบอกวามันยาวที่สุดในโลก จากปXกกิ่ง ผานมองโกเลี ย แลวไปสุ ด สายที่ ม อสโกเป$ น รถไฟที่ ผ าน ๓ ประเทศ แตขามทวีป คือขามจากเอเชียไปยุโรป ถาเรานั่ง บนรถไฟเฉยๆ ไมตองลง ไปไหน ใชเวลาทั้ ง หมด ๖ วัน ตองตั้ง เวลานาฬิ กาเราใหมทั้ งหมด ๕ ครั้ ง เพราะนาฬิ ก าเราเปลี่ ย นไทม8 โ ซน ๕ ครั้ ง รถไฟสายนี้ ผ มไดเรี ย นรู อะไร หลายๆ อยาง จาก ๓ ประเทศนี้ ม ากๆ รถไฟจี น ผมพู ด เรื่ องอาหารดี กวา เพราะตูนอนบรรยากาศก็จะคลายๆ กัน รถไฟจีนอาหารจะคลายๆ บานเรา เป$นขาวตม เดินไปสั่งที่ ตูเสบียง จะสั่ งขาวก็ได เป$ นขาวตมก็ ได ซึ่งอาหาร เหมื อ นรานขาวตมอยางนั้ น แหละครั บ ก็ กิ น เป$ น ตู เสบี ย งสบายๆ ไปถึ ง มองโกเลียไมมีอาหาร ไมมีตูเสบียงให มองโกเลียเขาจะเป$นตูไมซะสวนใหญ ภาพบรรยากาศก็ จะมองโกเลี ย เขาไมมี ตู เสบี ยงแตจะมีอาหารมาใหแทน
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๓
มีแ ฮมมาให มี ขนมปX ง มาให มี เนยมาให แลวใหเราไปกิ น กั น เอง ผมก็ ไ มรู ผมนั่งรถไฟในมองโกเลียมาสักวันหนึ่ง คือกอนหนา ๓ มื้อ ผมก็ซัดเรียบเลย แลวเขาก็ไมไดเอาอาหารมาใหอีกเลย คือผมไมรูวาอาหารนั้นเขาใหกิน ๓ มื้อ ผมก็ยังคิดในใจวาทําไมใจดีจังใหอาหารเยอะมาก โชคดีที่ผมมีขนมปXง มามา ติ ด มาบาง เลยรอดตายมาได พอถึ ง รั ส เซี ย ผมวาก็ เ ป$ น ตู รถไฟที่ บั น เทิ ง พอสมควร อยากกินก็ไปที่ตูเสบียง แตตูเสบียงราคาแพงมาก แพงระยับเลย เพื่อนรวมตูของผมที่เป$นชาวยุโรปไมมีใครไปตูเสบียง เขาจะไปตูเสบียงเพียง วาระเดียวคือไปซื้อไวน8ไปซื้อเหลา แตอาหารเขาไมซื้อกินเลย เพราะวามัน แพงมาก รถไฟ ๓ ขบวน นี้ มีคาแรกเตอร8อยางหนึ่งคือเขามีพนักงานตอนรับ เป$นผูหญิงชื่อเป$นภาษารัสเซียมั้งครับ ชื่อมากาเร็ตตา เขาเรียกเทรนโฮสเตส เหมือนแอร8โฮสเตส คนหนึ่งนารักมาก แตงชุดสวยๆ แลวคอยดูแลตอนรับเรา ก็เป$น สั ญลั กษณ8 ของรถไฟขบวนนี้ ทุ กประเทศมี เหมื อนกัน หมด ผมวานั่ น เป$นคาแรกเตอร8ที่ผมชื่นชม บรรยากาศสองขางทางก็จะเป$นวิวที่เราไมเคย เห็น ผมก็เลยขามรถไฟขบวนนี้เลยดีกวาครับ
รถไฟ : มุมมองจากไทย – เพื่อนบ4านในอาเซียน ผมกลับมารถไฟที่ใกลตัวมากขึ้น เมื่อสักป0 ๒๕๕๕ ผมมีโอกาสไดเป$น พิธีกรรายการหนึ่งชื่อวารายการอาเซียนบียอน ๒๐๑๕ จะเกิดอะไรขึ้นบาง จากการรวมกันระหวางอาเซียนหลังป0 ๒๐๑๕ ก็พูดเรื่องรถไฟอาเซียน ผมก็ ไปที่ลาว ขึ้นรถไฟหัวลําโพงไปที่หนองคาย ก็เป$นรถไฟสถานีเดียว ขามสะพาน ไปก็ ถึง เลย เป$ น รถไฟไทยที่ ช วยไปดู แ ลให พอไปถึ ง ที่ นั่ น ก็ เจอนายสถานี คนหนึ่งที่รับผิดชอบโครงการ เขาบอกวาลาวกําลังมีโครงการสรางจากสถานี ริมแมน้ําโขงเขาเวียงจันทน8 ผมก็คุยกัน แตเขาเป$นคนที่ใหญมากนะ ผมวาเขา
๑๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
นาจะเป$นรัฐมนตรีได ที่ดูแลโครงการรถไฟของลาว เขาเลาใหผมฟXงวาเขาเคย ไดทุ น ไปเรี ย นที่ รั ส เซี ย เพราะลาวกั บ รั ส เซี ย เป$ น คอมมิ ว นิ ส ต8 ด วย ก็มีคอนเน็กชั่นกัน เมื่อ ๓๐ กวาป0กอน คือเขาเลือกเรียนเรื่องรถไฟ ไปถึงเขา ก็ไปเรียน ไปถึงอาจารย8ก็ถามเขาวาที่ลาวมีรถไฟหรือไม เขาก็บ อกวาไมมี แลวคุณมาเรียนทํา ไม เพราะกลั บไปประเทศคุณ ก็ไ มมีรถไฟ เขาก็บอกวา ผมมาเรียนเพื่อใหมันมี แลว ๓๐ ป0 ก็ผานไป แลวเขาบอกวาทางรถไฟสายแรก กําลังจะเกิดขึ้นแลวเขาตื่นเตนมากๆ ดีใจมากๆ วารถไฟกําลังจะเกิดขึ้นแลว เหมื อนฝX น เขากํ า ลั ง จะเป$ น จริ ง ระยะทางแค ๘ กิ โ ลเมตร ผมถามเขาวา ใครจะนั่ ง คนลาวนั่ ง ไหม เขาบอกวาคนลาวไมนั่ ง เพราะนั่ ง รถสองแถว สกายแลปเร็ ว กวาเยอะ เพราะระยะทาง ๘ กิ โ ลเมตร ใกลๆ แลวใครนั่ ง เขาบอกวาก็ฝรั่งที่มาจากเมืองไทยนั่ง ถามวาทําไมมันไมรูวานาน แลวผมก็ ถามวาคนไทยมานั่งไหม คนไทยก็ไมนั่ง แลวปXญหามันก็คื อถาอยากใหคน นั่ง รถไฟขบวนนี้ มากขึ้ นตองทํา ยั ง ไง คุณ ตองไปบอกรถไฟไทยวาอยาเลท เพราะรถไฟไทยที่ ม าจากหนองคายเลททุ ก วั น พอมั น เลทคนเขาก็ ไ มรอ คือรถไฟที่ขามสะพาน ขามแมน้ําโขง มันตองรอรถไฟขบวนจากกรุงเทพฯ กอน ถาขบวนจากกรุงเทพฯ ไมมา มันก็ไมออก ซึ่งขบวนที่มาจากกรุงเทพฯ มันเลท แลวมันเลทแบบเดาไมไดวามันจะมาเมื่อไหร แลวมันจะออกเมื่อไหร มัน ก็เป$น ทอดๆ ไป ผมเลยบอกวาคุ ณ ตองบอกรถไฟไทยกอนวาไมใหเลท แลวเขาก็บอกวา จะไปบอกใครหละครับ แตสุดทายเขาก็บอกวาเป$นความฝXน ที่เป$นจุดเริ่มตนได ผมก็ถามเขาวาพอคุณมีขบวนรถไฟแลว หัวรถจักร คุณจะ เอามาจากไหน เพราะผมนึ กภาพวาบานเราก็ ซื้ อมื อสองมา เขาก็ บ อกวา ซื้อมือหนึ่งสิ ผมก็ถามวา ทําไมไมซื้อมือสอง เขาก็บอกวา มือหนึ่งมันนาจะ ดีกวา ถึงแมวาเขาจะตองกูเอาประมาณหนึ่ง จากการทําโครงการนี้ จีนใหกูมา
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๕
เขารูสึกวาลาวกําลังจะเกิดรถไฟสายแรกของประเทศ เขาก็อยากมีความภูมิใจ วาประเทศเราก็มีเงิน มีสิ่งที่เชิดหนาชูตาได ก็ชื่นชมเขาในความพยายาม นั่นทําใหผมนึกไปถึงรถไฟชินคันเซ็นในญี่ปุNน เมื่อตอนที่ผมไปทํา โครงการที่ญี่ปุNน ผมก็บนวารถไฟชินคันเซ็นของเขา เป$นโครงการที่เริ่มตนคิด มานานมากแลว ก็คงจะเหมือนประเทศยุโรปสายทรานส8ไซบีเรีย ที่ลากจาก มอสโกที่อยูริมยุโรปไปถึงอีกริมของประเทศจีน เป$นรัสเซียที่อยูเหนือจีน คือ ไปเอาทรั พ ยากรอี ก ฝX^ ง มา รถไฟสายแรกๆ ขนสงทรั พ ยากรทั้ ง นั้ น แตชินคันเซ็นของญี่ปุNนอาจจะเกิดขึ้นอีกแบบ คืออยากจะเดินทางใหเร็วขึ้น ทําใหประเทศเจริญขึ้น เป$นอุตสาหกรรมมากขึ้น แตวาจุดเปลี่ยนคือ ญี่ปุNน แพสงครามกอน พอญี่ ปุN น แพสงคราม ประเทศญี่ ปุN น ก็ จ นลงไปถนั ด ใจ ญี่ปุNนก็สราง ๒ อยาง ที่ชวยใหฟUVนตัวขึ้นมาได อยางแรกคือโตเกียวทาวเวอร8 สรางเพื่ อ ใหโลกรู วาฉั น ก็ ก ลั บ มาได โตเกี ย วทาวเวอร8 เ ป$ น สั ญ ลั ก ษณ8 ใ ห คนทั้ งประเทศมองวาความฝX น เราจะเกิด คือจะตองสรางรถไฟชิน คั นเซ็ น ใหสําเร็จใหได แลวแคนั้นยังไมพอ ญี่ปุNนยังขอเป$นเจาภาพโอลิมปMก ๑๙๖๖ ในชวงนั้ น คื อ กะเอาใหเสร็ จ โตเกี ย วทาวเวอร8 เ สร็ จ ชิ น คั น เซ็ น เสร็ จ เป$ น เจาภาพโอลิ ม ปM กตอเลย หลั ง จากแพสงครามมาใหมๆ ผมวามั น เป$ น ความฝXนที่มันบามากนะ แตเขาก็ทําสําเร็จจนได และเป$นการประกาศกับ ชาวโลกใหรูวา เราลมแลวเราสามารถลุกขึ้นมาไดแลว ชินคันเซ็นของญี่ปุNนก็มี ความหมายประมาณนั้น แลวเขาวากันวา ชินคันเซ็นของญี่ปุNนก็ตอสูฝNาฟXน กับหลายๆ ชวง มีชวงที่เจอสงคราม เศรษฐกิจก็ไมดี เงินก็ไมมี แลวก็เปลี่ยน ผู อํ า นวยการรถไฟหลายรอบมากเพื่ อ ที่ จ ะผลั ก ดั น ใหสํ า เร็ จ แลวสุ ด ทาย โครงการที่ทํา มาสิ บป0 ยี่สิบป0 สามสิบ ป0 มั นก็เสร็จลง ที่ ผูอํา นวยการรถไฟ คนหนึ่ง คนสุดทาย ที่ผมวาเกงมาก เอาจริงมาก ทํามันจนเสร็จได พอสุดทาย ทําเสร็จ เขาก็ขอลาออก เพราะวาขอรับผิดชอบตอความลาชา ซึ่งมันเลทไป
๑๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
หนึ่งเดือน คือ ทํามาสามสิบป0ไมเสร็จ แตคนๆ นี้มาทําใหเสร็จจนได ซึ่งมัน ชากวาที่ประกาศเอาไวหนึ่งเดือน เขาก็จึงขอลาออกเพื่อแสดงความรับผิดชอบ ผมวามันญี่ปุNนมาก มันเจ[งมาก กลับมาที่รถไฟเวียดนาม ผมไดไปถายรายการเดิม ไดนั่งรถไฟจาก เมืองเวทางตอนกลางของเวียดนามมาเมืองโฮจิมินห8ทางตอนใต เป$นรถไฟที่มี ความยาว นั่งสักวั นกวาๆ ถึ งสองวัน ผมชอบรถไฟขบวนนี้มากเพราะผาน ครึ่ ง ประเทศของเขา เราจะไดเห็ น ทั ศ นี ย ภาพของเวี ย ดนามครบ เห็ น ทุงนาปNา เขา เห็นทะเล เห็น ทุกอยาง ซึ่งผมวาอันนั้ นเมืองไทยก็เห็นแหละ แตผมวาที่มันเจ[งกวานั้นคือเสียงตามสายของเขา ถาเกิดวาใครนั่งรถไฟไทย ก็จะรูวารถไฟไทยจะเงียบมาก จะไมมีการประกาศอะไร เป$นไซเรนคาร8ท จะมี ประกาศบางก็ ต ามสถานี แตไปเวี ย ดนามเขาจะประกาศจากในตั ว รถไฟ ซึ่ ง รถไฟเขาก็ รุ นพอๆ กั บ เรา พอใกลเมื อ งไหนก็ จ ะมี เ สี ย งประกาศกอน สมมติวาจะถึงเมืองอยุธยาเขาก็จะมีประกาศวาอีก ๑๐ นาที จะถึงอยุธยาแลว อยุ ธ ยาเป$ น เมื องเกาของเมื อ งไทยมากอน ที่ นี่ มี อาชี พ หลั ก เป$ น เกษตรกร ปลู ก ขาว มี ส ถานที่ ท องเที่ ย วสํ า คั ญ มี วั ด พนั ญ เชิ ง มี วั ด ใหญชั ย มงคล มีวัฒนธรรมการเลนทองถิ่นอะไรบาง คือผมวามันเจ[งมาก เขาไมไดมองรถไฟ เป$ น แคพาหนะขนสงอยางเดี ย ว แตเขามองเป$ น ทู ต วั ฒ นธรรม มองเป$ น เครื่องมือเลาประวัติศาสตร8ความภูมิ ใจอะไรสักอยาง ซึ่งทําใหคนอยางผม ที่เป$นนักทองเที่ยวธรรมดา ผมก็ไมไดลง แตวารูวาเมืองนี้มันสําคัญอยางไร พอเขาประกาศเสร็จ ทุกคนบนรถก็จะพยายามมองหาวาปลูกขาวไวตรงไหน มีวัดเกาตรงไหน พยายามมองอยางเขาใจมากขึ้น พยายามมองประเทศเขา อยางเขาใจมากขึ้ น ซึ่ ง ผมวาไอเดี ย นี้ มั น ดี ม ากถาเมื อ งไทยเรามี โ อกาส ไดทําแบบนั้นบาง รถไฟไทยพยายามบอกวา ที่นี่ถึงไหนแลว มีอะไรนาสนใจ สองขางทางบาง ผมวามันจะทําใหการเดินทาง ๑๐ ชั่วโมง ไมใชเรื่องยาวนาน
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๗
อยางนาเบื่อ มันไดมองอะไรระหวางขางทางได ผมรูสึกวามันขาดไปนิดเดียว คือเวียดนามเขาทําแลวมันไมสุด ระบบอาหารของเวียดนามจะมีรถเข็นมาขาย พนักงานตูจะเข็นมาขายก็จะมีคลายๆ ขาวราดแกงจะมีขาว มีหมูทอด ไกทอด ก็ชี้ๆ เอา เขาก็จะราดขาวใสกลองโฟมมาใหกิน ผมก็ไมรูวาอาหารเวียดนาม คืออะไร พนักงานก็พูดไดบาง พูดไมไดบาง ผมก็ชี้ๆ ตามความคุนเคย ผมวา ถาบนรถไฟเขาประกาศเพิ่มวาอาหารที่ขายบนรถไฟมีอะไรบาง อยางอาหาร อั น นี้ คื อ ไกที่ เ ราเลี้ ย งมาจากชุ ม ชนนี้ ที่ เ ลี้ ย งไกไดดี ที่ สุ ด ในประเทศ ผั ก นี้ เป$นผักที่เขาภูมิใจมาก มีโนนนั่นนี่ ทุกอยางมีเรื่องเลาผมวาคนจะกินอาหาร อยางมีความสุขมากขึ้น ก็จะสั่งอาหารเพิ่มมากขึ้น แคใชสื่อเพิ่มขึ้นอีกนิดเดียว เทานั้น นั่นเป$นความประทับใจของผมที่มีตอรถไฟเวียดนาม
“มิตรรถไฟ” กับมุมมองศักยภาพในการพัฒนา กลับมาที่เมืองไทย ชวงนี้ผมก็มีโอกาสไดรักใครกับรถไฟไทยเยอะขึ้น เพราะวาปX^นจักรยาน เวลาไปเที่ยวตางจังหวัดก็เอาจักรยานใสรถไฟ ก็เป$น ทางที่ผ มวาสะดวกแลวก็ งายดี แคเช็ค วารถไฟขบวนไหนมี ตู สัม ภาระบาง เทานั้ น เอง ทํ า ใหเรารู วารถไฟกั บ จั ก รยานก็ เ ป$ น มิ ต รกั น ก็ ไ ปดวยกั น ได พอเอาจักรยานไปใสรถไฟ ก็ทําใหเราไดคุยกับนายสถานี ไดคุยกับคนที่อยู หองสั ม ภาระมากขึ้ น ไดคุ ย กั น มากขึ้ น ก็ เ ขาใจกั น มากขึ้ น ผมนั่ ง รถไฟไป เชี ย งใหม ผมก็เจอคนที่ ม าตรวจตั๋ ว ก็ มี ค นโวยวายวา ที่ หนาตั๋ ว บอกวาถึ ง สิ บ โมงไง นี่ จ ะเที่ ย งแลวยั ง ไมถึ ง เลย ซึ่ ง ก็ เ ป$ น เรื่ อ งปกติ น ะ คนตรวจตั๋ ว ก็ บอกวาใจเย็นๆ ครับ ทางมันขาด ฝนมันตก ทางมันไมดีตั้งแตป0กอน มันก็ตอง วิ่ ง ชาหนอย ก็ ถึ ง ประมาณนี้ แลวก็ บ อกวาเดี๋ ย วครั บ เรากํ า ลั ง สั่ ง ซื้ อ หัวจักรรถใหม เดี๋ยวถึงตีหาเลยครับ แลวผูโดยสารก็บอกวาไมตองถึงตีหาก็ได
๑๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ถึงตรงเวลาก็พอแลว การไดคุยกันมันก็ทําใหเรารักใครกันมากขึ้น หลังจาก ชวงนี้ ขึ้ น รถไฟมากขึ้ น ผมก็ ไ ดสรางหลายโครงการที่ เ กี่ ย วกั บ รถไฟขึ้ น เป$นเรื่องของอนาคต ที่ผมวามันก็นาจะเป$นจุดเปลี่ยนที่ดี หรือไมดี ก็ไมทราบ แตยังไงก็ตองเกิดขึ้น
ภาพงานแสดงต4นแบบร4าน OTOP Store และ Thai Pinto โดย TCDC (http://www.creativethailand.org/th/articles/article_detail.php?id=91)
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๙
เรื่องแรกคือเรื่องของหัวลําโพง ที่ตอไปหัวลําโพงจะกลายเป$นแค มิว เซี ยม เป$ นแหลงชอปปMV งที่ รถไฟจะเขาวั น ละขบวนสองขบวน ทุกอยาง ถูกยายไปอยูที่บางซื่อแทน ผมก็อยากจับตามองเหมือนกันวาหัวลําโพงกับ การบริ ห ารจั ด การใหม ที่ ท าง TCDC มาชวยทํ า ใหที่ นี่ เ ป$ น สั ญ ลั ก ษณ8 ของวัฒนธรรมและศูนย8กลางการคาของประเทศไดอยางไรบาง เหมือนกับ หลายๆ ประเทศ ที่อาคารที่ค รอบสถานีรถไฟอยู เป$นหางที่ใ หญมากแลวก็ สามารถสรางมูลคาไดมากมาย คนไทยเรามองวาสถานีรถไฟเป$นที่ที่รีบไปรีบกลับ รถไฟออกทุมหนึ่ง ไปหกโมงครึ่ ง ก็ พ อ ไปถึ ง ขึ้ น รถไฟก็ จ บ พอรถไฟถึ ง สถานี รี บ ไปรี บ กลั บ แตตางประเทศคิดกลับกัน ญี่ปุNนคิดกลับกัน เขาสรางหางครอบเลยนะครับ คื อ ตอใหคุ ณ ไมมาขึ้ น รถไฟ คุ ณ ก็ ม าเดิ น หางนี้ ไ ด หรื อ ถาใครจะเดิ น ทาง ก็นัดเพื่อนได ระหวางที่รอเพื่อนที่สถานีรถไฟก็สามารถกินขาว ดูหนัง ชอปปMVง ไดมากมาย โครงการใหมเรื่องรถไฟความเร็วสูงก็ยังคิดแบบนั้นอยู ตองมาดูกัน วาหัว ลําโพงจะเปลี่ยนไปยั งไง จะคลาสสิกขึ้ นไหม จะยัง ไงบาง รวมไปถึ ง บางซื่อก็จะเป$นฮับใหมของการรถไฟ ซึ่งผมก็เชียร8 มันนาจะดีขึ้นเพราะมัน ใหญกวา รถไฟจะไดไมเลทมาก เพราะเขาเมืองแลวรถมันติด ก็ไปแคบางซื่อ แลวแยกยายกันไปตอ มาถึงเรื่องสุดทายเรื่องรถไฟความเร็วสูงที่จะเกิดขึ้น อยางที่เราทราบก็จะมีจากกรุงเทพฯ แยกไปหัวหิน แยกขึ้นไปทางเหนือ ก็ตอง ดูวาจะยังไงบาง ทําขึ้นมาแลวจะดีขึ้น จะนาใชมากนอยแคไหน รวมถึงสวน ที่จะไปเชื่อมตอกับ จีนดวย ผมวาไมวายังไงมันก็เกิดขึ้น เราก็ตองเตรียมตั ว รับมือกับมันเทานั้นเอง แลวรถไฟทองถิ่นสายธนบุรีของเรารถไฟสายเล็กๆ จะอยู อยางไรตอไปในสภาพที่ จ ะเปลี่ ยนแปลงไป หรื อวาเรามี รถไฟที่ใ หม ไฮเทค และสวยงามมากๆ เขามาใช แลวรถไฟเกาๆ ที่เรามี อยู เราจะทํ า อยางไรตอไปกับมัน ถาใชตอ ความรูสึกของคนที่ใชรถไฟสองแบบนี้จะเป$น
๒๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
อยางไรตอไป ผมรูสึกสวนตัววาไมอยากใหคนนั่งรถไฟเพราะวาไมมีทางเลือก การนั่งรถไฟเพราะวาไมมีทางเลือก ผมวามันนาเศราเกินไป สวนตัวผมรูสึกวา รถไฟเราควรอยูอยางมีเกียรติ ผมเชื่ออยางนั้น มันควรถูกเลือกอยางเต็มใจ ที่จะเลือกใชรถไฟเพราะวามันสะดวก มันถูก มันคลาสสิก หรืออะไรก็แลวแต ผมรูสึกวา การอยูอยางมีเกียรติอันนี้สําคัญ ผมไปญี่ปุNนจะเห็นวามีพิพิธภัณฑ8 ของเลนของที่ระลึกที่เกี่ยวกับรถไฟแลวคนก็เก็บสะสมเยอะมาก หัวรถจักร รุ นตางๆ อยางเชน ชิ น คั น เซ็ น รุ น N 700 เลนกั น เยอะเพราะวามั น สวย ผมยังจําชื่อรุนเขาไดเลยครับ ผมรูสึกวาทุกอยางมันถูกคิดมาอยางดี แลวก็ กลายเป$นคนรัก ผมเจอพวกที่บาคลั่งอะไรบางอยางที่สถานีรถไฟ เป$นเด็ก สองคนไมนาจะเกิ น ม.ปลาย หรื อ ม.ตน ก็ มี ก ลองดิ จิ ต อลคนละอั น พอรถไฟวิ่งมาก็ถาย สวนเพื่อนที่มาดวยกันไมถาย แลวผมก็ถามวา ถายอะไร เขาก็บอกวาถายรถไฟที่ไมเคยเห็น แลวก็ถามวาทําไมเพื่อนไมถาย เขาก็บอก วาขบวนนี้ เ ห็ น แลว คื อเป$ น นั ก ลารถไฟ ไปเที่ ย วไหนก็ ถ ายรถไฟ เหมื อ น นักดูนกที่ ไปถายนกที่เราไมเคยเห็น ไปเที่ยวเมืองไหนก็ตาม ก็จะแวะถาย รถไฟที่ไมเคยเห็น ผมคิ ด วาถ4 า เมื อ งไทยเราทํ า ดี ๆ ให4 ค นรั ก มั น ได4 เราก็ อ ยู อยาง มี เ กี ย รติ คนก็ จ ะรั ก รถไฟไทยไปอี ก นาน และคนก็ จ ะมองรถไฟดี ขึ้ น สวนในที่นี้ใครก็ตามที่ไมเคยนั่งรถไฟ ผมวาต4องลองครับ ศาลายาเข4าเมือง ก็ได4 หรือศาลายาไปนครปฐมก็ได4 แล4วถ4าจะดา ก็ขึ้นกอนคอยดานะครับ มาขึ้นรถไฟกัน มองหาในแงดีของการรถไฟครับ ขอบคุณครับ
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๒๑
เสวนา “รถไฟ เรือเมล มอเตอรเวย รถไฟฟา: วิวัฒนาการการเดินทางและการขนส'ง จากบางกอก – ศาลายา” รวมเสวนาโดย ผู4ชวยศาสตราจารย ดร.สมชาย ปฐมศิริ (หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยมหิดล) นายแพทยวัฒนา เทียมปฐม (ประธานสภาวัฒนธรรมอําเภอพุทธมณฑล) คุณอุบลศักย บันลือทรัพย (หัวหนางานเผยแพรเอกสาร การรถไฟแหงประเทศไทย) คุณสัญญา เสมา (อดีตนายสถานีรถไฟศาลายา) ดําเนินการเสวนาโดย อาจารยชนกพร พัวพัฒนกุล (กรรมการศูนย8สยามทรรศน8ศึกษา) อาจารย8ชนกพร : ไมทราบวาในที่นี่ใครเคยมารวมงานเลาขานตํานานศาลายาบางคะ จริงๆ ป0ที่ผานๆ มาเราพูดถึงศาลายา เราก็จะพูดถึงคลองมหาสวัสดิ์ ป0ที่แลว เราพูดเรื่องน้ําทวม ป0นี้ก็อยางที่ทานคณบดีบอกก็คือยกพลขึ้นบกก็จะมาพูด เรื่องรถไฟกั นบาง ในโอกาสครบรอบ ๑๑๐ ป0 สถานีรถไฟศาลายา ผู รวม เสวนาในป0 นี้ เ ราก็ ไ ดรั บ เกี ย รติ จ ากวิ ท ยากรหลายทาน ทานแรก
๒๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ผู ชวยศาสตราจารย8 ส มชาย ปฐมศิ ริ หั ว หนาภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธาและ สิ่ง แวดลอม มหาวิท ยาลั ย มหิ ด ล ทานที่ สอง นายแพทย8 วั ฒนา เที ยมปฐม ประธานสภาวัฒนธรรมอําเภอพุทธมณฑล ทานที่สาม คุณอุบลศักดิ์ บรรลือ ทรัพย8 หัวหนางานเผยแพรเอกสาร การรถไฟแหงประเทศไทย และทานที่สี่ คุณสัญญา เสมา อดีตนายสถานีรถไฟสถานีศาลายา หัวขอที่เราคุยกันวันนี้ บรรยากาศก็จะสบายๆ กอนอื่นขอเรียนถามคุณอุบลศักดิ์กอน สถานีศาลายา ในแงของการเดิ นทางดวยรถไฟของบานเรา สถานี ศ าลายามี ความสํ า คั ญ อยางไรบาง หรือวาในปXจจุบันนี้ในมุมมองของคนรถไฟพอพูดถึงสถานีรถไฟ ศาลายาเรานึกถึงอะไรกันบางคะ
คุณอุบลศักดิ์ : สถานีรถไฟศาลายาสรางมาพรอมๆ กับทางรถไฟสายใตสายแรก คือ สายบางกอกนอยลงไปเพชรบุรี เป$นสถานีที่เขาเรียกวาสถานีรายทาง แตวา รูปลักษณ8สถานีเมื่อครั้งแรกสุดอาจจะยังนึกกันไมคอยออก สถาปXตยกรรม
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๒๓
สถานีรถไฟก็จะเป$นสี่เหลี่ยมผืนผาและสวนใหญสถานีเล็กๆ ก็จะเป$นสถานี ชั้นเดียวซึ่งหลังคาจะมุงดวยสังกะสี แตศาลายาเป$นสถานีที่มี ๒ ชั้น ชั้นลาง เป$นหองขายตั๋วเป$นที่ทําการของสถานี สวนนายสถานีก็จะไปพักอยูที่ชั้นบน ที นี้ ต อมาสถานี แ รกๆ จะเห็ น วาไมมี ห นามุ ก ขางหนาเพราะวาระบบ อาณัติสัญญาณใชโบกธง แตตอมาเมื่อสถานีรถไฟมีความกาวหนาขึ้นเรื่อยๆ ก็ จะตอหนามุ ก สถานี ขึ้ น มาเพื่ อ เป$ น ที่ ติ ด ตั้ ง ระบบอาณั ติ สั ญ ญาณตรงนั้ น ลักษณะก็จะเป$นอาคารโลงๆ
ภาพตัวอยางสถานีรถไฟ และคนโบกธงให4สัญญาณ (สถานีรถไฟแมทะ จังหวัดลําปาง รางวัลอนุรักษศิลปะสถาป*ตยกรรมดีเดนประจําปP พุทธศักราช ๒๕๕๔ ประเภทอาคารสถาบัน และอาคารสาธารณะ จากปฏิทินการรถไฟแหงประเทศไทยพุทธศักราช ๒๕๕๖)
๒๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ศาลายาสมัยกอนก็มีจํานวนผูโดยสารมากพอสมควร ตอนเริ่มเปMดมา สามสี่ ป0 ก็มี ส ถิ ติ ว าศาลายามี จํ า นวนผู โดยสารและรายไดคาโดยสารอยู ที่ ระดั บ กลางๆ แสดงวาสมั ย กอนคนศาลายานาจะมี ฐ านะพอสมควร เขา บรรยายเอาไววาตลอดทางจากบางกอกนอยไปเพชรบุรี สองขางทางจะเป$น ทุงนาคนสวนใหญจะทํานาไมวาจะเป$นศาลายา ศาลาธรรมสพน8 วัดสุวรรณฯ วัด งิ้ว รายอะไรแบบนี้ เขาจะทํา นากั นเป$น พื้ น ก็จ ะมีส วนหนึ่ง ที่เขาบอกวา เหนื อ บริ เ วณทางรถไฟหนาฝนเขาก็ ทํ า นาพอถึ ง เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ8 จ นถึ ง เดื อ นพฤษภาคมดิ น จะแหงแตกระแหงก็ แ สดงวาเขาทํ า นาป0 ล ะครั้ ง แลว หลั ง จากนั้ น ดิ น ก็ จ ะแหง ทั้ ง ที่ ส ถานี ร ถไฟสายนี้ เ ขาจะสรางเรี ย บกั บ คลองมหาสวัสดิ์ไปตลอดไปจนถึงบานเขมรที่เดี๋ยวนี้เขาเปลี่ยนเป$นนครชัยศรี สมัยกอนเขาเรียกวาบานเขมร พอถึงนครชัยศรีสองฟากจะเป$นทุงนาทั้งนั้น ผมนั่ ง รถไฟเขากรุ ง เทพฯ ครั้ ง แรกเมื่ อ ป0 พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๖ ก็ เ ขามา เรียนหนังสือเขามาทํางาน ชวงประมาณป0พุทธศักราช ๒๕๑๖ จนถึง ๒๕๒๐ ปลายๆ สภาพสองขางทางไมคอยมี ทุ งนาแลวก็ จ ะเห็ น เปลี่ ย นไปปลู ก ผั ก กระเฉด เวลาเขาสรางทางรถไฟเขาจะขุ ด ดิ น ขึ้ น มามั น ก็ จ ะมี คู ลึ ก ๆ ปลูกผักบุง ปลูกผักกระเฉด ปลูกชะอม ลักษณะเป$นสวนครัว แตพอเลยหาง ทางรถไฟออกไปก็จะมีเป$นแปลงดอกไมจะมีแปลงดอกเบญจมาศ ดอกเยบีรา แลวก็ มี พ วกพื ช ผั ก สวนครั ว เมื่ อ ป0 พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๐ กวาๆ ก็ ยั ง เห็ น ตนขึ้ น ฉายสี เ ขี ย วสี ข าวที่ เ อากะลาไปครอบนี่ ก็ เ ป$ น การเปลี่ ย นแปลงของ ศาลายา ที่สถานีศาลายาจํานวนผูโดยสารชวงหลังๆ รูสึกจะมีไมคอยมากนัก เมื่อป0พุทธศักราช ๒๕๓๘ ผมก็นั่งรถไฟมาลงศาลายาเป$นครั้งแรก ที่มาลงที่นี่ เมื่อป0พุทธศักราช ๒๕๓๘ ผมมาเป$นลูกศิษย8มหาวิทยาลัยมหิดล ผมมาเรียน เกี่ยวกับการผลิตวีดิทัศน8 หัวหนาโครงการชื่ออาจารย8สถาพรไมทราบวาตอนนี้
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๒๕
ทานเกษี ย ณไปแลวหรื อ ยั ง ผมมาเรี ย นกั บ อาจารย8 ส ถาพรนั่ ง รถไฟจาก กรุ ง เทพฯ มาลงศาลายาแลวผมก็ เ ดิ น มาเรี ย นที่ นี่ ก็ ดี ใ จที่ อ าจารย8 ยั ง อยู ศาลายาตอนนั้ น ขบวนรถดวนรถเร็ ว ยั ง ไมจอดมี แ ตรถธรรมดา แตพอ หลั ง จากนั้ น มาที่ นี่ เ ป$ น ชุ ม ชน เป$ น มหาวิ ท ยาลั ย มี ส ถาบั น ของทหารเรื อ มี พุ ท ธมณฑล มี ส ถานศึ ก ษาแถวๆ นี้ กลายเป$ น วาขบวนรถดวนรถเร็ ว ทุ กขบวนจอดที่ ศ าลายา เพราะฉะนั้ น ศาลายากลั บ ทวี ค วามสํ า คั ญ ขึ้ น มา สมั ย กอนรถไฟออกบางซื่ อมาบางบํ า หรุ ก็ไ มไดจอดก็ ไ ปจอดนครปฐมเลย ตอมาจอดบางบําหรุเพราะบางบําหรุอยูใกลๆ สายใตตรงปM^นเกลาจึงทําให รถดวนรถเร็ ว หยุ ด ที่ บ างบํ า หรุ แตที่ ศ าลายาก็ อ ยางที่ เ รี ย นใหทราบวามี สถานที่ราชการสําคัญเกิดขึ้นมา การรถไฟก็เลยใหรถไฟหยุดที่ศาลายาซึ่งก็ เป$นโอกาสดีที่ใหพอคาแมคาขายของกันมากมาย
๒๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ทีนี้ตอไปศาลายาอาจจะเป$นอะไรอีกตอไปในขางหนา ซึ่งตอนนี้เห็น ประมาณวารถไฟสายสีแดงที่ทดลองวิ่งระหวางบางซื่อกับตลิ่งชันตอนนีไ้ มคอย มี ผู โดยสาร เพราะวาจุ ด ตนทางและปลายทางสถานี มั น ไมใชชุ ม ชนใหญ มั น ไมใชจุ ด สํ า คั ญ ไมมี ศู น ย8 ก ารคาไมมี ส ถานที่ ร าชการเขาก็ อ าจจะขยาย ในเบื้ องแรกมาที่ ศาลายากอน ตอนแรกเขาวาดวาจะไปสิ้ นสุ ด ที่ นครปฐม แตเขามองดูสภาพการโดยสารตางๆ ก็อาจจะใหมาสิ้นสุดที่ศาลายากอนแลวก็ มี อี ก กิ่ ง หนึ่ ง ที่ แ ยกจากชุ ม ทางตลิ่ ง ชั น เขาไปที่ โ รงพยาบาลศิ ริ ร าชซึ่ ง เป$ น แนวตามพระราชดําริ สวนเรื่องของการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ อาจจะใหนายสถานี พูดแลวตอนหลังผมอาจจะเติมใหบางนิดหนอย อาจารย8ชนกพร : ลํ า ดั บ ตอไปอาจจะตองถามที่ น ายสถานี น ะคะ เมื่ อ สั ก ครู นี้ คุณอุบลศักดิ์เลาวารถไฟในชวงแรกไมไดจอดที่ศาลายามากนักแตภายหลัง มีขบวนที่มาจอดทางนี้เยอะขึ้น ทีนี้คนที่จะเลาเรื่องนี้ไดดีที่สุดเรื่องที่มาที่ไป วาทําไมถึงมีรถไฟมาจอดที่ศาลายาเยอะขึ้น แลวพอมีรถไฟมาจอดเยอะขึ้น แลวมันทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางไรบาง คงตองเรียนเชิญอดีตนายสถานี คุณสัญญา ซึ่งคุณสัญญาเป$นนายสถานีตั้งแตป0พุทธศักราช ๒๕๒๘ – ๒๕๓๓ ขอเรียนเชิญใหเลาวาเป$นอยางไรคะ คุณสัญญา : เดิ ม ที ผ มยายมาอยู ที่ ส ถานี ศ าลายาเมื่ อ ป0 พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๒๘ ศาลายาเรายั งไมมีอะไรเลยนะครับ ยัง เป$น ปNาแลวตอนนั้น การคมนาคมที่ สะดวกที่สุดก็คือทางรถไฟ ตอนนั้นมหิดลก็มีแลวครับเพิ่งมาตั้งใหมๆ ตอนนั้น มหิ ด ลยั ง เป$ น รั้ ว ตนสนทั้ ง หมดเลยแตตอนนี้ ก็ ยั ง เสี ย ดายตนสนโดนตั ด
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๒๗
ไปหมดแลว เมื่อกอนตอนที่ม าศาลายาคอยๆ มีค วามเจริญ เขามาทีล ะนิ ด มันถูกกลืนดวยวัตถุ การเปลี่ ยนแปลงนั้นมีการเปลี่ ยนแปลงไหม เมื่อกอน รถไฟอยางที่คุณทรงกลดพูดวาเมื่อกอนเราใชหวงระยะเวลาการเดินทางจากนี่ ไปธนบุ รี สวนมากคนที่ นี่ จ ะเดิ น ทางไปธนบุ รีอ อกตอนตี หาจริ ง ๆ แลวรถ ขบวนนี้มีเจ็ดถึงแปดตู ผูโดยสารแนนเอียดเต็มหมดทุกขบวนนั่งแทบไมมีที่ยืน โดยสวนมากขนพืชผลทางการเกษตรจากนครปฐมไปขายที่ธนบุรี เขาก็จะรูวา ขบวนนี้มีอาหารสดชนิดตางๆ เยอะ ความเจริญก็เขามาเรื่อยๆ สถานีศาลายา ก็ไ ดพั ฒนามาจนขบวนรถดวนรถเร็ วก็ ม าจอดตั้ ง แตป0 พุ ท ธศั กราช ๒๕๓๔ เป$นตนไป เพราะวาความเจริญมีมหาวิทยาลัยมาตั้ง สถาบันของทหารเรือมา ตั้งแลวผมมาอยูที่ศาลายาตั้งแตป0พุทธศักราช ๒๕๒๘ แลวก็ไมไดไปไหนเลย เพราะวาบานอยูที่นี่ก็เลยเห็นความเจริญตางๆ เกิดขึ้น ประกอบกับมีโรงเรียน กาญจนาเกิดขึ้น มีสารสนเทศของวังดวยก็เสนอเขาไป ตอนนั้นขบวนรถเร็ว จอดกอนตอไปเป$นรถดวนจอดนอกจากนี้ รถดวนระหวางประเทศก็จ อดที่ ศาลายาหมด ศาลายาตอนนั้นกับตอนนี้ตางกัน ตอนนั้นการคมนาคมทางถนนมี สายปM^นเกลา - นครชัยศรีกําลังจะสรางขึ้น แตกอนมาอยูใหมๆ มันไมสะดวก ที่ วิ่ ง มั น เป$ น ทางลู ก รั ง แลวเห็ น การเปลี่ ย นแปลง ถามวามี การเปลี่ ย นแลว สะดวกขึ้น ไหมก็ สะดวกขึ้ น ถาถามวาการเดิ น ทางรถไฟ รถยนต8 ระหวาง บางกอกนอย - ศาลายา อันไหนใชระยะเวลาการเดินทางนอยกวากัน ตอบได เลยวารถไฟ อยางรถไฟชาๆ จอดทุกสถานีระยะทาง ๑๙ กิโลเมตร อยางเกงก็ ประมาณครึ่งชั่วโมง แตถามวาทําไมรถไฟชามันมีองค8ประกอบหลายอยางนะ ที่รถไฟวิ่งชาไมชา คือ ทางตัดผาน ทางตัดผานคือหัวใจเลยนะ รถไฟจะหยุดวิ่ง ทันทีไมได ระบบหามลอมันตองมีระยะทางของเขาถึงจะหยุดไดเป$นเรื่องของ
๒๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ความปลอดภัย ถาถามวารถไฟวิ่งไวไหม ถาไมมีถนนตัดผานรถไฟก็วิ่งไวนะ ครับ อาจารย8ชนกพร : สวนหนึ่งที่ชาคือทางรถไฟตัดผานถนน คือมีทางรถไฟตัดกับถนน อยูหลายชวงจึงทําใหรถไฟตองชะลอเป$นระยะ คุณสัญญา: ถาถามวาสถานีรถไฟ ๑๑๐ ป0 แลว ในชวงที่ผมเป$นนายสถานีชวงนั้น ก็ ยั ง ไมมี ค วามเจริ ญ พอสมควรแตทุ ก วั น นี้ ดี ขึ้ น มากผิ ด หู ผิ ด ตาจากเดิ ม หลายรอยเปอร8เซ็นต8 อาจารย8ชนกพร : จริงๆ สถานีรถไฟศาลายา พอดีเมื่อสักครูคุณสัญญาไดเลาวาพอมันมี ความเจริญ พอมันมีสถานที่ราชการตางๆ ตั้ง ก็จะเริ่มมีขบวนที่มาจอดมาขึ้น ถาใครไปสถานีรถไฟศาลายาตอนชวงเชาหรือชวงเย็นเราก็จะเจอขาราชการ หรือพนักงานมหาวิทยาลัยคนที่ทํางานหนวยราชการแถวๆ นี้ไปขึ้นกันเยอะ อยางตัวดิฉันเองตอนเย็นๆ จะกลับบานก็จะปX^นจักรยานไปสถานีแลวก็พับขึ้น รถไฟไปลงบางกอกนอย ซึ่งมันก็ จะสะดวกเพราะถาเรานั่งหรือขั บรถยนต8 ตอนเย็นอยางเกงก็ชั่วโมงหนึ่ง จริงๆ มันก็ชวยเพิ่มความสะดวกใหไดเยอะมาก ทีนี้ในชวงระยะเวลาที่อยูที่นี่ จริงๆ ทราบมากอนหนาที่คุณสัญญาจะมาเป$น นายสถานี ที่ ศ าลายา กอนหนานั้ น ก็ อยู ที่ น ครศรี ธ รรมราช ลพบุ รี ราชบุ รี มากอน ความพิเศษที่สถานีศาลายามีลักษณะอะไรที่ตางไปจากที่อื่นที่เคยอยู หรือวาเคยทํางานมาบางไหมคะ
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๒๙
คุณสัญญา : ตางครับ สิ่งที่ตางคือตอนนั้นป0พุทธศักราช ๒๕๒๘ มองวาตอนนั้น เขากําลังเจริญขึ้นแลวพอมีการกระจายสถานศึกษาของสถานที่ราชการมาอยู ตรงนี้ ค วามเจริ ญ ของทองถิ่ น มั น นาจะสู ง ขึ้ น พอสู ง ขึ้ น ตรงนี้ ถามวาการ เปลี่ย นแปลงมี เยอะไหมมีเยอะขึ้น ความพรอมมัน ตางกันที่ สถานีศาลายา ถาไดรับการพัฒนาจริงๆ จากทุกภาคสวนพรอมๆ กันนาจะดีกวานี้ อาจารย8ชนกพร : จริ ง ๆ ถามองสถานี รถไฟตางจั ง หวั ด หลายๆ ที่ สถานี กั บ ชุ ม ชน จะแยกออกจากกั น คื อ ไมไดโตไปพรอมๆ กั น ศู น ย8 ร าชการกั บ ตั ว สถานี จะอยูแยกกัน แตถาพูดถึงศาลายาตัวหนวยงานราชการตางๆ กับสถานีรถไฟ อยู ใกลกั น มาก จริง ๆ เทากั บวาถาชุม ชนโตสถานี ก็น าจะไดรั บ การพั ฒ นา ควบคูกันไปใชไหมคะ คุณสัญญา : ใชๆ อยางตลาดที่ ข างหลั ง สถานี ผ มเป$ น คนจั ด ระเบี ย บตั้ ง แต ป0พุทธศักราช ๒๕๓๐ ตอนนั้นจัดรวมกับทานอภิชาติ ชวยกันพัฒนาตําบล หนึ่งคือเรื่องความสะอาดอะไรตางๆ ตอนนั้นมีชุมชนเขาไปเกี่ยวของดวย คือ อยากเห็นมันเจริญทั้งวัตถุและจิตใจตางๆ อาจารย8ชนกพร : เราก็จะเริ่มเห็นมีการเริ่มวิ่งรถไฟสายใตแลวเริ่มผานมาทางศาลายา แลวเห็นวาชุมชนโตขึ้น สถานีตรงนี้ก็มีการพัฒนามีการจอดมากขึ้น แลวมี
๓๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ศักยภาพพั ฒ นาไปไดมากกวานี้อีก สิ่ งที่ เกิด ขึ้ นกั บ ชุม ชนเมื่ อมี รถไฟไดแก อะไรบางตอไปก็คงตองเรียนถามคุณหมอวัฒนา คุณหมอวัฒนา : กระผมก็เป$นคนที่เกิดในตําบลศาลายาแลวมีโอกาสไดใชบริการของ รถไฟตั้ ง แตจํ า ความได เพราะบานอยู ศาลายา ซึ่ ง ตอนนั้ น ใกลๆ สถานี วัดสุวรรณาราม ก็ไดเห็นการเปลี่ยนแปลงของรถไฟ ในอดีตที่ผานมาเราคง ตองกลาวถึง ทางรถไฟ ทางรถไฟสายใตเกิ ดขึ้น จุดตั้ง ตนของทางรถไฟคื อ ริ ม แมน้ํ า เจาพระยาซึ่ ง เดิ ม เป$ น ที่ ข องวั ง หลั ง ซึ่ ง เป$ น ที่ ตั้ ง เดี ย วกั บ โรงพยาบาลศิริราช ตั้งตนจากสถานีธนบุรี เดิมไมใชสถานีธนบุรีในทุกวันนี้ เพราะอยูริมแมน้ําจริงๆ ก็เลียบคลองบางกอกนอยมาทางตลิ่งชันซึ่งสมัยกอน ยังไมใชชุมทางมาฉิมพลีแลวก็เลียบคลองฝX^งใตมาตลอดมาศาลาธรรมสพน8 ศาลายา มาศาลายากิ โ ลเมตรที่ ๑๙ มาวั ด สุ ว รรณฯ กิ โ ลเมตรที่ ๒๓ คลองมหาสวัสดิ์กิโลเมตรที่ ๒๗ แลวงิ้วรายประมาณกิโลเมตรที่ ๓๐ แลวก็ จะขามแมน้ําที่สะพานเสาวภาเป$นสถานีบานเขมรหรือนครชัยศรีแลวก็มา แฉลบตนสําโรงแลวเป$นสถานีนครปฐม ทางรถไฟสายใตเริ่ ม ตนคนรุ นเกาๆ ก็ จ ะบอกวาเป$ น ทางรถไฟที่ กลืนกินโบราณสถานของนครปฐมที่เป$นอาณาจักรทวารวดีไมใชตรงเฉพาะ วั ด พระงามนะทั้ ง เมื อ งเลย สวนหนึ่ ง นํ า มาเป$ น ฐานรากรางรถไฟไมวา โบราณสถานกําแพงเมืองตางๆ เพราะวาตองใชจํานวนมาก หลังจากรถไฟ สายใตเปM ดเดิน เมื่ อป0 พุท ธศั กราช ๒๔๔๖ ก็ เกิ ดการเปลี่ย นแปลงของพื้น ที่ แถบนี้ การคมนาคมเดิ ม ที่ อาศั ย ทางเรื อ สมั ย กอนอาศั ย เรื อแจวเวลาเขา กรุ ง เทพฯ ก็ ใ ชเวลาหลายชั่ ว โมง รถไฟก็ ใ ชเวลานอยขึ้ น แตคาโดยสารจะ แพงมาก แลววันหนึ่งจะมีไมกี่ขบวนแตหลังจากนั้นสภาพการเปลี่ยนแปลง
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๓๑
ของคลองมหาสวัสดิ์ก็คือเริ่มมีประตูน้ําการเดินทางทางน้ําก็เริ่มลําบากขึ้น สมัยกอนสถานีศาลายาก็ถือวาเป$นสถานีที่ยังไมใหญแตสถานีที่ใหญจนเป$น ชุมทางก็คือสถานีต ลิ่งชัน แตคนไมคอยมี เป$นชุมทางที่ เหมือนอยูกลางทุ ง สถานี ที่ ใ หญอี ก สถานี ห นึ่ ง คื อ สถานี งิ้ ว รายซึ่ ง อยู ริ ม แมน้ํ า นครชั ย ศรี เป$ น จุดเริ่มตนของคนที่จะเดินทางไปสุพรรณบุรีในสมัยกอน ในอดีตจะนั่งรถไฟ ไปลงงิ้ ว รายแลวไปลงเรื อ ของบริ ษั ท สุ พ รรณขนสง ชื่ อ เรื อแบบวรรณคดี ขุนชางขุนแผนนั่งไปวันหนึ่งก็จะถึงสุพรรณ สถานีอีกสถานีคือสถานีบานเขมร หรือนครชัยศรีในอดีต เพราะวาเป$นที่ตั้งของมณฑลนครชัยศรีแลวยุคตอมา เหลือเป$นเมืองนครชัยศรีจนกระทั่งกลายเป$นอําเภอนครชัยศรีแลวตอไปก็เป$น สถานีนครปฐมเลย บรรยากาศในการนั่งรถไฟสายนี้ในสมัยกอนนี้นึกถึงบรรยากาศที่เป$น ธรรมชาติจะเห็นสภาพเมืองอยูนิดเดียว พอพนจากถนนจรัญสนิทวงศ8ก็จะเห็น เป$นสวนตลอดไปขามถนนใหญตรงคลองชักพระตรงนั้นเป$นที่วาการอําเภอ ตลิ่งชัน มาถึงบานฉิมพลีถามองออกไปทางดานซายจะเห็นบึงใหญซึ่งเกิดจาก การขุ ด ดิ น มาทํ า ทางรถไฟแถวๆ ธนบุ รี ค นสมั ย กอนเขาเลา แตสมั ย นี้ ไมเห็นแลว เห็นเป$นศาลจังหวัดตลิ่งชันที่ใหญโตมโหฬาร เลยจะไมเห็นบึงใหญ อันนี้แลว แถวนี้จะเป$นสวนเยบีราสวนผักจะเป$นสวนผักยานที่เขาเรียกวา “สวนผัก” ก็คือสวนผักตลิ่งชัน พอเขาเขตศาลาธรรมสพน8ก็เริ่มเขาเขตทุงนา พอมาถึงศาลายาก็จะเป$นทุงนาหมดยันไปถึงงิ้วรายนครชัยศรี พอถึงตนสําโรง เมื่อสัก ๕๐ ป0กอน คนก็จะรูสึกวาไดเวลาแลวที่จะเตรียมตัวลงสถานีนครปฐม เพราะวาไดกลิ่นขี้หมู ขี้หมูตนสําโรงจะเป$นเอกลักษณ8ของรถไฟสายนี้ ตอมา การขยายของเมืองและการเปลี่ยนแปลงเมื่อมีถนนรถยนต8ขึ้นมาทางรถไฟก็ เริ่ ม ลดความสํ า คั ญ ลง โดยเฉพาะคนไปสุ พ รรณฯ เมื่ อ มี ถ นนมาลั ย แมน ประกอบกับตอนหลังมีถนนที่ทานบรรหารไดสราง ความสําคัญทางน้ําก็ลดลง
๓๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
จากเดิมที่สถานีงิ้ว รายคนลงเยอะเพื่อที่จะไปสุพรรณแลวคนที่จะขึ้นรถไฟ ถาเรื อ เสี ย เวลารถไฟก็ จ ะรอ มั น เป$ น สถานี ที่ แ ปลกที่ ร ถไฟรอเรื อ เพราะ ผูโดยสารจะเยอะมากเพื่อเขาสูกรุงเทพฯ หรือวาลงใต ตอมากิจการพวกนี้ก็ แยลง คนใชบริการนอยลง แตมี เรื อดวนหลายเจาหลายสีเจ\ ง กั นหมดเลย งิ้วรายเลยไมมีเรือที่จะรับไปสุพ รรณบุรี สถานีงิ้ วรายคนลดลง แตกลับกั น ศาลายากลายเป$นชุมชนที่พัฒนามากขึ้น เพราะวาเมื่อไมมีเรือดวนมางิ้วรายก็ จะมีเรือหางยาวมาศาลายาแทนตามคลองนราภิรมย8 เพราะฉะนั้นคนจะมา ใชบริการของสถานีศาลายาเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับมีการสรางพุทธมณฑล มีการตัดถนนพุทธมณฑลสาย ๔ ทําใหมีรถสองแถวที่จะเชื่อมถนนเพชรเกษม มาสถานีศาลายาเพื่อจะมาโดยสารรถไฟหรือมาลงเรือตอ ศาลายาจึงโตขึ้นๆ เรื่อยๆ ประกอบกับการมีมหาวิทยาลัยมหิดลที่ทําใหความเจริญของพื้นที่นี้ มี ม ากขึ้ น การมี ถนนปM^ น เกลา-นครชั ย ศรี มี รถประจํ า ทางก็ ทํ า ใหศาลายา กลายเป$นชุมทางของทั้งรถไฟทั้งของเรือและรถยนต8เขาดวยกันศาลายาจึง โตขึ้นเรื่อยๆ เปรียบเทียบกับงิ้วรายก็รูสึกวาจะซบเซาลงไป พอมีถนน รถไฟก็ ซบเซาลงไปทันทีเลย พอมีถนนไปหาอําเภอนครชัยศรีวาอยูตรงไหนหาแทบ ไมเจอเลยเพราะสมัยกอนพอลงรถไฟเสร็จก็ไปลงเรือแจวไปอําเภอแตเดี๋ยวนี้ มองหาก็ไมเจอ ขอกลาวถึงสถานีรถไฟธนบุรี เดิมที่มียอดแหลมซึ่งอยูริมแมน้ําเลย สมัยกอนลงรถไฟที่สถานีธนบุรีเสร็จคนก็จะเดินไปลงเรือขามแมน้ําหรือไปลง เรื อ ดวนซึ่ ง สะดวกมาก ไมเหมื อ นสมั ย นี้ ที่ ส ถานี ธ นบุ รี ข ยั บ ออกไปอี ก ๒ กิ โ ลเมตร เพื่ อ ใชที่ ดิ น เดิ ม มาสรางเป$ น โรงพยาบาลศิ ริ ร าชปM ย การุ ณ ย8 เพราะฉะนั้นคนเดินทางไปสถานีธนบุรีจะไมสะดวกเหมือนสมัยกอน สวนเรื่อง หัวรถจักรซึ่งผมก็ยังทันอยู มีทั้งหัวรถจักรไอน้ําและดีเซล หัวรถดีเซลก็จะเป$น รถดวนสมัยกอนยี่หอฮิตาชิใชอยูนานมาก และเมื่อกลาวถึงสถานีวัดสุวรรณ
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๓๓
สถานีนี้ไดมีการตอเติมมุกออกมาเพื่อติดตั้งเครื่องใหสัญญาณที่ใชเป$นลักษณะ ของลวดสลิง ที่จะใหสัญญาณกันทีก็ตองใชกําลังในการยก คนที่เป$นนักการ จะตองแข็งแรงถาไมแข็งแรงจะยกสัญญาณไมได สถานีวัดสุวรรณดานหนา ตอนนี้ ส ถานี ส วยงามขึ้ น เยอะ เพราะสภาพเมื่ อ กอนเดื อ นสิ ง หาคม ป0พุทธศักราช ๒๕๕๕ โทรมมากเลย แตดวยพระบารมีของพระบรมโอสาธิราชฯ ทานเสด็ จ มาเยี่ ย มเยื อ นคลองมหาสวั ส ดิ์ เ พื่ อ มาดู ผ ลกระทบน้ํ า ทวมและ ใหกําลังใจ พอขาวมาเพียงไมกี่วันสถานีรถไฟวัดสุวรรณสวยขึ้นทันตาเห็นเลย ไมเคยเห็นสถานีสวยเร็วขนาดนี้ สวนเครื่องชั่งน้ําหนักของวัดสุวรรณตั้งแต ผมเกิดมาก็เห็นแลวจนกระทั่งทุกวันนี้ก็ยังพอใชไดอยู เมื่อเปรียบเทียบกับ สถานี ม หาสวั ส ดิ์ ซึ่ ง สถานี ม หาสวั ส ดิ์ เ ปลี่ ย นแปลงแลวคื อ เสาสถานี เ ป$ น คอนกรีตแตของวัดสุวรรณยังเป$นไมอยู มีอายุเกือบจะโบราณสถานได สถานี รถไฟเกือบเป$นไดหมดแลวเพราะวาอาคารนาจะถึงรอยป0 อาคารเดิมอาจจะ เกือบรอยป0แลวก็มีการแตงเติมบางนิดหนอย เมื่อกลาวถึงสถานีศาลายาซึ่งปรับปรุงแลว เมื่อป0พุทธศักราช ๒๕๓๙ ผมมานี่รูสึกวารางคูยังไมเสร็จดี สถานีศาลายาถาไปทางตะวันออกก็จะไป สถานีศาลาธรรมสพน8ถาไปทางตะวันตกก็เป$นวัดสุวรรณ รถจักรไอน้ําที่ไป สายน้ํ า ตกก็ เ ลิ ก ไปหลายสิ บ ป0 แ ลว สมั ย กอนจะเป$ น หั ว รถจั ก รขนาดเล็ ก ไมเหมือนไปเพชรบุรีที่เป$นหัวรถใหญซึ่งหัวรถเพชรบุรีจะเป$นหัวรถเร็วใหญ นี่ก็เป$นเสนทางที่สวยงามใครมีโอกาสชวงนี้ไดไปดูวาสภาพรถไฟเป$นอยางไร โดยเฉพาะรถไฟสายน้ํ า ตกเป$ น รถไฟสายประวั ติ ศ าสตร8 ที่ มี ค วามสํ า คั ญ แลวถาทานไมคิดที่จะไปเที่ยวน้ําตกไทรโยคนอยนั่งไปนั่งกลับก็ไมตองเสียเงิน เพียงแตวาบางทีทานลงไปหองน้ําขางลางไมทันเพราะวารถเสียเวลา ๑๕ นาที ก็ ไ มมี เ วลาลงไปแลว อั น นี้ ก็ เ ป$ น ภาพตารางเวลารถไฟซึ่ ง สถานี ศ าลายา
๓๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
รถจะจอดเยอะถาเปรียบเทียบกับสถานีรถไฟที่อยูไกลๆ ผมวาบางทีวันหนึ่ง รับรถไมกี่ขบวน แตศาลายารับรถเยอะ อาจารย8ชนกพร : นอกจากตารางใหญนี้แลวเขาใจวามีขบวนพิเศษดวย คุณหมอวัฒนา : อันนี้เป$นความภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยมหิดลวาทานอธิการบดี ทานที่แลวก็ไดใชความสามารถเฉพาะตัวในการที่จะขอรถไฟขบวนพิเศษใหกับ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลก็ คื อ ขบวนศาลายา-ธนบุ รี ซึ่ ง เป$ น ดี เ ซลรางวิ่ ง วั น ละ ๑๐ เที่ยว ไป ๕ เที่ยว กลับ ๕ เที่ยว เป$นขบวนพิเศษจริงๆ แลวก็ฟรีดวย แลวขบวนนี้พิเศษที่ไมตองไปเสียเวลาเพราะวิ่งใกล เพราะวิ่งในชวงของรางคู ยกเวนตลิ่งชันไปธนบุรีเทานั้น อันนี้ชวยไดโดยเฉพาะในชวงน้ําทวมชวยได เยอะเลย สําหรับเหตุการณ8ที่สําคัญของสถานีศาลายาอันหนึ่งก็คือเหตุการณ8 การปลนสถานีรถไฟศาลายาเมื่อป0พุทธศักราช ๒๔๙๒ คนที่อยูในเหตุการณ8 จริงๆ ก็คือกํานันจุน เซ็งมณี ก็ไดบันทึกเอาไวในหนังสืออนุสรณ8สถานงานศพ ก็คือในป0พุทธศักราช ๒๔๙๒ ตอนนั้นอาจนึกวาคนทํารถไฟอาจจะรวยมาก ภรรยานายสถานีมีเครื่องประดับเยอะมีสรอยคอก็เลยรูสึกอิจฉาคนอื่นก็เลย วางแผนปลนสถานีกลางคืน ปรากฏวากํานันจุนเกณฑ8ลูกบานมาชวยกันตอสู กั บ โจร จนโจรก็ ล าถอยแตโจรก็ จั บ ภรรยานายสถานี ไ ปดวยแลวรู สึ ก วา เอาเครื่องทองนั้นไปแลวก็ปลอยตัว แตตอนหลังก็มีการสืบทราบจนกระทั่ง ทีหลังรูตัวคนที่มาปลนทางการก็จับ คนหนึ่งก็อยูทางบานมะเกลือก็โดนจับ แตก็ต อสู คดี จนหลุ ด อีกคนก็โ ดนจับ มาทํ าแผนเสร็จ ระหวางนํ าสงโรงพั ก
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๓๕
ที่ น ครชั ย ศรี ป รากฏวาโจรก็ ก ระโดดลงน้ํ า หนี แลวก็ มี ค นพบศพเสี ย ชี วิ ต คากุญแจมือ เหตุการณ8 ที่ สํา คั ญอี กอัน หนึ่ ง ก็คื อเหตุ การณ8ขบวนรถแมคา ก็ คื อ ขบวนรถนครปฐม-ธนบุ รี ชนที่ ส ถานี ต ลิ่ ง ชั น ก็ ถื อ วาเป$ น เหตุ ก ารณ8 ประวัติศาสตร8ของการรถไฟที่สําคัญ จริงๆ ขบวนแมคาเป$นขบวนที่มีชีวิตชีวา มาก ผมมี โ อกาสไดใชบริ การรถขบวนนี้ตั้ ง แตเริ่ ม ขยายจากศาลายาไปถึ ง วัดงิ้วรายและไปถึงนครปฐม ชวงที่ผมเรียนมหาวิทยาลัยมหิดลใหมๆ เขาไปใน ป0พุทธศักราช ๒๕๑๖ ในเทอมตนผมไมสามารถนั่งรถไฟไปเรียนไดเพราะวา มีแตรถราชบุ รีซึ่ งเขาธนบุรีไ มทั น รถจะมาถึง วัด สุวรรณ ๐๗.๐๕ น. ไปถึ ง สถานีธนบุรี ๐๗.๓๕ น. ใชเวลา ๓๐ นาที พอดี ระยะทาง ๒๔ กิโลเมตรเศษๆ แตไปเรียนที่มหิดลพญาไทไมทันก็เลยตองไปพักที่บานญาติ หลังจากนั้น ก็ มาใชบริ การรถขบวนนี้ มาตลอดจนกระทั่ง เรี ยนจนแพทย8 ในป0 พุท ธศักราช ๒๕๒๒ เรี ย นมี น าคม เมษายนก็ ไ ปเป$ น แพทย8 ฝ• กหั ด ที่ โ รงพยาบาลตํ า รวจ ในขบวนนี้ปกติม าก็จ ะมีการจั ดสรรปX นสวน สวนหนาจะใหนั กเรี ยนอยูกั บ คนทํางาน ตรงกลางกับทายๆ จะเป$นแมคาอยูยกเวนตูทายจะเป$นผูโดยสาร ที่ไมไดไปลงเรือ ถาลงเรือไปอยูขางหนาถาลงรถหรือแถวฟากศิริราชอาจจะ อยูขางหลัง แมคาจะจองตรงกลางจะมีระบบชวยเหลือกัน เวลาถึ งสถานี ที เขาก็จะรอ อยางลุงสมจิตแกเป$นคนที่ขยันและอัธยาศัยดี แกก็จะมาคุมรถ อยูเรื่อยถารถจอดไมตรงแกก็จะตีธงใหรถขยับแมคาก็จะวางที่พอดีเป€ะเลย พอถึงเวลาขางลางก็จะสงขางบนก็จะชวยกันรับ ชวยกันรับชวยกันสงไปจนถึง สถานีธนบุรีพอถึ งเขาก็ ขนลง พอขนลงเสร็จ เขาก็ขายกันอยูตรงชานชาลา เป$นรถที่สรางโอกาสใหคนแถวพุทธมณฑลและคนที่อยูในรายทางนี้ สมัยกอน เขาบอกเลยวาหามคนที่ ไ มไดขึ้ น สถานี เหลานี้ หามเอาของเขามาขายใน ชานชาลาของสถานีธนบุรี เป$นการสรางอาชีพคาขายใหคนแถวบริเวณนี้
๓๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ขณะเดียวกันคนที่มาซื้อก็ซื้อของที่สดและถูก ปรากฏวาการรถไฟมีรายไดจาก การขายตั๋วชานชาลาเยอะ สมัยกอนสถานีธนบุรีจะเขามาตองซื้อตั๋วเรียกวาตั๋ว “ชานชาลา” รูสึกวาจะไดราคาดีกวารถขบวนหนึ่งวิ่งมาตลอด ตอนเชาแมคา เยอะ เลยคนซื้อก็เยอะเป$นที่พบกันระหวางผูซื้อผูขายโดยตรง แตปรากฏวา วัน ที่ ๒๑ สิ งหาคม ๒๕๒๒ ขบวนรถนี้ กํา ลั ง แลนเขาสถานี ชุม ทางตลิ่ ง ชั น ปรากฏวามี รถสินคาบางซื่อไดวิ่ง เขามา โดยรถขบวนนี้ยังเขาชานชาลายั ง ไมสุดขบวนนั้นวิ่งผานไมจอดตลิ่งชัน ปรากฏวารถมันสีกันมีคนตาย ๕๔ คน บาดเจ็ บ ๑๐๐ กวาคน คนที่ ต ายเยอะคื อ ชาวบานที่ อ ยู แถวฉิ ม พลี แ ละ ศาลาธรรมสพน8เพราะขึ้นทีหลัง ขางในจะเต็ม รถมันสีและเบียดทําใหรถลมไป ขางหนึ่ง พวกนักเรียนพวกแมคาก็จะตายกันเยอะจะมีตายกันหลายสถานี ศาลายาก็ มี ต ายสวนวั ด สุ ว รรณก็ มี ต ายไป ๒ คน ก็ ไ ดคาทํ า ศพรู สึ ก วาจะ ๕๐,๐๐๐ บาท แตก็มีขาวคนไดไมครบไดไมเต็ม รถไฟจาย ๕๐,๐๐๐ บาท แตญาติคนตายไดไมเต็ม อันนี้เป$นสิ่งที่เขาบอกกันมาจากคนที่รูจักกันดี นี่ก็ เป$นเหตุการณ8ที่สําคัญอันหนึ่ง เหตุ ก ารณ8 ที่ สํ า คั ญ อี ก อั น หนึ่ ง ก็ คื อ น้ํ า ทวมทางรถไฟตั้ ง แต ป0พุทธศักราช ๒๔๖๐ พุทธศักราช ๒๔๗๐ พุทธศักราช ๒๔๘๕ ทวมทางรถไฟ หมดเลย โดยเฉพาะพื้นที่อําเภอพุทธมณฑลไมมีเหลือ ไมมีที่อยูตองอพยพ ไปอยู ที่ องค8 พ ระปฐมเจดี ย8 เมื่ อป0 พุ ท ธศั กราช ๒๕๕๔ ซึ่ ง สภาพน้ํ า สู ง กวา ป0พุทธศักราช ๒๔๘๕ สถานีรถไฟศาลายาก็จม รูสึกวาผมออกมาตรงนี้ไมได อยูสองสามวันไมมีเรือออกมา ตอนที่สถานีรถไฟจมเกิดเหตุการณ8ก็คือรถไฟ หยุ ด วิ่ ง ไปไมกี่ วั น หลั ง จากนั้ น รถไฟก็ ม าแลนตอทั้ ง ที่ น้ํ า ทวม รถไฟมี ความสามารถพิเศษอยางหนึ่งคือน้ําทวมระดับน้ําสูงไมเกิน ๓๐ เซนติเมตร รถไฟยังแลนไดถาสภาพรางดี เราสามารถโบกไดจะขึ้นตรงอื่นที่ไมใชสถานี รถไฟก็จะจอด
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๓๗
อาจารย8ชนกพร : อั น นี้ พิ เ ศ ษ ม า ก น ะ ค ะ ช ว ง น้ํ า ท ว ม ร ถ ไ ฟ จ ะ จ อ ด ต า ม โ บ ก เราอยูตรงไหนโบกรอแลวรถไฟจะจอด คุณหมอวัฒนา : ก็เป$นปรากฏการณ8ที่ไมเคยเจอนะ อาจารย8ชนกพร : หลายคนที่ไดขึ้นตอนนั้นเหมือนวาเราไดขึ้นรถไฟบนน้ําเพราะรถไฟ จะวิ่งตามผิวน้ําไปตลอดจนกระทั่งไปถึงนครปฐมเลย คุณหมอวัฒนา : อันนี้ก็เกิดปรากฏการณ8วารถไฟคนไปใชบริการกันอยางลนหลามเลย สถานีวัดสุวรรณ วันๆ คนไมมาก แตปรากฏวาหัวขบวนมาคนมากันหลายรอย เต็มสถานีเลยกลายเป$นที่พบปะกัน รถไฟเป$นที่พึ่งจริงๆ แลวเกิดการคาขาย เกิดการคมนาคมใหม อาจารย8ชนกพร : เกิดอาชีพใหมดวยคะ เรือวิน เรือโฟม คนเดินลากโฟมไป คุณหมอวัฒนา : มี เรื อมารั บ ผู โดยสารไปสงตามหมู บานแตราคาพิ เ ศษเหมื อ นกั น แพงพิเศษ เมื่อระดับน้ําลดลงแลวเรารูสึกวารถไฟแลนไดเราไมอดก็ไปชอปปMVง กันที่ตัวเมืองนครปฐม เพราะกรุงเทพฯ เขาไปคงชอปไมไดและไปนครปฐม
๓๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เร็ ว กวา สมั ย ผมเริ่ ม เรี ย นประถมผมก็ เ ริ่ ม เรี ย นที่ วั ด สุ ว รรณจนจบ ป.๑ ไปเรียน ป.๒ ที่ตัวเมืองนครปฐมเป$นโรงเรียนประจําพอไปก็ตองนั่งรถไฟไป เพราะวั ด สุ ว รรณวั ด มหาสวั ส ดิ์ ไ มมี ท างเลื อ กตองรถไฟอยางเดี ย วก็ ช อบ เก็บสะสมตั๋ว ตั๋วแข็ง ตั๋วปXจจุบัน อาจารย8ชนกพร : จากที่ คุ ณ หมอเลาก็ ทํ า ใหเราเห็ น ภาพความพิ เ ศษอยางหนึ่ ง วา ที่ ศ าลายาเป$ น ชุ ม ทาง เมื่ อ กอนนี้ ไ มมี ถ นนก็ อ าศั ย การเดิ น ทางดวยเรื อ ดวยรถไฟแลวที่คุณหมอบอกวารถไฟรอเรืออันนี้พิเศษมากที่อื่นก็ไมคอยจะมี และถึงแมวาจะมีถนนแลวแตก็ยังมีความสําคัญในดานอื่นๆ ตอไป เมื่อกี้ติดใจ อยูเรื่องหนึ่งเรื่องขบวนรถแมคาตอนนี้ยังมีอยูไหมในลักษณะแมคายังขนของ ออกมาอยางนี้ คุณสัญญา : ตอนนี้ ก็ ยั ง มี อ ยู นะครั บ วิ่ ง จากนครปฐมไปธนบุ รี สวนแมคาที่ ขึ้นรถไฟตอนนี้ก็นาจะนอยลงครับเพราะการคมนาคมทางถนนเขาแขงขันกัน สูงมาก ทําไมแมคาถึงไปทางรถยนต8 เพราะเกษตรกรมีรถยนต8เองทั้งหมด การขนสินคาก็สะดวกกวา อาจารย8ชนกพร : ตอนนี้หนูไ ปตลาดศาลายาวัน ที่มี ตลาดนัด ก็ยัง เจอแมคานั่ งรถไฟ เอาของมาขายบางทีเราจะเจอคนมาจากใตนั่งขบวนหลังสวนมา มาเพื่อที่จะ ขนสะตอ ตนเหลียง อะไรที่เป$นของประจําจังหวัดภาคใตมาขาย ขายหมด ก็กลับ คือเป$น การเดิน ทางมาขายของที่น ารักมาก หลัง สวนนั่งรถมาเที่ย ว
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๓๙
กรุงเทพฯ ขายของเสร็จชอปปMVง ซื้อของกลับไปขายที่หลังสวนตอ อยางนี้ก็ยัง เจออยูเหมือนกัน คุณหมอวัฒนา : บรรยากาศรถหลังสวนจะไมเหมือนรถแมคานครปฐม คือรถหลังสวน ระยะจะวิ่งไกลดังนั้นสินคาพวกนั้นจะขนมาพรอมกับแมคาที่นอนมาเลยครับ คือใครไปใครมาแกก็ไมรูเพราะแกตีตั๋วไปถึงปลายทางเลย แตนครปฐมระยะ มันใกล แมคาขึ้นมาก็จะมานั่งแลวก็ ชวยกันไป จะดีอยางคือคนที่ขึ้นรถไฟ จะรู จั กกั น เยอะ แลวแมคาพวกนี้ จ ะซื้อของไดถู กเพราะรู จั กกั น บางคนก็ รูจั กกั น ยาวนานอยางพี่ ส าวผมก็ ไ ปขาย ไปขายตั้ ง แตพุ ท ธศั กราช ๒๕๒๕ เพิ่งจะหยุดเมื่อหลังน้ําทวม เพราะวาน้ําทวมสวนจมหมดไมมีอะไรจะไปขาย อาจารย8ชนกพร : อยางพูดถึงขายของที่รถไฟถาเรานั่งรถไฟเราจะทราบ ไปเพชรบุรี ก็จะมีหมอแกง ถาราชบุรีก็จะมีก[วยเตี๋ยว ๑๐ บาท ก็จะมีเอกลักษณ8ของเขา แลวศาลายาถาจอดที่ศาลายาเขาขายอะไรกันคะ คุณหมอวัฒนา : ศาลายาก[วยเตี๋ยวเราก็ไมไดขาย แถวนี้เราไมมีอะไรเป$นเอกลักษณ8 จะมี ที่ เป$ น เอกลั กษณ8 ก็แ ถวนครปฐมที่เป$ น หมู แ ผนกั บ เนื้ อแหงขาวเหนี ย ว อันหนึ่ง
๔๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
คุณสัญญา : ที่ เ ป$ น เอกลั ก ษณ8 ก็ แ ถวตลิ่ ง ชั น ที่ เ ป$ น ลู ก มะไฟ งิ้ ว รายก็ ส มโอ กลวยหอมอะไรอยางนี้ คุณหมอวัฒนา : แตถาไมไดขายบนรถพอถึงสถานีคนก็จะชะโงกมองวามีอะไรกันบาง ที่ ศ าลายาสวนมากที่ มี ก็ พ วกผั ก บุ ง ผั ก กระเฉด บั ว แลวก็ พ วกผลไม ตามฤดูกาลจะเป$นอยางนั้นเป$นสวนใหญ วัดสุวรรณก็จะเหมือนๆ กันพื้นฐาน แถวนี้ จ ะเหมื อ นๆ กั น สมั ย กอนแตละสถานี จ ะมี ข องที่ เ ป$ น จุ ด เดนอยาง สถานีบางตาลจะมีไกยางกับขาวแกงอรอย ขาวแกงที่ทําดวยใบตาล คราวนี้ เวลาขายใหพวกรถจักรเพราะจะแวะเติมน้ําที่สถานีบางตาลนาน คนที่ไมได กิ น ขาวก็ จ ะซื้ อขาวแกงตรงนั้ น กิ น ที่ ส ถานี บ างตาลเลยนครปฐมไปสถานี ถึงโพรงมะเดื่อแลวก็บางตาล แตตอนหลังหัวรถดีเซลไมเติมน้ําคราวนี้ก็จะ จอดพักเดียวก็ตองชิงไหวชิงพริบกันระหวางคนกินกับแมคาวาใครจะเบี้ยวใคร บางทีรถจอดตั้งนานไมซื้อรถจะขยับสั่งแมคา แมคาสงของแลวก็ไมจายเงินก็มี หรือบางคนซื้อของสงเงินไปแลวแมคาไมทอนอยางนี้ แตตอนหลัง รูสึ กจะ ขายไมทันแลวเวลามันนอย อยางที่ปากทอก[วยเตี๋ยวจะอรอย อาจารย8ชนกพร : ขออนุญาตเรียนถามทานอาจารย8สมชายบาง ในมุมมองของวิศวกร ความนาสนใจของสถานีศาลายาคืออะไรคะ
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๔๑
อาจารย8สมชาย : ผมไมใชคนศาลายาไมไดเกิดที่นี้ แตพอไดฟXงเรื่องพวกนี้แลวรูสึกดีใจ มันทําใหผมนึกถึงตอนเด็กๆ ที่ไดขึ้นรถไฟบาง เมื่อกี้ฟXงคุณทรงกลด ก็ยังนึก อยูวาไปขึ้นรถไฟที่ ไหนมาบางนะตั้งแตเกิดมา เห็ นตั๋วก็ นึกวาเราไมไดเก็ บ เอาไวนะ ผมคิดวาศาลายาอยางที่บอกวามีศักยภาพแลวก็มีศักยภาพมากๆ ผมไมคอยรู เรื่ องอดี ต ผมขอมองเทาที่ ท ราบก็แ ลวกั น ผมมาอยูที่ ศ าลายา ๒๖ ป0 เทานั้นเอง ตอนแรกก็เขามาลําบากแตก็ไมถึงขนาดเป$นลูกรัง ตอนผม มาทํ างานใหมๆ พอดี ผ มอยู หนองแขมแลวมี ถนนพุ ทธมณฑลสาย ๔ แลว ผมวาศาลายามันเหมาะมากที่จะอยู ตรงนี้มันไมนาที่จะรื้อหายไป เหมือน อยางบางสถานี ที่ เ รานั่ ง ไปแลวมั น ปM ด ไปแลวเพราะวามั น ไมมี อ ะไรเลย แตศาลายามีศักยภาพสูงมาก มีชุมชน มีมหาวิทยาลัย มีหนวยงานขนาดใหญ มั น แ ท บ จ ะ เ ป$ น เ มื อ ง อ ยู แ ล ว นี่ ถ า เ ร า บ ว ก ไ ป ล อ ง นั บ ป ร ะ ช า ก ร เป$ น หมื่ น เป$ น แสนแลวมั้ ง เป$ น หมื่ น เป$ น แสนมั น สามารถที่ จ ะพั ฒ นาเป$ น ชุ ม ทา งให ญไ ดแ ลว ผมยั ง จํ า ไ ดวาวั นหนึ่ งที่ ผ ม นั่ ง ป ระชุ ม อยู กั บ ผูบริหารมหาวิทยาลัย วันนั้นทานรองอธิการบดีก็บอกขึ้นมาในที่ประชุมวา พวกเรารูไหมวากระทรวงคมนาคมเขาบอกมาแลวเมื่อกี้วาเขามีเงินเหลือจาก สายสีแดงอยูหาหกพันลานแลวเขาจะขอเงินเพิ่มอีกหนอยหนึ่งเพื่อขยายมา ศาลายาจากตลิ่งชัน ตอนนั้นผมก็รูสึกวาถูกแลวอยาไปหยุดเลยแคตลิ่งชัน ตรงนั้นมันไมคอยมีอะไร ตอนนั้นผมทําโครงการเรื่องรถไฟผมก็นั่งไปนั่งมา นั่งไปหัวลําโพง นั่งไปบางกอกนอย นั่งไปองค8พระปฐมเจดีย8 ตอนนั้นที่ตลิ่งชัน กําลังสรางจนใกลจะสรางเสร็จ ตอนนั้นผมก็ยังนึกวาที่ตลิ่งชันไมมีอะไรนะ ผมยังสนับสนุนใหมาศาลายาแลวไมรูวาไอเดียนั้นหยุดไปแลวหรือยังเพราะ ตอนนั้นเป$นทานปลัดฯ คนเกา ทานปลัดฯ คนเกาเขาบอกวาเงินมันเหลืออยู สั ก หาหกพั น ลานจะตอมาศาลายาผมวาโอเคเลยอยางที่ ม หิ ด ลเราก็ มี อ ยู
๔๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
สองหมื่นคนและมีหนวยงานราชการอยูเต็มไปหมดมันเหมาะมากที่จะพัฒนา และสถานที่ ดี ผมเคยใชบริ การนั่ ง ไปกรุ ง เทพฯ บาง นั่ ง ลงไปทางใตบาง มันใกลจนแทบจะอยูตรงกลางเลย มีชุมชนแลวก็มหิดลเรา แลวเขาไปขางใน ก็ ไ มไ กลเทาไ หรขึ้ น อยู กั บ วาเราจะพั ฒ นาไ ปอยางไ รเทานั้ น เอง ใหมันเชื่อมตอกัน ฟXงมาจากทั้งสามทานมันมีวิวัฒนาการ ตัวรถไฟเองมันมี คู แขงผมก็ ก ลั ว เหมื อ นกั น เพราะผมทํ า เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การคมนาคมขนสง “โลจิสติกส8” ผมวารถไฟตองไมอยูเฉยๆ จะตองทําอะไรสักอยางไมอยางนั้น จะตองแพ ผมก็กลัววามันจะตาย กลัววามันจะเสื่อมความนิยมไป ทุกวันนี้ มีแตคนพูดแตปX ญหาขึ้น มา กลุ มคนที่ออกมาพู ดก็จ ะเป$นคนที่ อนุรักษ8 บาง กลุมคนที่รักรถไฟบาง แตประชาชนทั่วๆ ไปไมคอยชอบ หลีกเลี่ยงไปออกรถ หนีออกไป สิ นคาก็หนีออกไป ผมกลั วเหมือนกันในมุมมองผม ผมเสียดาย ถาเกิดมาลมหายตายจากไป มันเกิดขึ้นแลวหายไปผมจะเสียดายมาก
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๔๓
อาจารย8ชนกพร : ตอนนี้ ถ าเราพู ด ถึ ง การเปลี่ ย นแปลงในอนาคตเรื่ อ งที่ พู ด ถึ ง กั น เยอะมาก ก็ คื อ เรื่ องของรถไฟฟT า ที่ จ ะเขามาในพื้ น ที่ ต รงนี้ อาจารย8 คิ ด วา รถไฟฟT า จะมี ผ ลตอการเปลี่ ย นแปลงในแงของชุ ม ชนหรื อ ในแงของ การคมนาคมมีผลตอรถไฟในแบบเดิมๆ ของเรานี้มากนอยแคไหน อาจารย8สมชาย : ความจริ ง สายสี แ ดงมั น ก็ อ อกแบบเป$ น รถไฟฟT า แลวก็ วิ่ ง มาอยู ที่ ตลิ่งชันแตดวยการทดลองที่วิ่งกันอยูทุกวันนี้ อาจจะเกิดอะไรขึ้นที่ไมออกมา เป$ น รถไฟฟT า แตออกมาเป$ น รถไฟอยางที่ ว า คื อเอาหั ว รถจั กรมาวิ่ ง ดู กอน จากที่เห็นพัฒนาการของประเทศอื่นๆ ในการพัฒนาระบบรางตอไปวารถที่ใช มันจะเป$นอะไร มันคนละตลาด อยางการรถไฟจะใหเป$นอยางไร จะทําเป$น เชื่อมตอจากชานเมืองเขาในเมืองอยางนี้หรือเปลา ถาจะพัฒนาอยางนี้ตอไป ก็ ไ มมี ใ ครวาอะไรนะผมวาโอเคนะในฐานะวิ ศ วกร จากพระปฐมเจดี ย8 ไ ป บางกอกนอยไป หัวลําโพงมันไมมีอะไรสูได ถาเกิดตัวรถไฟไมลาชา มันไมมี อะไรสูได มันครองตลาดอยูแลว แตตัวเองอยาฆาตัวตายเทานั้นเองตองมา ใหทันถึงเวลา มาตองมา อยางนี้ไมมีใครฆาตายแนนอน วิ่งดวยระบบแบบนี้ รถไฟฟTาไมจําเป$นหรอก สมัยกอนผมจะนั่งรถบอยมีอยูชวงหนึ่งผมไปทํางาน ที่ดอนเมืองผมจะนั่งจากหัวลําโพงไปดอนเมืองบอยมันไมมีอะไรสูได รถไฟฟTา ก็ไมคอยมีผลกระทบเทาไหรหรอก ยกเวนรัฐบาลจะเอามันออกไปเลยแลวให รถไฟฟTามาแทน แลวชวงที่เป$นตัวเชื่อมตอที่ไปชานเมืองขอบเมืองตางๆ แลว ใหรถไฟฟTา มาแทนในเรื่ องของนโยบาย ผมวาถาไมมี อะไรมาแทรกวาเรา รองรับตลาดไหน รองรับใคร ถารองรับผูโดยสารที่อยูชานเมืองผมวาโอเคนะ แตถาไกลๆ ลํ า บาก ไกลๆ คงเสร็ จ พวกรถไฟความเร็ ว สู ง คงสู ลํ า บากแต
๔๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ในเมืองคงไมตองพูดถึง ในเมืองเสร็จ BTS เสร็จ MRT อยางนี้แนอน แตผม ไมแนใจวาตอไปรูปแบบมันจะเป$นอยางไรเพราะตอนนี้ก็มีหนวยงานที่ดูแล รถไฟสามสี่หนวยแลวมี รฟม. รฟท. แลวก็ยังมี BTS อีก ก็ตองคิดเหมือนกัน วาตอไปจะเป$นอยางไร อาจารย8ชนกพร : อยางนั้ น คงตองถามไปยั ง คนของรถไฟ แลวในทางคนของรถไฟ มองตั ว เองอยางไร เมื่ อมี ค วามเปลี่ ย นแปลงเหลานี้ มี รถไฟฟT า มี รถใตดิ น มี รถสายสีแดงอยางที่วา รถไฟจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไรอีกบางคะ คุณอุบลศักดิ์ : บังเอิญผมไดขอพบทานผูวาการรถไฟฯ สองรอบ ทานจะมีนโยบาย อะไรไหมเกี่ ย วกั บ การเปลี่ ย นแปลงที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นาตอไป บั ง เอิ ญ ทานไมวาง เดิ ม ที ท านผู วาการฯ ทานเคยเป$ น ผู อํ า นวยการ รถไฟฟT ามหานคร หรื อ รฟม. ทานก็มีแ นวคิดวาจะดึง ศักยภาพของชุ มชน รอบๆ ขาง เอามาไวที่สถานี อาจจะเป$นสินคา OTOP อะไรตางๆ เอามาขาย ในบริ เ วณสถานี แตวาตอนนี้ ก็ คื อ ตามสถานี ใ ตดิ น ตางๆ ก็ เ ป$ น รานคา เป$นรานทําผมอะไรตางๆ ซึ่งก็ไมไดดึงศักยภาพอยางที่ทานผูวาฯ ตองการ เ มื่ อ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค รั้ ง ห ลั ง สุ ด ท า น ไ ด บ อ ก ถึ ง แ น ว คิ ด ข อ ง ทานรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมที่สอดคลองกัน เพราะทานใหนโยบาย อะไรมาผูวาการฯ ก็จะสนองตอบตลอด อันนี้พูดถึงเรื่องรถไฟความเร็วสูงก็ มี แ นวคิ ด วาจะใหแตละจั ง หวั ด เป$ น ผู ออกแบบสถานี คื อ ใหชุ ม ชน เขามาเกี่ ย วของ ซึ่ ง จริ ง ๆ การจะใหชุ ม ชนเมื่ อ ชวงป0 พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๑๓ เขาเรียกรถไฟยุคพัฒนาตอนนั้น พันเอกแสง จุลจาริตย8 เป$นผูวาการรถไฟ
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๔๕
ทานก็มีแนวคิดแบบนี้ มีแนวคิดใหชุมชนเขามา ทานสงคุณมานะ บุญยเกตุ ซึ่ง เป$นสถาปนิกของการรถไฟไปดูงานที่ญี่ปุNน ที่อเมริกาอะไรตางๆ เมื่อยอนหลัง กลั บ ไปสามสี่ สิ บ ป0 ใ นตางประเทศเขาทํ า แลว อยางในญี่ ปุN น เขามี ส ถานี ที่ เรียกวา People Station คือชุมชนรอบๆ สถานีเขาเขามาดําเนินการอะไร ตางๆ ในสถานี มีรานคา มีสนามชกมวย มีลานกีฬาซึ่งก็อยางที่คุณทรงกลด เคยไปพบคือสถานีมันไมตายมันมีชีวิตตลอด ๒๔ ชั่วโมง นอกจากมาขึ้นรถไฟ แลวคนยังมาทํามาคาขาย มาตัดผม มาสปามาอะไรตางๆ ได ซึ่งอันนี้ก็มา สอดคลองกับแนวความคิดของรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมวาตอนแรกก็ จะดําเนินการเรื่อง OTOP กอน โดยชุมชนเขามาดูแล ในเรื่องชุมชนเขามา ดูแลเขาก็จ ะมี สิ่ง ของมาขาย จริง ๆ แลวอยางพู ดถึ งศาลายาแลว ศาลายา เติบโตขึ้นมาเพราะชุมชนรอบๆ เนื่องจากมีชุมชนทําใหสถานีโตขึ้นไมเหมือน สมัยกอนพอรถไฟไปทางไหนชุมชนก็โตขึ้น อยางชุมทางบานภาชีสมัยกอนนี้ พอรถไฟไปอยู ตรงนั้ น ชุ ม ทางรถไฟบานภาชี ก็โ ตผิ ด หู ผิ ด ตาแลวตอนหลั ง ชุมทางบานภาชีก็ลดนอยถอยลงก็แสดงวารถไฟก็ไมไดมีบทบาทอะไรเพราะ ไมมี ชุ ม ชนรอบรถไฟ สมั ย กอนภาชี มี หั ว รถจั ก รมี พ นั ก งานจํ า นวนมากมี อาหารการกิ น อะไรตางๆ แปลกๆ แตปX จ จุ บั น ชุ ม ชนจะทํ า ใหสถานี โ ตขึ้ น เพราะฉะนั้นทางรัฐบาลมองวาชุมชนจะชวยอะไรกับสถานีรถไฟ เพราะฉะนั้น ตอนแรกก็มองวาเอา OTOP เขามากอน ในสวนตัวของผมมองวา มีนิราศ คนที่ เขาขึ้นรถไฟเขาชอบแตงนิราศ มี คนแตงวาพอถึงศาลายา ยาอยูไหน ยาหมายถึง ยารักษาโรค ผมเลยมองวามหิด ลมี คณะเภสั ชศาสตร8 แนนอน มหาวิทยาลัยมหิดลอาจจะไปตั้งเป$นรานขายยาขอพื้นที่บริเวณสถานี อีกอยาง ชุมชนสวนใหญจะโหยหาพื้นที่สีเขียวแตผมก็เห็นดวยนะในความคิดสวนตัว ของผม ผมชอบตนไม เมื่อเร็วๆ นี้ผมปรารภกับเพื่อนผมที่เป$นปลัดอบจ. วา แสวง แตกอนหนองแซงเขามีมะมวงมั นชื่อมะมวงมัน หนองแซงแตเดี๋ยวนี้
๔๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เงียบหายไป เมื่อเร็วๆ นี้เขาก็จัดงาน แสวงเขาก็โทรมาบอกวา เขาจัดใหแลว มะมวงมันหนองแซง ลูกจะเล็กๆ แตมันอรอย แลวที่ศาลายาเขามีมันศาลายา แตที่ ส ถานี ร ถไฟเขาไมมี มั น ศาลายาหรอก มี แ ตอยางที่ คุ ณ ทรงกลดวา ขนมหมอแกงไปขายโนนบางซื่อ เขามาปXกหลักกันที่นี่ก็มีนะขนมหมอแกง มาจากเพชรบุรีมาลงที่ศาลายาขึ้นมา ๓ ถาด ๑๐๐ พอเลยนครปฐม เดี๋ยวเขา ก็จะลงศาลายาแลว เขาขาย ๔ ถาด ๑๐๐ คนขึ้นรถไฟจะรูเลยวา ใกลๆ เพชรบุรีอยาซื้อนะแพง พอใกลๆ ศาลายาจะเขากรุงเทพฯ แลวซื้อเหอะ เหลือ ๔ ถาด ๑๐๐ แมคาก็จะลงที่นี่
บัง เอิ ญ ผมไดคุ ย กั บ เพื่ อนวามะมวงมั น หนองแซงมั น เงี ย บหายไป เพราะฉะนั้นมันศาลายาเราจะมาเปMดที่นี่ไดไหม พื้นที่สถานีอาจจะมีพื้นที่วางๆ มาปลู ก ตนมะมวงวานี้ แ หละมั น ศาลายาแท นอกจากปลู ก ใหมั น ออกดอกออกผลมันยังมีวิธีการขยายพันธุ8ติดตา ตอกิ่งอะไรตางๆ นาจะทําให เป$นศูนย8การเรียนรูใหกับเด็กวาเขาติดตา ตอกิ่ง รอมะมวงมันศาลายาที่เป$น
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๔๗
พันธุ8แทมาพอมีลูกมาก็ขายได แลวอีกอยางที่ผมคิดคือวานาจะมีโอสถศาลายา หรือศาลา“ยา” คณะเภสัชฯ อาจจะไปตั้งที่นั่นมีลูกประคบ มีไปนวด หลังๆ สถานีรถไฟไปตั้งพื้นที่ใหกับสวนตําบลสวนอะไรเขามาใชพื้นที่หลายที่ ชุมพร มาขอขายสะตอมาขอขายอะไรตางๆ มาขายกลวยเล็บมือนางที่สถานีอันนั้นก็ ดูยังไมคอยคึกคักเทาไหรเพราะวาเขาอาจไปตลาดใหญแตเขาก็เริ่ มทํากั น บางแลว เพราะวาสวนตัวผมยังไมไดพบทานผูวาการรถไฟ แตก็บอกตอนแรก วาแนวคิดเหมือนที่ทานรัฐมนตรีวาใหชุมชนเขามามีสวนเกี่ยวของกับบริเวณ สถานี เอาเอกลักษณ8ของชุมชนนั้นเขามา อาจารย8ชนกพร : การดึงชุมชนเขามาเกี่ยวของเทาที่ดําเนินการที่ผานๆ มาไดมีการ เปMดเวทีสาธารณะหรือชวนคนในชุมชนเขามานั่งคุยกันไหมคะ คุณอุบลศักดิ์ : เทาที่ทราบก็ยังไมมีการทําแบบนี้นะครับ แตเคยมีอยูครั้งหนึ่งที่เขามี ผูชวยสารวัตรเดินรถประจําฝNายอยูเขาเขามาทําอยู อยูวางๆ ไมมีอะไรทําก็ มานั่งคุยกันก็ไปคุยกับชุมชนเรื่องทางผานเสมือน คือทางรถไฟมีมากอนแตพอ ชุมชนใหญขึ้นเขาก็มาทําทางผานรถไฟเรียกทางลัดผาน พอใกลทางที่ตัดก็มา ปXกปTายวา ระ-วัง-รถ-ไฟ แตวาไมมีคนระวังหรอก ยังมีคนเสนอแนะวาทําไม ไมเปลี่ยนใหมเป$น ไปไมกลับ หลับไมตื่น ฟUVนไมมี หนีไมพน อยางนี้คนจะได ระวั งมากขึ้น ทํา เป$น ลายเทพพนมอะไรก็ว ากัน ไป แตวารุนที่ทํา ตอนนั้น ก็ ไปชวนชุมชนเขามาทาสีปTายระวังรถไฟ บางทีปTายมันเสียเสามันถูกไฟไหม อะไรไป ชุมชนเขาก็หามาเองทํามาเอง ทางอบต. เขาไปหาเสามาเอง หาไม หาฝาถังน้ํามันมาหาสีมาเอง เอาเด็กๆ มาชวยกันทาสีสายเมืองกาญฯ ทําแลว
๔๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
นาจะไดผลเพราะแตกอนหนานั้นรถบรรทุกออยจะมาชนรถไฟบอยมากแลว รถไฟพังยับเยินหมด ถารถไฟชนกับรถยนต8ไมคอยเทาไหร ถาชนกันตรงๆ ไมเป$นไรแตรถยนต8เขามาจะชนเมื่อรถไฟเลยไปแลวแลวก็ชนตรงระหวาง ขอตอรถ พอชนขอตอรถแลวรถก็ จ ะตกรางแลวคราวนี้ จ ะเสี ย หายมาก พอหลังจากการรถไฟรวมกั บทองถิ่ นมาทํา มาทาสี มาปX กปT ายใหมมาตั ดปN า เวลาหนาฝนหญามั น ขึ้ น คุ ม สู ง มากแลวรถไฟก็ บ อกวาไมมี ง บประมาณ ยิ่งตอนหลัง คนงานรถไฟก็ ไมมี จางลู กจางชั่ วคราวแทบทั้ง นั้น จางมาเพื่ อ บํารุงทางอยางเดียว มาโลงก็ตอนที่สมเด็จพระเทพรัตนฯ เสด็จ ตัดเตียนได แตหลั ง จากนั้ น ก็ ขึ้ น ครึ้ ม หมดอี กแลว เมื่ อชุ ม ชนเขามาแลวเราเขาไปรวม เขายิน ดีเอาสี มาเอาไมมาแลวเอาเด็กมาชวยกัน ทาสี สนุ กสนานเฮฮา แลว ผลประโยชน8ที่ไดรับก็คือรถไฟก็ไมตองตกราง รถยนต8ก็ไมถูกรถไฟชน อาจารย8ชนกพร : จริ ง ๆ เราฟX ง อยางนี้ ก็ นึ ก ถึ ง ศาลายาเราวานาจะเป$ น ตนแบบได ตนแบบของการพัฒนาสถานีรถไฟใหมีชีวิตอีกครั้งหนึ่ง อาจจะทําใหเหมือน สถานีของที่เวียดนามดวยซ้ําไป เมื่อมาถึงศาลายาก็มีการเลาเรื่องวาศาลายามี อะไร เพราะวาเรื่องราวก็มีการรวบรวมไวแลวคนเลาก็มีสินคาตางๆ ตลาดเรา ก็อยูติดกับสถานีดวยซ้ํา เรามีปXจจัยที่เป$นประโยชน8อยูหลายดานเราพรอม ในหลายดานเพียงแตวาเราจะทํายังไงใหแตละคนมานั่งจับเขาคุยกันวาเราจะ เอาสิ่งเหลานี้ไปดวยกัน วันนี้เราเสวนากันอาจจะมีเวลาไมมาก เทาที่ไดฟXง ยังแบบวาเอ\ะ รถไฟยังไมตายและรถไฟก็ยังจะอยูไดอีกนานดวย เพราะวา ทุกคนก็มองเห็นศักยภาพ แลวจะดีมากๆ ถาเราชวยกัน สถานีศาลายาเรา อาจจะเป$นตนแบบที่อาจจะเป$นความรวมมือทั้งจากทางรถไฟทางวิชาการ และทางชุมชนไดมานั่งคุยกันวาเราจะพัฒนาสถานีรถไฟและตัวรถไฟของเรา
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๔๙
ใหมีชีวิตกลับมาอีกครั้งไดอยางไร งานนี้เราอาจจะบอกวาเราเลาถึงตํานาน แตวาในอนาคตเราจะเปMดประวัติศาสตร8หนาใหมใหเราเห็นวา รถไฟศาลายา ในอนาคตเราจะไปกันอยางไร
๕๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๕๑
๑๑๐ ป- สถานีรถไฟ “ศาลายา” (พ.ศ. ๒๔๔๖ – ๒๕๕๖) อภิลักษณ เกษมผลกูล๑
แรกมีรถไฟในเมืองไทย: พระปรีชาญาณแหงพระเจ4าแผนดินกรุงสยาม ความสนใจในกิ จ การรถไฟในประเทศไทยเริ่ ม ขึ้ น ในรั ช กาลของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ในพุทธศักราช ๒๓๙๘ คณะราชทูต ๑
ผู ชวยศาสตราจารย8 ป ระจํ า สาขาวิ ช าภาษาไทย คณะศิ ล ปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล
๕๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
จากสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียสมเด็จพระราชินีแหงประเทศอังกฤษ ได นําเครื่องราชบรรณาการและพระราชสาส8นมาถวาย พรอมทั้งนําสนธิสัญญา ฉ บั บ แ ก ไ ข ใ ห ม ม า แ ล ก เ ป ลี่ ย น กั บ รั ฐ บ า ล ไ ท ย ส ว น ห นึ่ ง ข อ ง เครื่องราชบรรณาการที่นํามาถวายในครั้งนั้น เป$นรถไฟจําลองซึ่งยอสวนจาก ของจริง ประกอบดวยรถจักรไอน้ําและรถพวงครบขบวน สามารถแลนบนราง ดวยแรงไอน้ําทํานองเดียวกับรถใหญที่ใชอยูในเกาะอังกฤษ ปรากฏวาเป$น ที่สนพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว และไดทรงมี พระราชดําริที่จะสถาปนากิจการรถไฟขึ้นในประเทศไทย ต อ ม า ใ น ป0 พุ ท ธ ศั ก ร า ช ๒ ๔ ๒ ๙ ซึ่ ง เ ป$ น รั ช ส มั ย ข อ ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวนั้น รัฐบาลไทยไดอนุมัติสัมปทาน แกบริษัทชาวเดนมาร8ก เพื่อสรางทางรถไฟสายแรกขึ้นในประเทศไทยระหวาง กรุ ง เทพฯ - สมุ ท รปราการ แตบริ ษั ท ยั ง ขาดทุ น ทรั พ ย8 จึ ง มิ ไ ดดํ า เนิ น การ กอสราง พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกลาเจาอยู หั ว จึ ง ทรงพระกรุ ณ า โ ป ร ด เ ก ล า ฯ ใ ห ยื ม ทุ น ท รั พ ย8 ไ ป ส ม ท บ ด ว ย ส ว น ห นึ่ ง แ ล ะ ไ ด เสด็จพระราชดําเนินแซะดินเป$นปฐมฤกษ8เมื่อวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๔๓๔ กับไดเปMดทางรถไฟ ณ สถานีสมุทรปราการเมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๔๓๖ โดยใชรถจักรไอน้ําลากจูง แตตอมาภายหลังเปลี่ยนใชรถไฟฟTา ทางรถไฟ สายนี้ไดยุบเลิกกิจการไปเมื่อ วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๓๒
๒
เชาวน8 ณ ศีลวันต8 และคณะ. “ประวัติการรถไฟในประเทศไทย” สารานุกรม ไทยสําหรับเยาวชนโดยพระราชประสงคพระบาทสมเด็จพระเจ4าอยูหัว. เลมที่ ๔.
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๕๓
สถาปนา “กรมรถไฟ” : ต4นกําเนิดองคกรเพื่อการขนสงสาธารณะ ในเดือนตุลาคมพุทธศักราช ๒๔๓๓ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาฯ ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตั้งกรมรถไฟอยูในสังกัดกระทรวงโยธาธิการ โดยมี พ ระเจานองยาเธอเจาฟT า กรมขุ น นริ ศ รานุ วั ด ติ ว งศ8 เ ป$ น เสนาบดี และ นาย เค. เบธเก (K. Bethge) ชาวเยอรมั น เป$ น เจากรมรถไฟ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาฯ ไดโปรดฯ ใหมีการเปMดประมูลสรางทาง รถไฟสายกรุ ง เทพฯ - นครราชสี ม า ขึ้ น ในป0 พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๓๔ และใน ป0พุทธศักราช ๒๔๓๙ การกอสรางไดสําเร็จลงบางสวน พอที่จะเปMดการเดินรถ ได พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกลาเจาอยู หั ว ไดเสด็ จ พระราชดํ า เนิ น มาประกอบพระราชพิธีเปMดการเดินรถไฟระหวางสถานีกรุงเทพฯ - อยุธยา ระยะทาง ๗๑ กม. เมื่ อวั น ที่ ๒๖ มี นาคม ๒๔๓๙ การรถไฟจึ ง ไดถื อเอา วั น ที่ ๒๖ มี น าคม เป$ น วั น สถาปนาของรถไฟตั้ ง แตบั ด นั้ น เป$ น ตนมา การกอสรางระยะที่ ๒ จากอยุ ธ ยาผานชุ ม ทางบานภาชีถึง สถานี แ กงคอย ระยะทาง ๕๓ กม. และจากสถานีแกงคอยถึงสถานีนครราชสีมาแลวเสร็จ เมื่อ วั น ที่ ๒๑ ธั น วาคม ๒ ๔๔๓ เพื่ อ เป$ น การส ะดวกในการกอสรา ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดโปรดเกลาฯ ใหแยกกรมรถไฟ ออกเป$น ๒ กรม คือ กรมรถไฟหลวงสายเหนือ และกรมรถไฟหลวงสายใต การกอสรางทางรถไฟสายเหนือจากชุมทางบานภาชีถึงเชียงใหม ระยะทาง ๖๖๑ กม. ไดแลวเสร็จเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๙๓ ๓
เชาวน8 ณ ศีลวันต8 และคณะ. “ประวัติการรถไฟในประเทศไทย” สารานุกรม ไทยสําหรับเยาวชนโดยพระราชประสงคพระบาทสมเด็จพระเจ4าอยูหัว. เลมที่ ๔.
๕๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
“ทางรถไฟสายใต4” การขยายความเจริญสูภูมิภาคตะวันตก การกอสรางทางรถไฟไปสู ภาคใตของประเทศ ซึ่ ง เริ่ ม ตนจาก สถานีธนบุรี (บางกอกนอย) ไปถึงจังหวัดเพชรบุรีนั้น ไดดําเนินการเป$นระยะๆ รวม ๓ ระยะ จึ ง เป$ น ทางรถไฟสายใตที่ ส มบู ร ณ8 คื อ ระยะแรกตั้ ง แต กรุ ง เทพฯ – เพชรบุ รี ระยะตอมาคื อเสนทาง เพชรบุ รี - สงขลา และ ระยะสุดทายคือเสนทางสงขลา - สุไหงโกลก ทั้งนี้ เพื่อคมนาคมติดตอระหวาง กรุ ง เทพฯ และหั ว เมื อ งปX ก ษ8 ใ ตรวมทั้ ง ลงไปเชื่ อ มกั บ รถไฟมลายู ข อง อาณานิ ค มอั ง กฤษในขณะนั้ น ดวย ดวยเหตุ นี้ ท างรถไฟจึ ง สรางทาง ฟากตะวันตกของแมน้ําเจาพระยา ในระยะแรกทางรถไฟสายใตนี้ สถานีตั้งตนกําหนดลงที่ใตปากคลอง บางกอกนอยเพื่อมุงหนาไปยังเมืองทางฝX^งตะวันตก ใชเสนทางแมน้ําลําคลอง เป$นแนวการวางทางรถไฟตามการคมนาคมที่เคยมีมากอน ทั้งนี้โดยทางรถไฟ ออกจากสถานีธนบุรี ที่บางกอกนอย เลียบขนานไปกับ “คลองบางกอกนอย” กระทั่งถึงสถานีบานฉิมพลี ทางรถไฟจะเลียบขนานไปกับ “คลองมหาสวัสดิ์” ผานชุ ม ชนใหญนอยที่ เ กิ ด ขึ้ น หลั ง จากขุ ด คลองมหาสวั ส ดิ์ ไดแก ศาลาธรรมสพน8 ศาลายา วั ด สุ ว รรณ จนถึ ง วั ด งิ้ ว ราย ทางรถไฟขาม “แมน้ํานครชัยศรี” และจากสถานีนครชัยศรี (หรือเดิมคือสถานีบานเขมร) ทางรถไฟใชแนว “คลองเจดี ย8 บู ช า” มุ งตรงเขาสู พระปฐมเจดี ย8 คื อ ตัวเมืองนครปฐม
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๕๕
ทางรถไฟสายกรุงเทพฯ – เพชรบุรี ร.ศ. ๑๒๒ : ต4นกําเนิดสถานี “ศาลายา” ทางรถไฟสายใตไดเริ่ ม กอสรางตั้ ง แตป0 พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๔๐ เป$ นตนมา คนเฒาคนแกในพื้น ที่อํา เภอพุ ทธมณฑลเลาวา “วั สดุ ส+ว นหนึ่ ง ที่นํามาถมเป/นทางรถไฟได0มาจากวัดพระงาม ซึ่งเป/นอิฐแดงเหมือนกับส+วนที่ เป/นฐานพระเจดีย วัดพระงามป7จจุบัน” และเมื่อการกอสรางแลวเสร็จ ไดเริ่ม เปMดเดินรถในป0พุทธศักราช ๒๔๔๖ ในราชกิ จ จานุ เ บกษารั ช กาลที่ ๕ เลม ๑๖ หนา ๒๐๒ วั น ที่ ๑๖ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๑๘ เรื่ องประกาศกระทรวงโยธาธิ ก าร เรื่ องที่ ดิ น สร4 า งทางรถไฟสายเพชรบุ รี กลาวถึ ง การสํ า รวจเสนทางทํ า รถไฟและ ขอปฏิบัติตางๆ เพื่อสรางความเขาใจแกราษฎร ดังความตอนหนึ่งวา ... ด0วยทรงพระกรุณาโปรดเกล0าฯ ให0กระทรวง โยธาธิการจัดการสร0างทางรถไฟสายหนึ่ง ต0นแต+ลําน้ํา เจ0าพระยา ริมปากคลองบางกอกน0อย กรุงเทพฯ ปลาย ถึงเมืองเพชรบุรี เรียกว+ารถไฟเพชรบูรี บัดนี้กระทรวง โยธาธิ ก ารได0 ใ ห0 ก รมรถไฟจั ด การตรวจทางทํ า แผนที่ ตลอดแล0ว กั บได0ป7กกรุ ยหมายเขตร ๒ ข0 างทางรถไฟ ตั้งแต+ต0นจนถึงเมืองราชบูรีตอนหนึ่ง แล0วบรรดาที่ดิน ซึ่ง ยื่นออกจากแนวกรุยทางข0างละ ๑๕ วา ตลอดทางที่กรุย ไว0แล0ว ฤๅที่จะได0กรุยต+อไปจนตลอดถึงเมืองเพ็ชรบูรีนั้น บางที เ จ0 า พนั ก งานจะต0 อ งการก+ อ สร0 า งสิ่ ง ต+ า งๆ อั น เกี่ยวข0องแก+การรถไฟบ0างตามตําบลที่สมควร แต+เวลานี้
๕๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ยั ง รู0 ไ ม+ ไ ด0 เ ปนแน+ ว+ า จะต0 อ งการเฉภาะที่ แ ห+ ง ใดบ0 า ง เพราะฉะนั้น ห0ามมิให0ผู0ใดผู0หนึ่งจับจองที่ดิน ซึ่งเปนที่ ว+ า งเปล+ า ไม+ มี เจ0 า ของไว0 เ ปนของๆ ตน ส+ ว นที่ ดิ น ซึ่ ง มี เจ0าของแล0ว ห0ามมิให0เจ0าของที่ดิน เอาที่ซึ่งอยู+ในกําหนด นี้ไปยกให0 ฤๅซื้อขายแลกเปลี่ยนกับผู0ใดผู0หนึ่ง ... หมอมเจ4าปราณีเนาวบุตร : ปลัดเมืองนครไชยศรี ข4าหลวงท4องที่จัดการที่ดินสร4างสถานี “ศาลายา” ครั้นเมื่อมีการประกาศเรื่องการจัดการที่ดิน รวมถึงกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการที่ดินเพื่อสรางเสนทางสายกรุงเทพฯ – เพชรบุรี แลว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตั้ ง ขาหลวงสํ า หรั บ จั ด ที่ ดิ น ขึ้ น ๒ ฝN า ย คื อ ขาหลวงโยธาฝN า ยหนึ่ ง ขาหลวงทองที่ ฝN า ยหนึ่ ง ในการนี้ ไ ดทรงพระกรุ ณ าโปรดเกลาฯ ให “มิ ส เ ตอ ร8 ส มั ย ท8 ” วิ ศ ว ก รก ร ม รถ ไ ฟ เ ป$ นข า ห ลว ง โ ยธ า แล ะ ใ ห หมอมเจาปรานีเนาวบุตร วาที่ปลัดเมืองนครไชยศรี เป$นขาหลวงทองที่ทําการ ในแขวงเมืองนครไชยศรี (ปXจจุบันคือ จังหวัดนครปฐม) อนึ่ ง มหาเสวกตรี หมอมเจาปรานี เนาวบุ ต ร ทรงเป$ น พระโอรส ในพระเจาราชวรวงศ8เธอ พระองค8 เจานวรัต น8 กรมหมื่ นสถิต ยธํา รงสวั ส ดิ์ ตนราชสกุล “นวรัตน8” ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงสรางเมื อ งจํ า ลอง "ดุ สิ ต ธานี " ขึ้ น เป$ น โรงเรี ย นสอนการปกครองใน ระบอบประชาธิ ป ไ ตยพระราชทานแกขาทู ล ละอองธุ ลี พ ระบาท ใ น ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย ไ ด ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า โ ป ร ด เ ก ล า ฯ ใ ห
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๕๗
หมอ มเ จา ปร าณี เน าวบุ ตร เป$ นส มุ ห เท ศา ภิ บ า ล สํ า เร็ จร าช กา ร มณฑลดุสิตราชธานี มาจนสิ้นรัชกาลดวย
มหาเสวกตรี หมอมเจ4าปรานีเนาวบุตร
๕๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ประกาศเดินรถครั้งแรกของเส4นทางกรุงเทพฯ – เพชรบุรี ประกาศฉบับประวัติศาสตร นับแตการดําเนินการกอสรางทางรถไฟสายกรุงเทพฯ - เพชรบุรี ตั้ ง แตป0 พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๔๐ และแลวเสร็ จ ในป0 พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๔๖ นั้ น รวมระยะเวลาได ๖ ป0 ในการกอสราง จากนั้ น จึ ง ไดเริ่ ม ประกาศ ประชาสัมพันธ8แกราษฎรใหทราบถึงประกาศเดินรถในชวงเวลาตางๆ ทั้งนี้ กํ า หน ดเดิ น รถค รั้ ง แร กใน วั น ที่ ๑ เม ษาย น ๒ ๔๔๖ ปรา กฏใ น ราชกิจจานุเบกษารัชกาลที่ ๕ เลม ๒๐ หนา ๑๙ วันที่ ๕ เมษายน ๒๔๔๖
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๕๙
เสด็จพระราชดําเนินเปYดทางรถไฟหลวง กรุงเทพฯ – เพชรบุรี ภายหลังที่การกอสรางทางรถไฟกรุงเทพฯ – เพชรบุรี แลวเสร็จ ซึ่งนับเป$นจุดเริ่มตนของการกําเนิดสถานีรถไฟศาลายา สถานีรถไฟวัดสุวรรณ และสถานีรถไฟมหาสวัสดิ์ ดวย ในระยะแรกไดมีการเปMดใหราษฎรไดสัญจร ไปมาอยางไมเป$นทางการกอน เพื่อเป$นการทดลองการเดินรถ ครั้นถึงวันที่ ๑๙ มิ ถุ น ายน ร.ศ. ๑๒๒ (พ.ศ. ๒๔๔๖) จึ ง ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกลา เสด็จพระราชดําเนินเปMดทางรถไฟกรุงเทพฯ – เพชรบุรี อยางเป$นทางการ
สมเด็จพระเจ4าบรมวงษเธอ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ
๖๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ค รั้ ง นั้ น พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล า เ จ า อ ยู หั ว เสด็จพระราชดําเนินลงประทับเรือพระที่นั่งกลไฟชื่อชลยุทธ8 ที่ทาราชวรดิฐ มีเรือกลไฟใชจักรแลนขึ้นไปตามลําน้ําเจาพระยาเทียบทาสถานีบางกอกนอย แลวเสด็จ พระราชดําเนินขึ้นไปประทับรถพระที่นั่ง ซึ่งเจาพนักงานกรมรถไฟ ไดจั ด ไวรั บ เสด็ จ แลวรถไฟใชจั ก รลากรถพระที่ นั่ ง ไปหยุ ด ที่ ส ถานี หนาวัดอมรินทราราม แลวจึงเสด็จลงจากรถพระที่นั่งเขาไปประทับในสถานี โดยมีพระเจานองยาเธอ เจาฟTากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ8 (พระยศในขณะนั้น) เสนาบดี ก ระทรวงโยธาธิ ก าร เป$ น ผู กราบบั ง คมทู ล รายงาน จากนั้ น จึ ง ทรงตรึงหมุดที่รางรถไฟซึ่งสมมติวาเป$นอันเสร็จอยางสมบูรณ8ของการสราง ทางรถไฟครั้งนั้น เมื่อทรงตรึงหมุดเสร็จแลว เจาพนักงานกรมรถไฟจึงเลื่อน รถไฟและรถพวงซึ่งจะโปรดเกลาฯ ใหเดินเป$นฤกษ8 นั้นมาหยุดที่หนาที่นั่ง เจาพนั ก งานภู ษ ามาลาเชิ ญ พระไชยหลั ง ชางขึ้ น ประดิ ษ ฐานบนรถพวง พระอมรโมฬี เจาคณะมณฑลราชบุ รี ขึ้ น รถไฟโปรยทรายไปจนถึ ง เมื อ งเพชรบุ รี เมื่ อ การพรอมเพรี ย งแลวจึ ง ทรง พระกรุ ณ าโปรดเกลาฯ ใหเจาพนักงานกรมรถไฟใชจักรเดินรถไฟไปเป$นฤกษ8ตลอดถึงเมืองเพชรบุรี พระราชดํารัสพระราชทานในคราวเปYดทางรถไฟกรุงเทพฯ – เพชรบุรี สิริมงคลแกมหาชนชาวสยาม ในคราวที่เสด็จพระราชดําเนินเปMดทางรถไฟกรุงเทพฯ – เพชรบุรี อยางเป$ น ทางการ เมื่ อ วั น ที่ ๑๙ มิ ถุ น ายน ร.ศ. ๑๒๒ (พ.ศ. ๒๔๔๖) ณ ส ถ า นี ห น า วั ด อ ม ริ น ท ร า ร า ม โ ด ย มี พ ร ะ เ จ า น อ ง ย า เ ธ อ เจาฟTากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ8 (พระยศในขณะนั้น) เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๖๑
เป$นผูกราบบังคมทูลรายงาน นั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดํารัสเปMด ความตอนหนึ่งวา ... การที่ มี ท างไปมาถึ ง กั น ได0 โดยเร็ ว อย+ า งนี้ ย+อมเปนหนทางอันแน+ว+า ให0เกิดความเจริญรุ+งเรืองขึ้นได0 ทุกประเทศแล0ว เราจึงควรคิดที่จะให0มีทางรถไฟแผ+ไพศาล ออกไปทั่วพระราชอาณาเขตร ตามกําลังของบ0านเมืองเรา ที่ จ ะกระทํ า ได0 ใ นเวลาอั น สมควร แต+ อ ย+ า งไรๆ ก็ ดี เมื่อจําเปนต0องคิดอยู+ถึงการที่จะไม+ให0เปลืองเงินแผ+นดิน แล0 ว เราจะคิ ด สร0 า งทํ า รางรถไฟที่ ไ ม+ มี ป ระโยชนอั น ใด ในทางค0าขายนั้นก็ไม+ได0อยู+ด0วย เรามี ค วามพอใจเปนอั น มาก ในการงานที่ เ ธอ ได0 ก ระทํ า ให0 สํ า เร็ จ ได0 แ ล0 ว นี้ แลในขณะเมื่ อ เรามี ค วาม ประสงคอยู+ว+า ขอให0ทางรถไฟสายนี้จงมีความสําเร็จตลอด ทุกอย+างนั้น เรามีความยินดีที่จะลงมือกระทําการเพื่อให0 เปนอันเสร็จงานงานที่สุดของการก+อสร0างทางรถไฟนี้ แลมี ความยิ นดีที่จ ะประกาศให0ทราบทั่วกั นว+า ตั้งแต+ นี้สืบไป ทางรถไฟสายนี้เปนอันเปFดให0คนทั้งปวงใช0ได0ทั่วกันแล0ว ... ๑๑๐ ปP สถานีรถไฟ “ศาลายา” : ความทรงจําในวันวาน เหตุการณ8สําคัญที่สถานีศาลายา ที่ยังเป$นที่กลาวขวัญมาจนปXจจุบัน คือ ราวป0พุทธศักราช ๒๔๙๐ มีโจรกลุมหนึ่งบุกเขาปลนสถานีรถไฟศาลายา
๖๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
กลางคืน ทํารายนายสถานีและจับภรรยานายสถานีเป$นตัวประกัน ขณะนั้น กํานันจุน เซ็ งมณี เป$นผู ใหญบาน ไดชักชวนลูกบานยิงตอสูกั บโจรนับเป$ น รอยนัด โจรลาถอยโดยจับภรรยานายสถานีเป$นตัวประกันไปปลอยไวระหวาง ทางกวาดทรัพย8สินไปจํานวนมากสาเหตุการปลนเนื่องจากภรรยานายสถานี ชอบใสเครื่องประดับราคาแพง ซึ่งตอมาทางราชการสืบไดวาเป$นสายใหโจรจึง จับไปใหผูวาราชการจังหวัดสอบสวน เมื่อไดความแลวจึงกันตัวไวเป$นพยาน ตํารวจจับโจรได ๒ คน เหลืออีก ๑ คน หนีไปตางจังหวัด โจรที่จับไดคนหนึ่ง อยูวัดมะเกลือขอตอสูคดีและชนะคดีในที่สุด สวนอีกคนหนึ่งเมื่อจับครั้งแรก ขณะนําตัวสงโรงพักไดกระโดดหนีไปได แตตอมาจับไดอีกจึงนําตัวมาทําแผน แลวนําสงตํารวจโดยทางเรือ ปรากฏวาผูรายกระโดดเรือหนีอีก แตรุงเชามี คนพบเป$นศพลอยอยูในน้ํา กุญแจยังติดมืออยู
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๖๓
การเปMดทางรถไฟสายใตเพื่อเดินรถระหวางสถานีบางกอกนอยกับ เพชรบุ รี เ มื่ อ ป0 พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๔๖ เป$ น เหตุ ก ารณ8 สํ า คั ญ ที่ ทํ า ใหเกิ ด การเปลี่ยนแปลงขึ้นในพื้นที่ที่เป$นชาวศาลายา กําเนิดสถานีรถไฟขึ้นในพื้นที่ ๓ สถานี คื อ สถานี ศ าลายา สถานี วั ด สุ ว รรณและสถานี ค ลองมหาสวั ส ดิ์ เป$นการตอกย้ําความมั่นคงของชุมชนที่มีอยูเดิมใหเป$นป•กแผนมั่นคงมากขึ้น ทั้งนี้อาจสงผลใหบทบาทความสําคัญของแมน้ําลําคลองลดลงไปบาง เพราะ ชุ ม ชนมี เ สนทางการคมนาคมที่ ส ะดวกเพิ่ ม ขึ้ น กวาเดิ ม แตก็ ไ มมากนั ก เนื่องจากการเดินรถไฟยังมีขอจํากัดหลายอยาง
๖๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๖๕
“นิราศนราธิปฯ เรียก ดุษฎีจารึกไปปกษใต= พุทธศก ๒๔๗๑”: นิราศที่เล'าเรื่องตามเส=นทางรถไฟสายใต= อภิลักษณ เกษมผลกูล๔
เสนทางรถไฟสายใตที่ ไ ดสรางขึ้ น เพื่ อใชเดิ น รถไฟระหวางสถานี บางกอกนอยกับเพชรบุรีเมื่อป0พุทธศักราช ๒๔๔๖ นับเป$นนิราศเรื่องแรกๆ ที่ กลาวถึ ง ชี วิ ต ความเป$ น อยู และภู มิ ป ระเทศทองถิ่ น ศาลายา หรื อ บริ เ วณ อํ า เภอพุ ท ธมณฑล จั ง หวั ด นครปฐมในปX จ จุ บั น “นิ ร าศนราธิ ป ฯ เรี ย ก ดุ ษ ฎี จ ารึ ก ไปป* ก ษใต4 พุ ท ธศก ๒๔๗๑” เป$ น ผลงานพระนิ พ นธ8 ในพระเจาบรมวงศ8 เ ธอ กรมพระนราธิ ป ประพั น ธ8 พ งศ8 ทรงรจนา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๑ ป0ที่พิมพ8 พ.ศ. ๒๔๗๒ มีคํานําทรงกลาววา พิมพ8เป$นหนังสือ แจกป0ใหม แตเนื่องจากป0 ๒๔๗๒ ทรงประชวร จึงคนเรื่องเกามาพิมพ8 คือ นิราศนราธิปฯ ในเลมมีสารบาญเรื่อง สารบัญรูป และการเดินทางดวยรถไฟ และรถยนต8 ตั้งแตกรุงเทพฯจนถึงหาดใหญ และกลับถึงกรุงเทพ ตอนสุดทาย ๕ เป$นอวสานพจนาท รวม ๑๓๙ หนา
๔
ผู ชวยศาสตราจารย8 ป ระจํ า สาขาวิ ช าภาษาไทย คณะศิ ล ปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล ๕ พระเจาบรมวงศ8เธอ กรมพระนราธิปประพันธ8พงศ8. นิราศนราธิปฯ เรียก ดุษฎีจารึกไปป*กษใต4 พุทธศก ๒๔๗๑. พระนคร : โรงพิมพ8อักษรนิติ, ๒๔๗๒.
๖๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
พระเจ4าบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ พระเจาบรมวงศ8เธอ กรมพระนราธิป ประพันธ8พงศ8 พระนามเดิ ม พระองค8เจาวรวรรณากร เป$นพระราชโอรสพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ประสู ติ แ ตเจาจอมมารดาเขี ย น เมื่ อ วั น ที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๐๔ สมัยที่ทรงพระเยาว8 สนพระทัยศิลปะ วรรณคดี ประวัติศาสตร8 และ ภาษา รวมทั้งภาษาอังกฤษจนถึงขั้นอาน เขียน และแปลไดคลอง แมจะมิได เสด็จออกไปศึกษาตางประเทศ เมื่อเจริญพระชนม8ขึ้นทรงเริ่มรับราชการใน
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๖๗
ดานการคลั ง จนกระทั่ ง ดํ า รงตํ า แหนงรองอธิ บ ดี กรมพระคลั ง มหาสมบั ติ ในรัชกาลที่ ๕ ไดรับพระกรุณาโปรดเกลาฯ สถาปนาเป$นพระเจานองยาเธอ กรมหมื่นนราธิปประพันธ8พงศ8 งานราชการพิเศษที่ทรงไดรับมอบหมาย คือเป$นนายดานปฏิสังขรณ8 วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทําบานซุมประตูโดยรอบพระพุทธปรางค8ปราสาท (ปราสาทพระเทพบิ ด ร) และพระศรี รั ต นเจดี ย8 ส ลั ก เป$ น รู ป เสี้ ย วกาง ลงรักปMดทองทําขึ้นใหม และปXVนประดับกระเบื้องกออิฐฐานยักษ8ยืนประตูหนึ่ง ตอมาเป$น กรรมสัม ปาทิ กหอพระสมุด วชิรญาณ และใน พ.ศ. ๒๔๓๔ เป$ น สภานายก นอกจากจะทรงควบคุมกิจการโรงละครปรีดาลัย และพัฒนา รูปแบบการแสดงละครรองแลวยังทรงพระนิพนธ8บทละครแบบใหมและงาน ประพันธ8อื่นๆ อีก ทั้งที่เป$นรอยกรองและรอยแกว ใน พ.ศ. ๒๔๖๔ ทรงไดรับ สถาปนาเป$น พระเจาบรมวงศ8เธอ กรมพระนราธิปประพันธ8พงศ8 พระนิพนธ8 ของทาน มีทั้งงานแตง งานแปล และงานแปลจากภาษาอังกฤษ เชน อาหรับ ราตรี รุไบยาต และเรื่องสั้นในวชิรญาณวิเศษ โดยใชพระนามแฝงหลายพระ นาม เชน ประเสริฐอักษร หมากพญา พานพระศรี พระศรี เป$นตน ก ร ม พ ร ะ น ร า ธิ ป ป ร ะ พั น ธ8 พ ง ศ8 สิ้ น พ ร ะ ช น ม8 ใ น รั ช ก า ล พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๔ พระชันษาได ๗๐ ป0 ทรงเป$นตนราชสกุล “วรวรรณ”๖ ในดานที่ เ กี่ ย วของกั บ การรถไฟนั้ น พระเจาบรมวงศ8 เ ธอ กรมพระนราธิปประพันธ8พงศ8 ทรงเป$นเจาของทางรถไฟสายพระพุทธบาท ๖
สุมาลี วีระวงศ8. “นราธิปประพันธ8พงศ8,พระเจาบรมวงศ8เธอ กรมพระ”. นามานุ กรมวรรณคดี ไ ทย ชุ ด ที่ ๒ ชื่ อ ผู4 แ ตง. กรุง เทพฯ: มู ล นิ ธิส มเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, ๒๕๕๐.
๖๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ซึ่ง เป$ นทางรถไฟเอกชนที่ เดิ นรถระหวางสถานีรถไฟทาเรือ อํ าเภอทาเรื อ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา กั บ อํ า เภอพระพุ ท ธบาท จั ง หวั ด สระบุ รี เป$นระยะทาง ๒๐ กิโลเมตร ตั้งแต พ.ศ. ๒๔๔๕ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๕ ชาวบาน ทองถิ่นมักเรียกรถไฟสายนี้วา “รถไฟกรมพระนรา” หรือ “รถไฟกรมพระดารา” รถไฟเล็กสายพระพุทธบาทนี้ ไดรับพระบรมราชานุญาตเป$นพิเศษ เมื่อป0 พ.ศ. ๒๔๔๕ และไดรับการจัดชั้นเป$น รถราง โดยเปMดใหบริการป0 พ.ศ. ๒๔๔๙
รถไฟจากทาเรือไปพระพุทธบาทสระบุรี ที่มา: "Rails of the Kingdom - The History of Thai Railways" By Ichiro Kakizaki ทางรถไฟสายพระพุทธบาทดําเนินการโดย “บริษัททาเรือจํากัด” ซึ่ง มี ผู ถื อ หุ นหลั ก คื อ “บริ ษั ท นาบุ ญ จํ า กั ด สิ น ใช” พระเจาบรมวงศ8 เ ธอ พระองค8เจาวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ8พงศ8 ไดรับสัมปทานตั้งแต
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๖๙
พ.ศ. ๒๔๔๕ ตอมาภายหลั ง โอรสคนที่ ห นึ่ ง ของพระเจาบรมวงศ8 เ ธอ พระนราธิ ป พั น ธ8 ว งศ8 คื อ หมอมเจานิ ต ยากร วรวรรณ หรื อ ชาวบาน ขนาน พระนามทานวา “เหาหมอ” ซึ่ ง ทานก็ พอใจที่ ช าวบานเรี ย ก พระนามทานเชนนั้น เพราะเวลาทานพูดจาสนุกๆ สรวลเสเฮฮา จบลงแตละ ๗ ประโยค ทานจะตองพูดลงทายวา “เหาหมอ” ทุกครั้งไป
พระรูปหมอมเจ4านิตยา วรวรรณ ที่โรงเรียนทาเรือ “นิตยานุกูล” จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่มา: เว็บไซตสมาคมศิษยเกาโรงเรียนทาเรือ “นิตยานุกูล” http://tharuanittaya-alumni.com/history.php
๗
เจฟฟ‹. (นามแฝง) “ประวัติทางรถไฟสายท+าเรือ-พระพุทธบาท (รถไฟกรม พ ร ะ น ร า ) ” ร ถ ไ ฟ ไ ท ย ด อ ท ค อ ม สื บ ค น จ า ก http://portal.rotfaithai.com /modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=1 8 เ ข า ถึ ง เ มื่ อ วั น ที่ ๑ ๑ กุมภาพันธ8 ๒๕๕๗
๗๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ห ม อ ม เ จ า นิ ต ย า ก ร ว ร ว ร ร ณ เ ป$ น โ อ ร ส อ ง ค8 ที่ ๙ ใ น พระเจาบรมวงศ8เธอ พระองค8เจาวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ8พงศ8 และหมอมผัน วรวรรณ ประสูติเมื่อวันพุธที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๖ ตรงกับ ป0 ม ะเส็ ง ทรงเขารั บ การศึ ก ษาที่ วั ง วรวรรณ, โรงเรี ย นราชวิ ท ยาลั ย ( โ ร ง เ รี ย น ภ . ป . ร . ร า ช วิ ท ย า ลั ย ใ น พ ร ะ บ ร ม ร า ชู ป ถั ม ภ8 ) แ ล ะ โรงเรี ย นนายรอยทหารบก ตามลํ า ดั บ ทรงไดถวายตั ว เป$ น มหาดเล็ ก ในพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๗ ) ในขณะที่ยังดํารง พระอิสริยยศเป$น สมเด็จเจาฟTาประชาธิปกศักดิ์เดช ในขณะที่ทรงมียศเป$น นายรอยเอก (ร.อ.) ไดเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๑ ขึ้น ไดทรงอาสาไปราชการ สงครามในตําแหนงผูบังคับกอง ในราชการครั้งนั้นทรงไดรับพระราชทาน เหรี ย ญรามาธิ บ ดี ชั้ น อั ศ วิ น และไดรั บ เหรี ย ญเรยิ อ องคอนเนอร8 ข อง ประเทศฝรั่งเศส อีกดวย ในรั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระปกเกลาเจาอยู หั ว ทรงพระกรุ ณ า โปรดเกลาฯ ใหเป$ น ราชองค8 รัก ษ8 ตอมาไดกราบถวายบั ง คมลาออกจาก ราชการมาประกอบอาชีพสวนตัวบริหารกิจการรถไฟสายทาเรือ – พระพุทธบาท และยั ง ทรงไดรั บ การเลื อ กตั้ ง เป$ น สมาชิ ก สภาผู แทนราษฎรของ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอีกดวยถึง ๒ สมัย ในสังกัดพรรคสหชีพ โดยทรง ไดรั บเลือกครั้ งแรกในการเลือกตั้ งเมื่อเดือนสิง หาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ แทนที่ นายปรี ดี พนมยงค8 ที่ ล าออกไปกอนหนานั้ น จากการสวรรคตของ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (รัชกาลที่ ๘) โดยบทบาท ในทางการเมื องของ หมอมเจานิ ต ยากร เป$ น ที่ โ ดดเดนมาก ถื อเป$ น ส.ส.
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๗๑
ที่ฝ0ปากจัดจาน กลาพูดกลาวิจารณ8 จนไดรับฉายาวา "เหาหมอ" จากการที่ ๘ เมื่อทรงปราศรัยหรือพูดจบ มักจะลงทายดวยคําวา "เหาหมอ" ทุกครั้ง เนื้อความในนิราศนราธิป ไดกลาวถึง พื้นที่บริเวณศาลายาความตอน หนึ่งวา ศาลายาแจกยาหรือขาหมอ เห็นแต+นาแต+นามพูดตามตรง ถึงสุวรรณารามนั่นนามวัด วัดงิ้วรายฉายฉายาสถานี
ขอสักห+อเถิดพินิจพิศวง ถึงแค+นลงรถไฟยาไม+มี เหมือนนามคลองมหาสวัสดีวิถี เป/นท+าที่เรือยนตดลสุพรรณ
ข อ ค ว า ม ข า ง ต น ทํ า ใ ห ท ร า บ ข อ มู ล ส ถ า นี ต า ง ๆ ใ น พื้ น ที่ อําเภอพุทธมณฑล หรือ อําเภอนครชัยศรี ในขณะนั้นไดเป$นอยางดี และเห็น การกลาวถึ ง การคมนาคมคู ขนานระหวางการเดิ น ทางดวยรถไฟและ เรือโดยสาร โดยเฉพาะทาเรือวัดงิ้วรายที่เป$นทาเรือใหญไปจังหวัดสุพรรณบุรี ขอมูลจากนิราศขางตนเป$นสวนหนึ่งที่ชวยเติมเต็มบรรยากาศในอดีต ของชุมชนศาลายาใหสมบูรณ8ไดเป$นอยางดี ดวยเหตุนี้จึงจะไดเชิญพระนิพนธ8 เรื่องดังกลาวมาทั้งเรื่อง เพื่อใหผูอานไดเห็นสภาพบรรยากาศอยางตอเนื่อง และซึมซับกลิ่นอายของการเดินทางดวยรถไฟในขณะนั้นไดอยางมีรสชาติ
๘
เจฟฟ‹. (นามแฝง) “ประวัติทางรถไฟสายท+าเรือ-พระพุทธบาท (รถไฟกรม พ ร ะ น ร า ) ” ร ถ ไ ฟ ไ ท ย ด อ ท ค อ ม สื บ ค น จ า ก http://portal.rotfaithai.com /modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=1 8 เ ข า ถึ ง เ มื่ อ วั น ที่ ๑ ๑ กุมภาพันธ8 ๒๕๕๗
๗๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
นิราศนราธิป๙ เรียก ดุษฎี จารึก ไปป*กษใต4 (คํากลอนสุภาพ) ฝ0พระโอษฐ8 พระเจ4าบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ .......................... ออกจาก พระมหานคร วันอาทิตยที่ ๒๒ เมษายน พุทธศก ๒๔๗๑ ’ ดุษฎีจารึกบันทึกเลน แทนโหยหวลกําสรวลสวาทนิราศกลอน ๑๐ หวังตอนรับลูก กลับจากอังกฤษ ๙
พอทะเลนกมละเริงเชิงอักษร ปางแรมรอนรถไฟไกลภารา สําเร็จวิศวกรรมช่ําศึกษา
พระเจาบรมวงศ8เธอ กรมพระนราธิปประพันธ8พงศ8, นิราศนราธิป นิราศ เมืองไทยไปรอบโลกดุษฎีมาลา, (พระนคร: องค8การคาของคุรุสภา, ๒๕๐๔), หนา ๑ – ๒๕. ๑๐ ศาสตราจารย8 หมอมเจาโวฒยากร วรวรรณ พระโอรสองค8ที่ ๒๐ ของ พระเจาบรมวงศ8เ ธอ กรมพระนราธิปประพั นธ8พ งศ8 และเป$น องค8 ที่ ๓ ของหมอมบุ ญ วรวรรณ ณ อยุ ธ ยา สถาปนิ ก กรมรถไฟ ผู รวมกอตั้ ง สมาคมสถาปนิ ก สยาม ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ8 อาจารย8 พิ เ ศษและตอมาทรงเป$ น อาจารย8 ป ระจํ า และคณบดี คณะสถาปX ต ยกรรมศาสตร8 จุ ฬ าลงกรณ8 ม หาวิ ท ยาลั ย สถาปนิ ก รุ นบุ ก เบิ ก ผู นํ า เอา เอกลักษณ8ไทยมาประยุกต8กับการออกแบบอาคารสมัยใหม ไดทรงพัฒนาวัสดุกอสรางที่มี
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๗๓
ศาสตราจารย หมอมเจ4าโวฒยากร วรวรรณ พระโอรสองคที่ ๒๐ ของพระเจ4าบรมวงศเธอ กรมพระนราธิปประพันธพงศ
เคมบริดช8วิทยาลัยไดปริญญา หมอมเจาโวฒยากรพรพออวย เรียกทานติ่งกันเพรื่อในเชื้อวงศ8 รักคบเพื่อนเหมือนรักดุรีย8เกษียล นาอยูเย็นเป$นสุขปลุกชีวัน
รักวิชารักเสงี่ยมรักเจียมองค8 สมโฉมสวยศุภางค8จริตพิศวง สมานมงคลสนองนองหญิงพรรณ รักวาดเขียนเตนรําคุยขําขัน เฉลิมขวัญศันติ์เกษมเปรมไมตรี
ใชในทองถิ่นใหเหมาะสม เชนกระเบื้องปMดหัวจั่วกันผุ รวมทั้งการทดลองการใชวัสดุพื้นถิ่น เชนไมไผ ไมระแนงเสริมปูนฉาบซึ่งพบวาใชงานไดดีในระดับเศรษฐกิจขณะนั้น
๗๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
สมโสทรนองยาปรีชาชาง ยึดพี่นางพางยลชนนี
ของพระนางทรงศักดิ์ลักษมี ยามสิ้นชีวิตพอพอพึ่งพา
๑๑
พระนางเธอลักษมีลาวัณ ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล4าเจ4าอยูหัว ๑๑
พระนางเธอลักษมีลาวัณ พระนามเดิม หมอมเจาหญิงวรรณพิมล วรวรรณ หรือ ทานหญิงติ๋ว พระมเหสีพระองค8หนึ่งในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๗๕
ศกสองพันสี่รอยเจ็ดสิบเอ็ด ทางรถไฟสายใตไดเวลา โฮเต็ลราชธานีที่ประทับ ๑๒ หญิงวรรณีศรีสมรหญิงฤดี องค8ดล พรอมขอเฝTาเหลาขาหลวงกรมวัง ลวนญาติมิตร8จิตพะวงอวยมงคล ตั้งเครื่องสรรพเสด็จประทับโต\ะเสวย ตรัสทักทายพระสหายพระวงศ8วาล เสด็จขึ้นรถที่นั่งหลังที่เหมา ตรงเจ็ดนาฬิกาเปJงสามเกงดัง ในวันนั้นชั้นหนึ่งพึงชิดชม ๑๒
เริ่มเสด็จจากนครสัญจรปNา ย่ํารุงครึ่งถึงชาลาสถานี สํารองรับพระนางลักษมี ๑๓ วรวรรณวรวีร8 ฯ สี่ ทานที่หวังสงเสด็จก็เกลื่อนกลน โดยกมลไมตรีปรานีนาน กาแฟขนมนมเนยผลาหาร จวบยินขานสองเกงเรงระฆัง ลวนพวกเราเรียงหองจองทั้งหลัง รถดวนทั้งสายลาสถานี ๑๔ เสด็จกรมพระสวัสดิ์ ฯ จากกรุงศรี
หมอมเจาหญิงฤดีวรวรรณ วรวรรณ พระโอรสในพระเจาบรมวงศ8เธอ กรมพระนราธิปประพันธ8พงศ8 ประสูติแ ตหมอมสุน เสกสมรสกับ หมอมเจาชิดชนก กฤดากร นายปุ€ ประไพลักษณ8 และ นายโรเบิร8ด ส. อาร8โนลด8 มีบุตรคือ หมอมราชวงศ8 สมชนก กฤดากร, นางวรรณจิตต8 กฤษณามระ และนางคนทิพย8 ประไพลักษณ8 โลตแมน ๑๓ หมอมเจาวรวี ร ากร วรวรรณ พระโอรสในพระเจาบรมวงศ8 เ ธอ กรมพระนราธิปประพันธ8พงศ8 ประสูติแตหมอมแชม เสกสมรสกับ หมอมแพร ศรีวรรธนะ และหมอมเริ่มจิตต8 พึ่งบารมี มีธิดาคือ ทานผูหญิง หมอมราชวงศ8รวิจิตร สุวรรณบุปผา ๑๔ สมเด็จพระเจาบรมวงศ8เธอ พระองค8เจาสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดน วิ ศิ ษ ฎ8 พระนามเดิ ม พระองค8 เ จาสวั ส ดิ โ สภณ เป$ น พระราชโอรสองค8 ที่ 60 ใน พระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว เป$นพระอนุชาในพระองค8เจาเทวัญอุไทยวงศ8 พระองค8 เจาสุนั นทากุ มารี รัต น8 (สมเด็ จ พระนางเจาสุ นัน ทากุ มารีรั ตน8 ในรั ชกาลที่ ๕) พระองค8เจาสวางวัฒนา (สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจา) และพระองค8เจาเสาวภาผองศรี (สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถในรัชกาลที่ ๕ )
๗๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา ๑๕
เจาจอมมารดาโหมด กับบุตรี
๑๖
๑๗
พระเจาพี่ยากรมหลวงชุมพร ฯ
พระองค8ทรงดํารงตําแหนงเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมเป$นพระองค8แรกนอกจากนี้ยังทรง เคยดํารงอธิบดีศาลฎีกาในระหวาง พ.ศ. 2455 - พ.ศ. 2461 พระองค8ทรงเป$นตนราชสกุล สวัสดิวัตน8 พระราชบิดาในหมอมเจารําไพพรรณี สวัสดิวัตน8 (สมเด็จพระนางเจารําไพ พรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว) กับพระเจาวรวงศ8เธอ พระองค8เจาอาภาพรรณี ๑๕ เจาจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ ๕ เป$นบุตรีคนที่ ๖ ของเจาพระยาสุรวงศ8 ไวยวัฒน8 (วร บุนนาค) ที่เกิดแตทานผูหญิงสุรวงศ8ไวยวัฒน8 (อิ่ม) และยังเป$นนองสาวรวม บิดามารดากับเจาคุณพระประยูรวงศ8อีกดวย ทานเกิดเมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๐๕ ตอมาทานไดเขาไปอยูในพระบรมมหาราชวัง โดยพํานัก อยูกับเจาคุณพระประยูรวงศ8 ผู เป$ น พี่ ส าว ตอมา ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกลาฯ ใหเป$ น เจาจอม และไดประสู ติ พระราชโอรส - พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ๓ พระองค8 คือ • พระองค8เจาชายอาภากรเกียรติวงศ8 ตอมาเป$น "กรมหลวงชุมพรเขต อุดมศักดิ์" และเป$นองค8ตนราชสกุล "อาภากร" • พระองค8เจาหญิงอรองค8อรรคยุพา • พระองค8เ จาชายสุ ริย งประยุ รพันธ8 ตอมาเป$น "กรมหมื่ นไชยาศรี สุริโยภาส" และเป$นองค8ตนราชสกุล "สุริยง" เจาจอมมารดาโหมด พํานักในพระบรมมหาราชวังมาตลอดในรัชกาลที่ ๕ เมื่อ สิ้นรัชกาลแลว จึงไดกราบบังคมทูลลาออกมาพํานักกับพระราชโอรสพระองค8ใหญ ณ วัง นางเลิ้งตลอดมา มีความสุขอยูกับการเลี้ยงดูพระราชนัดดา ในราชสกุล "อาภากร" และ "สุริยง" จนกระทั่งถึงแกอสัญกรรม ๑๖ พระองค8เจาหญิงอรองค8อรรคยุพา พระธิดาในรัชกาลที่ ๕ ประสูติแตเจา จอมมารดาโหมด ๑๗ พระองค8เจาชายอาภากรเกียรติวงศ8 พระโอรสในรัชกาลที่ ๕ ประสูติแตเจา จอมมารดาโหมด ตอมาเป$น "กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์" และเป$นองค8ตนราชสกุล "อาภากร"
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๗๗
ไปหัวหินถวิลเกลาจะเฝTาบาท ไทยฝรั่งสลั้งรถหมดทุกตอน
๑๘
เจาฟTาราชบิตุลา เดชาฉอน รวมใจจรปXกษ8ใตไปป0นังฯ ๒๔ คํา
ระยะทางตั้งแตพระมหานครถึงทุงสง ’ หัวลําโพงดอกลําโพงโดงสําเหนียก ใยยักเรียกวัวลําพองคนองคลั่ง ฤทธิ์อวดรูผิดกระทูรูพลั้งพลั้ง หยิ่งทลั่งเหลิงรอนขอนมิงาม ถึงพลับพลาจิตรลดารัถาผาน นิเวสน8ตระหงานจิตรลดาอาสยาม สวนสวรรค8ขวัญฟTามาเป$นนาม มณเฑียรงามมงกุฎเกลาพระเผาพัก
๑๘
จอมพล สมเด็จพระราชปMตุลาบรมพงศาภิมุข เจาฟTาภาณุรังษีสวางวงศ8 กรม พระยาภาณุพันธุวงศ8วรเดช เป$นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เป$นพระราชโอรสลําดับสุดทายในพระบรมราช ชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจาฟTาภาณุรังษีสวางวงศ8 พระชันษาเพียง ๒ ขวบ สมเด็จเจาฟTาฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ8วรเดช ชาวบานชาววังมักออกพระนามวา "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อวา "วังบูรพาภิรมย8" ซึ่งก็คือตําแหนงที่เป$นยานวัง บูรพาทุกวันนี้ ทรงเป$น "ตา" ของพระเจาวรวงศ8เธอ พระองค8เจาภาณุพันธ8ยุคล ตามพระ ประวัตินั้น ทรงเป$นจอมพลในรัชกาลที่ ๗ ที่ทหารรักมาก เลากันมาวาพวกทหารมักจะ แบกพระองค8ทานขึ้นบนบาแหแหนในวาระที่มีการฉลองตางๆ เชน ฉลองคลายวันประสูติ เป$นตน ทรงเป$นผูใหกําเนิดกิจการไปรษณีย8ไทย ทรงเป$นตนราชสกุล “ภาณุพันธุ8”
๗๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
สถานีรถไฟหลวงจิตรลดา (หลังเกา) แทนวังเกาเยาวราชอวยนาถนอง นามปารุสสกวันปXนสํานัก จิตรลดาสงาโอสโมสร จังหวัดขัตติยานีไมตรีแนม ถึงสามเสนพิมเสนสามขวดดม อิ่มอารมณ8ชมชื่นลูกคืนวัง ถึงบางซื่อความซื่อยอมสื่อมิตร คนฉลาดสามารถผสมไดกลมกลืน ถึงบางซอนการซอนขอนลับลม มีคุณบางบางมื้อรื้อชะโลง ถึงสะพานขามแมน้ําพระรามหก เรือลอดแลนแมนเผาเจาพญา
ตกเป$นของขางที่มีตําหนัก ขัตติยศักดิ์ปรเทศประเวศแรม สนามยอนสยุนแควนแสนแสลม พามิตรแยมสรวลชอบทรงกอล8ฟบัง ชื่นอารมณ8หรือจะเยี่ยมกวาเรียมหวัง จากกันตั้งเกาป0ไดดีคืน ดิโปลมัตดัดจริตนั่นมิตรฝUน คนโงขืนเลียนเชนกลายเป$นโกง ริเลห8อมพะนําขยาดไมอาจโผง กอนออกโรงเปMดฉากใหหลากตา เป$นทางบกยกเดนเห็นสงา พรอมไพรฟTาฝากเกลาเจาจักรี
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๗๙
แทนทุนปรนทําถนนชนะบท กับเชื่อมทางรถไฟไหนจะดี ทําใดไมเหมาะสมัยผลไดนอย เราไพรฟTานายกผูปกครอง บางตํารุระบุภิไธย8ตนไมสวน หวานโอชานาลิ้มอิ่มไมเบา ถึงชุมทางตลิ่งชันขันจริงจริง เหตุรถไฟใตเหนือเมื่อรวมมือ ฉิมพลีพี่เขมน ไมเห็นงิ้ว นามีทิวงิ้วสลางปางไหนนาม ถึงศาลาธรรมสพน8ใครพบขรัว เสียแรงหวังนั่งในรถไฟมา ศาลายาแจกยาหรือขาหมอ เห็นแตนาแตนามพูดตามตรง
ทุกเมืองหมดมางายกายวิถี เป$นนาที่ไทยฉลาดรักชาติตรอง กวาทําคลอยสมัยเมืองเนื่องสนอง เลือกทํานองอนุเคราะห8ไหนเหมาะเรา ดินพรุพรวนสับปะรดสดมิเฉา เพราะคนเอาธุระมันเลือกพรรณลือ ในทองที่มีตลิ่งที่ไหนหรือ ตรงถิ่นชื่อตลิ่งชันขนานนาม เห็นแตทิวนาฟางสลางหลาม จึ่งลือลามฉิมพลีมีสมญา ที่เป$นตัวยั่วเหตุเทศนา หรือศาลาทําศพจึ่งหลบองค8 ขอสักหอเถิดพินิจพิศวง ถึงแคนลงรถไฟยาไมมี
ทางรถไฟสถานีศาลายา เมื่อคราวน้ําทวมใหญ
๘๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ถึงสุวรรณารามนั่นนามวัด วัดงิ้วรายฉายฉายาสถานี รถสายเราเขาเทียบเรียบประเดี๋ยว การไปมาถาสะดวกผนวกทัน ถึงสะพานเสาวภาทาจีนขาม ราชินีนาถสยามนามสําเนิญ บานเขมรไหนเขมรเจนแตนาม เบื้องโบราณตีบานเมืองตอนมา ทาแฉลบใครแฉลบแอบลงทา เดิมตั้งกองโยธีเดี๋ยวนี้ไป
เหมือนนามคลองมหาสวัสดีวิถี เป$นทาที่เรือยนต8ดลสุพรรณ คนลงเกรียวจีนไทยแลหลายหลั่น ยอมเป$นคั่นเกริ่นลามความเจริญ สงาลามสองฝX^งดังเหาะเหิร พระเกียรติเกริ่นกรุงศรีไมมีซา ในสยามเชลยหลากมากภาษา เป$นเชลยศึกขาแผนดินไทย สําโรงหนานามกระโดงสําโรงใหญ สมทบในกองฉกาจราชบุรี
สถานีรถไฟนครปฐม มองเห็นพระปฐมเจดีย ถึงนครปฐมใหญรถไฟหยุด บางขึ้นลงตรงชาลาสถานี
อุตลุดเหลาคนกลนอึงมี่ หนามหาเจดีย8ที่บูชา
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๘๑
สถูปใหญในสยามเมื่อยามนี้ เป$นปNาดอนกอนนั้นมิทันชา โอกรุงไทยศรีวิชัยในอดีต เดชพระวงศ8จักรีศรีนิกร พวกกรมการเชิญพานธูปเทียนทอง อีกทานถือเชิงเทียนชนวนไฟ ทรงเคารพจบหัตถ8นมัสการ มือคอยรับถวายคํานับกลับบูชา
มหามงกุฎนุสาวรีย8เฉลิมหลา กลับสงางามเดนเป$นนคร มาหวลฟUVนคืนขีดแข็งแตกอน สยามเทพบิดรผดุงไทย กระทงรองบุบผาเขามาใกล ถวายพระลักษมีไดเสริมศรัทธา จุดอัคคีแลวประทานทานที่งา เหลือคณากรมการจบผานแดน
สถานีรถไฟหลวงพระราชวังสนามจันทร สร4างราว พ.ศ. ๒๔๕๓ ถึงวังงามสนามจันทร8ปXนเป$นที่ จวนสมุหเทศาวาการแควน
มณฑลนครชัยศรีเหมาะดีแสน ไถเยี่ยงแมนวังจันทร8อยุธยา
๘๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
รถแลนโดงผานโพรงมะเดื่อดอก มีแตดอกหลอกเห็นเป$นผลา ถึงบางตาลเป$นยานตนตาลโหรง หนองปลาดุกคองดักกันยักมือ ถึงบานโปNงปNาโปรงเรือนโรงเกลื่อน เดชรถไฟไปสะดวกผนวกคน นครชุมน8ชุมนาหรือนาถาม คลองตาคดตาไมไผคดครัน รถหยุดโพธารามยามนี้เตื้อง เจ็ดเสมียนเขียนอะไรไมชักโยง ถึงบานกลวยตนกลวยรวยสมนาม สพานอั่ยใหญสมพระสมญา เถลิงรัชผดุงรัฐพิพัฒน8ผุด สวรรคตใชหมดพระการุณ รถจอดหนาสถานีที่มณฑล ทั้งรถยนต8รถมาตางหางาน ดึกดําบรรพ8นั้นทางตางเมืองผา ปMยมหาราชทนุกปลุกเมืองฟUVน กรมการหลายทานมาตอนรับ เคารพเฝTานอมเกลาเผาผานฟTา ผานคูบัวบอตะครอปากทอเทียบ แตคนนอยไมคอยขึ้นลงมี ผานเขาเหลาหวยโรงคลองประดู ยิ่งบานนอยน้ํากรอยถอยพังเพย
คนมันบอกวาผลรนกังกา พระนามฟTาดอกมะเดื่อนั่นเนื้อลือ ใยจึ่งโดงดังตาลหวานแตชื่อ ชุมนักหรือหนองไหนใยมิยล รถหยุดเหมือนเมืองโตโผลไพรสณฑ8 นิมิตตําบลบานปNาแปลกตาพลัน พินิจตามตัวอักษรขอนขันขัน ใชทําคันเบ็ดมิเหมาะเพราะคดโคง แลเหมือนเมืองมโหฬารอยางบานโปNง คนตั้งโรงตั้งเรือนเกลื่อนผิดตา รถไฟขามแมกลองมองสงา เรียกจุฬาลงกรณ8กระฉอนคุณ ยิ่งกวาชุดไหนไหนไทยเอิบอุน พระนามนุกุลชาติพึ่งสึงสพาน ราชบุรีมีกลนคนพลุกพลาน รถพักนานหนอยจํารับน้ําฟUน ทวาราวดีกษัตริย8ทรงรัชรื่น จึ่งครึกครื้นตึกตลาดกลาดมรรคา ถวายคํานับขางรถชูยศฐาน8 จวบรถผานลานชาลาสถานี เป$นทําเนียบนายอําเภออเลอนี่ มิสมที่รถดวนควรจอดเลย บานซุยซูทํานาไมผาเผย จอดตามเคยอินชะเนียอยากเลียปู
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๘๓
อําเภอยายกลายรางพางพงปNา ถาถมคันกั้นทะเลคะเนดู รถผานชองหนองปลาไหลใกลบางจาก ถึงเมืองเพชรบุรีสงานาชื่นชวย หวนคะนึงถึงครั้งเมื่อยังยอม สถาปนาพระมหานครคิรี กอสะพานผานขามน้ําเพชรผาด ตึกราชการโรงทหารตระการปUอ วางราชกิจเสด็จสถิตหยอนพระทัย พระรูปไวไพชยนตร8กลเพชรแพรว สิ้นชนกปกเศียรเพียรพึ่งบาท สรางราชฐานบานปUนยืนนิยม นาชื่นโชยโดยเสด็จโปรดเมตตา ลับเบื้องบทเกศประณตบทมาลย8 ปลัดเมืองมาเฝTาแทนเจาเมือง ขาหลวงเรือนนอกเนื้อทรงเกื้อกูล เสด็จเยี่ยมเตรียมสํารองของถวาย ลูกไมหวานน้ําตาลบี่มีติดมือ ขามแมน้ําเพชรบุรีวิถีสู เที่ยวเริงรมย8สมคะนึงเดชพึ่งบุญ ผานหวยเสือเสือหายกลายเป$นนา คนขยันฟXนไมไกลทุกที ระเบิดเขาเอาศิลามาถมราก หนองไมเหลืองเหมืองหายรถกรายมา
จะทํานาน้ําเค็มก็เต็มสู อาจเป$นอูเขาไดหมื่นไรรวย เห็นชวากวังเขาลําเนาสวย สายรถยวยหยุดหนาสถานี ตามเสด็จทูลกระหมอมมาถึงนี่ สรางพระที่ถ้ําหวงเขาหลวงลือ สรางอาวาสตลาดตึกพิลึกเพรื่อ ถนนทื่อทางเชื่อมเหลื่อมหลายแนว ที่รักไพรฟTาเกลือกทั้งเทือกแถว ถึงเถลิงศกแลวรุมบังคม พระปMยราชเลิสเจาชุบเกลาสม ประพาสภิรมย8ฤดีปางทรงวางงาน เป$นวาสนาจวบพระอวสาน ยังมีปราณมิขอลืมปลื้มพระคุณ ไปตรวจเรื่องยุงเหยออําเภอวุน ขาพึ่งบุญไทยจีนไดยินลือ ขนมรายหมอแกงสะอาดรองถาดถือ สําแดงชื่อสมัครปองสนองคุณ มลายูปXกษ8ใตใจกรุนกรุน พระการุญจอมชีวาโปรดปรานี เสือหรือกลาฝNาคนโดดดนหนี จนแควนที่เขาทโมนโคนเป$นนา ทางแยกบากชวากเวิ้งถึงเชิงผา เห็นแตปNานาเนื่องไมเหลืองไร
๘๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ถึงหนองจอกบอกระบิลถิ่นอําเภอ จดประจวบฯ รวบรุดหยุดรถไฟ หนองศาลาทางมหาราชนเรศวร8 แรมพลับพลาบานทาก็เรียกกัน หนองตาพดรถผานเป$นยานไพร พอตัดหาตาพดไดงดงาม รถดวนดึ่งถึงชะอําก็จําหยุด หญิงบรรเจิดฯ หญิงอุบลฯ ขึ้นบนรถ พรอมมิตรญาติกลาดชาลาสถานี ฉันชอบชิดสนิทสนมกันกลมเกลียว อาลัยยิ่งหญิงพิมพ8ฯ ยิ้มละหอย วิมวาฑิตย8ติดชะอําเริงสํารวย รวมพี่นางอางสงเสด็จที่ พรอมสหายชายคุนดุลภาฯ แตนอยวันผิดกันวรวีร8 ฯ สงสารเจตนาฯ นอยโชคพลอยซวย พลอยเหนี่ยวแมดูแลรักษาฝาก ที่ทําแกแงมากไมยากไป ผานบอแขมแงมซายเรือนชายหาด พระยาสุระพันธ8ประกาศมิตรญาติตน รถผานทาง (บางควาย) หวยทรายเหนือ เหมือนเทพฤทธิ์นิรมิตผิดคะเน เอกอธึกเรียกมฤคทายะวัน เปลี่ยนแผนดินเปลี่ยนถิ่นเปลี่ยนทํานอง
ปกอะเลอแควนเพชรสุดเขตใต หนองจอกใชจอกหนองจอกคลองตัน เสด็จประเวศโตนดหลวงหวงน้ํากั้น คายหลวงนั้นเมืองเกาเหลาอาราม ไมรวกไมไผกอติดตอหลาม ออกสมนามสมหนาหนองตาพด เรียมรับบุตรรับสุดาที่มาหมด เป$นเหลืออดชายฉันท8ฯ ถลันเปรียว สงพวกพี่ที่จะพากันลาเที่ยว ถึงตัวไกลใจเหนี่ยวถนอมชวย หวงลูกนอยหาไมก็ไปดวย เลยชิงฉวยชองวางจํารางลา สถานีหัวหินถิ่นหรรษา โดยเป$นหนาพักงานทานอํานวย มีหนาที่รถไฟตองไปดวย อังสาราวทาวระทวยเหลือเที่ยวไกล อยูโรงพยาบาลลําบากพรากไมไหว ผอนตามใจใครประสงค8และมงคล ปลูกเกลื่อนกลาดบอตะลุงพุงถนน จองตําบลบานตั้งฝX^งทะเล ประหลาดเหลือราชฐานตระการเก[ ป0เดียวเทเงินระดมเสร็จสมปอง จอมถวัลย8มงกุฎเกลาเนาสนอง โปรดสํารองรับขัตติยานี
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๘๕
เปลี่ยนอากาศประศาสน8ใหไปประทับ เงินแผนดินสิ้นสรางไวอยางดี อันวังใหมไกลกังวลหนหัวหิน เพื่อเป$นที่มเหสีลี้กังวล หวยทรายใตบอฝTายรถไฟผาน เดี๋ยวนี้หมดที่วางตางจํานง ถึงหัวหินถิ่นสวรรค8ตะวันตก แตเปลืองเหลือเนื้อเตนตองเซนเชค ใครที่มีที่ดินฝXนกินเมือง ปากหงับหงับตรับฟXงดังโจทย8กัน นาฟXงหูไวหูนิ่งดูไป ไหนจะทําสล่ําแสลงเหมือนแกลงลือ รถเขาทอดจอดหนาสถานี ลงขึ้นหลายปNายป0นทั้งจีนไทย ในกรมพระดํารงฯ ทรงเมตตา พระนางหลานโปรดปรานประทานพร หมอมเจาอิทธิเทพสรรค8พรรณเพ็ญแข หญิงวรรณวิไลจะรวมไปถึงเมืองตรัง ปลัดอําเภอบุญทิพย8ไหวพริบอยู ใครผานผันอัญชลีไมมียก จากหัวหินผานถิ่นหนองแกมอง วังก8พงพักอยูสักนอยนาที ผานหวยขวางหนองคางสามรอยยอด บอนอกทุงแมงเมาแลเซาซาน
วังสําหรับเจาชีวิตสถิตที่ สมเป$นศรีสมุทร8พิมานตระหงานชล สรางแผนดินนี้ปองสนองผล เฉลิมชนม8ชื่นสงวนสวนพระองค8 เป$นสถานเดิมใครใครไมประสงค8 จองไวคงคาดขายหวานคลายเค\ก แหลมมลายูยกใหเป$นเอก หลายตัวเลขแมหมายอยูหลายวัน ครั้นเกิดเรื่องจักกอบปะงอบสั่น แทบจะหั่นที่สรางขายลางมือ ใครขูเข็ญเป$นไฉนนิ่งไขสือ ทานอาจรื้อถอนตอใหพอใจ เจาขุนนางนารีผูดีไพร แหลงใหญในสายใตคลายนคร พระธิดาใหญนอยมาคอยกอน ใหไปมาสถาวรจวบจรวัง มาสงแมสงเสด็จเสร็จสมหวัง พรอมกับทั้งหลานนิดชิดชนก แตพอรูรับเสด็จเกศปะงก นาปลื้มอกปลื้มใจในไมตรี เดี๋ยวผานหนองเตาดึ่งไปถึงที่ ออกแลนจี๋จวบเยื้องถึงเมืองปราณ สัมประทายกุยจอดครูเดียวผาน ขั้นกระไดใกลชานชลาลัย
๘๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
รถจอดเบื้องเมืองประจวบคีรีขันธ8 กรมการทราบขาวเจาครรไล ผานหนองหินวังก8ดวนสวนหวยยาง ทับสะแกดอนทรายลายตาครัน นาผักขวงลวงบางสะพานใหญ จนเลยบางสะพานนอยคลอยสายัณฑ8 มาบอัมะฤตย8บางสนบานคอกมา ไปเสวยเครื่องเย็นเชนชุมนุม ไรฝรั่งนั่งขวางพระนางประทับ ผานสระพลีนาชะอังกําลังนั้น ไฟสวางตางยิ้มอิ่มอาหาร ขุนพิบูลย8รถะยนตร8คนบานดอน หลวงถกลถองวิจารณ8ฐานนายตรวจ จะกลับกรุงพรุงนี้ที่สูมา เราขอบใจกลับไปหองไสยา มืดหรุบรูดูก็เรื้อเบื่อชะมอย ถึงสุราษฎร8ธานีที่เขานัด จวนแปดทุมสุมไปไดเวลา ถึงหลังสวนไชยาถามีทาน ปลุกเถิดฟUVนตื่นงายทักทายทัน บานแสงแดดทุงคาทาวิสัย อําเภอสวีเขาป0บตะโก,ควนคลองขนานบานละแมคันธุลี เขาพนมตะแบกใกลเมืองไชยา
คนเรียกกันเกาะหลักพักพักใหญ ตางตั้งใจตอนรับอัพภิวันทน8 ทุงประดูดูสลางลวนไพรสัณฑ8 โคกตาหอมถัดนั้นบานกรุดดล บานชะมวงลวงคระไลไปถั่นถั่น ผานหวยสั ก เรี ย กกั น บางเบิ ด ชุ ม เปMดไฟฟTาสวางรถหมดมืดคลุม กอนสองทุมรถเสบียงพรอมเพรียงกัน เกรงขยับกีดกีดสุดขีดคั่น รถไฟบรรลุเบื้องเมืองชุมพร พบกรมการคํานับรับสลอน นายตรวจตอนตอนั้นมาวันทา สารวัดสํารวจก็มาหา เพื่ออาสาสงวนระเบียบใหเรียบรอย รถจอดชาเกือบยามจึ่งลามถอย วิสูตร8ลงพะวงผ็อยมอยนิทรา จะเตรียมจัดกระยาตมสมอาสา จึงคอยปลุกไสยาพูดจากัน กรมการตอนรับยามคับขัน ดึกถึงนั่นนึกไมมีใครเยือน รถผานในยามผทมชวดชมเผือน หินมุย, เมืองหลังสวนเขาวอคลา ดอนธูป, หนองหวายที่ถางไรปNา เขาถาน, คลองขุดทาเคย, มะลวน
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๘๗
ถึงหวยเตยเลยฟUVนตื่นไสยาสน8 งีบเป$นสุขปลุกหมดเมื่อรถจวน ขุนพิศาลฯ กรมการ กาญจนะดิษฐ8 เอื้อเจานายหมายรับเลิกหลับนอน แกปลื้มมากออกปากชมการุญ เคยเตรียมเฝTาเจาเสด็จเข็ดทุกที แทบทุกไทใจสมัครจงรักเจา นาแผเผื่อเยื่อไยทอดไวทาง ขุนพิบูลย8ฯ สารวัดจัดเครื่องวาง มอบแมหยวกภรรยาพาบุตรี โอชาชิดไมผิดหองเครื่องปรุง เหมือนรสชาติราชวงศ8พี่ลงเดิน ขอบใจหยวกพวกเราขาเกาแก รางวัลเข็มกลัดภิไธย8ไปกับมือ ครั้นรถลาสถานีพี่ผะทม ถึงทุงสงคงฟUVนตื่นไสยา เขาหัวหวายเขาพลูรถจูรุด คลองปราบ, บานพรุพลี ราตรีกาล ผานฉวางทางชองคลองจันทร8ดี จวนสวางอรุณรางชุมทางรอ ถิ่นทุงสงสมประสงค8เจาะจงพัก เจาเมืองกรมการใฝNผูกไมตรี เจาเมืองศรีธรรมราชญาติและมิตร อํามาตย8เอกดิเรกชดยศพระยา
ลุสุราษฎร8รถประเทียบคนเงียบงวน จะแลนสวนสถานีที่บานดอน ถึงดึกดื่นฝUนจิตไมอิดออน พี่อวยพรปราศรัยผูกไมตรี ขอบบุญคุณขุนพิบูลย8ฯ แอบทูลพี่ ทานเขาที่ทุกพระองค8คอยสงคาง อยากจะเฝTายิ่งยวดเพื่ออวดอาง มิเหินหางไพรฟTาทาดีดี กระยาตมสมอยางคางวิถี มาเลี้ยงที่บนรถพี่ซดเพลิน เสียงลือฟุTงคุงนิคมสมเสนิญ รานเจ\กเชิญคนประชุมกันรุมซื้อ รับใชแตเยาว8วัยน้ําใจซื่อ สมนับถือแตครั้งอยูวังนา หนาวพนมนวมคลุมแนบนุมหนา กําชับขาคอยนั่งดังอยูงาน ผานบางนาหวยมุดบานนาสาร เลยผานบานซอง, กระเบียดเฉียดธารพอ คลองกุย, คลองจังจี๋แลนเร็วปร[อ รถชะลอลุหนาสถานี ครองสํานักสองหลังยั้งวิถี คอยรับพี่รับพระนางพรางชาลา รัษฎานุประดิษฐ8วิศิษฏ8สงา เป$นหัวหนาตํารวจผสมกรมการ
๘๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ขุนณรงค8วังศาวาอําเภอ ราชนิกุลบุนนาคบากมานาน เสร็จหวานลอม ถนอมใจ ใครตอนรับ เสวยกาแฟไขขนมสมเครื่องเชา
ปกอะเลอทุงสงหวังหยงยาน เป$นแมงานปรองดองรับรองเรา ขึ้นประทับพลับพลาที่วาเชา ดูจัดเขาจัดของหองไสยาฯ ๒๐๐ คํา
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๘๙
ภาคผนวก
๙๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๙๑
โครงการ “เลาขานตํานานศาลายา” ครั้งที่ ๘
๑. ชื่อโครงการ โครงการ “เลาขานตํานานศาลายา” ครั้งที่ ๘ ๒. หนวยงานที่รับผิดชอบโครงการ ศูนย8สยามทรรศน8ศึกษา คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล ๓. ผู4รับผิดชอบโครงการ ผูชวยศาสตราจารย8 ดร. อภิลักษณ8 เกษมผลกูล ๔. หลักการและเหตุผล นั บ แตภาคเรี ย นที่ ๒ ป0 การศึ ก ษา ๒๕๔๘ เป$ น ตนมา สาขาวิ ช า ภาษาไทย คณะศิลปศาสตร8 ไดเปMดการเรียนการสอนในรายวิชา “วรรณกรรม พื้นบาน” ขึ้น เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูความคิด ภูมิปXญญา และวิถีชีวิตความ เป$นอยูของกลุมชนผานวรรณกรรมพื้นบานทั้งรูปแบบลายลักษณ8และมุขปาฐะ ในการนี้คณะนักศึกษาไดเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนามในพื้นที่ตําบลศาลายา พบวาพื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้ มี ป ระวั ติ ค วามเป$ น มายาวนาน มี เอกลั กษณ8 ท าง ประวัติศ าสตร8แ ละวัฒนธรรมที่ นาสนใจ จึงไดเสนอใหจัดโครงการเสวนา เกี่ยวกับองค8ความรูของเอกลักษณ8ทางประวัติศาสตร8และวัฒนธรรมเพื่อเป$น การเพิ่มพูนความรูและเปMดโลกทัศน8ของนักศึกษาใหกวางขวางยิ่งขึ้น อนึ่ ง การดํ า เนิ น การสื บ คนเอกลั ก ษณ8 ท างประวั ติ ศ าสตร8 แ ละ วัฒนธรรมของตําบลศาลายานั้น มีหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยมหิดลได
๙๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ดําเนินการมาแลวกอนหนานี้ นอกจากนี้ยังมีการศึกษาในสาขาตาง ๆ อาทิ สาขาสิ่ ง แวดลอม สาธารณสุ ข ศาสตร8 เศรษฐศาสตร8 สั ง คมศาสตร8 มนุษยศาสตร8 เป$นตน เพื่อแลกเปลี่ยนองค8ความรู ประสบการณ8 ตลอดจน สรางความสัมพันธ8และความเขาใจอันดีระหวางชุมชนกับมหาวิทยาลัยมหิดล โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อพุทธศักราช ๒๕๔๒ มหาวิทยาลัยมหิดลไดอนุมัติเงิน ทุนอุดหนุนการวิจัยในชุด “โครงการวิจัยและพัฒนาประชาคมพุทธมณฑล” ซึ่ ง แบงเป$ น ๖ ชุ ด โครงการยอย ประกอบดวย ชุ ด ทุ น ทางสั ง คมและ วัฒนธรรม ชุดทุนทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล0อมและระบบนิเวศ ชุดพุทธมณฑล ในระดั บ มหภาค ชุ ด การจั ด ตั้ ง ตนเอง การเรี ย นรู0 ท างสั ง คมและภาค ประชาชน ชุดนักวิชาการรุ+นใหม+กับการพัฒนาองคความรู0ท0องถิ่นพุทธมณฑล และ ชุดพุทธมณฑลเมืองน+าอยู+ โดยมีวัตถุประสงค8สําคัญเพื่อใหชาวบานหรือ นักวิจัยทองถิ่น นักวิชาการ และนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ไดเรียนรูชุมชน รวมกั น เพื่อเสริ ม สรางศั กยภาพของชุม ชน ภายหลั ง ดํ าเนิ น โครงการวิ จั ย ดั ง กลาวสํ า เร็ จ แลว หนวยงานภายในมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลยั ง คงมี ก าร ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพื้นที่ตําบลศาลายาอยางตอเนื่อง ดังนั้น เมื่อพุทธศักราช ๒๕๕๐ คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล โดยความรวมมือกับสถาบันวิจัย ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท จึงไดจัดงาน “เลาขานตํานานศาลายา ครั้ ง ที่ ๑” ขึ้ น เพื่ อเป$ น การเผยแพรและพั ฒ นาองค8 ค วามรู เกี่ ย วกั บ ชุ ม ชน ศาลายาในแงมุมทางมนุษยศาสตร8และสังคมศาสตร8 และไดรับการตอบรับ จากนักวิชาการ นักศึกษา และชุมชนเป$นอยางดี นั บ จากนั้ น เป$ น ตนมา สาขาวิ ช าภาษาไทย คณะศิ ล ปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล จึงไดดําเนินการศึกษาวิจัยและแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกับ ชุมชนศาลายามาอยางตอเนื่อง ทําใหเห็นแงมุมของชุมชนศาลายาในมิติทาง วัฒนธรรมที่หลากหลาย เป$นผลใหมีการจัดงานเลาขานตํานานศาลายาขึ้นเป$น
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๙๓
ประจําทุกป0เพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธ8องค8ความรูดาน “ศาลายาศึกษา” ใหเป$นที่รับรูอยางกวางขวางมากยิ่งขึ้น ในหัวขอตาง ๆ เรียงตามลําดับดังนี้ เลาขานตํานานศาลายาครั้งที่ ๑ ตอน “ประวัติศาสตร8และวัฒนธรรมแหงศาลายา” เลาขานตํานานศาลายาครั้งที่ ๒ ตอน “คุยกับศิลปMนพื้นบานศาลายา” เลาขานตํานานศาลายาครั้งที่ ๓ ตอน “เปMดตํารับ สํารับศาลายา” เลาขานตํานานศาลายาครั้งที่ ๔ ตอน “ศาลา “ยา” ที่ศาลายา” เลาขานตํานานศาลายาครั้งที่ ๕ ตอน “คิดถึงแมประยูร ..ลําตัดศาลายา” เลาขานตํานานศาลายาครั้งที่ ๖ ตอน “อยู เป$น เย็น สุข..น้ํากับชีวิตชาวศาลายา” เลาขานตํานานศาลายาครั้งที่ ๗ ตอน “๑๑๐ ป0 สถานีรถไฟศาลายา” การจัดงานเลาขานตํานานศาลายา ๗ ครั้งที่ผานมาไดรับความสนใจ และการตอบรับอยางดีจากผูเขารวมงาน ซึ่งประกอบไปดวยบุคลากรภายใน มหาวิทยาลัยและชาวชุมชนศาลายา ตลอดจนนักวิจัยชุมชนและผูสนใจทั่วไป และกอใหเกิดโครงการและความรวมมือตาง ๆ จํานวนมาก ในป0พุทธศักราช ๒๕๕๗ นี้ คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล เห็นความสําคัญของการจัดโครงการเลาขานตํานานศาลายาดังกลาวแลว จึง
๙๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
สนับสนุนการจัดงานในครั้งที่ ๘ ขึ้น เพื่อรวบรวมและแลกเปลี่ยนองค8ความรู เกี่ยวกับวัฒนธรรมและสังคมของชาวศาลายา ตลอดจนบริเวณใกลเคียง และ เพื่อประกาศเกียรติคุ ณแกผูไดรับ รางวัล “ศาลายาสดุ ดี” ครั้งที่ ๔ ซึ่งเป$ น บุคคลที่สรางคุณประโยชน8แกอําเภอพุทธมณฑลทานตอไป รวมทั้งเป$นการ สรางสรรค8แ ละพัฒ นาองค8 ค วามรู ดาน “ศาลายาศึกษา” อยางเป$ นระบบ ตอเนื่อง เพื่อใหศูนย8สยามทรรศน8ศึกษา คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล เป$นศูนย8กลางในการเผยแพรองค8ความรูเกี่ยวกับชุมชนศาลายา อันจักเป$น ประโยชน8ในการพัฒนาชุมชนศาลายาอยางยั่งยืนตอไป ๕. วัตถุประสงคของโครงการ ๑. เพื่อเผยแพรและพัฒนาองค8ความรูเกี่ยวกับชุมชนศาลายา ๒. เพื่อใหนักศึกษาคณะศิลปศาสตร8มีโอกาสในการสัมผัสวิถีชีวิตและ วัฒนธรรมพื้นบานมากขึ้น ๓. เพื่ อ แลกเปลี่ ย นความรู ทั ศ นคติ ใ นเชิ ง มนุ ษ ยศาสตร8 ร ะหวาง นักวิชาการ นักวิจัยชุมชน นักศึกษา ในมหาวิทยาลัยและปราชญ8 ชาวบาน ๖. ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ตุลาคม ๒๕๕๖ – มีนาคม ๒๕๕๗ ๗. จํานวนผู4เข4ารวมโครงการ นักศึกษาคณะศิลปศาสตร8 คณาจารย8และเจาหนาที่ วิทยากรและผูดําเนินการเสวนา
๑๕๐ คน ๒๐ คน ๕ คน
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๙๕
ผูสนใจในบริเวณตําบลศาลายาจํานวน
๒๕ คน
๘. สถานที่ปฏิบัติงาน คณะศิลปศาสตร8 และศูนย8การเรียนรู มหาวิทยาลัยมหิดล ๙. ลักษณะการปฏิบัติงาน - จั ด กิ จ กรรมเสวนา และจั ด นิ ท รรศการ รวมถึ ง ออกราน ผลิตภัณฑ8จากชุมชน - จัดทําหนังสือที่ระลึก จํานวน ๒ เลม ๑๐. ผลที่คาดวาจะได4รับ ๑. มหาวิทยาลัยมหิดลกับชุมชนมีความสัมพันธ8ตอกันอยางใกลชิด ๒. ภูมิปXญญาของชุมชนศาลายาไดรับการอนุรักษ8และเผยแพรความรู ๓. นักศึกษาคณะศิลปศาสตร8ไดสัมผัสวิถีชีวิตและวัฒนธรรมพื้นบาน ศาลายาอยางใกลชิด ๔. ไดเครือขายทางวัฒนธรรมซึ่งประกอบไปดวยนักวิชาการ นักศึกษา ในมหาวิทยาลัยกับปราชญ8ชาวบาน ๕ สามารถนํ า ไปใชในการขยายผลเพื่ อ จั ด ตั้ ง ศู น ย8 วั ฒ นธรรมและ พิพิธภัณฑ8ทองถิ่นศาลายาหรือหอจดหมายเหตุศาลายา ๑๑. ดัชนีชี้วัดความสําเร็จของโครงการ ๑. มีจํานวนผูเขารวมโครงการไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของจํานวนที่ ประมาณการ
๙๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
๒. ผูเขารวมโครงการมีระดับความพึงพอใจที่ไดรับเฉลี่ยไมนอยกวา ๓.๕๑ ๓. จัดพิมพ8หนังสือเชิงวิชาการ จํานวน ๒ เลม
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๙๗
เสวนา “เล'าขานตํานานศาลายา” ครัง้ ที่ ๘ พญากง-พญาพาน สืบตํานาน สานความรู= สู'เศรษฐกิจสร=างสรรค วันพุธที่ ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ ห=องมินิเธียเตอร ชั้น ๓ อาคารศูนยการเรียนรู= มหาวิทยาลัยมหิดล ................................................................... ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ ลงทะเบียนรับเอกสาร ๑๓.๐๐ – ๑๓.๓๐ คณบดีคณะศิลปศาสตร8กลาวรายงาน อธิการบดีหรือผูแทน กลาวเปMดงาน ๑๓.๓๐ – ๑๔.๓๐ ปาฐกถาพิเศษ “เศรษฐกิจสร4างสรรคกับการพัฒนาท4องถิ่น อยางยั่งยืน” นายวันชาติ วงษ8ชัยชนะ ผูวาราชการจังหวัดนครปฐม ๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ พักรับประทานอาหารวาง ๑๔.๔๕ – ๑๕.๐๐ พิธีมอบรางวัล “ศาลายาสดุดี” ครั้งที่ ๔ ๑๕.๐๐ – ๑๖.๐๐ เสวนา “พญากง – พญาพาน จากตํานานสูการทองเที่ยวเชิง วัฒนธรรม” วิทยากร รองศาสตราจารย8สุกญ ั ญา สุจฉายา ผูชวยศาสตราจารย8บัวผัน สุพรรณยศ ผูชวยศาสตราจารย8 ดร.อภิลักษณ8 เกษมผลกูล อาจารย8สมบัติ สมศรีพลอย คุณบํารุง พินิจกุล
๙๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
๑๖.๐๐ – ๑๖.๓๐ ละครสร4างสรรคเรื่อง “พญากง-พญาพาน” โดยยุวมัคคุเทศก8พิพิธภัณฑ8ทองถิ่นชุมชนบานวัดมะเกลือ อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๑๖.๓๐ – ๑๖.๔๕ คณบดีคณะศิลปศาสตร8 มอบของที่ระลึกและกลาวปMดงาน
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๙๙
คําสั่ง คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ ๓๙ / ๒๕๕๗ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการจัดโครงการ “เลาขานตํานานศาลายา” ครั้งที่ ๘ ตอน “พญากง-พญาพาน: สืบตํานาน สานความรู4 สูเศรษฐกิจสร4างสรรค” --------------------------------เพื่อเผยแพรและพัฒนาองค8ความรูเกี่ยวกับชุมชนศาลายา แลกเปลี่ยน ความรู ทัศนคติในเชิงมนุษยศาสตร8ระหวางนักวิชาการ นักวิจัยชุมชน นักศึกษา ใน มหาวิทยาลัยและปราชญ8ชาวบาน และเป$นการเผยแพรและพัฒนาองค8ความรู ดาน “ศาลายาศึกษา” อยางตอเนื่อง คณะศิลปศาสตร8 จึงไดจัดโครงการ “เลาขาน ตํานานศาลายา” ครั้งที่ ๘ ขึ้น และเพื่อใหการจัดงานดังกลาวเป$นไปดวยความ เรียบรอยและมีประสิทธิภาพ จึงขอแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน ดังมีรายนาม ตอไปนี้ ที่ปรึกษา ๑. นายแพทย8วัฒนา เทียมปฐม ๒. คุณวลี สวดมาลัย
ประธานสภาวัฒนธรรมอําเภอ พุทธมณฑล ประธานกลุมคนรักษ8ถิ่นบานวัด มะเกลือ
คณะกรรมการฝtายอํานวยการและประสานงาน ๑. ผศ. ดร.อภิลักษณ8 เกษมผลกูล ๒. อาจารย8ชนกพร พัวพัฒนกุล
ประธานกรรมการ กรรมการ
๑๐๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘.
อาจาย8อรวี อาจารย8วศวรรษ นางสาวรัชนีกร นางสาวพัทนินทร8 นางสาวพรทิพย8 อาจารย8ศิธรา
บุนนาค สบายวัน นันทิกาญจนะ พรหมมิ ตันติวุฒิปกรณ8 จุฑารัตน8
๙. นายดรณ8
แกวนัย
๑๐. นางสาวพัชรี
ศรีเพ็ญแกว
๑๑. นางสาวสุภิดา
สมานมิตร
คณะกรรมการฝtายประชาสัมพันธ สูจิบัตร และโลรางวัล ๑. อาจารย8ชนกพร พัวพัฒนกุล ๒. อาจารย8อรวี บุนนาค ๓. อาจารย8ศิธรา จุฑารัตน8 ๔. นางสาวสมฤทัย ยิ้มแฉง ๕. นางสาวอรพรรณ ลิ้มติ้ว ๖. นายอนุชิต นิธิมงคลทรัพย8
คณะกรรมการฝtายพิธีบวงสรวง ๑. อาจารย8วริศรา ๒. อาจารย8วศวรรษ
โกรทินธาคม สบายวัน
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและ เลขานุการ กรรมการและ ผูชวยเลขานุการ กรรมการและ ผูชวยเลขานุการ กรรมการและ ผูชวยเลขานุการ
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและ เลขานุการ
ประธานกรรมการ กรรมการ
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๐๑
๓. ๔. ๕. ๖. ๗.
อาจารย8ศิธรา อาจารย8 ดร.สุธาทิพย8 อาจารย8ยิ่งยศ อาจารย8เก[ นายดรณ8
จุฑารัตน8 เหมือนใจ กันจินะ แดงสกุล แกวนัย
คณะกรรมการฝtายพิธีการและของที่ระลึก ๑. อาจารย8ยิ่งยศ กันจินะ ๒. อาจารย8 ดร. สุธาทิพย8 เหมือนใจ ๓. อาจารย8อรวี บุนนาค ๔. นายอนุชิต นิธิมงคลทรัพย8 ๕. นางสาวณัฏฐ8ชญา แหงหน ๖. นางสาวสุวรรณา หิรัญสถิต ๗. นางสาวฤทัย ชุมเป0ย
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและ เลขานุการ
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและ เลขานุการ
คณะกรรมการฝtายลงทะเบียน ประเมินผล และจําหนายหนังสือ ๑. อาจารย8เก[ แดงสกุล ประธานกรรมการ ๒. อาจารย8 ดร.สุธาทิพย8 เหมือนใจ กรรมการ ๓. นางสาวฐิติวรดา วัฒนากร กรรมการ ๔. นางสาวสุภิดา สมานมิตร กรรมการ ๕. นายนธี การะเวก กรรมการ ๖. นางสาวดุจหทัย มาสุข กรรมการ ๗. นางสาวนลรัตน8 นราพลหิรัญชัย กรรมการและ เลขานุการ
๑๐๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
คณะกรรมการฝtายการแสดง ๑. อาจารย8 ดร.ปวลักขิ์ ๒. นางสาวพรทิพย8 ๓. นางสาวสมฤทัย ๔. นางสาวฤทัย ๕. นางสาวพัชรี
สุรัสวดี ตันติวุฒิปกรณ8 ยิ้มแฉง ชุมเป0ย ศรีเพ็ญแกว
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและ เลขานุการ
คณะกรรมการฝtายการเงิน ๑. อาจารย8เขมฤทัย ๒. อาจารย8อรวี ๓. อาจารย8ศิธรา
บุญวรรณ บุนนาค จุฑารัตน8
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและ เลขานุการ
คณะกรรมการฝtายจัดเลี้ยงและปฏิคม ๑. อาจารย8 ดร.สุธาทิพย8 ๒. นางสิริกร ๓. นางบุญลือ ๔. นางสาวสายสุณีย8 ๕. นางปริศนา
เหมือนใจ ขันตี สังข8สุวรรณ โสมทอง ประชุมพันธุ8
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและ เลขานุการ
คณะกรรมการฝtายจัดนิทรรศการและสถานที่ ๑. อาจารย8วศวรรษ สบายวัน ๒. อาจารย8ชนกพร พัวพัฒนกุล ๓. นายสุพจน8 ศุภศรี
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๐๓
๔. นายสุทธิพงษ8 ๕. นายธัชนันท8 ๖. นายบุญฤทธิ์ ๗. นายสงบสุข ๘. นายนธี ๙. นายเดโชพล ๑๐. นายพีระยุทธ ๑๑. นายอรรถพล ๑๒. นายฐากร ๑๓. นางสาวสายสุณีย8 ๑๔. นายดรณ8
ตะเภาทอง เครือทองจันทร8 พุมชาง นาสวนสุวรรณ การะเวก บุนนาค ส่ําประเสริฐ แหงหน ฉ่ําตากอง โสมทอง แกวนัย
คณะกรรมการฝtายโสตทัศนูปกรณและบันทึกภาพ ๑. นายสุพจน8 ศุภศรี ๒. นายประเทือง เรืองสมุทร ๓. นายพีระยุทธ ส่ําประเสริฐ ๔. นายบุญฤทธิ์ พุมชาง ๕. นายอรรถพล แหงหน ๖. นายฐากร ฉ่ําตากอง ๗. นายสุทธิพงษ8 ตะเภาทอง
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและ เลขานุการ
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและ เลขานุการ
๑๐๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
กองบรรณาธิการจัดทําหนังสือที่ระลึก ๑. ผศ.ดร.อภิลักษณ8 ๒. อาจารย8ศิธรา ๓. นายดรณ8 ๔. นางสาวอรพรรณ ๕. นางสาวพัชรี
เกษมผลกูล จุฑารัตน8 แกวนัย ลิ้มติ้ว ศรีเพ็ญแกว
บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ
ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้เป$นตนไป จนกวาการดําเนินงานจะแลวเสร็จ สั่ง ณ วันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗
(ผูชวยศาสตราจารย8 ดร.อภิลักษณ8 เกษมผลกูล) คณบดีคณะศิลปศาสตร8
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๐๕
ประมวลภาพงาน
“เลาขานตํานานศาลายา” ครั้งที่ ๗ ตอน “๑๑๐ สถานีรถไฟศาลายา” ๒๐ กุมภาพันธ8 ๒๕๕๖
อาจารย8 ดร. อภิลักษณ8 เกษมผลกูล คณบดีคณะศิลปศาสตร8 ประธานในพิธี พรอม ดวยรองคณบดี และแขกผูมีเกียรติรวมสักการะศาลพอขุนทุงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ประจํามหาวิทยาลัยมหิดล
๑๐๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
คุณบํารุง พินิจกุล หมอขวัญในพิธี กลาวคําสังเวยพอปูNขุนทุง
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๐๗
นักศึกษาชัน้ ป0ที่ ๔ คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล เขารับโปรยทานจากประธานและรองประธานในพิธีตามประเพณี
๑๐๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
อาจารย8 ดร.อภิลักษณ8 เกษมผลกูล คณบดีคณะศิลปศาสตร8 ประธานในพิธี คณะศิลปศาสตร8 สักการะศาลพระภูมิเรือนไทย
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๐๙
ขบวนแหวาวสามชายถวายพอปูNขนุ ทุง โดยนักศึกษาชั้นป0ที่ ๔ คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล
๑๑๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ขบวนแหวาวสามชายถวายพอปูNขนุ ทุง โดยนักศึกษาชั้นป0ที่ ๔ คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล
“ระบําบวงสรวงพอปูNขุนทุง” ประพันธ8คํารองโดยศาสตราจารย8เกียรติคณ ุ นพ.พูนพิศ อมาตยกุล
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๑๑
บรรยากาศการลงทะเบียนเขารวมงานและการจัดนิทรรศการ ในงานเลาขานตํานานศาลายา ครัง้ ที่ ๗
๑๑๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
อาจารย8ศิธรา จุฑารัตน8 ประธานศูนย8สยามทรรศน8ศึกษา กลาวรายงาน
อาจารย8 ดร.อภิลักษณ8 เกษมผลกูล คณบดีคณะศิลปศาสตร8 ประธานในพิธี กลาวเปMดงาน
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๑๓
ประธานในพิธีและแขกผูมีเกียรติ รวมเปMดงานเลาขานตํานานศาลายา ครั้งที่ ๗ ตอน ๑๑๐ ป0 สถานีรถไฟศาลายา
๑๑๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
บรรยากาศภายในงานเลาขานตํานานศาลายา ครั้งที่ ๗ ตอน ๑๑๐ ป0 สถานีรถไฟศาลายา
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๑๕
การบรรยายนํา “นั่งรถไฟไปเติมฝXน” โดยคุณทรงกลด บางยี่ขัน
บรรยากาศการเสวนาเรื่อง รถไฟ เรือเมล8 มอเตอร8เวย8 รถไฟฟTา : วิวัฒนาการ การเดินทางและการขนสงจากบางกอก – ศาลายา (พ.ศ. ๒๔๔๖ – ๒๕๕๖)
๑๑๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
คณบดีคณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล มอบรางวัล “ศาลายาสดุดี” ครั้งที่ ๓ แกสหกรณ8บานคลองโยง
การแสดงเพลงพื้นบาน ของนักศึกษาชมรมรักษ8เพลงพื้นบาน มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๑๗
แขกผูมีเกียรติรวมถายภาพเป$นที่ระลึกในงานเลาขานตํานานศาลายา ครั้งที่ ๗ ตอน ๑๑๐ ป0 สถานีรถไฟศาลายา
๑๑๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๑๙
โครงการการจัดพิมพหนังสือ ชุด
“ศาลายาศึกษา” “ศาลายาศึ กษา” เป$ น ชุด โครงการที่มุ งศึ กษาเรี ยนรู วิจั ย และ เผยแพรองค8 ค วามรู เชิ ง มนุ ษ ยศาสตร8 ใ นพื้ น ที่ อํ า เภอพุ ท ธมณฑล จั ง หวั ด นครปฐม ทั้งแงมุมทางประวัติศาสตร8 วัฒนธรรม และวรรณคดี เพื่อใหเขาใจ “ภูมิปXญญา” และ “วิธีคิด” ของชาวบานในพื้นที่ดังกลาว อันจักนํามาสูการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในทองถิ่นใหยั่งยืนตอไป หนังสือชุด “ศาลายาศึกษา” เป$นงานเขียนทางวิชาการที่มีการ สืบคนขอมูลและเอกลักษณ8ของทองถิ่น จุดเดนของการศึกษาเรื่องราวทองถิ่น ในหนังสือชุดนี้คือการใหความสําคัญกับประวัติศาสตร8ลายลักษณ8 (written history) และประวั ติ ศ าสตร8 บ อกเลา (oral history) ควบคู กั น ไป โดย พยายามชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของ “พื้นที่” เพื่อใหชาวบานในพื้นที่เดิมและ ผูที่เขามาอาศัยใหมในพื้นที่ได “เขาใจ” และ “ภาคภูมิใจ” ในพื้นที่ของตน ผานการศึ กษาประวั ติ ศ าสตร8 ภู มิ น าม ประเพณี พิ ธี กรรม และความเชื่ อ ทองถิ่น ตลอดจนบุคคลสําคัญผูมีคุณูปการตอชุมชน โดยมีหนังสือที่อยูในชุด โครงการนี้ ปXจจุบันไดจัดพิมพ8ถึงลําดับที่ ๘ ไดแก เลาขานตํานานศาลายา ฉบับพิมพ8ครั้งแรก พระนครปฐมในนิราศ บันทึกประวัติศาสตร8ผานสายตากวี เลาขานตํานานศาลายา: เปMดบันทึกเรื่องเกา ไมเลาก็ลืม ลํานําคําหวาน: เรื่อง เลาผานเพลงพื้นบานจากศาลายา เปMดตํารับ สํารับศาลายา มหาสวัสดี: ๑๕๐ ป0 มหานทีพระราชทาน ศาลายาโอสถ: เรื่องยาและการแพทย8แผนไทยใน แวดวงชาวศาลายา ประยูรนิทรรศน8: รอยเรื่องลําตัดกับชีวประวัติแมประยูร ยมเยี่ยม และน้ําทวมทุง ผักบุง (ไม) โหรงเหรง
๑๒๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๒๑
งานเขียนทั้ง ๙ เลมนี้ จัดเป$นองค8ความรูที่จะชวยทําใหเห็นพลวัต (dynamic) ของวิ ถี ชี วิ ต และวั ฒ นธรรมทองถิ่ น ในพื้ น ที่ อํา เภอพุ ท ธมณฑล จังหวัดนครปฐม ซึ่งจะเป$นขอมูลสําคัญที่สามารถนําไปใชเป$นขอพิจารณาใน กํ า หนดนโยบายเพื่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนในทองถิ่ น ใหมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นได
๑๒๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
ประวัติและความเปuนมาของศูนยสยามทรรศนศึกษา ศูนย8สยามทรรศน8ศึกษา (Center of Thai Studies) กอตั้งขึ้นเมื่อ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ สังกัดคณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อ เป$นองค8กรที่มุงศึกษาและคนควาองค8ความรูในศาสตร8ตางๆ ที่เกี่ยวของกับ สังคมไทย และเป$นศูนย8กลางขอมูลดานไทยศึกษาทั้งในระดับภูมิภาคและ ระดับชาติ ทั้งยังสงเสริมการคนควา วิจัย และสรางเครือขายรวมกับหนวยงาน ตางๆ ดานไทยศึกษา รวมถึงเผยแพรองค8ความรูทางดานไทยศึกษา ผลิต งานวิ จั ย และโครงการดานไทยศึ กษาที่ เป$ น ที่ ย อมรั บ ทั้ ง ในระดั บ ชาติ แ ละ นานาชาติ เพื่อตอบสนองความตองการของสังคม ตลอดจนสงเสริมและ สนั บ สนุ น ใหนั ก วิ ช าการในศาสตร8 แ ขนงตางๆ ทั้ ง ภายในและภายนอก มหาวิทยาลัยที่ส นใจศึกษาเรื่องเกี่ยวกับประเทศไทยไดทํา งานรวมกันเพื่ อ สรางสรรค8และพัฒนาองค8ความรูดานไทยศึกษาใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ปXจจุบันศูนย8สยามทรรศน8ศึกษา มีโครงการและกิจกรรมตางๆ เป$น จํานวนมาก โดยมีแผนการจัดทําฐานขอมูลงานวิจัยดานไทยศึกษา เพื่อเป$น คลังความรูในการศึกษาวิจัยและสรางความเขาใจสถานการณ8ปXจจุบันของ งานวิจัยและโครงการตางๆ ดานไทยศึกษา จัดบรรยายและสัมมนาวิชาการ ตลอดจนการประชุมวิชาการ เพื่อเผยแพรและแลกเปลี่ยนองค8ความรูดานไทย ศึกษาของนักวิชาการศาสตร8แขนงตางๆ ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ จัด อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อฝ•กทักษะเกี่ยวกับองค8ความรูในสังคมไทยในดานตางๆ แกผูสนใจ อันจะนํามาสูการสืบทอดและอนุรักษ8องค8ความรูของศาสตร8แขนง ตางๆ ในสังคมไทย เพื่อกระตุนความสนใจแกนักวิชาการใหเกิดการเรียนรูและ นํามาสู การศึ กษาวิจั ยตอไป นอกจากนี้ ยังมีการปริว รรตเอกสารโบราณ จัดพิมพ8 และเผยแพรเอกสาร งานวิจัย ตํารา และผลงานตางๆ ดานไทยศึกษา
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๒๓
เก็บรวบรวมขอมูลองค8ความรูในศาสตร8แขนงตางๆ ที่เกี่ยวกับสังคมไทยที่อยู ในภาวะวิกฤต โดยเฉพาะขอมูลที่ยังไมเคยไดรับการตีพิมพ8เผยแพรมากอน ตลอดจนบริการใหคําปรึกษาเกี่ยวกับองค8ความรูเรื่องศาสตร8แขนงตางๆ ใน สังคมไทยแกหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจ ศูนย8สยามทรรศน8ศึกษาตั้งอยูที่หอง ๒๐๓ ชั้น ๒ อาคารคณะศิลป ศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล โทรศัพท8 ๐๒-๔๔๑-๔๔๐๑-๔ ตอ ๒๐๒ โทรสาร ๐๒-๔๔๑-๔๒๑๘ เปM ด ใหบริ ก ารคนควาคลั ง ขอมู ล เพลงพื้ น บานไทย คลังขอมูลเอกสารโบราณ และคลังขอมูลเอกสารที่เกี่ยวของกับชุมชนศาลายา และจังหวัดนครปฐม ในวันและเวลาราชการ
๑๒๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
แนะนําเอกสารวิชาการของศูนยสยามทรรศนศึกษา เอกสารวิชาการลําดับที่ ๑ ปฐมสาร
“ปฐมสาร” เป$ นหนั งสือ สโมสรขาราชการจั งหวัดนครปฐมที่ จัดพิมพ8 ขึ้นเพื่อเป$นที่ ระลึ ก ในงานเทศกาลนมั ส การพระปฐมเจดี ย8 ข องทุ ก ป0 เนื้ อ หาภายในเลมประกอบดวย ประวัติศาสตร8จังหวัดนครปฐม “ปฐมสาร” เลมสําคัญคือฉบับ พ.ศ. ๒๔๙๓ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ คํานมัสการพระปฐมเจดีย8 คาถา เย ธมฺมา ซึ่งพบในจารึกที่พระปฐมเจดีย8 ความเป$นมาของเมือง นครปฐม ประวัติพระประโทณเจดีย8 ประวัติอําเภอสามพราน เรื่องพระราชวังสนามจันทร8และ สุนัขทรงเลี้ยงของรัชกาลที่ ๖ “ยาเหล” เรื่องคําขวัญประจําจังหวัดนครปฐม นอกจากนี้ยังมีภาพ และเรื่องโฆษณาตางๆ ในสมัยนั้นเป$นจํานวนมาก หนังสือ “ปฐมสาร” ฉบับนี้ นอกจากจะบันทึก ประวัติศาสตร8และวัฒนธรรมของจังหวัดนครปฐมในอดีตแลว ยังทําใหทราบถึงเอกลักษณ8ของ จังหวัดนครปฐมในอดีต ที่ไมปรากฏการกลาวถึงในปXจจุบัน ซึ่งเป$นขอมูลที่สะทอนจากคําขวัญ จังหวั ดนครปฐมในขณะนั้ น หนังสือดังกลาวมีความสําคัญ และมีคุณคาอยางยิ่ งตอการศึกษา ประวัติศาสตร8และวัฒนธรรมทองถิ่นของจังหวัดนครปฐม อีกทั้งยังเป$นการอนุรักษ8และตออายุ เอกสารใหยังคงอยูสืบไป
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๒๕
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๒ สยามปกรณปริวรรต เลม ๑: งานสํารวจ ศึกษา และปริวรรตวรรณกรรมท4องถิ่นภาคกลาง
“สยามปกรณ8ปริวรรต” เป$นหนังสือที่ไดคัดสรรวรรณกรรมจํานวนหนึ่งจากการ สํารวจวรรณกรรมทองถิ่นภาคสนามในพื้นที่ภาคกลางมาปริวรรต โดยในเลม ๑ นี้ ไดคัดเลือก และนํามาจัดพิมพ8จํานวน ๑๐ เรื่อง แบงเป$น หมวดวรรณกรรมนิทาน จํานวน ๒ เรื่อง ไดแก ษรี เมืองกลอนสวด ฉบั บหอสมุดแหงชาติ กรุงเทพฯ และ สั งขป*ตตชาดก ฉบับวั ดใหญพลิ้ ว จังหวัดจันทบุรี หมวดวรรณกรรมคําสอน จํานวน ๑ เรื่อง ไดแก โลกนิติ ฉบับวัดเกาะหงษ จังหวัดนครสวรรค หมวดวรรณกรรมตํารา จํานวน ๑ เรื่อง ไดแก พระสมุทอธิไทยโพธิบาท ฉบับวัดตองปุ จังหวัดลพบุรี หมวดวรรณกรรมศาสนา จํานวน ๕ เรื่อง ไดแก กาพยมงคลทีปนี ฉบับวัดตองปุ จังหวัดลพบุรี มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมหาราช ฉบับวัดไลย จังหวัดลพบุรี พระอานิสงสการสร4างสะพาน ฉบับวัดเขาชําห4าน จังหวัดจันทบุรี มรณสงคราม ฉบับวัดพลับ จังหวัดจันทบุรี และ พระมาลัยกลอนสวด ฉบับวัดกาญจนบุรีเกา จังหวัดกาญจนบุรี หมวด พงศาวดารและประวัติศาสตร8 จํ า นวน ๑ เรื่ อ ง ไดแก กฏหมายหลั กไชย ฉบั บ วั ด พิกุล ทอง สิงหบุรี โดยศูนย8ฯ ไดรับความรวมมือจากบุคลากรของศูนย8 และเครือขาย เป$นผูปริวรรต และ เขียนบทนําเรื่อง เพื่อจะยังประโยชน8แกผูอานใหทวีมากขึ้น
๑๒๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๓ ประชุมเพลงทรงเครื่อง: สืบสานตํานานเพลงพื้นบ4านจากวัดเกาะ
หนังสือ ประชุมเพลงทรงเครื่อง: สืบสานตํานานเพลงพื้นบ4านจากโรงพิมพวัดเกาะ แบงออกเป$น ๒ ภาค ไดแก ภาค ๑ แตงองค: รวมบทความคัดสรรวาด4วยเพลงทรงเครื่อง อัน ประกอบไปดวย บทความเกี่ยวกับเพลงพื้นบานและเพลงทรงเครื่องจากนักวิชาการชั้นนําดาน เพลงพื้นบาน อาทิ รศ.สุกัญญา สุจฉายา อาจารย8เอนก นาวิกมูล ผศ.บัวผัน สุพรรณยศ สวน ภาค ๒ ทรงเครื่อง: ประชุมเพลงทรงเครื่องจากโรงพิมพวัดเกาะ ที่ลงพิมพ8ที่โรงพิมพ8ราษฎร8 เจริญ (วัดเกาะ) รวม ๙ เรื่อง ไดแก เรื่องโคบุตร เรื่องจันทะโครบ เรื่องพระรถ เรื่องลิ้นทอง เรื่อง นางมโนราห8 เรื่องขุนชางขุนแผน เรื่องไกรทอง เรื่องลักษณวงศ8 และเรื่องพระอภัยมณี นอกจากนี้ คณะผูจัดทําจึงไดนําบทที่ใชแสดงเพลงทรงเครื่องทั้ง ๓ ครั้ง ที่เคยแสดงในงานเดินตามรอยครู เชิดชูเพลงเกา นอมเกลาฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มาแลว ไดแก เพลงทรงเครื่อง เรื่องพระเวสสันดร เพลงทรงเครื่องเรื่องขุนชางขุนแผน และเพลงทรงเครื่องเรื่องพระอภัยมณี รวมทั้งยังไดนําบทแสดงเพลงทรงเครื่องที่จะแสดงในครั้งนี้คือ เพลงทรงเครื่องเรื่องหงส8หิน มาลง พิมพ8ไวในภาคผนวกของหนังสือดวย
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๒๗
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๔ กระจางครูผู4ถวายพระอักษร: ๑๓๐ ปP ครูกระจาง แสงจันทร บรรพกวีเมืองตราดและป*จจันตคีรีเขตร
หนังสือ “กระจางครูผู4ถวายพระอักษร” จัดพิมพ8ขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวาระสําคัญ ที่ครบรอบ ๑๓๐ ป0ชาตกาลครูกระจาง แสงจันทร8 บรรพกวีเมืองตราดและเมืองปXจจันตคีรีเขตร ทานไดรังสรรค8ผลงานกวีนิพนธ8ไวเป$นจํานวนมาก อีกทั้งประวัติชีวิตของกวีทานนี้ยังเป$นสิ่งที่นา เรี ย นรู และศึก ษา เพราะแสดงใหเห็ นถึ งความสามารถและโชคชะตาของทานที่ นํา พาใหเด็ ก ชาวบานเกาะกง ชายแดนพระราชอาณาเขตสยามในขณะนั้น ไดเขาถวายตัวเป$นมหาดเล็กใน สมเด็จ เจาฟTาฯ กรมหลวงลพบุรีราเมศวร8 ภายในหนังสือนี้ประกอบดวย ประวัติของครูกระจาง แสงจันทร และมีสวนที่เป$น ประชุมวรรณคดีนิทาน นิราศและบทร4อยกรองของครูกระจาง แสงจันทร ไวอยางครบถวนอีกดวย ในตอนทายเลมนั้น ไดจัดพิมพ8 รายงานตรวจราชการของ หลวงคิรีเ นมีทวีป ปลัดเมืองป*จจันตคีรี เขตร ร.ศ. ๑๒๑ สงเคราะห8เขาไวในทายเลมซึ่งเป$ น เหตุการณ8รวมสมัยกับชวงชีวิตของครูกระจาง แสงจันทร8 เพื่อประโยชน8ในทางวิชาการตอไป
๑๒๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๕ ลายพระหัตถของสมเด็จพระเจ4าบรมวงศเธอเจ4าฟwา กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ประทานแกพระพินิจวรรณกรรม (แสง สาลิตุล)
ป0 ๒๕๕๕ นี้ สํานักงานเขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร รวมกับวัดศรีสุดารามวรวิหาร และคณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล ไดกําหนดจัดงานสดุดีกวีสุนทรภูและอนุรักษ8 สงเสริม ศิลปะและวัฒนธรรมไทยขึ้น ณ วัดศรีสุดารามวรวิหาร ในการนี้ คณะกรรมการดําเนินงานเห็น ควรใหมีการจัดพิมพ8วรรณกรรมอันเนื่องกับสุนทรภูขึ้น โดยพิจารณาวาลายพระหัตถ8ของสมเด็จ พระเจาบรมวงศ8เธอเจาฟTา กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ8 ที่ไดประทานแกพระพินิจวรรณกรรม (แสง สาลิตุล) เรื่องการตรวจชําระหนังสือพระอภัยมณีและประชุมบทละครดึกดําบรรพ8 เพื่อ จัดพิมพ8ในโอกาสสําคัญตางๆ ระหวาง พ.ศ. ๒๔๖๗ – ๒๔๖๘ นั้น เป$นวรรณกรรมประวัติศาสตร8 ที่มีการนํามาจัดพิมพ8แลวหลายครั้งในสมัยรัชกาลที่ ๖ ทั้งขอความในลายพระหัตถ8ก็มีประโยชน8 ดานการศึกษาอักษรศาสตร8และวรรณคดี ประการสําคัญ เป$นการจัดพิมพ8วรรณคดีอันเนื่องดวย ผลงานของสุนทรภู กวีเอกของโลก คณะกรรมการดําเนินงานจึงเห็นสมควรใหมีการจัดพิมพ8ลาย พระหัตถ8ดังกลาวขึ้นโดยคงลักษณะตัวอักษรใหเหมือนกับตนฉบับเดิมทุกประการ
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๒๙
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๖ พลังป*ญญาจากวัฒนธรรมวรรณศิลปxของกวีในเมืองตราด
รายงานวิจัยการสํารวจและปริวรรตวรรณกรรมทองถิ่นจังหวัดตราด: พลังปXญญาจาก วัฒนธรรมวรรณศิลป‹ของกวีในเมืองตราดมีวัตถุประสงค8สําคัญ คือมุงสํารวจและอนุรักษ8ตนฉบับ เอกสารโบราณ ตลอดจนปริวรรตขอมูลวรรณกรรมทองถิ่นจังหวัดตราดเป$นอักขรวิธีปXจจุบัน เพื่อ จัดทําเอกสารอางอิงทางวิชาการ ตลอดจนเพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธ8วรรณกรรมทองถิ่นของ จังหวัดตราดใหเป$นที่รูจักกวางขวางมากยิ่งขึ้น ผลการสํารวจและปริวรรตวรรณคดีทองถิ่นทําให เห็นมุมมองเรื่องเมืองตราดผานกวีทองถิ่น ทั้งในฐานะของความเป$นเมืองเกาและมีรากฐานทาง วัฒนธรรมที่มั่งคั่งและมั่นคง ความเป$นเมืองแหงพระพุทธศาสนาและชาวเมืองดํารงตนในฐานะ พุทธศาสนิกชน ความเป$นเมืองแหงนักปราชญ8และแหลงสั่งสมองค8ความรู ความเป$นเมืองทาและ เมืองแหงพาณิชย8นาวี ความเป$นเมืองแหงความหลากหลายทางชาติพันธุ8 และความเป$นเมืองแหง การเพาะปลูกและปศุสัตว8 สิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นวาความเจริญรุงเรืองของเมืองตราดในปXจจุบัน เป$นผลมาจากการเรียนรูประสบการณ8 ความคิดสรางสรรค8 และความทุมเทอุตสาหะของบรรพชน ชาวตราดไดอยางชัดเจน
๑๓๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๗ การศึกษาภาษาไทยในสมัยกอน
ในโอกาสที่ศาสตราจารย8 ดร. คุณหญิงสุริยา รัตนกุล ประธานที่ปรึกษาศูนย8สยาม ทรรศน8ศึกษาไดรับรางวัลเชิดชูเกียรติ “รางวัลผู4มีคุณูปการตอการใช4ภาษาไทย” เนื่องในโอกาส วันภาษาไทยแหงชาติ ประจําป0พุทธศักราช ๒๕๕๕ ศูนย8สยามทรรศน8ศึกษาจึงจัดพิมพ8หนังสือซึ่ง เป$นผลงานของอาจารย8คุณหญิงเรื่อง “การสอนภาษาไทยในสมัยก+อน” ที่เคยลงพิมพ8ในวารสาร ภาษาและวัฒนธรรมเมื่อ ๓๐ ป0ลวงมาแลว (พ.ศ.๒๕๒๕) อนึ่ง การจัดพิมพ8บทความเรื่อง “การ สอนภาษาไทยในสมัยก+อน” ของ ศาสตราจารย8 ดร. คุณหญิงสุริยา รัตนกุล เป$นครั้งที่ ๒ นี้ กอง บรรณาธิการไดจัดทําเชิงอรรถเพิ่มเติมเพื่ออธิบายตําแหนงหรือขอมูลที่อางถึงใหเป$นปXจจุบัน โดย คงเชิงอรรถเดิมของศาสตราจารย8 ดร. คุณหญิงสุริยา รัตนกุล ไว สวนเชิงอรรถใหมจะมีขอความ ขางทายวา (บรรณาธิการ) นอกจากนี้ กองบรรณาธิการยังไดจัดหาภาพประกอบเพิ่มเติมเพื่อให ผูอานไดเขาใจขอมูลไดชัดเจนมากขึ้นดวย
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๓๑
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๘ กาลครั้งหนึ่ง ... ถึงกาลครั้งนั้น: พิพิธภัณฑบ4านวัดมะเกลือ
พิ พิ ธ ภั ณ ฑ8 ท องถิ่ น บานวั ด มะเกลื อ เป$ น โครงการความรวมมื อ ระหวางชาวบาน วัดมะเกลือกับโครงการศิลปศาสตร8อาสา คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล มานับตั้งแตป0 พุทธศักราช ๒๕๕๒ การดําเนินงานดังกลาวเป$นการสานตอเจตนารมณ8ของพระครูบวรธรรมานุสิฐ เจาอาวาสวัดมะเกลื อ ที่ มุงหมายจะใหเกิ ดแหลงเรีย นรู ทางวั ฒนธรรมแกชาวชุ มชนวั ด มะเกลื อ เพื่อ สงตอองค8 ความรู ของทองถิ่ นสูอนุชนรุ นหลั งตอไป อยางไรก็ดี คณะทํา งานได พิจ ารณาวา เพื่ อ ใหพิ พิ ธภั ณฑ8บ านวั ดมะเกลือ เป$ นแหลงเรี ย นรู ที่ สมบู รณ8 นั้น สมควรจะไดมี เอกสารวิชาการเพื่อเป$นขอมูลอางอิงแกผูสนใจ สําหรับใชในการศึกษาคนควาประวัติศาสตร8 วิถี ชีวิต และวัฒนธรรมของชาวบานวัดมะเกลือ จึงไดรวมกันจัดทําหนังสือ “กาลครั้งหนึ่ง ... ถึง กาลครั้งนั้น: พิพิธภัณฑบ4านวัดมะเกลือ” ขึ้น และมอบเป$นอภินันทนาการแกผูรวมพิธีเปMด พิพิธภัณฑ8เพื่อจะไดอนุสรณ8ถึงวันแหงความชื่นชมป0ตินั้น
๑๓๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๙ ประชุมเรื่องเมืองนครไชยศรี
ประชุมเรื่องเมืองนครไชยศรี เลมนี้เป$นการประชุมเอกสารประวัติศาสตร8ที่เกี่ยวเนื่องกับ เมืองนครปฐม เมื่อครั้งที่ยังมีนามวาเมืองนครไชยศรี โดยการจัดพิมพ8ครั้งนี้ไดคัดสรรเอกสารหา ยากจํานวน ๔ เรื่อง ไดแก เอกสารตรวจราชการเมืองนครไชยศรี พระนิพนธ8ในสมเด็จพระเจา บรมวงศ8เธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ต4นเหตุของนามนครชัยศรี พระนิพนธ8ในพระวรวงศ8 เธอ กรมหมื่นพิทยาลาภพฤฒิ ยากร จดหมายเหตุเ รื่องส4ม โอเมืองนครไชยศรี เป$นเอกสาร ราชการระหวางรัฐบาลไทยกับรัฐบาลอเมริกันเรื่องขอพันธุ8สมโอเมืองนครไชยศรีไปปลูกที่ประเทศ สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป$นเอกสารที่ยังมิไดเคยจัดพิมพ8มากอน และเอกสารเรื่องสุดทายคือ นิราศเมือง นครไชยศรี ของกวีนิรนามจากวังหลวงที่กลาวถึงการเดินทางจากพระนครมายังเมืองนครไชยศรี เอกสารดังไดคัดสรรมาลวนเป$นเอกสารที่มีคุณคาดานไทยศึกษา และเป$นขอมูลสําคัญในการ พัฒนาชุมชนดวยขอมูลประวัติศาสตร8สูมิติเศรษฐกิจสรางสรรค8 เพื่อความยั่งยืนของชุมชนตอไป
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๓๓
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๑๐ ศิลปศาสตรมหิดล
เป$นหนั งสือที่ศูนย8สยามทรรศน8ศึก ษาจัดพิ มพ8เฉลิ มพระเกียรติ คุณเนื่ องในวโรกาส ๑๒๐ ป0 วั น พระราชสมภพสมเด็ จ พระมหิ ต ลาธิ เ บศร อดุ ล ยเดชวิ ก รม พระบรมราชชนก พุทธศักราช ๒๕๕๕ ตามโครงการพินิจพิทยา เรื่อง สมเด็จพระบรมราชชนกกับหนังสือ ภาษา และงานศิลปะ ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ซึ่งไดรับเกียรติจากอาจารย8วิกัลย8 พงศ8พนิ ตานนท8 อนุกรรมการวิชาการ มูลนิธิสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจา และหัวหนางานจดหมายเหตุ และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ8 สถานเทคโนโลยี ท างการศึ ก ษา คณะแพทยศาสตร8 ศิ ริ ร าชพยาบาล มหาวิทยาลัย มหิดล ใหเกียรติมาเป$นองค8 ปาฐกถาพิเศษในวันดังกลาว ผลการจัดโครงการจึ ง รวบรวมขอมูลจั ดพิ มพ8 เป$ นหนั งสื อ “ศิ ลปศาสตรมหิดล” ขึ้ น ซึ่ งเนื้ อ หาประกอบดวยบั นทึ ก ปาฐกถาพิเศษในโครงการ ชุมนุมพระราชนิพนธ8ดานศิลปศาสตร8ของสมเด็จพระบรมราชชนก พระกรณียกิจเกี่ยวกับหนังสือ ภาษา ศิลปะ รวมทั้งคําขานพระนามและราชาศัพท8ที่เกี่ยวกับ สมเด็จพระบรมราชชนก หนังสือนี้จึงใหคุณคาทั้งดานประวัติพระราชวงศ8และพระเกียรติคุณดาน ศิลปศาสตร8ของพระองค8 ผูทรงเป$นคุณูปการตอการศึกษาและสาธารณสุขของไทย
๑๓๔
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๑๑ บรมราชเทวีชลบุรีสถิต
“บรมราชเทวีช ลบุ รี สถิ ต สมเด็จพระพั นวัส สาอัย ยิ กาเจ4 ากั บ เมื องชลบุ รี” เป$ น หนั งสื อ ที่ คณะศิ ลปศาสตร8 มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ดล จั ดพิ มพ8 ขึ้ น เนื่ อ งในวโรกาสสมเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินทอดพระเนตรนิ ทรรศการเฉลิมพระ เกียรติเฉลิมฉลองวาระ ๑๕๐ ป0 พระราชสมภพสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัส สาอัยยิกาเจา ระหวางวันที่ ๑๙ – ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ศรี ราชา จั งหวัดชลบุรี เนื้อ หาแสดงพระประวั ติแ ละบทความอั นเนื่อ งดวยพระกรณี ยกิ จของ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจา ไดแก ปฐมกถา สมเด็จพระพันวัส สาราชการุณยสูภูมิภาคตะวันออก, บรมชนกนาถราชสถาน รัชกาลที่ ๔ กับเมืองชลบุรี: จาก พระบรมชนกนาถสูพระราชธิดา, ศาสนการราชศุภกิจ สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ4ากับการ พระศาสนาในเมืองชลบุรี และพิพิธอาชีวการกรณีย สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ4ากับการ สงเคราะหอาชีพในเมืองชลบุรี และบูรพาสมัยวิถีบรมราชเทวีสมัย วิถีชีวิตและวัฒนธรรม ชลบุรีในสมัยสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ4า หนังสือเลมนี้จึงเป$นเกียรติประวัติของเมืองชลบุรี อันเกี่ยวเนื่องกับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจา ที่ทรงมีพระมหา กรุณาตอราษฎรในดานการสาธารณสุข การสงเคราะห8อาชีพ และการพระศาสนา จนเป$นผล สืบเนื่องใหเมืองชลบุรีเจริญรุงเรืองตราบเทาทุกวันนี้
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๓๕
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๑๒ สยามปกรณปริวรรต เลม ๒: งานสํารวจ ศึกษา และปริวรรตวรรณกรรมท4องถิ่นภาคกลาง
หนังสือ “สยามปกรณปริวรรต ปริทรรศนวรรณกรรมท4องถิ่นภาคกลาง เลม ๒” เป$นรายงานผลการศึกษาตามโครงการ “สยามปกรณ8” เพื่อการสํ ารวจ ศึ กษา ปริว รรต และ จัดพิมพ8วรรณกรรมทองถิ่นภาคกลาง ระยะที่ ๒ ซึ่งเป$นโครงการตอเนื่องจากระยะที่ ๑ ใน พ.ศ. ๒๕๕๔ ของศูนย8สยามทรรศน8ศึกษา คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งคณะทํางานได คัดสรรวรรณกรรมที่มีลักษณะเฉพาะในทองถิ่นมาจัดพิมพ8 จํานวน ๘ เรื่อง แบงเป$นวรรณกรรม ศาสนา จํานวน ๕ เรื่อง ไดแก พลเมืองเกาะกง ขับพลทาพริก ขับพลมหาราชหนองโสน ป*จจัน ตนคโรปมคาถา และพระไตรภูมิพระสังฆะ วรรณกรรมนิทาน จํานวน ๒ เรื่อง ไดแก ปลาบูทอง และลักษณวงศ และวรรณกรรมคําสอน จํานวน ๑ เรื่อง ไดแก สุภาษิตสอนชาย – หญิง ขอมูล ทั้งหมดไดรับการปริวรรตและบรรณาธิการจากบุคลากรของศูนย8สยามทรรศน8ศึกษาและเป$ น ขอมู ล ที่ ยั งไมมี ก ารเผยแพรมากอน ดั ง นั้ น ผลการศึ ก ษาครั้ ง นี้ จ ะชวยใหผู อานไดขอมู ล อั น ประโยชน8เกี่ยวกับวรรณกรรมทองถิ่นภาคกลาง และมีสวนในการเผยแพรและอนุรักษ8มรดกทาง วัฒนธรรมของสังคมไทยใหคงอยูสืบไป
๑๓๖
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๑๓ คุณสุวรรณ: จินตนาการ ความคิด และชีวิตที่ไมรู4จบ ของกวีหญิงปริศนา แหงกรุงสยาม
คุณสุวรรณ (๒๓๕๒ – ๒๔๑๘) จินตนาการ ความคิด และชีวิตที่ไมรู4จบของกวี หญิ ง ปริ ศนาแหงกรุ ง สยาม เป$นหนั งสื อ ที่ ก ลาวถึ งกวี ห ญิ งคนสํ า คั ญ แหงกรุ งสยามชื่ อ “คุ ณ สุวรรณ” ดวยทานเป$นคนที่แยบคายในการใชภาษาและมีความคิดสรางสรรค8ที่ล้ําหนาเกินกวากวี ทานอื่นในยุคเดียวกัน ทําใหผลงานของคุณสุวรรณเป$นที่รูจักและไดรับความสนใจของผูเสพกวีใน พระนคร และมีชื่อเสียงขามมาในยุคสมัยหลัง ไดแก กลอนเพลงยาวเรื่องหม+อมเป/ดสวรรค กลอน เพลงยาวเรื่องพระอาการประชวรของกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ บทละครเรื่องพระมะเหลเถไถ และ บทละครเรื่องอุณรุทร0อยเรื่อง อยางไรก็ดี ประวัติของทานอยางคงเป$นปริศนาอยูหลายเรื่อง ดังนั้น ศูนย8สยามทรรศน8ศึกษา คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล จึงไดจัดพิมพ8 หนังสือเลมนี้ขึ้นเพื่อจะไดตีแผแงมุมของคุณสุวรรณผานการศึกษาเชิงวิพากษ8ของผูเขียน โดย สะทอนจากผลงานของทานเพื่อใหผูสนใจไดเขาถึงความคิดของคุณสุวรรณและยุคสมัยเพื่อความ งอกงามในวงวิชาการตอไป
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๓๗
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๑๔ ประยูรนิทรรศน: ร4อยเรื่องลําตัดกับชีวประวัติแมประยูร ยมเยี่ยม
“ประยูรนิทรรศน” ร4อยเรื่องลําตัดกับชีวประวัติแมประยูร ยมเยี่ยม เป$นหนังสือที่ ศู น ย8 ส ยามทรรศน8 ศึ ก ษา รวบรวมขอมู ล จากการจั ด งานเลาขานตํ า นานศาลายา ครั้ ง ที่ ๕ พุทธศั กราช ๒๕๕๔ ตอน “คิ ดถึ งแมประยู ร...ลํ า ตัดศาลายา” ซึ่งศู นย8 ฯ รวมกั บ สาขาวิ ชา ภาษาไทย คณะศิลปศาสตร8 จัดขึ้น เพื่อไวอาลัยแดการจากไปของ “แมประยูร ยมเยี่ยม” ศิลปMน แหงชาติ ช าวศาลายา ผู มี ค วามสามารถรอบตั ว มี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม สรางสรรค8 และสื บ ทอด ศิลปะการแสดงพื้นบานใหคงอยู สามารถนําการแสดงพื้นบานไปแสดงยังตางประเทศจนไดรับ ความสนใจเป$นอยางมาก ทั้งยังเป$นครูถายทอดศิลปะวิชาใหแกบุคคลและสถาบันตางๆ อยาง สม่ําเสมอ รวมถึงมุงมั่นที่จะสืบทอดการแสดงเพลงพื้นบาน จนไดรับยกยองเชิดชูเกียรติในฐานะ ศิลปMนแหงชาติสาขาศิลปะการแสดง (ลําตัด) เมื่อป0พุทธศักราช ๒๕๓๗ หนังสือเลมนี้รวบรวมบทความที่ไดจากปาฐกถาพิเศษและการเสวนาในงานเลาขาน ตํานานศาลายา ทั้งจากครูชินกร ไกรลาส (ศิลปMนแหงชาติ) อาจารย8เอนก นาวิกมูล แมศรีนวล ขํา อาจ แมอุ นเรื อ น ยมเยี่ ย ม ผู ชวยศาสตราจารย8 บั ว ผั น สุ พ รรณยศ และคุ ณ ตอตาน นิ ม า นอกจากนี้ยังรวบรวมผลงานของแมประยูรที่ใชแสดงจัดทําเป$นจดหมายเหตุสวนตัวของทาน อัน จะเป$นมรดกใหแกชนรุนหลังไดศึกษาและเรียนรู
๑๓๘
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๑๕ รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณเรื่อง เกาะกูด: การศึกษาเชิงประวัติศาสตร และวัฒนธรรมเพื่อทองเที่ยวอยางยั่งยืน
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ8เรื่อง “เกาะกูด: การศึกษาเชิงประวัติศาสตร8และ วั ฒ นธรรมเพื่ อ ทองเที่ ย วอยางยั่ ง ยื น ”เป$ น ผลการวิ จั ย ที่ มุ งศึ ก ษาและวิ เ คราะห8 ข อมู ล ดาน ประวัติศาสตร8และวัฒนธรรมของเกาะกูด จังหวั ดตราด และหมูเกาะใกลเคี ยง ทั้งขอมูลลาย ลักษณ8จากหอจดหมายเหตุแหงชาติทาวาสุกรี กรุงเทพมหานคร หอจดหมายเหตุแหงชาติจันทบุรี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ และขอมูลมุขปาฐะจากการสัมภาษณ8นักวิชาการและปราชญ8 ทองถิ่น โดยใชระเบียบวิธีวิจัยดานคติชนวิทยา ผลการศึกษาทําใหเห็นถึงความสําคัญและคุณคา ของเกาะกูดและเกาะบริวารดานประวัติศาสตร8และวัฒนธรรม เพราะประวัติศาสตร8เกาะกูดแมจะ เป$นประวัติศาสตร8ทองถิ่นแตเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร8รัฐชาติอยางแยกกันไมออก ไมแตเทานั้น เกาะเล็ก ๆ และบริวารเหลานี้ยังมีเรื่องราวที่งดงามและมรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณคา ดวย เป$นสถานที่พระเจาแผนดินไทยและพระบรมวงศานุวงศ8เสด็จประพาสแมจะอยูหางไกลเพียงใดก็ ตาม เพื่อใหมิตรประเทศตระหนักถึงความสําคัญของเขตแดนสยาม ดังนั้น ผลการวิจัยนี้จึงเป$น ประจักษ8พยานที่แสดงถึงรากเหงาและพัฒนาการของชาติในอีกแงมุมหนึ่งซึ่งสงผลใหเกิดความ เจริญรุงเรืองจนถึงปXจจุบัน
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๓๙
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๑๖ น้ําทวมทุง ผักบุ4ง (ไม) โหรงเหรง ประวัติศาสตร8 วรรณกรรม และวัฒนธรรม วาดวยอุทกภัยในบางกอก – ศาลายา
“น้ําทวมทุง ผักบุ4ง (ไม) โหรงเหรง” ประวัติศาสตร8 วรรณกรรม และวัฒนธรรม วา ดวยอุทกภัยในบางกอก – ศาลายา เป$ นหนังสือที่ศูนย8สยามทรรศน8ศึกษาจัดพิมพ8ขึ้นเนื่องใน โอกาสจัดงาน “เลาขานตํานานศาลายา ครั้งที่ ๗” เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ8 ๒๕๕๖ เนื้อหาของ หนังสือเป$นการถอดบทเรียนจากการเสวนาเรื่อง “ถาอยูเป$นก็เย็นใจ: บทเรียนจากน้ําทวมใหญ ๒๔๘๕ – ๒๕๕๔” โดยรองศาสตราจารย8 ดร. กัมปนาท ภักดีกุล รองศาสตราจารย8ประภาส ปM^น ตบแตง นายแพทย8วัฒนา เทียมปฐม อาจารย8 ดร. อภิลักษณ8 เกษมผลกูล และอาจารย8ชนกพร พัวพัฒนกุล ซึ่งไดบอกเลาประวัติศาสตร8เกี่ยวกับน้ําทวมในกรุงเทพมหานครและตําบลศาลายา ตั้งแต พ.ศ. ๒๔๘๕ – ๒๕๕๔ และองค8 ความรูดานการจัดการน้ํา ของภู มิปX ญญาชาวบานจาก ปาฐกถาพิเศษของศาสตราจารย8พิเศษศรีศักร วัลลิโภดม นอกจากนี้ ยังรวบรวมประวัติศาสตร8 อุทกภัยที่สะทอนจากวรรณกรรมทั้งนิราศมหาวาป0 นิราศน้ําทวมกรุงเทพ ฯ แหลเทศน8น้ําทวม และแมกระทั่งการสื่อสารผานอินเทอร8เน็ตของ “อวสานนองน้ํา” เรื่องราวตาง ๆ เหลานี้ลวนเป$น องค8ความรูที่สามารถประยุกต8ใชในการปTองกันไมใหเกิดอุทกภัยและใชในการปรับตัวเมื่อตอง อาศัยรวมกับน้ํา และเป$นแนวทางบริหารจัดการน้ําเพื่อแกปXญหาใหแกสังคมเมื่อประสบอุทกภัย หากเกิดขึ้นในอนาคต
๑๔๐
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา
เอกสารวิชาการลําดับที่ ๑๗ ที่ระลึกเนื่องในโอกาสมหาวิทยาลัยมหิดลได4รบั พระราชทานผ4าพระกฐิน ถวาย ณ วัดเสนหา พระอารามหลวง วันศุกรที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖
หนังสือ “ที่ระลึกเนื่องในโอกาสมหาวิทยาลัยมหิดลได4รับพระราชทานผ4าพระกฐิน” ถวาย ณ วัดเสนหา พระอารามหลวง วันศุกร8ที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ นี้ศูนย8สยามทรรศน8 ศึกษา คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล จัดพิมพ8ขึ้นเป$นหนังสือที่ระลึกเนื่องในโอกาสสําคัญ ที่มหาวิทยาลัยมหิดลไดรับพระมหากรุณาธิคุณ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหเป$นผู เชิญผาพระกฐินพระราชทานไปถวาย ณ วัดเสนหา ในวัน เวลา ดังกลาวขางตนตามประเพณีที่ มหาวิทยาลัยปฏิบัติสืบตอมา เนื้อหาในหนังสือเลมนี้ประกอบดวยประวัติการถวายผาพระกฐินพระราชทานของ มหาวิทยาลัยมหิดลตั้งแตครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๐ จนถึงครั้งที่ ๓๗ พ.ศ. ๒๕๕๖ ทั้งยังไดรวบรวม ประวัติวัดเสนหาและขอมูลที่เกี่ยวของกับสายสกุลบุนนาคของนายเพิ่มเสนหา บุนนาค ผูกอสราง วัดเสนหา การตั้งถิ่นฐานบานเรือน การบูรณปฏิสังขรณ8วัดในสายสกุล นอกจากนี้ยังไดนําเสนอ ระยะทางตรวจการณ8คณะสงฆ8ของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เมื่อครั้ง เสด็จยังจังหวัดสุพรรณบุรีซึ่งเสด็จเริ่มตนจากจังหวัดนครปฐมทําใหเห็นสภาพแวดลอม เหตุการณ8 ของคณะสงฆ8ในยุคสมัยที่ใกลเคียงการสรางวัดเสนหา พระอารามหลวง ไดเป$นอยางดี
คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล | ๑๔๑
ผูสนใจเอกสารวิชาการของศูนย8สยามทรรศน8ศึกษา คณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล สามารถติดตอไดที่ศูนย8หนังสือมหาวิทยาลัยมหิดล รานหนังสือ Harmony มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย8หนังสือจุฬาลงกรณ8มหาวิทยาลัย และรานริมขอบฟTา หรือติดตอโดยตรงไดที่ รานศิลปาธิป อาคารที่ทาํ การชัว่ คราวคณะศิลปศาสตร8 มหาวิทยาลัยมหิดล โทรศัพท8 ๐ ๒๔๔๑ ๔๔๐๑ – ๔ ตอ ๑๔๐
๑๔๒
| ๑๑๐ ป สถานีรถไฟศาลายา