Bhudamonthonwattana

Page 1


พุทธมณฑลวัฒนา ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม คลังปัญญาแห่งชาวพุทธมณฑล

อภิลักษณ์ เกษมผลกูล (บรรณาธิการ)

หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ โรงพยาบาลพุทธมณฑล จัดพิมพ์เพื่อแสดงมุฑิตาจิตในโอกาสเกษียณอายุราชการ


 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พุทธมณฑลวัฒนา ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม คลังปัญญาแห่งชาวพุทธมณฑล ISBN 978-616-279-559-6 พิมพ์ครั้งแรก ๑,๐๐๐ เล่ม พ.ศ. ๒๕๕๗ หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ โรงพยาบาลพุทธมณฑล จัดพิมพ์เพื่อแสดงมุฑิตาจิตในโอกาสเกษียณอายุราชการ กันยายน ๒๕๕๗

ที่ปรึกษา นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม

บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิลักษณ์ เกษมผลกูล ผู้ช่วยบรรณาธิการ นางสาวพัชรี ศรีเพ็ญแก้ว

ออกแบบปก: นายสุทธิพงษ์ ตะเภาทอง

ผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑล และประธานสภาวัฒนธรรม อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

คณบดีคณะศิลปศาสตร์

หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์ และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ หน่วยศิลปกรรม คณะศิลปศาสตร์

พิมพ์ท:ี่ หจก. หยิน หยาง การพิมพ์ ภาพจากปก: ประเพณีตักบาตรท้องนา วัดสุวรรณาราม อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ถ่ายโดยนายนราวุฒิ สุวรรณัง


คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 

คาประกาศเกียรติคณ ุ ในโอกาสรับรางวัล “มหิดลทยากร” ของสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหิดลในพระบรมราชูปถัมภ์ นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิตจาก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล พุทธศักราช ๒๕๒๐ และแพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล พุทธศักราช ๒๕๒๒ ปริญญาโท สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พุทธศักราช ๒๕๒๗ หนังสืออนุมัติแสดงความรู้ความชานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แพทยสภา พุทธศักราช ๒๕๒๘ และสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว แพทยสภา พุทธศักราช ๒๕๔๖ (เทียบเท่าปริญญาเอก)

ประวั ติ ก ารท างานในอดีต และปัจ จุบั น เคยด ารงต าแหน่งผู้อานวยการโรงพยาบาล ไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี พุทธศักราช ๒๕๒๓ – ๒๕๒๖ ผู้อานวยการโรงพยาบาลบางบัวทอง จั ง หวั ด นนทบุ รี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๒๗ – ๒๕๓๙ รั ก ษาการผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นเวชกรรมป้ อ งกั น สานักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี พุทธศักราช ๒๕๓๓ – ๒๕๓๖ ผู้อานวยการโรงพยาบาล พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม พุทธศักราช ๒๕๓๙ - ปัจจุบัน ปัจจุบันนายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม ดารงตาแหน่งสาคัญเป็ นจานวนมาก อาทิ ที่ปรึกษาชมรมผู้อานวยการโรงพยาบาลชุมชนแห่ง ประเทศไทย ประธานเครื อ ข่ า ยสุ ข ภาพอ าเภอพุ ท ธมณฑล ประธานสภาวั ฒ นธรรมอ าเภอ พุทธมณฑล แพทย์ประจาหน่วยสุขภาพมหาวิทยาลัยมหิดล (MU Health) อนุกรรมการพิจารณา วินิจฉัยคาร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบืองต้น จังหวัดนครปฐม งานดีเด่นที่ภาคภูมิใจ ปีพุทธศักราช ๒๕๒๕ และ ๒๕๒๖ ได้มีโอกาสเป็นแพทย์หน่วย เคลื่อนที่ตามโครงการพระราชประสงค์ของในหลวงให้บริการที่จังหวัดนราธิวาส ๒ ครัง ครังละ


 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

๒ สัปดาห์ ได้มีโอกาสศึกษาดูงานสภาพภูมิประเทศของ ๓ จังหวัดภาคใต้ ศึกษาวัฒนธรรมและ ภาษาทาให้เป็นประโยชน์ในการทางานที่โรงพยาบาลบางบัว ทอง ซึ่งมีประชาชนนับถือศาสนา อิสลามประมาณ ร้อยละ ๑๐ ของประชากรทังหมด ปี พุทธศักราช ๒๕๒๒ – ๒๕๔๔ เป็นแพทย์ อาสาของสโมสรไลออนส์แห่งกรุงเทพฯ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้การบริการตรวจรักษาผู้ป่วย ทุกภาคของประเทศ ปีพุทธศักราช ๒๕๓๘ ทางานวิจัยเรื่องโรคใหลตายในคนงานก่อสร้าง อาเภอ บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี และได้นาเสนอเป็น ผลงานวิชาการในการประชุมสมาคมอาชีวเวชศาสตร์ในประเทศไทยและเป็นผลงานประเมิ นต าแหน่ง นายแพทย์ ผู้ เชี่ย วชาญ ปี พุ ท ธศักราช ๒๕๔๒ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดตังทีมนักวิจัยท้องถิ่นของประชาคมพุทธมณฑล ได้ร่วมเป็น นักวิจัยทาการวิจัยทุนทางด้านสาธารณสุข สันทนาการและการท่องเที่ยว พลังประวัติศาสตร์ ท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง ใช้ อ้ า งอิ ง ส าหรั บ ผู้ ที่ ม าท างานวิ จั ย ในพื นที่ อ าเภอพุ ท ธมณฑล มี ผ ลงานทางด้ า น ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมและได้รับเลือกตังเป็นประธานสภาวัฒนธรรมอาเภอพุทธมณฑล และ กรรมการบริหารสภาวัฒนาธรรมจังหวัดนครปฐม รางวัลและเกียรติที่ได้รับ HUMANITARIAN SERVICE AWARD จากสโมสรไลออนส์แห่ง กรุงเทพฯ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในการออกหน่วยเคลื่อนที่บริการประชาชนที่ยากไร้ในพืนที่ ชนบท พุทธศักราช ๒๕๒๕ กิตติบัตรคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลเพื่อแสดงความชื่นชมยินดี ต่ อ ผลงานในการพั ฒ นา โรงพยาบาลชุ ม ชนบางบั ว ทอง อ าเภอบางบั ว ทอง จั ง หวั ด นนทบุ รี พุทธศักราช ๒๕๓๒ โล่รางวัลผู้อานวยการโรงพยาบาลชุมชนดีเด่น ของกระทรวงสาธารณสุข พุทธศักราช ๒๕๓๗ เกียรติบัตรจากสานักงานเขตพืนที่การศึกษานครปฐม เขต ๒ เพื่อแสดงว่าเป็น ผู้ทาประโยชน์ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินกิจการด้านต่างๆ ของสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ โล่เกียรติคุณของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้ทรงคุณค่าปฏิบัติงาน ดูแลสุขภาพประชาชนในโรงพยาบาลชุ มชนมานานกว่า ๓๐ ปี พุทธศักราช ๒๕๕๓ ประกาศ เกีย รติ คุ ณ จากส านั กงานพระพุ ทธศาสนาแห่ งชาติ ในฐานะผู้ บาเพ็ ญประโยชน์ต่ อพุ ทธมณฑล พุ ท ธศั กราช ๒๕๕๔ รางวั ล ศาลายาสดุ ดี จากคณะศิล ปศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ยมหิ ดล ประจาปี พุทธศักราช ๒๕๕๕ เกียรติบัตรของจังหวัดนครปฐม เป็นผู้ทาประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม ระดั บ จั ง หวั ด ประเภทบุ ค คลด้ า นวั ฒ นธรรม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๕ เครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ์ ประถมาภรณ์ช้างเผือก พุทธศักราช ๒๕๕๕ จากประวัติผลงาน และเกียรติประวัติข้างต้น นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม สมควรได้รับ การยกย่องให้เป็นศิษย์เก่าดีเด่น ของมหาวิทยาลัยมหิดล และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิ ษย์ปัจจุบัน และสังคมต่อไป สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยมหิดลในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงมีมติมอบรางวัล “มหิดลทยากร” ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป


คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 

คาประกาศประวัติผู้ได้รับการยกย่องให้เข้ารับรางวัล “ศาลายาสดุด”ี ครั้งที่ ๒ พุทธศักราช ๒๕๕๕ นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม เกิดที่อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นบุตรของนาย ถาวร กับ นางงึน เทียมปฐม และเป็นหลานชายของขุนนิคมศาลาฌาปนะ (ฮวด เทียมปฐม) กานัน ต าบลศาลาธรรมสพน์ นายแพทย์ วั ฒ นา ส าเร็จ การศึกษาปริญ ญาวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๒๐ และปริ ญ ญาแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๒๒ จากคณะ แพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงพยาบาล พุทธมณฑล และเป็นประธานสภาวัฒนธรรมอาเภอพุทธมณฑล

นายแพทย์ วั ฒ นา เป็ น บุ ค คลผู้ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก และเป็ น ที่ เ คารพยกย่ อ งของชาวอ าเภอ พุทธมณฑล ในฐานะเป็นผู้มีคุณูปการต่ออาเภอพุทธมณฑลอย่างยิ่งในหลายประการ ทังด้านการ สาธารณสุข และด้านสังคมและวัฒนธรรม คุณูปการด้านการสาธารณสุขของนายแพทย์วัฒนานัน เห็นได้ชัดเจนในฐานะของแพทย์ ผู้ดูแลเรื่องความเจ็บป่วยของคนไข้ทังในอาเภอพุทธมณฑลและพืนที่ใกล้เคียง นอกจากการมุ่งมั่น ทางานในความรับผิดชอบและหน้าที่ตามวิชาชีพอย่างดีแล้ว นายแพทย์วัฒนายังเป็นผู้ร่วมพัฒนา โรงพยาบาลพุทธมณฑลตังแต่สมัยเริ่มแรกสร้างโรงพยาบาลจนกระทั่งปัจจุบัน นอกจากคุณูปการด้านสาธารณสุขแล้ว นายแพทย์วัฒนายังให้การสนับสนุนและส่งเสริม กิจ กรรมทางสั ง คมและวั ฒนธรรมต่า งๆ ของอาเภอพุ ท ธมณฑล รวมทั งได้ เสนอแนวทางและ


 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการชุมชนและการท่องเที่ยวของอาเภอพุทธมณฑลไว้เป็น อย่างมาก ในฐานะผู้สืบทอดสกุลกานันเจ้าตาบลศาลาธรรมสพน์ ผู้เป็นบุคคลสาคัญของศาลายา นายแพทย์วัฒนาได้รับมรดกที่มีค่ายิ่ง คื อ ความรู้และข้อมูลทางประวั ติศาสตร์ในพืนที่ อาเภอ พุทธมณฑล และตาบลศาลายา ยิ่งไปว่านัน นายแพทย์วัฒนาเองยังเป็นผู้มีความสนใจและให้ ความสาคัญเกี่ยวกับเรื่องของประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในท้องถิ่นของพุทธมณฑลเป็นอย่างมาก เห็นได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐาน ตลอดจนเอกสารต่างๆ ของอาเภอพุทธมณฑลตังแต่ อดีตมาจนปัจจุบัน อีกทังยังจดบันทึกเหตุ การณ์สาคัญต่างๆ เอาไว้อย่างเป็นระบบ สิ่งเหล่านี นับเป็นคลังความรู้อันทรงคุณค่าและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อชาวศาลายาในรุ่นต่อไปที่จะได้ “รับรู้” และ “เรียนรู้” ความเป็นมาและเป็นไปของแผ่นดินเกิด

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยคณะกรรมการจัดงานโครงการเล่าขาน ต านานศาลายาครั งที่ ๖ จึ ง มี ฉั น ทานุ มั ติ เ ห็ น สมควรมอบรางวั ล “ศาลายาสดุ ดี ” แก่ นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม เพื่อแสดงความยกย่องและเป็นเกียรติประวัติสืบไป


คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 

สารแสดงมุทิตาจิต แด่นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม โดยนายแพทย์บุญเรียง ชูชัยแสงรัตน์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม ๒๕๕๗

คงจะอีกหลายร้อยปี กว่าประเทศไทย จังหวัดนครปฐม อาเภอพุทธมณฑล จะได้แพทย์ดี เช่น ท่านผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑล นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม ด้วยความมีอัธยาศัย ประดุจพ่อดูแลลูกหลาน ไม่ได้ถือตัวว่าเป็นผู้อานวยการ ด้วยความมีนาใจเอืออาทร ทาให้พี่ๆ น้องๆ ชาวโรงพยาบาลพุทธมณฑล รวมทังประชาชนทั่วแผ่ นดิน ที่ประสบภัยพิบัติในปี ๒๕๕๔ และในอดีตที่ผ่านมาเป็นบทพิสูจน์ถึงความเอืออาทร ความมีนาใจของท่านผู้อานวยการท่านนี อย่างไรก็ดี เมื่อถึงวาระ ๖๐ ปี ท่านจาเป็นต้องเดินทางจากชีวิตราชการที่ทางานอยู่ ออกไปเป็นข้าราชการบานาญ แต่การจากไปครังนียังถือว่าเป็นการจากไปทางราชการเท่านัน ท่าน ยังมีชีวิตอยู่ในพืนที่ของจังหวัดนครปฐม กล่าวกันว่าเมืองไทยมีกานาสาคัญอยู่ ๓ แหล่ง แหล่งที่ ๑ คือ เยาวชน เจ้าหน้าที่ชันผู้น้อย ที่ยังเต็มเปี่ยมด้วยพลังในการทางาน แหล่งที่ ๒ คือ ศาสนา ที่เป็น ดินแดนแห่งศาสนาพุทธ และศาสนาอื่นๆ ที่มีผู้บาเพ็ญบุญอยู่มากมาย แหล่งสุดท้าย คือผู้สูงวัย ที่ เต็มเปี่ยมด้วยประสบการณ์ พร้อมที่จะช่วยเหลือเชื่อมโยงกับศาสนาและเยาวชนนัน โอกาสอันเป็น มงคลนี ที่ผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑล นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม ได้เกษียณอายุราชการ ลง ในทางธรรมะเราถือว่าท่านได้บาเพ็ญเพียรในด้านศาสนา ในด้านการทางานอย่างเสียสละได้ ครบถ้วนแล้ว ถือว่าได้สามารถลงทะเบียนเรียนอีกวิชาหนึ่ง คือการเป็นจิตอาสาเมื่ออายุครบ ๖๐ ปี เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ เป็นวันแรกที่ท่านผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑลได้เป็น ผู้ สู ง วั ย เปี่ ย มด้ ว ย ประสบการณ์ จิ ตสาธารณะ อั น เป็ น บุ ญ กุศล ที่ มี ความรู้เพี ย บพร้อมถึง เรื่อง ประวัติศาสตร์ของประเทศไทย และของโลก หวังว่า ท่านผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑล


 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม จะได้กรุณากลับมาเยี่ยมพี่ๆ น้องๆ ครอบครัวของท่าน เพื่อช่วยเหลือ เชื่อมโยงประสบการณ์ที่มีทังหมดของท่าน ให้น้องๆ มีจิตสาธารณะเรียนรู้ประสบการณ์ได้ดีเหมือน ที่ท่านผู้อานวยการได้สะสมไว้ เพราะทังหมดนีเรามีเป้าหมายเดียวกัน คือทาเพื่อส่วนรวม และ สุดท้ายเราคือครอบครัวเดียวกัน สวัสดี.


คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 

แด่...คุณหมอวัฒนา


 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ


คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 

ถ้อยแถลงจากบรรณาธิการ ราว ๙ ปี มาแล้วที่ได้รู้จักกับคุณหมอวัฒนา เทียมปฐม เหตุเพราะในขณะนันผมเริ่มจะ เข้า มาท างานที่ มหาวิ ทยาลัยมหิ ดลและสนใจที่จ ะรู้จักชุม ชนโดยรอบมหาวิ ทยาลัย ผมเริ่มต้น ค้นคว้าเอกสาร สัมภาษณ์บุคคลต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูลประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม แล้วทุกคนก็ทิง ท้ายเป็นเสียงเดียวกันว่า “เรื่องอย่างนี้ต้องคุยกับหมอวัฒนา หมอศึกษาไว้มาก” ผมจึงไม่ลังเลที่จะ ทาความรู้จักกับคุณหมอวัฒนา บัดนีผ่านมา ๙ ปี แล้ว ประโยคที่ว่า “เรื่องอย่างนี้ต้องคุย กับหมอวัฒนา หมอศึกษาไว้ มาก” ยังคงดังก้องอยู่ ผมยังไม่เลิกคุยกับหมอวัฒนา และดูเหมือนจะยิ่งคุยกันสนุกทุกครัง เพราะ หมอมี ค วามรู้ ม าก มี ป ระสบการณ์ ม าก และยั ง ช่ ว ยเป็ น สะพานเชื่ อ มระหว่ า งชุ ม ชนกั บ มหาวิทยาลัยมหิดลมาอย่างต่อเนื่อง ตลอดระยะเวลาที่รู้จักกับคุณหมอ ผมได้เรียนรู้วิธีคิดเกี่ยวกับ ชุมชนหลายอย่าง เรียนรู้วิธีการทางาน ตลอดจนโลกทัศน์ของคุณหมอวัฒนาในเรื่องต่างๆ คุณหมอ วัฒนาสาหรับผมจึงไม่ใช่เพียงผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑล หรือประธานสภาวัฒนธรรม อาเภอพุทธมณฑล เท่านัน หากแต่ยังเป็น “ครู” รวมถึง “ญาติผู้ใหญ่” ที่ผมรักและเคารพมากท่าน หนึ่ง ในโอกาสอายุวัฒนมงคล ๕ รอบ ของคุณหมอวัฒนา เทียมปฐม จึงเป็นโอกาสพิเศษที่จะ ได้จัดพิมพ์หนังสือสาคัญไว้เป็นที่ระลึก ในฐานะ “ศิษย์” นับเป็นหน้าที่ที่จักต้องแทนพระคุณ “ครู” ที่ได้คอยเมตตาชีแนะแนวทางและข้อมูลการศึกษาชุมขนอาเภอพุทธมณฑลมาโดยตลอด และใน ฐานะ “คณบดี” ของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก็นับเป็นหน้าที่เช่นกันที่จะต้องแสดง นาใจในการขอบพระคุณต่อมิตรไมตรีและความเมตตาของคุณหมอที่เกือกูลกิจการงานของคณะ และมหาวิทยาลัยมหิดลโดยเฉพาะในด้านชุมชนสัมพันธ์ที่ได้กรุณามาอย่างต่อเนื่อง และโดยเหตุที่ เรื่องอาเภอพุทธมณฑลกับคุณหมอวัฒนาเป็นของคู่กัน เหมือนประโยคที่ว่า “เรื่องอย่างนี้ต้องคุย หมอวัฒนา หมอศึกษาไว้มาก” ผมจึงให้ชื่อหนังสือนีว่า “พุทธมณฑลวัฒนา” เพื่อให้เห็นถึงความ เป็นเนือเดียวกันของคุณหมอกับชุมชน และยังแสดงให้เห็นเนือหาของพัฒนาการความเจริญของ อาเภอพุทธมณฑลที่มีมาโดยลาดับอันเป็นเนือหาที่ปรากฏอยู่ในเล่มด้วย

-


 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

“พุ ท ธมณฑลวั ฒ นา” เล่ ม นี จั ด ท าขึ นต่ า งมาลั ย บู ช าพระคุ ณ ของนายแพทย์ วั ฒ นา เทียมปฐม ที่มีต่อชาวอาเภอพุทธมณฑล ในโอกาสอายุวัฒนมงคลและเกษียณอายุราชการนี ขอ อานาจคุณพระศรีรัตนตรัย และพระบารมีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุ ล ยเดชวิ กรม พระบรมราชชนก โปรดดลบั น ดาลให้ คุ ณ หมอวั ฒ นา เที ย มปฐม เจริ ญ ด้ ว ย จตุรพิธชัย ไกลจากโรคาพิบัติสืบไป

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อภิลักษณ์ เกษมผลกูล) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 

สารบัญ คาประกาศเกียรติคุณในโอกาสรับรางวัลมหิดลทยากร ................................................................. ค คาประกาศประวัติผไู้ ด้รับการยกย่องให้เข้ารับรางวัลศาลายาสดุดี ครั้งที่ ๒ ............................... จ สารแสดงมุทิตาจิต แด่นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม ...................................................................... ช แด่...คุณหมอวัฒนา ........................................................................................................................ ฌ ถ้อยแถลงจากบรรณาธิการ .............................................................................................................ฎ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เอี่ยม ทองดี และคณะ ........................................................................................ ๑ มหาสวัสดี: ๑๕๐ ปี มหานทีพระราชทาน อภิลักษณ์ เกษมผลกูล......................................................................................๔๙ ถิ่นย่านบ้านเก่าและวัดสาคัญ ริมคลองมหาสวัสดี อภิลักษณ์ เกษมผลกูล................................................................................... ๑๐๗ “มหาสวัสดี” ในนิราศ อภิลักษณ์ เกษมผลกูล................................................................................... ๑๖๑ ขุนมหาสวัสดิ์และผู้มีบรรดาศักดิ์ในคลองมหาสวัสดี อภิลักษณ์ เกษมผลกูล................................................................................... ๑๗๑ คุณูปกรของชุมชน: พระครูวิชัยวุฒิคุณ (หลวงพ่อดี สุวณฺโณ) นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม .......................................................................... ๒๐๑ ประเพณีตักบาตรท้องน้า วัดสุวรรณาราม นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม .......................................................................... ๒๐๗ เสด็จประพาสไทรโยค ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม .......................................................................... ๒๑๑ มรดกธรรมชาติของอาเภอพุทธมณฑล นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม .......................................................................... ๒๑๗


 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

สารบัญ (ต่อ) “นก” มรดกธรรมชาติ: ตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อม ของอาเภอพุทธมณฑล นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม .......................................................................... ๒๒๑ โรงพยาบาลพุทธมณฑลวัฒนา นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม .......................................................................... ๒๒๓ ภาคผนวก................................................................................................................................... ๒๓๕


คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 

พุทธมณฑลวัฒนา ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม คลังปัญญาแห่งชาวพุทธมณฑล


 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ


ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม๑ เอี่ยม ทองดี และคณะ๒ เหตุการณ์ต่างๆ ของท้องถิ่นหรือที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่นอาเภอพุทธมณฑล ทั้งโดยตรง และโดยอ้ อ มนั บ ตั้ ง แต่ ป รากฏชุ ม ชนขึ้ น ชั ด เจนในพื้ น ที่ จ นกระทั่ ง ปั จ จุ บั น ซึ่ ง จั ด เป็ น ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของอาเภอพุทธมณฑลนั้น จากการศึกษาพบว่ามีมากมาย แต่ในที่นี้จะ นาเอาเฉพาะเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องสาคัญ (ตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา) มาเสนอไว้ โดย จะเรียงลาดับเหตุการณ์ตามช่วงเวลาก่อนหลังตามหลักฐานที่ผู้ศึกษาพบ ซึ่งอาจจะมีความ คลาดเคลื่อนจากกรณีอื่นๆ บ้าง แต่ได้พยายามให้ความคลาดเคลื่อนให้น้อยที่สุด ดังนี้ ๑) การเกิดอาณาจักรสุวรรณภูมิ เป็นเหตุการณ์เกิดขึ้นในช่วงต้น พุทธศตวรรษ จนกระทั่งยุคทวารวดีตอนต้น ประมาณ พ.ศ. ๓๐๐ - ๑๑๐๐ แม้ว่ายังไม่แน่นอนว่าศูนย์กลาง ของสุวรรณภูมิจะอยู่ตรงไหน แต่สิ่งสาคัญที่เกี่ยวข้องคือ การสร้างองค์ พระปฐมเจดีย์และ พระประโฑณเจดีย์ ซึ่งตานานเล่ากันว่าสร้างขึ้นโดยพระโสณะ พระอุตระ และโฑณพราหมณ์ ที่มุ่งมั่นนาพระพุทธศาสนามาเผยแพร่วางรากฐานลงในสุวรรณภูมิ ถือเป็นเหตุการณ์สาคัญที่ กลายเป็นพลังมหาศาลในการก่อให้เกิดคุณูปการแก่ประเทศไทยและท้องถิ่นต่างๆ รวมทั้ง อาเภอพุทธมณฑลในสมัยต่อมาจนกระทั่งปัจจุบัน ๒) การเกิดอาณาจักรทวารวดี เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาประมาณ พ.ศ. ๑๑๐๐ - ๑๖๐๐ ซึ่งกล่าวกันว่าเป็นอาณาจักรสุวรรณภูมิที่เสื่อมอานาจไปโดยมีศูนย์กลางอยู่ ที่บริเวณองค์พระประโฑณเจดีย์ ซึ่งภาพถ่ายทางอากาศปัจจุบันแสดงให้เห็นร่องรอยหลักฐาน คูเมืองเก่า ขณะที่บางช่วงบนพื้นดินก็ยังปรากฏคูเมืองที่ศึกษาได้ด้วย อาณาจักรดังกล่าวนี้ก็มี คุ ณู ป การใหญ่ ห ลวงต่ อ พื้ น ที่ อ าเภอพุ ท ธมณฑลในปั จ จุ บั น ด้ ว ยและกลายเป็ น พลั ง ทาง ประวัติศาสตร์ ที่มีผลต่อพื้นที่ศึกษาครั้งนี้ ในยุคสมัยต่อมาจนกระทั่งปัจจุบัน ๓) การสร้างเมืองนครชัยศรีในสมัยกรุงศรีอยุธยา พบหลักฐานว่าสมัยพระเจ้า มหาจักรพรรดิแห่งกรุงศรีอยุธยา ประมาณปี พ.ศ. ๒๐๙๒ มีการสร้างเมืองนครชัยศรีและเกิด ๑

เอี่ยม ทองดี, บรรณาธิการ. (๒๕๔๕). อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ นายถาวร เทียมปฐม. หน้า

๕๔ – ๗๘. คณะท างานโครงการวิ จั ย และพั ฒ นาประชาคมพุ ท ธมณฑล โครงการสร้ า งองค์ ค วามรู้ ท้ อ งถิ่ น พุทธมณฑล เรื่องพลังประวัติศาสตร์ท้องถิ่นต่อการพัฒนาชุมชน อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๒


 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ชุมชนริมแม่น้าท่าจีนมากขึ้น ซึ่งกลายเป็นพลังสาคัญอีกมิติหนึ่งต่อพัฒนาการของชุมชนเขต อาเภอพุทธมณฑลในยุคสมัยต่อมา ๔) การอพยพของคนจีนเข้าประเทศไทยสมัยปลายกรุง ศรีอยุธยาและต้นกรุง รัตนโกสินทร์ อยู่ในช่วงประมาณ พ.ศ. ๒๓๐๐ - ๒๓๘๕ พื้นที่จังหวัดนครปฐมปัจจุบันเป็น แห่งหนึ่งที่คนจีนอพยพดังกล่าวเข้ามาตั้งหลักแหล่งทามาหากิน รับจ้าง หรือนาเรือมาขึ้นบก ที่นี่ ซึ่งกลายเป็นเหตุการณ์ที่ส่งผลต่อทิศทางการใช้ประโยชน์พื้นที่และพื้นฐานการอาชีพของ ชุมชน ที่ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้าในสมัยต่อมา รวมทั้งพื้นที่อาเภอพุทธมณฑลด้วย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในช่วงสมัยรัชกาลที่ ๒ รัชกาลที่ ๓ และรัชกาลที่ ๔ คนจีนอพยพกลายเป็นกาลัง แรงงานสาคัญเพื่อการผลิตในระบบการค้าและระบบอุตสาหกรรม คนจีนสามารถเดินทางไป เป็นกรรมกรรับจ้างได้ทั่วประเทศ ขณะที่คนไทยต้องอยู่ในสังกัดเจ้านายคนใดคนหนึ่ง ไม่ สามารถเดินทางไปไหนมาไหนได้ ๕) การเกิดคลองโยง ซึ่งเป็นคลองที่เชื่อมแม่น้าเจ้าพระยากับแม่น้าท่าจีนให้ถึงกัน (ขณะที่แม่น้าท่าจีนก็เชื่ อมแม่น้าแม่กลองให้ถึงกันด้วย) เป็นเส้นทางสัญจรที่สาคั ญระหว่าง ชุมชนริมฝั่งเจ้าพระยาในพื้นที่กรุงเทพมหานครกับชุมชนริมฝั่งแม่น้าท่าจีนในพื้นที่นครปฐม โดยสันนิษฐานว่าคลองโยงเดิมก็คือหนทางบกใช้สัญจรทั่วไป มีทั้ งเกวียน วัว ควาย ผู้คนเดิน ไปมาประจา แม้เมื่อนานเข้าหนทางจึงลึกลงและกว้างออก ครั้นถึงฤดูฝนมีน้าขังเป็นช่วงๆ และพัฒนาการต่อมาจนกระทั่งต้องใช้เรือในการสัญจร แต่ถ้าเรือใหญ่หรือหนักเกินไปก็ต้องใช้ ควายลากโยงไปบนตลิ่ง ซึ่งสะดวกมากทีเดียว ไม่ต้องหาบสัมภาระ พอหน้าแล้งจึงใช้เดินได้อกี แต่เมื่อคลองลึกลงน้าจากแม่น้าไหลเข้าคลองแม่น้ามีน้าขึ้นน้าลง ทาให้ต้องใช้เรือโยงควาย เกือบตลอดปี ซึ่งการเกิดคลองกรณีอย่างนี้มีปรากฏหลายที่ในภาคกลาง เช่น ทางเกวียนที่ใช้ สัญจรระหว่างตาบลจินดากับเมืองราชบุรี เป็นเส้นทางหลักที่ใช่มาแต่โบราณ จนกระทั่งทาง ลึกลงมีน้าขังพอถึงหน้าฝนต้องใช้เรือแทนเกวียนซึ่งปัจจุบันยังเป็นทางน้าอยู่ แต่กรณีคลองโยง ได้ รับ การขุด ลอกให้ เป็ น คลองที่ ลึ กและใช้ เดิ น ทางได้ ส ะดวกตลอดปี ในสมั ย ต่ อมา แต่ ไ ม่ สามารถระบุได้ว่าคลองโยงเกิดใน พ.ศ. ใด ยุคใด ๖) การออกผนวชของเจ้าฟ้าชายมงกุ ฎ เจ้าฟ้าชายมงกุฎได้ทรงผนวช ในสมัย รัชกาลที่ ๓ และได้เสด็จไปนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ซึ่งพบว่าเป็นที่น่าศรัทธาเลื่อมใสและมี ประวัติความเป็นมาน่าสนใจ จึงเสนอให้รัชกาลที่ ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๗ - ๒๓๙๔) ทรงปฏิสังขรณ์ แต่ยังไม่ได้ดาเนินการได้สิ้นรัชกาลเสียก่อน กลายเป็นเหตุการณ์สาคัญประการหนึ่งที่ทาให้ พื้นที่อาเภอพุทธมณฑลได้รับการพัฒนาในเวลาต่อมา


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๓

๗) การเสด็จเสวยราชย์ของรัชกาลที่ ๔ เมื่อรัชกาลที่ ๓ เสด็จสวรรคต เจ้าฟ้ามงกุฎ จึ ง เสด็ จ ขึ้ น ครองราชย์ เ มื่ อ ปี พ.ศ. ๒๓๙๔ ครั้ น ถึ ง ปี พ.ศ. ๒๓๙๖ พระองค์ จึ ง ทรงให้ บูรณปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์ พร้อมกับให้ขุดคลองเจดีย์บูชาขึ้นด้วย ซึ่งเป็นพลังสาคัญที่ ส่งผลหลายด้านแก่ชุมชนในพื้นที่อาเภอพุทธมณฑลในสมัยต่อมา ๘) การเสด็จนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ของรัชกาลที่ ๔ พระองค์ได้เสด็จนมัสการ องค์พระปฐมเจดีย์หลายครั้ง ซึ่ งกล่าวกันว่าเดิมเสด็จทางสถลมารค โดยเสด็จขึ้นเรือที่วัด ชัยพฤกษ์มาลาแล้วเสด็จพระราชดาเนินตรงไปงิ้ วราย (โรงสวด) ซึ่งเส้นทางดังกล่าวนี้สั้นกว่า การเดินทางผ่านคลองโยงและเป็นเส้นทางแนวเดียวกับการขุดคลองมหาสวัสดิ์ในสมัยต่อมา แต่ทรงลาบากมากเพราะเส้นทางทุรกันดารนัก ต่อมาจึงเปลี่ยนเป็นทางชลมารคและยังผลให้ เกิดคุณูปการมหาศาลแก่ชุมชนในพื้นที่ที่พระองค์เสด็จผ่านในสมัยต่อมา ๙) สุนทรภู่เดินทางไปนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ แม้จะไม่รู้ว่าคลองโยงเกิดขึ้น และใช้เป็นเส้นทางคมนาคมมาตั้งแต่สมัยใด แต่ก็กล่าวได้ว่าคลองโยงเป็นเส้นทางสาคัญสาย หนึ่งซึ่งคนในสมัยนั้นทราบดีและใช้สัญจรกันมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากการค้นพบองค์ พระปฐมเจดีย์แล้วคงจะมีผู้คนเดินทางไปนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ สุนทรภู่ก็เป็นหนึ่งในคนเหล่านั้น ซึ่งได้ใช้เส้นทางคลองโยง ในปี พ.ศ. ๒๓๘๕ ดังกล่าวในนิราศ พระประธม - พระโฑน หน้า ๑๙ ว่า “ถึงฉวากปากช่องชื่อคลองโยง มีบ้านช่องสองฝั่งชื่อบางเชือก ที่เรือน้อยลอยล่องค่อยคล่องไป .............................................. ตามแถวทางกลางย่านนั้นบ้านว่าง เจ๊กจีนใหม่ไทยมั่งไปตั้งโรง

เป็นทุ่งโล่งลิบลิ่วหวิวหวิวใจ ล้วนตมเปือกเปอะปะสวะไสว ที่เรือใหญ่โป้งโล้งต้องโยงควาย ............................................ เขาปลูกสร้างศาลาเปิดฝาโถง ขุดร่องน้าลากระโดงเขาโยงดิน..”

๑๐) สุนทรภู่เดินทางไปนมัสการพระแท่นดงรัง ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่เมืองกาญจนบุรี เป็นพุทธสถานที่พุทธศาสนิกชนนิยมไปนมัสการเป็นประจาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเทศกาลออก พรรษา ประชาชนจากกรุงเทพมหานครจะใช้คลองโยงเป็นเส้นทางไปนมัสการพระแท่นดงรัง ครั้งหนึ่งประมาณ พ.ศ. ๒๓๘๖ สุนทรภู่ได้บันทึกเหตุการณ์เมื่อไปนมัสการพระแท่นดงรังไว้ และกล่าวถึงคลองโยงไว้ว่า


 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

“...มาตะบึงลุถึงหัวโยงเชือก คลองเล็กล้าน้​้าตื้นเห็นพื้นดิน ต้องจ้างโยงโยงเรือเหลือล้าบาก ผูกระนาวยาวยืดเป็นพืดไป ไม่พักแจวพักถ่อให้รอช้า ควายก็เดินดันดังเสียงกังกึง

เป็นโคนเทือกท้องนาชลาสินธุ์ ไม่ได้กินน้​้าท่าระอาใจ ให้ควายลากเรือเลื่อนเขยื้อนไหว ทั้งเจ๊กไทยปนกันสนั่นอึง เป็นราคาค่าประจ้าล้าสลึง พอเชือกตึงเรือตามเป็นหลามมา...”

เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นพลังสาคัญอีกประการหนึ่งที่ส่งผลแก่ชุมชนในสมัยต่อมา ๑๑) การขุดคลองมหาสวัสดิ์ คลองโยงเป็นเส้นทางเดินเรือสายหลักในการสัญจร ระหว่างแม่น้าเจ้าพระยากับ แม่น้าท่าจีน มาจนกระทั่ง ถึงปี พ.ศ. ๒๓๙๘ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว จึ ง ทรงโปรดเกล้ า ฯ ให้ เ จ้ า พระยาทิ พ ากรวงศ์ มหาโกษาธิ บ ดี (ขา บุนนาค) เริ่มขุดคลองมหาสวัสดิ์ขึ้น ขุดเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๓

เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขา บุนนาค)

คลองมหาสวัสดิ์เป็นคลองขุดขนาดกว้างเจ็ดวา ลึกหกศอก ยาว ๒๗ กิโลเมตรเศษ เริ่มต้นจากคลองบางกอกน้อยริมวัดชัยพฤกษ์ มาลา ไปออกแม่น้าท่าจีนตรงบริเวณเหนื อ ศาลเจ้าสุบิน ตาบลงิ้วราย อาเภอนครชัยศรี ขุดเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๓ หมดเงินค่าจ้างขุดไป ทั้งสิ้น ๑,๑๐๑ ชั่ง ๑๐ ตาลึง (ซึ่งเป็นเงินที่ตกทอดมาจากสมัยรัชกาลที่ ๓ จานวน ๑,๐๐๐ ชัง่ และเป็นเงินพระมหาสมบัติ ๑๐๐ ชั่ง และเป็นเงินสาธารณะ (เงินจบทาบุญให้แก่ภิกษุหรือ บุคคลใด เพื่อนาไปใช้เป็นการกุศล) ของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ มหาโกษธิบดี จานวน ๑ ชั่ง


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๕

๑๐ ตาลึง) ทุกระยะ ๔ กิโลเมตรทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างศาลาริมคลอง ซึ่งต่อมาเรียกชื่อ ต่างๆ ออกไป เช่น ศาลาธรรมสพน์ กล่าวกันว่าเป็นศาลาที่ตั้งศพเพื่อทาพิธีฌาปนกิจ ศาลายา (ซึ่งอยู่บริเวณหมู่ที่ ๓ ตาบลศาลายา ปัจจุบัน) เป็นศาลายาที่จารึกตารายาเอาไว้ใครไปมาก็ สามารถจดจาเอาไปใช้ได้ คนที่มาขุดส่วนใหญ่เป็นคนจีนอพยพจากประเทศจีนซึ่งตอนนั้น ประเทศจีนปกครองโดยราชวงศ์แมนจู คนจีนจึงถูกกดดันต้องเดินทางออกนอกประเทศเป็น จานวนมาก ตรงกับสมัยรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ซึ่งพระองค์ทรงเปิดโอกาสให้คนจีน เข้าประเทศได้ โดยเก็บภาษีคนต่างด้าว ผู้ที่เสียภาษีแล้วจะ “ผูกปี้” ไว้ที่มือ จากนั้นก็สามารถ เดินทางไปรับจ้างงานได้ทั่วราชอาณาจักรและกลายเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศใน ระยะนั้น ทั้งนี้เพราะคนไทยสมัยนั้นยังตกอยู่ในระบบไพร่ที่ต้องเกณฑ์แรงงานประจาปี จะ เดินทางไปรับจ้างหรือทาการค้าขายไกลภูมิลาเนาไม่ได้ ในการขุดคลองมหาสวัสดิ์นั้นผู้เฒ่าแก่ ในพื้นที่เล่าสืบต่อกันมาว่า คนจีนเปลือยกายขุดดินกินข้าวต้มจมโคลนตม น่าเวทนายิ่งนัก เหตุผลสาคัญในการขุดคลองมหาสวัสดิ์ ที่ปรากฏอยู่ในพระราชหัตถเลขา ฉบับที่ ๑ ว่า “เพื่อใช้เป็นเส้นทางหลักในการเสด็จพระราชด้าเนินไปพระปฐมเจดีย์และเป็นคลองเปิดที่ ให้เป็นนาส้าหรับแจกพระเจ้าลูกยาเธอ” ส่วนที่ปรากฏอยู่ในอักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทย (เล่ม ๔ หน้า ๑๑๗๔ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒ ปี พ.ศ. ๒๕๒๑) ว่า “เป็นคลองส้าหรับเสด็จพระราช ด้าเนินไปพระปฐมเจดีย์ โดยไปต่อคลองเจดีย์บูชาและเปิดที่สองฝั่งซึ่งเป็นป่าพงที่ว่างให้เป็น นา มี ป ระตู น้ า และประตู ร ะบายน้​้ า ฉิ ม พลี ท างด้ า นคลองขุ ด ห่ า งจากปากคลองเข้ า มา ๘ กิโลเมตร และประตูน้ามหาสวัสดิ์ที่ปากคลองด้านแม่น้านครชัยศรี ห่างจากสถานีงิ้วรายไป ทางทิศตะวันออกไป ๑ กิโลเมตร”

คลองมหาสวัสดิ์ ขุดระหว่างปี พ.ศ. ๒๓๙๘ – ๒๔๐๓


 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

อย่ า งไรก็ ต ามคลองนี้ จั ด ว่ า เป็ น เส้ น ทางล าเลี ย งสิ น ค้ า ที่ ส าคั ญ ระหว่ า งแม่ น้ า เจ้าพระยากับแม่น้าท่าจีนมาเป็นเวลานาน สินค้าส่วนใหญ่ ได้แก่ ข้าว อ้อย และน้าตาล ซึ่ง ผลิตได้จากพื้นที่ลุ่มน้านครชัยศรี มีโรงงานน้าตาลและโรงสีมาตั้งบริเวณริมแม่น้านครชัยศรี หลายโรง และสิ่งเหล่านี้เป็นสินค้าออกที่สาคัญด้วย ซึ่งสอดคล้องกับคาบอกเล่าของคนเฒ่าแก่ ในพื้นที่ว่า แต่เดิมคลองมหาสวัสดิ์มีเรือใหญ่ผ่านเข้าออกอยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรือ บรรทุกข้าว อ้อย และน้าตาล ๑๒) การจับจองที่ดินสองฝั่งคลองมหาสวัสดิ์ สิ่งที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กับการขุดคลอง มหาสวัสดิ์ คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงจับจองที่ดินสองฝั่งคลองมหาสวัสดิ์ และให้จัดทาผังระวางที่ดินขึ้น แบ่งที่ดินออกเป็นแปลงๆ มีทั้งหมด ๔๗ แปลง รวมเนื้อที่กว่า สองหมื่นไร่ เพื่อแบ่งให้กับพระราชโอรสและพระราชธิดาทุกพระองค์ โดยเจ้าหน้าที่ที่เรียกว่า “นายกอง” คอยดู แลเก็บ ผลประโยชน์ ที่ เกิด ขึ้น ซึ่ ง จากหลั กฐานข้อนี้ แสดงให้ เห็ น ว่ า ทุ่ ง ศาลายาหรือพื้นที่ใกล้เคียงดังกล่าวนี้ในสมัยนั้นยังไม่มีการจับจองหรือตั้ งถิ่นฐานทั่วไปและ หากพิจารณาขอบเขตของพื้นที่จับจองที่ปรากฏในระวางที่ดินจะสังเกตได้ว่าบริเวณที่เป็น คลองโยงในปัจจุบันน่าจะมีการตั้งถิ่นฐานจับจองที่ดินไว้ก่อนแล้วระวางที่ดิน บริเวณนั้นจึงไม่ เป็นเส้นตรงเช่นด้านอื่นๆ ๑๓) การเกิดชุมชนวัดสุวรรณาราม ชุมชนวัดมะเกลือ ชุมชนคลองโยงและชุมชน ศาลายา แม้ว่าที่ดินสองฝั่งคลองมหาสวัสดิ์จะถูกจับองไปแล้วก็ตาม แต่การทาประโยชน์ใน ที่ดินดังกล่าวยังไม่เกิดขึ้นต่อเมื่อคนที่อยู่ในชุมชนเดิมบริเวณริมฝั่งแม่น้าท่าจีนทยอยขึ้นมาตั้ง ถิ่นฐานอยู่ ทั้งนี้เนื่องจากเห็นว่าคลองดังกล่าวจะมีความเจริญกว่าที่อยู่เดิม เพราะเป็นเส้นทาง สายสาคัญ จึงมาขอเช่าพื้นที่จากนายกองทานาและอยู่อาศัย “ภาพของชุมชน” จึงเกิดขึ้นใน พื้นที่ดังกล่าว เพิ่มเติมจากชุมชนบริเวณฝั่งคลองโยงที่ตั้งมาแต่อดีต อย่างไรก็ตามความเป็น ชุมชนในที่นี่ คนเฒ่าคนแก่เล่าว่ามิได้หมายความว่าจะมีบ้า นเรือนหนาแน่นติดกันเช่นปัจจุบัน แต่มีบ้านเรือนเกิดขึ้นเรียงรายห่างๆ ไปตามสองฝั่งคลอง ปลูกสร้างแบบง่ายๆ ที่หนาแน่น พอจะเรียกเป็นชุมชนได้ ได้แก่บริเวณชุมชนที่เป็นวัดสุวรรณารามในปัจจุบัน โดยชาวบ้าน ร่วมกันสร้างสานักสงฆ์สุวรรณารามขึ้นและได้รับจัดตั้งจดทะเบียนเป็ นวัดเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๒๔ และได้กลายเป็นศูนย์กลางชุมชนที่สาคัญแห่งหนึ่งของพื้นที่สืบมา อนึ่ง เมื่อคนอพยพเข้ามา อยู่นานเข้าบางคนพอมีเงินบ้างจึงขอซื้ อที่ดินจากเจ้าของเดิม ซึ่งเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ใน สมัยต่อมา ทาให้ที่ดินหลายแปลงเปลี่ยนมือไป คนเหล่านั้นจึงมีสิทธิ์ในที่ดิน


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๗

ส่วนพื้นที่ที่เป็นตาบลคลองโยงปัจจุบันชุมชนเดิมริมฝั่งคลองโยงก็ยังคงอยู่และมีผู้คน มาอาศัยมากขึ้นจึงเป็น “ชุมชนคลองโยง” ที่ใหญ่ขึ้น ขณะเดียวกันในช่วงเวลาที่ไล่เลี่ยกับ ชุมชนวัดสุวรรณารามได้ปรากฏภาพของ “ชุมชนวัดมะเกลือ” ขึ้นด้วย มีการสร้างวัดมะเกลือ ขึ้นเป็นวัดประจาหมู่บ้านด้วย ซึ่งกล่าวกันว่าสร้างขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๑๑ แต่เดิมชุมชนนี้อยู่ใน เขตการปกครองของจังหวัดนนทบุรี แต่หลังจากขุดคลองทวีวัฒนาแล้วจึงถูกยกให้มาอยู่ใน จังหวัดนครปฐม จากคาบอกเล่าของคนเฒ่าแก่พอสรุปได้ว่าชุมชนวัดมะเกลือน่าจะเป็นชุมชน ดั้งเดิมชุมชนหนึ่งที่เติบโตที่เคียงบ่าเคียงไหล่และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากับชุมชนอื่ นๆ ในพื้นที่นี้ เช่น เมื่อคราวน้าท่วมใหญ่ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ที่วัดสุวรรณต้อง อพยพไปอาศัยศาลาวัดมะเกลือเพื่อหนีน้า นอกจากนี้ บริเวณสองฝั่งคลองมหาสวัสดิ์ที่อยู่ในพื้นที่ตาบลศาลายาในปัจจุบันก็มี บ้านเรือนเกิดขึ้นอยู่ห่างๆ แล้วด้วย ซึ่งพัฒนาการมาเป็น “ชุมชนศาลายา” และ “ชุมชน บ้านคลองมหาสวัสดิ์” ในปัจจุบัน ซึ่งภาพชุมชนสองฝั่งคลองมหาสวัสดิ์นี้ มหาฤกษ์ได้บันทึก ไว้ใน “นิราศพระปฐม” ตอนหนึ่งว่า “...ถึงคลองมหาสวัสดิ์นี้มีใหม่ ไม่มีใครร้องเรียกสาเหนียกนาม จนเลยศาลาสองยิ่งหมองไหม้ กับบ่าวไพร่ศิษย์หาสี่ห้าคน ที่สองฝั่งข้างคลองล้วนท้องทุ่ง เห็นทิวไผ่ไม้พุ่มเป็นซุ้มเซิง เห็นเมฆหมอกออกรอบตามขอบป่า ลมพระพายชายพาพฤกษาปลิว ดูทุ่งกว้างทางเปลี่ยวให้เสียวจิตต์ เห็นวิหคนกเอี้ยงมันเลี้ยงควาย .......................................... ดูคลองตรงโล่งลิ่วเห็นทิวบ้าน ไม่มีเรือนโอ่โถงล้วนโรงนา บ้างปลูกผักดักแร้วแพ้วจังหัน ครั้งลมหวนทวนทับก็กลับไป

แต่ตามในลาคลองได้ร้องถาม จะหาความที่ประกอบไม่ชอบกล ระกาใจอ้างว้างมากลางหน มันซุกซนสารพัดจะขัดเชิง และเป็นวุ้งดูเวิ้งละเลิงเหลิง ที่สูงเทิงลมโยนดูโกร๋นกริว เหมือนขอบฟ้าตกใจไกลใจหวิวหวิว เห็นแต่ทิวเขาไม้ร่าไรราย ทั้งจากมิตรมาไกลยิ่งใจหาย จับสบายบนคอดูคลอเคลีย ....................................... ระยะย่านห่างไกลกระไรหนา มุงแฝกคาเขียวขาดูราไร ลมพัดผันหมุนติ้วหวิวหวิวไหว เปรียบเหมือนใจคนเราเท่าทุกวัน


 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

.......................................... พอสายแสงสุริยันตะวันแผ้ว เห็นอ้อนขายรายวางตามข้างรั้ว จึงจอดเข้าซื้อให้สองไพกึ่ง เรือก็หนักราวกับหินสิ้นฝีมือ เรือกับคนสมกันขยันเหลือ ทั้งไทยมอญหนุ่มสาวและลาวแกว .......................................... ถูกลมหวนทวนซ้าน้าก็เชี่ยว ดูอิเหละเปะปะสวะเฟื้อย ถึงตลิ่งเตียนโล่งพอโยงได้ ผูกเชือกแล้วขึ้นตลิ่งวิ่งตะโพง ถึงที่รกวกลัดฉวัดเฉวียน ประเดี่ยวรกประเดี่ยวบ้านราคาญใจ .......................................... จนล่วงเลยถึงศาลาที่ห้าแล้ว ดูสาวๆ ชาวนาไม่น่าชม

....................................... พวกคนแจวหิวกระจายทั้งท้ายหัว เหมือนกับวัวเห็นหญ้าทาตาปรือ พอยื่นถึงกัดพลางไม่วางถือ คนก็ดื้อคร้านใจมิใคร่แจว จนเพื่อเรือเลยไกลไปเป็นแถว ที่ไปแล้วอยู่หลังก็ยังมา ....................................... คนแจวเหนี่ยวสามเล่มจนเต็มเมื่อย น่าเหน็ดเหนื่อยหนักเหลือเรือโป้งโล้ง เด็กดีใจแลเห็นออกเต้นโหยง พอเชือกโยงตึงเรื่อยแล่นเฉื่อยไป ถึงที่เลี่ยนก็ชะโลงโยงไปใหม่ มิพิไรบ่นร่าไม่สารวม ....................................... ให้เร่งแจวรีบไปยังไกลถม ตราแดดลมเหลือดาด้วยทานา...”

ภาพของชุมชนในพื้นที่อาเภอพุทธมณฑลหลังขุดคลองมหาสวัสดิ์เสด็จแล้วจึงปรากฏชัดเจน และมีอยู่ถึง ๕ ชุมชน คือ ชุมชนคลองโยง ชุมชนมหาสวัสดิ์ ชุมชนวัดมะเกลือ ชุม ชนศาลายา และชุมชนบ้านคลองมหาสวัสดิ์ซึ่งเป็นรากฐานสาคัญของพื้นที่มาจนทุกวันนี้ ขณะเดียวกัน ภาพของพื้นที่ก็ถูกจับจองใช้ประโยชน์มาตั้งแต่บัดนั้นและส่วนหนึ่งกลายเป็นที่ทรัพย์สินใน ปัจจุบัน อีกส่วนหนึ่งก็มาเป็นที่ของเอกชน ที่ของวัด และที่ของประชาชนในชุมชนด้วย


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๙

๑๔) การสร้างวัดสุวรรณาราม วัดมะเกลือ และวัดสาลวัน ๑๔.๑) วัดสุวรรณาราม เมื่อสร้างชุมชนขึ้นแล้วเล่ากันว่ามีการจัดตั้ง “วัด สุวรรณาราม” ขึ้นระยะแรกมีฐานะเป็นสานักสงฆ์ เพราะจะได้มีที่ทาบุญ พระครูวิชัยวุฒิคุณ บันทึกไว้ว่าผู้ก่อตั้งวัดชื่อ ตากอง คง มี หลวงพ่อสาด เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกและได้รับประกาศ จัดตั้งให้เป็นวัดที่ถูกต้องในปี พ.ศ. ๒๔๒๔ ครั้นเมื่อเปิดทางรถไฟสายใต้พื้นที่ชุมชนและวัด แห่งนี้ได้เป็นที่ตั้งสถานีรถไฟแห่งหนึ่งชื่อว่า “สถานีวัดสุวรรณ” วัดได้มีการก่อสร้างถาวรวัตถุ ต่างๆ ขึ้นตามลาดับ

วัดสุวรรณาราม

๑๔.๒) วัดมะเกลือ คนเฒ่าแก่เล่าไว้ว่าชุมชนวัดมะเกลือเดิมเป็นชุมชนที่ โดดเดี่ยวห่างไกลจากชุมชนอื่นๆ ผู้ที่อพยพมาอยู่ไม่มีที่ทาบุญทาทานจึงได้คิดสร้างวัดมะเกลือ ขึ้นราวๆ พ.ศ. ๒๔๑๐ - ๒๔๑๑ และสาเหตุที่เรียกว่าวัดมะเกลือก็เพราะแต่เดิมมีต้นมะเกลือ ขึ้นอยู่มาก ส่วนการจดทะเบียนเป็นวัดนั้น ไม่ทราบแน่นอน ทราบแต่ว่าประมาณปี พ.ศ. ๒๔๕๗ ได้มีการสร้างพระอุโบสถหลังแรกขึ้นทาเป็นแบบทรงไทยและมีการสร้างเสนาสนะ อื่นๆ ขึ้นอีกในสมัยต่อมา

วัดมะเกลือ


๑๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

๑๔.๓) วัดสาลวัน ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๐ กานันพิณซึ่งมีบรรดาศักดิ์เป็น ขุนวิศาลกันโอภาสเป็นนายกองเก็บผลประโยชน์จากที่ดินนาของเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ได้นาเงินจากค่ากองนามาสร้างวัดขึ้นเรียกกันแต่เดิมว่า “วัดตาพิน” และกลายเป็น ศูนย์กลางชุมชนในสมัยต่อมา สาคัญคือวัดทาให้ชุมชนเริ่มเคลื่อนตัวจากสี่แยกคลองขวางมา อยู่ฝั่งตรงกันข้ามกับวัดและกลายเป็นชุมชนศาลายามาจนกระทั่งปัจจุบัน ต่อมาเมื่อเปิดเดิน รถไฟสายใต้ชุมชนศาลายาได้รับเลือกให้เป็นสถานีหนึ่งที่รถไฟจอดรับส่งผู้โดยสาร เรียกว่า “สถานีศาลายา”

วัดสาลวัน

๑๕) มหาฤกษ์เดินทางไปนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ ดูเหมือนจะเป็นธรรมเนียม ประเพณีของชาวเมืองหลวงที่เมื่อถึงเทศกาลออกพรรษาจะต้องออกไปนมัสการสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือองค์พระธาตุ เมื่อเดินทางไปหรือกลับนั้นนักปราชญ์หรือนักกลอนมักบันทึกสิ่ง ต่ า งๆ เอาไว้ แ ละเขี ย นออกมาเป็ น นิ ร าศ ซึ่ ง มี คุ ณู ป การต่ อ วงวิ ช าการในยุ ค ต่ อ มาเป็ น อย่ า งยิ่ ง มหาฤกษ์ ท่ า นก็ เ ป็ น เช่ น เดี ย วกั บ นั ก ปราชญ์ อื่ น ๆ เมื่ อ ได้ ไ ปมนั ส การองค์ พ ระปฐมเจดี ย์ (ประมาณ พ.ศ. ๒๔๐๕) ก็ได้บันทึกเหตุการณ์ไว้ ท่านเดินทางผ่านคลองมหาสวัสดิ์ซึ่งขุดขึ้น ใหม่ๆ ได้บันทึกไว้ว่า “...คลองมหาสวัสดิ์นี้มีใหม่ แต่ตามในลาคลองได้ร้องถาม ไม่มีใครร้อง เรียกสาเหนียกนาม จะหาความที่ประกอบไม่ชอบกล...” ท่านได้บันทึกว่าตลอดลาคลองมี ศาลาอยู่ ๗ ศาลา ห่างจากกันเท่าๆ กัน แต่ดูเหมือนสมัยนั้นและศาลายังไม่มีชื่อหรือท่านอาจ ไม่รู้ชื่อก็ได้ คงได้แต่เรียกว่าศาลาสอง ศาลาสาม มีศาลาเดียวที่เรียกชื่อคือศาลากลางซึ่งมีชื่อนี้ มาจนปั จ จุ บั น โดยบอกว่ า มี ค นมอญอยู่ ที่ บ ริ เ วณนั้ น ด้ ว ยบั น ทึ ก นี้ เ ป็ น เหตุ ก ารณ์ ท าง ประวัติศาสตร์ประการหนึ่งที่เกิดประโยชน์ต่อชุมชนในพื้นที่อาเภอพุทธมณฑลในสมัยต่อมา


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๑

พระปฐมเจดีย์

๑๖) การขุดคลองทวีวัฒนา หรือที่เรียกว่า คลองขวาง พระบาทสมเด็จสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ขุดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๒๑ เป็นคลองที่ขุดเชื่อม คลองโยง คลองมหาสวัสดิ์ และคลองภาษีเจริญเข้าด้วยกัน ส่วนปลายคลองทวีวัฒนานั้นใน สมัยต่อมาได้ขุดต่อออกไปเชื่อมกับคลองนราภิรมย์ในเขตอาเภอบางเลน นครปฐม และคลอง พิมลราชาในเขตอาเภอไทรน้อย นนทบุรี เกิดเป็นเครือข่ายในการสัญจรที่เชื่อมพื้นที่ต่างๆ ถึง กันมากขึ้น ที่สาคัญคือในการเชื่อมต่อคลองโยงกับคลองมหาสวัสดิ์ให้ถึงกันนั้น ทาให้เกิด ชุมชนหรือมีการตั้งบ้านเรือนขึ้นหนาแน่นบริเวณสี่แยกคลองขวาง ซึ่งเป็นบริเวณรอยต่อ ๓ จังหวัด คือ นนทบุรี กรุงเทพมหานครและนครปฐม และเล่ากันว่าเป็นพื้นที่หลบภัยของผู้ ต้องคดีต่างๆ ในสมัยนั้น

คลองทวีวัฒนา


๑๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

แผนที่จาก บทกวีนิราศตามคลองบางกอกน้อยถึงบางใหญ่


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๓

๑๗) การสร้างทางรถไฟสายใต้ ทางรถไฟสายใต้เริ่มก่อสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๔๐ เป็นต้นมา คนเฒ่าคนแก่ในพื้นที่อาเภอพุทธมณฑลเล่าว่าวัสดุส่วนหนึ่งที่นามาถมเป็นทาง รถไฟได้ ม าจากวั ด พระงาม ซึ่ ง เป็ น อิ ฐแดงเหมื อนกับส่วนที่เป็นฐานพระเจดี ย์วั ดพระงาม ปัจจุบัน ทางรถไฟสายใต้เปิดเดินรถระหว่างสถานีบางกอกน้อยกับเพชรบุรีเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๖ เป็นเหตุการณ์สาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในพื้นที่ที่เป็นอาเภอพุทธมณฑล กล่าวคือ มีการตั้งสถานีรถไฟขึ้นในช่วงพื้นที่ดังกล่าว ๓ สถานี คือ สถานีศาลายา สถานีวัดสุวรรณ และ สถานีคลองมหาสวัสดิ์ เป็นการตอกย้าความมั่นคงของชุมชนที่มีอยู่เดิมให้เป็นปึกแผ่นมั่นคง มากขึ้นและทาให้บทบาทความสาคัญของแม่น้าลาคลองลดลงไปบ้าง เพราะชุมชนมีทางเลือก ที่จะติดต่อกับกรุงเทพมหานครและนครปฐมได้เพิ่มขึ้นมากกว่าเดิม แต่ไม่มากนักเนื่องจากการ เดินรถไฟยังมีข้อจากัดหลายอย่าง เช่น มีรถเพียงเที่ยวเดียว ค่ารถแพง ยุคนี้มีการตั้งถิ่นฐาน หนาแน่นมากขึ้น เกิดตลาดชุมชนและโรงเรียนขึ้นหลายแห่ง

สถานีศาลายา

สถานีวัดสุวรรณ


๑๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

สถานีคลองมหาสวัสดิ์

๑๘) การเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ การเปลี่ยนแปลงทาง การเมืองการปกครองเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ศูนย์กลางเหตุการณ์เกิดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร แต่มี ผลต่อชุมชนต่างๆ ทั่วประเทศ พื้นที่อาเภอพุทธมณฑลก็เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งที่ได้รับผลดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องเกี่ยวข้องกับที่ดิน ทั้งในแง่ของการใช้ประโยชน์และการเปลี่ยนแปลง กรรมสิทธิ์การถือครอง เนื่องจากเจ้าของที่ดินถูกตัดทอน รายได้ ลดลงอันเนื่องมากจากภาวะ เศรษฐกิจตกต่าและการตกงาน ทาให้ต้องเอาที่ดินส่วนหนึ่งไปจานองหรือขายแก่ผู้อื่น ๑๙) ตั้ ง โรงเรี ย นวั ด มะเกลื อ โรงเรี ย นวั ด สุ ว รรณาราม(ดี ร าษฎร์ รั ง สฤษฏ์ ) โรงเรียนวัดสาลวัน และโรงเรียนบ้านคลองมหาสวัสดิ์ เดิมการศึกษาเรียนรู้ของผู้คนใน ชุมชนได้อาศัยวัดเป็นหลัก หรือไม่ก็ต้องไปเรียนโรงเรียนอื่นๆ นอกพื้นที่ จนกระทั่งถึงปี พ.ศ. ๒๔๗๖ จึงมีการจัดตั้งโรงเรียนวัดมะเกลื อขึ้น ต่อมาในปีพ.ศ. ๒๔๗๗ ก็ได้จัดตั้งโรงเรีย น ศาลายา ๑ (โรงเรียนวัดสุวรรณารามในปัจจุบัน) และโรงเรียนศาลายา ๒ (โรงเรียนวัดสาลวัน ในปัจจุบัน) ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ก็จัดตั้งโรงเรียนบ้านคลองมหาสวัสดิ์

โรงเรียนวัดสาลวัน


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๕

๑๙.๑) โรงเรียนวัดมะเกลือ ก่อตั้งเมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๖ โดยมี ขุนพรหม สมรรคเดช (กานันต๋อย พรหมสุรินทร์) กานันตาบลคลองโยง และนายโปร่ง มุ้ยจีน กานันตาบลหนองเพรางาย เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้ง ระยะแรกเรียนอยู่บนศาลาการเปรียญ ต่อมาเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ พระครูศิริชัยวัฒน์ จึงได้ซื้อที่ ๒ ไร่เศษ ซึ่งอยู่ติดกับวัดและสร้างอาคารใหม่ให้ และได้ขอซื้อที่เพิ่มเติมอีก ๑ ไร่ ๓ งาน ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ เพื่อสร้างอาคารหลังใหม่ ด้วย อุปการะคุณของหลวงพ่อพระครูศิริชัยวัฒน์ จึงทาให้โรงเรียนเจริญและพัฒนาการสืบมา จนกระทั่งปัจจุบันซึ่งเป็นโรงเรียนขยายโอกาสของชุมชน

โรงเรียนวัดมะเกลือ

๑๙.๒) โรงเรี ย นวั ด สุ ว รรณาราม (ดี ร าษฎร์ รั ง สฤษฏ์ ) เดิ ม เรี ย กว่ า โรงเรียนศาลายา ๑ (โรงเรียนศาลายา ๒ อยู่ที่วัดสาลวัน) จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๗ โดย อาศัยศาลาการเปรียญเป็นสถานศึกษา มีพระอธิการเนียม โชติกาโร เจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม เป็นผู้สอน เปิดสอนถึงชั้นประถม ๔ มีนายสวง จงสวัสดิ์ เป็นครูใหญ่ ต่อมาหลวงพ่อดี สุวรรโณ (พระครูวิชัยวุฒิคุณ) เจ้าอาวาสในขณะนั้นได้ก่อสร้างอาคารขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๙ สร้างเสร็จ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ และขอเปลี่ยนชื่อมาเป็นโรงเรียนวัดสุวรรณาราม เป็นโรงเรียนของชุมชนที่ ทาให้คนในท้องถิ่นได้มีโอกาสศึกษาอย่างทั่วถึง

โรงเรียนวัดสุวรรณาราม


๑๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

๑๙.๓) โรงเรียนวัดสาลวัน เดิมชื่อโรงเรี ยนศาลายา ๒ จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๗ สอนถึงชั้นประถมปีที่ ๔ มีพระอธิการอยู่ เป็นอุปการะ มีนายธงชัย มีท่อธาร เป็นครูใหญ่ พระภิกษุชุด ภิษดี เป็นครูสอน อาศัยศาลาวัดสาลวันเป็นสถานที่เรียนจนกระทั่ง ปี พ.ศ. ๒๔๙๖ จึงสร้างอาคารชั่วคราวขึ้นหลังหนึ่ง ต่อมากานันจุ่น เซ็งมณี ร่วมกับกรรม การศึกษาและครูใหญ่ขอที่ดินจากกรมพระยานริศรานุวัติวงศ์จานวน ๓ ไร่เศษ และขอที่ดิน จากนายเงิน(งึ้น) สุขสมัย จานวน ๓ ไร่ แล้วของบประมาณจากสานักสลากกินแบ่งรัฐบาล มา สร้างอาคารเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๑ สร้างเสร็จเรียบร้อยในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ จัดเป็นโรงเรียนที่สาคัญ ยิ่งของชุมชนศาลายาสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน ๑๙.๔) โรงเรี ย นบ้ า นคลองมหาสวั ส ดิ์ นายอ าเภอนครชั ย ศรี ร่ว มกับ ชาวบ้านได้ขอเช่าที่ดินจากทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จานวน ๖ งาน และได้จัดตั้งเป็น โรงเรียนขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๑ เรียกว่า โรงเรียนบ้านคลองมหาสวัสดิ์ มีนายธงชัย มีท่อธาร เป็นครูใหญ่ นายสุภาพ จันทร์ประสูตร เป็นครูประจาชั้น เปิดเรียนครั้งแรกมีเด็ก ๘๑ คน ต่อมามีนายเลียบ บุญญานิจ บริจาคที่ดิน ๒ ไร่ นายชัยฤทธิ์ ไทยนิยม บริจาคที่ดิน ๓ ไร่ รวม เป็ น ๕ ไร่ จึ ง ได้ ส ร้า งอาคารเรีย นและขยายโรงเรีย นเป็น โรงเรีย นประจ าชุม ชนสืบมาถึง ปัจจุบัน

โรงเรียนบ้านคลองมหาสวัสดิ์

๒๐) น้าท่วมใหญ่ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ปีมะโรงพุทธศักราช ๒๔๘๕ เป็นปีที่ประวัติศาสตร์ ไทยจารึกไว้ว่าเกิดน้าท่วมใหญ่ทั่วประเทศไทย ในพื้นที่อาเภอพุทธมณฑลปัจจุบัน ซึ่งสมัยนั้น ขึ้นอยู่กับนครชัยศรี น้าท่วมถนนรถไฟ ท่วมทุ่งนาบ้านเรือน ชาวบ้านแถบวัดสุวรรณารามส่วน หนึ่งต้องอพยพไปอาศัยศาลาการเปรียญวัดมะเกลือ ส่วนหนึ่งอพยพไปอยู่นครปฐม สัตว์เลี้ยง


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๗

ต่างๆ ล้มตายเป็นจานวนมากการดารงชีพลาบากยิ่ง เหตุการณ์ดังกล่าวนี้นาไปสู่การขุดคลอง ซอยในสมัยต่อมา

น้าท่วมชุมชนศาลายา ปี พ.ศ. ๒๕๓๘

๒๑) การขุดคลองเพื่อสัญจรและควบคุมน้าในพื้นที่ แต่เดิมนอกจากคลองหลัก คือ คลองโยง คลองมหาสวัสดิ์แล้ว ในพื้นที่ไม่มีคลองธรรมชาติอื่นๆ แต่หลังจากน้าท่วมใหญ่แล้ว ทั้งรัฐและชุมชนได้ร่วมกันขุดคลองเพื่อเป็นเส้นทางสั ญจรไปมาและเป็นเส้นทางส่งน้าระบาย น้าเพื่อการทานาเพิ่มขึ้น ทาให้เกิดคลองซอยขึ้นหลายสาย เช่น คลองบางเตย คลองซอย คลองเจ๊ก (คลองชัยขันธ์) คลองสามบาท คลองตาหลี คลองสุคต คลองหม่อมเจ้าเฉลิ ม ศรี คลองนายเปล่ง คลองตาพริ้ง คลองตาบาง คลองสามวา ฯลฯ ซึ่งเหล่านี้ได้ช่วยให้ การทานา ได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น ทั้งยังสามารถเข้าถึงพื้นที่ได้อย่างทั่วถึงด้วย จึงทาให้เกิดชุมชนย่อยๆ ขึ้นในพื้นที่มากขึ้น เช่น ชุมชนบ้านคลองสว่างอารมณ์ เป็นต้น ๒๒) การปล้นสถานีรถไฟศาลายา เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๔๙๐ โจรกลุ่มหนึ่งบุกเข้า ปล้นสถานีรถไฟศาลายากลางคื น ทาร้ายนายสถานีและจับภรรยานายสถานีเป็นตัวประกัน ขณะนั้นกานันจุ่น เซ็งมณี เป็นผู้ใหญ่บ้าน ได้ชักชวนลูกบ้านยิงต่อสู้กับโจรนับเป็นร้อยนัด โจร ล่าถอยโดยจับภรรยานายสถานีเป็นตัวประกันไปปล่อยไว้ระหว่างทาง กวาดทรัพย์สินไป จานวนมาก สาเหตุการปล้นเนื่องจากภรรยานายสถานีชอบแต่งตัวอวดร่ารวย ใส่สร้อยข้อมือ ทองคา ซึ่งต่อมาทางราชการสืบได้ว่าเป็นสายให้โจรจึงจับไปให้ผู้ว่าราชการจังหวัดสอบถาม เมื่ อ ได้ ค วามแล้ ว จึ ง กั น ตั ว ไว้ เ ป็ น พยาน ต ารวจจั บ โจรได้ ๒ คน เหลื อ อี ก ๑ คน หนี ไ ป ต่างจังหวัด โจรที่จับได้คนหนึ่งอยู่วัดมะเกลือขอต่อสู้คดีและชนะคดีในที่สุด ส่วนอีกคนหนึ่ง เมื่อจับครั้งแรกขณะนาตัวส่งโรงพักได้กระโดดหนีไปได้ แต่ต่อมาจับได้อีกจึงนาตัวมาทาแผน แล้วนาส่งตารวจโดยทางเรือ ปรากฏว่าผู้ร้ายกระโดดเรือหนีอีก แต่รุ่งเช้ามีคนพบเป็นศพลอย อยู่ในน้า กุญแจยังติดมืออยู่


๑๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

๒๓) ตั้งโรงเรียนคลองสว่างอารมณ์ บริเวณชุมชนบ้านชัยขันธ์มีการจัดตั้งโรงเรียน “บ้านคลองสว่างอารมณ์ ” ขึ้นในปี พ.ศ.๒๔๙๒ โดยขุนพรมสมรรคเดช (กานันต๋อย พรหม สุ ริน ทร์) กับ ชาวบ้ า นร่ว มกัน สร้า งขึ้น ซึ่ ง เป็ น โรงเรีย นประจ าหมู่ บ้ า นสื บ มาปั จ จุ บั น เป็ น โรงเรียนขยายโอกาสถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ในปัจจุบัน

โรงเรียนวัดคลองสว่างอารมณ์

๒๔) การก่อสร้างพุทธมณฑล สมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ดาริจะจัดสร้าง พุทธมณฑลขึ้น ณ ตาบลศาลายา จังหวัดนครปฐม เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองพุทธศาสนา ครบ ๒๕ ศตวรรษ คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติอนุมัติเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๗ ให้จัดสร้างพุทธมณฑลขึ้น โดย เลือกเอาพื้นที่ส่วนหนึ่งของอาเภอนครชัยศรีและอาเภอสามพรานในขณะนั้น รวมจานวน ๒,๕๐๐ ไร่ เป็นที่ตั้ง พร้อมทั้งเตรียมปรับพื้นที่ต่อเนื่ องมาเป็นลาดับ จนกระทั่งวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จ ประกอบรัฐพิธีก่อพระฤกษ์ ณ ตาแหน่งฐานพระพุทธรูป พระประธานพุทธมณฑล จากนั้น การก่อสร้างพุทธมณฑลก็ดาเนินการสืบเนื่องต่อมา มีการสร้างวิหารประดิษฐานพระพุทธรูป ขึ้น ก่อนและด าเนิ นการปลูกสร้างสิ่งอื่ น ๆ ตามมาตามแต่ง บประมาณจะมี ซึ่ ง บางปีไม่ได้ ก่อสร้างอะไรเพิ่มเติมเพราะไม่มีงบประมาณ ขณะเดียวกันก็เปิ ดให้ผู้คนเข้าเยี่ยมชมได้ด้วย การดาเนินการสร้างเป็นไปอย่างรวดเร็วมากขึ้นในสมัยรัฐบาล ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ พุทธมณฑลเริ่มมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามมากขึ้น มีอาคาร สถานที่ต่างๆ พร้อมเพรียงสืบมาจนปัจจุบัน


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๙

พุทธมณฑล

๒๕) การตั ด ถนนพุ ท ธมณฑลสาย ๔ เมื่ อ คณะรั ฐ มนตรี อ นุ มั ติ ใ ห้ จั ด สร้ า ง พุทธมณฑล ณ ตาบลศาลายา จังหวัดนครปฐมแล้ว เป็นเหตุให้ในปีต่อมาจึงมีการตัด ถนน พุทธมณฑลสาย ๔ ขึ้น โดยตัดแยกจากถนนเพชรเกษมเข้ามา นับเป็นถนนรถยนต์สายแรกที่ เกิดขึ้น เข้าถึงพื้นที่ที่เป็นอาเภอพุทธมณฑลในปัจจุบัน ถนนพุทธมณฑลสาย ๔ สร้างอยู่หลาย ปีกว่าจะใช้การได้ตลอดสาย ในสมัยที่จัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยเมื่ อปี พ.ศ. ๒๕๐๘ นั้น ถนนพอใช้การได้แค่พุทธมณฑลเท่านั้น ต่อจากนั้นมีเพียงแนวถนน ทั้งนี้ เพราการสร้างอาศัยเกณฑ์แรงงานคนจากหมู่บ้านต่างๆ ในย่านที่ถนนตัด ผ่านมาขุดดินพูน ถนน

ถนนพุทธมณฑลสาย ๔ เริ่มก่อสร้างปี ๒๔๙๗ (ภาพปี ๒๕๒๕)


๒๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ถนนพุทธมณฑลสาย ๔

๒๖) ตั้งโรงเรียนบ้านคลองโยง โรงเรียนบ้านคลองโยงเป็นโรงเรียนของชุมชนที่อยู่ ตามแนวฝั่งคลองโยง ตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ ๔ ตาบลมหาสวัสดิ์ ก่อตั้งขึ้นโดยความร่วมมือของ ชาวบ้าน โดยมีกานันเขียว ไทยนิยม (กานันตาบลมหาสวัสดิ์) บริจาคที่ดินและชาวบ้านบริจาค เงินสร้างอาคารขึ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๐ เปิดสอนถึงชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๔ มีนายหอมหวน วงษ์วิสิฏฐ์ เป็นครูสอนอยู่คนเดียว ต่อมานายสุนทร มูลทองน้อย ได้รับการแต่งตั้งให้มาดารง ตาแหน่งครูใหญ่ เป็นที่น่าสังเกตว่าชุมชนคลองโยงไม่มีวัดเป็นศูนย์กลางชุมชน ซึ่งอาจจะ เป็นไปได้ว่าเพราะบ้านเรือนตั้งอยู่ห่างๆ จึงไม่เกิดวัดขึ้นหรืออาจเป็นเพราะผู้คนที่อพยพเข้ามา ไม่สามารถจะรวมตัวกันได้ เพราะเป็นคนจีนบ้าง คนไทยต่างถิ่นบ้าง และโรงเรียนคลองโยง อยู่ห่างจากชุมชนที่ปากคลองโยงมาก ๒๗) การสร้างสถานีเครื่องส่งวิทยุ ๑๐๐ กิโลวัตต์ (เอเอ็ม) ศาลายา เป็นสถานี เครื่ อ งส่ ง วิ ท ยุ ๑๐๐ กิ โ ลวั ต ต์ (เอ.เอ็ ม .) ศาลายา ตั้ ง อยู่ ร ะหว่ า งพุ ท ธมณฑลและ มหาวิทยาลัยมหิดล ริมถนนปิ่นเกล้า-นครชัยศรี อยู่ในบริเวณพื้นที่ ๔๗ ไร่ ๒ งาน ๓๕ ตาราง วา เดิมเป็นที่ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ต่อมาได้โอนพื้นที่ให้กับมหาวิทยาลัยมหิดล ใน พื้ น ที่ มี อ าคารที่ ท าการเจ้ า หน้ า ที่ ห้ อ งรั บ เสี ย งเชื่ อ มกั บ รายการจากอาคาร ห้ อ งส่ ง วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ถนนวิภาวดีรังสิต มีห้องเครื่องส่งวิทยุมีอาคารเครื่องยนต์ กาเนิดไฟฟ้าและมีบ้านพักเจ้าหน้าที่ สถานีแห่งนี้เปิดเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ทาหน้าที่ ส่งกระจายเสียงออกอากาศ ๒ คลื่น ความถี่ คือ ๘๙๑ กิโลเฮิรตซ์ และ ๙๑๘ กิโลเฮิรตซ์ ใน ระบบเอเอ็ม ที่นี่ถือเป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางลาดับที่ ๒ ที่เข้ามาดาเนินงานในพื้นที่นี้ ซึ่ ง หั ว หน้ า สถานี เล่าไว้ ว่า สมั ยนั้นถนนพุท ธมณฑลสาย ๔ เข้า มาได้ เพีย งหน้า พุทธมณฑล ต่อจากนั้นมีแต่แนวถนนต้องถมทางเข้าเองและมาอยู่ที่นี่รู้สึกว่าห่างไกลมาก ปัจจุบันสถานี แห่งนี้ยังคงทาหน้าที่อยู่เช่นเดิม


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๑

สถานีเครื่องส่งวิทยุ ๑๐๐ กิโลวัตต์ (เอเอ็ม) ศาลายา

๒๘) การสร้างหน่วยสื่ อสารกรมตารวจ พ.ศ. ๒๕๑๐ ในสมัยพลตารวจเอกเผ่า ศรียานนท์ เป็นอธิบดีกรมตารวจ ได้ดาเนินการก่อสร้างหน่วยตารวจสื่อสารขึ้นในพื้นที่นี้ โดย ขอเช่าพื้นที่ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จานวน ๔๓๖ ไร่เศษ แต่การก่อสร้างไม่สาเร็จ ปล่อยทิ้งร้างไว้ โรงเรี ยนวัดสาลวันเคยมาขอให้เป็นอาคารเรียนของนักเรียนอยู่ระยะหนึ่ง ต่อมาได้เปลี่ยนมาเป็นโรงเรียนนายสิบตารวจ เปิดดาเนินการอยู่ได้ระยะหนึ่งและปิดหลักสูตร เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๙ พื้นที่ดังกล่าวจึงกลายเป็นที่ตั้งของสถาบันส่งเสริมงานสอบสวนสานักงาน ตารวจแห่งชาติซึ่งเข้ามาแทนที่ เริ่มมาดาเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ มีพื้นที่ดาเนินการใน ปัจจุบันจานวน ๒๓๔ ไร่ ๑ งาน ๑๖ ตารางวา ทั้งนี้เพราะพื้นที่บางส่วนถูกแบ่งให้หน่วยงาน อื่นๆ ไปด้วย เป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการฝึกอบรมของงานสอบสวน งาน ควบคุมจรรยาบรรณ การจดทะเบียน การตรวจสอบและถอดถอนใบอนุญาต งานตอบโต้ข้อ หารือต่างๆ ของตารวจทั่วประเทศ ๒๙) การสร้างวัดเทพนิมิตและวัดมงคลประชาราม ๒๙.๑) วั ด เทพนิมิต สร้า งขึ้นเป็นสานักสงฆ์ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑ นางถม น่วมแหวว และบุตรชาย คือ นายภักดิ์ น่วมแหวว เป็นผู้ริเริ่ม ซื้อที่ดินรวมทั้งหมด ๑๑ ไร่ ๑ งาน ๕๖ ตารางวา เป็นที่สร้างวัด ได้อาราธนาหลวงตาน้อม มาอยู่ประจาแต่ต่อมาได้นิมนต์ พระภิกษุเฉลิม กัลป์ยาโณ จากวัดช่างเหล็กมาเป็นเจ้าอาวาส ได้รับพระบรมราชานุญาตให้ สร้า งวั ด ในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ได้ รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ปั จ จุ บั น พระภิกษุเฉลิม กัลป์ยาโณ เจ้าอาวาสได้รับสมณศักดิ์เป็นพระครูนิมิตรกัลยาณวัตรและได้เป็น วัดพัฒนาตัวอย่างปี พ.ศ. ๒๕๓๘


๒๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

วัดเทพนิมิต

๒๙.๒) วัดมงคลประชาราม ตั้งเป็นสานักสงฆ์ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๔ เล่า กันว่าวัดนี้เกิดจากความเห็นไม่ตรงกันของคณะกรรมการวัดเทพนิมิต กรรมการกลุ่มหนึ่งจึง แยกตั ว ออกมาก่อสร้างวั ดมงคลประชารามนั้น โดยมี กานันเจริญ ฤทธิ์ คารพ เป็ น ผู้นา มี หลวงตาน้อมเป็นพระภิกษุที่มาประจารูปแรก กานันได้ขอบริจาคที่ดินจาก คุณแม่ละม่อม เนื่องคุ้ม จานวน ๑๓ ไร่เศษ โดยมีเงื่อนไขว่า นอกจากใช้สร้างวัดแล้วให้สร้างโรงเรียนและ สถานีอนามั ยขึ้นด้วย วัดมงคลประชารามอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ ๖ บ้างคลองโยงใหม่ ซึ่งเป็น ศูนย์กลางของชุมชนนี้

วัดมงคลประชาราม


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๓

๓๐) การก่ อ สร้ า งมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ณ ศาลายา ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้สานักทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ดาเนินการขายโฉนดที่ดินที่ตาบล ศาลายา จังหวัดนครปฐม เนื้อที่ ๑,๒๔๒ ไร่ ๒๐ ตารางวา ให้แก่มหาวิทยาลัยมหิดลและได้ เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ โดยได้ย้ายที่ทาการ บางหน่วยงานมาอยู่ที่นี่ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๒๕ คณะแรกๆ ที่มา ได้แก่ สานักสัตว์ทดลองแห่งชาติ คณะวิทยาศาสตร์(บางส่วน) คณะ สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท เป็นต้น โดยมีนโยบายให้นักศึกษาชั้นปีที่หนึ่งคณะวิทยาศาสตร์มาเรียนที่นี่ ต่อมาก็มีคณะ สถาบัน ศูนย์ สานักต่างๆ ย้ายตามมาเป็นลาดับ ซึ่งในยุคแรกๆ การเดินทางจากกรุงเทพฯ มาศาลายา จะต้องโดยสารรถไฟมาลงที่สถานีศาลายาหรือไม่ก็มาทางรถยนต์จากถนนเพชรเกษม ครั้นใน ปี พ.ศ. ๒๕๒๖ (ซึ่งเป็นปีที่น้าท่วมใหญ่ในกรุงเทพมหานคร) ถนนสายปิ่นเกล้า -นครชัยศรี กาลังก่อสร้าง มีรถสองแถวเล็กวิ่งรับผู้โดยสารจากบางขุนนนท์มาศาลายา ซึ่งช่วยทาให้เกิด ความสะดวกขึ้นบ้าง ต่อเมื่อเปิดใช้ถนนราวปี พ.ศ. ๒๕๒๗ จึงมีรถเมล์สาย ๑๒๔ และ ๑๒๕ วิ่งบริการทาให้เกิดความสะดวกมากขึ้น ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหิดล มีคณะ สถาบันต่างๆ หลายคณะมาตั้งอยู่ที่นี่ รวมทั้งสานักงานอธิการบดี ซึ่งย้ายมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๓

มหาวิทยาลัยมหิดล ณ อดีต


๒๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

มหาวิทยาลัยมหิดล ณ อดีต

๓๑) ตั้งโรงเรียนบุญยศรีสวัสดิ์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๕ โดยคุณสุธร บุญยศรีสวัสดิ์ ออกเงินสร้างอาคารขึ้นในวัดมงคลประชาราม โดยแบ่งพื้นที่วัด ๓ ไร่ เป็นที่ตั้งโรงเรียนตาม ความประสงค์ของคุณแม่ละม่อม เนื่องคุ้ม ผู้ บริจาคที่ดิน โรงเรียนเปิดสอนถึงระดับประถม ปีที่ ๔ ครั้งแรกมีเด็ก ๘๔ คน มีนายวิรัช ธรรมแสง รักษาการตาแหน่งครูใหญ่ เป็นโรงเรียน ประจาหมู่บ้านคลองโยงใหม่และหมู่บ้านใกล้เคียง

โรงเรียนบุญยศรีสวัสดิ์


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๕

๓๒) การสร้างทางสายศาลายา-บางภาษี และศาลายา-นครชัยศรี ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๑๔ กานันจุ่น เซ็งมณี กานันตาบลศาลายา ได้รับคาสั่งโดยตรงจากอธิ บดีกรมการ ปกครองสมัยนั้น (ซึ่งกานันรู้จักเป็นการส่วนตัว) ว่าให้หาทางช่วยเหลือนายอาเภอนครชัยศรี สร้างถนนสายศาลายาต่อไปคลองโยง-บางภาษี และสายศาลายาต่อไปวัดไทยาวาส อาเภอ นครชัยศรีให้สาเร็จ กานันจึงได้ขอที่ดินชาวบ้านขวางแนวถนนได้สาเร็จ ทางอาเภอนครชัยศรี ให้งบประมาณมาถมทางเป็นถนนขึ้นและกลายเป็นถนนสายหลักในพื้นที่ปัจจุบัน ๓๓) สร้ า งสหกรณ์ เ พื่ อ การเกษตร พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงมี พระบรมราโชบายโปรดเกล้าฯ ให้จัดระบบการรวมกลุ่มในระดับหมู่บ้าน รวมกันเป็นสหกรณ์ ในเขตปฏิรูปที่ดินพระราชทานและเชื่อมโยงไปถึงสหกรณ์ในเมืองใหญ่เพื่อให้สหกรณ์สามารถ ดาเนินธุรกิจเพื่อประโยชน์ของสมาชิกได้กว้างขวางอย่างแท้จริง สานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมจึงได้ดาเนินการพัฒนาด้านต่างๆ รวมทั้งระบบชลประทาน คมนาคม และบริการ สาธารณูปการต่างๆ ในที่ดินพระราชทานในจังหวัดนครปฐมทั้งหมด จานวน ๔ แปลง คิดเป็น เนื้อที่ ๑,๐๐๙ ไร่ ๑ งาน ๑ ตารางวา อยู่ในเขตหมู่ ๒, ๓ และ ๔ ตาบลมหาสวัสดิ์ อาเภอ พุทธมณฑล สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินพุทธมณฑล จากัด (สกป. พุทธมณฑล) จดทะเบียน เมื่อวันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๑ ชื่อว่า “สหกรณ์การปฏิรูปที่ดินนครชัยศรี จากัด” ประเภท สหกรณ์นิคม เริ่มดาเนินการเมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๔ มีสมาชิกครั้งแรกจานวน ๗๔ คน จานวน ๔ กลุ่ม ทุนเรือนหุ้น ๗,๔๐๐ บาท ต่อมาจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงชื่อตามการ เปลี่ยนแปลงพื้นที่ปกครองใหม่มาเป็นสหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินพุทธมณฑล จากัด ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ โดยขยายพื้นที่ดาเนินงานไปสู่ตาบลศาลายา ตาบลคลองโยง ตาบลมหาสวัสดิ์ แล้ว ยังครอบคลุมไปถึงตาบลงิ้วราย ตาบลลานตากฟ้า อาเภอนครชัยศรี อีกด้วย ๓๔) การตัดถนนสายปิ่นเกล้า-นครชัยศรี ถนนสายปิ่นเกล้า-นครชัยศรี ระยะทาง ประมาณ ๓๒ กม. เริ่มสร้างประมาณปี พ.ศ. ๒๕๒๑ เป็นถนนขนาด ๔ ช่องทางการจราจร เริ่ ม ต้ น จากชุ ม ชนตลิ่ ง ชั น ไปสิ้ น สุ ด ตรงจุ ด ต่ อ กั บ ถนนสายเพชรเกษมกั บ ถนนปิ่ น เกล้ า นครชัยศรีเป็นระยะๆ เรียกว่า ถนนพุทธมณฑลสาย ๑ จนถึงสายที่ ๘ ถนนสายนี้เปิดเดินรถ อย่างเป็นทางการประมาณปี พ.ศ. ๒๕๒๗ มีรถเมล์สาย ๑๒๔ และ ๑๒๕ วิ่งระหว่างพื้นที่ ศาลายากับกรุงเทพมหานคร มีรถเมล์ขาววิ่งระหว่างศาลายากับจังหวัดนครปฐม ๓๕) ตั้งโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในสังฆราชูปถัมภ์ พ.ศ. ๒๕๒๕ จากการที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระวชิรญาณวโรรสได้ถวายที่ดินซึ่งเป็นมรดก


๒๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

จานวน ๒๘๓ ไร่ ๒ งาน ๗๒ ตาราวา แก่วัดบวรนิเวศแล้ว ต่อมาทางวัดได้พิจารณาว่าไม่ได้ใช้ พื้ น ที่ ดั ง กล่ า วให้ เป็น ประโยชน์เท่ า ที่ควรจึ งได้แบ่ งมอบให้ กับสถานศึกษาต่ างๆ โรงเรียน รัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา ในพระสังฆราชูปถัมภ์ ตั้งอยู่ในหมู่ ๓ ตาบลศาลายา โดยวัดบวรนิเวศได้ยกพื้นที่จานวน ๘๐ ไร่ เดิมโรงเรียนแห่งนี้ชื่อว่า “โรงเรียนบวรนิเวศ พิทยา” เป็นสาขาหนึ่งของโรงเรียนวัดบวรนิเวศที่กรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๒ แต่ไม่ได้เปิดรับนักเรียนเนื่องจากมีปัญหาเรื่องสถานที่เรียน จนกระทั่งได้ เป็นโรงเรียน ในโครงการเฉลิมกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ จึงเปิดรับนักเรียนระดับมัธยม ต้นและมัธยมปลาย ระยะแรกเริ่มซึ่งกาลังก่อสร้างอาคารอยู่นั้น ได้สอนอยู่ที่โรงเรียนสาลวัน จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๒๗ จึงย้ายมาเรียนในที่ปัจจุบันและเปิดดาเนินการเรียนการสอนสืบมา ถือเป็นโรงเรียนมัธยมแห่งแรกของพื้นที่อาเภอพุทธมณฑล

โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา

๓๖) ตั้งหน่วยงานของกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ๓๖.๑) สถาบันศิลปกรรม เป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่ได้รับมอบที่ดินจากวัด บวรนิเวศ จานวน ๒๘ ไร่ แต่เดิมประมาณปี พ.ศ. ๒๕๒๖ กรมศิลปากร ได้มาสร้างโรงหล่อ พระพุทธรูปขึ้นก่อนและอพยพผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องมาปฏิบัติงานที่นี้ ต่อมาจึงย้ายช่างสิบหมู่มา อยู่ ที่ นี้ ต่ อ มาจึ ง ย้ า ยช่ า งสิ บ หมู่ ม าอยู่ ที่ นี้ ด้ ว ย เป็ น หน่ ว ยงานหนึ่ ง ที่ เ ข้ า มาอยู่ ใ นพื้ น ที่ ใน ระยะแรกๆ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๗

สถาบันศิลปกรรม

๓๖.๒) วิทยาลัยนาฏศิลป์ เป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่ได้รับมอบทีด่ ิน ประมาณ ๔๘ ไร่ ในบริเวณเดียวกับสถาบันศิลปกรรม ก่อสร้างอาคารสถานที่และย้าย บุคลากร นักเรียน นักศึกษามาอยู่ที่ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๔๐

วิทยาลัยนาฏศิลป์

๓๗) ตั้งมูลนิธิอุบลรังสีจุฬามณี มูลนิธิอุบลรังสีเป็นมูลนิธิเพื่อการกุศลที่สร้างขึ้น ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๓๐ อยู่ติดกันกับสานักสงฆ์หทัยนเรศวร์ ปัจจุบันสร้างเสร็จสมบูรณ์แล้ว มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น รูปปัน้ เจ้าแม่กวนอิม พระพุทธรูปและรูปปัน้ อื่นๆ อีกมากมาย สร้างขึน้ อย่างสวยงาม ปัจจุบนั มูลนิธิเปิดโอกาสให้คนเข้าไปนมัสการได้ทุกวัน


๒๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

มูลนิธิอุบลรังสีจุฬามณี

๓๘) ตั้งสานักสงฆ์หทัยนเรศวร์ เป็นสานักสงฆ์ที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ฝ่ายมหานิกาย เป็น สานักปฏิบัติธรรมสาขาของวัดเจ้ามูลในกรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ริม ถนนสายปิ่นเกล้า -นครชัยศรี หลังมหาวิทยาลัยมหิดล โดยการสนับสนุนของวัดเจ้ามูล มี พระสงฆ์จาพรรษาติดต่อกันมาทุกปี ปัจจุบันกาลังก่อสร้างถาวรวัตถุขึ้นหลายหลัง ถือเป็น ส านั ก สงฆ์ ข องชุ ม ชนหมู่ บ้ า นสหพรซึ่ ง เป็ น หมู่ บ้ า นจั ด สรรเกิ ด ขึ้ น ใหม่ ด้ า นหลั ง มหาวิทยาลัยมหิดล

สานักสงฆ์หทัยนเรศวร์

๓๙) การเกิดโรงงานอุตสาหกรรม การก่อตั้งโรงงานอุตสาหกรรม (คาสเดย์) ขึ้นใน พื้นที่และโรงงานอื่นๆ บริเวณปากทางสายสี่ ทาให้คนหนุ่มสาวส่วนใหญ่ละทิง้ ไร่นา เข้าทางาน ในโรงงานขนาดเล็กเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือนอีก ปัจจุบันมีโรงงานมาตั้งในพื้นที่มากขึ้น จึ ง เป็ น การตอกย้าการเปลี่ย นแปลงที่ เกิดขึ้น ให้ เป็ น อิ ส ระจากฐานเดิ ม อย่า งรวดเร็วและ กว้างขวาง


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๙

โรงงานอุตสาหกรรม (คาสเดย์)

๔๐) การประกาศตั้งกิ่งอาเภอพุทธมณฑล ก่อนที่จะจัดตั้งกิ่งอาเภอพุทธมณฑลขึ้น นั้นพื้นที่ในเขตของอาเภอปัจจุบันส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับอาเภอนครชัยศรี ยกเว้นบางส่วนใน บริเวณที่เป็นพุทธมณฑลขึ้นอยู่กับอาเภอสามพรานซึ่ งขณะที่พุทธมณฑลและมหาวิทยาลัย มหิดลกาลังสร้างอยู่นั้นประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๙ พ่อค้า ประชาชน และข้าราชการอาเภอนคร ชัยศรีได้พิจารณาเห็นพ้องต้องกันว่าสมควรยกฐานะพื้นที่ตาบลศาลายา ตาบลคลองโยง และ ตาบลมหาสวัสดิ์ ขึ้นเป็นกิ่งอาเภอศาลายาและได้ทารายงานเสนอต่อจังหวัดเพื่อเสนอต่อ กระทรวงมหาดไทยต่อไป พร้อมทั้งเตรียมหาพื้นที่เป็นที่ตั้งอาเภอไว้โดยร่วมกันบริจาคเงิน มากกว่า ๕ แสนบาท ซื้อพื้นที่ ๑๒ ไร่ ๓ งาน ๖๙ ตารางวา จากสานักงานทรัพย์สินส่วน พระมหากษั ต ริ ย์ ต่ อ มาในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ได้ ข อเปลี่ ย นเป็ น กิ่ ง อ าเภอพุ ท ธมณฑล กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้งเป็น กิ่งอาเภอพุทธมณฑล เมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ โดยใช้อาคารเรียนของโรงเรียนวัดสาลวันเป็นที่ว่าการกิ่งอาเภอชั่วคราว จนกระทั่ง สร้างอาคารที่ว่าการเสร็จในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ จึงย้ายมาอยู่และได้มีพระราชกฤษฎีกา ยกฐานะกิ่งอาเภอพุทธมณฑลขึ้นเป็น อาเภอพุทธมณฑล เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ เมื่อมีอาเภอพุทธมณฑล จึงมีหน่วยงานราชการอื่นๆ ที่ต้องบริการประชาชนในระดับ อาเภอเกิดขึ้นด้วย เช่น สถานีตารวจภูธร ไปรษณีย์ สาธารณสุข สานักงานการประถมศึกษา พัฒนาชุมชน โรงพยาบาลซึ่งบางแห่งมีอาคารสานักงานเป็นของตนเอง แต่บางอย่างก็ยังอาศัย ที่ว่าการอาเภออยู่


๓๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ที่ว่าการอาเภอพุทธมณฑล

๔๑) โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๓ เป็นความร่วมมือของ มหาวิทยาลัยมหิดลกับกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีวัตถุประสงค์จะให้เป็นโรงเรียนที่เตรียม นักเรียนสายวิทยาศาสตร์ให้กับทบวงมหาวิทยาลัย เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มความต้องการ นักวิทยาศาสตร์ในการพัฒนาประเทศในอนาคต มหาวิทยาลัยมหิดลได้อนุญาตให้ใช้พื้นที่ ก่ อ ตั้ ง โรงเรี ย นจ านวน ๒๕ ไร่ เปิ ด สอนระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ระยะแรกเรียนอยู่ที่วัดไร่ขิง เมื่ออาคารแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ จึงย้ายมาอยู่ที่ศาลายา ปัจจุบันมีนักเรียนจากทั่วประเทศมาเรียน นักเรียนมาเช่าหอพักอยู่ประจาในพื้นที่และใน โรงเรียน จึงเป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีส่วนผลักดันชุมชนให้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วมากขึ้น

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์

๔๒) การประกาศจั ด ตั้ ง สุ ข าภิ บ าลศาลายา หลั ง จากจั ด ตั้ ง เป็ น กิ่ง อาเภอแล้ ว กระทรวงมหาดไทย จึงได้ออกประกาศจัดตั้งสุขาภิบาลศาลายา กิ่งอาเภอพุทธมณฑล ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ ๑๐๙ ตอนที่ ๕๓ วันที่ ๒๒ เมษายน


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๓๑

พ.ศ. ๒๕๓๕ มีเนื้อที่ทั้งหมด ๑๓ ตารางกิโลเมตร ในเขตตาบลศาลายา ครอบคลุมพื้นที่หมู่ ๓, ๔, ๕ บางส่วน และ หมู่ ๖ ทั้งหมด หลังจากประกาศจัดตั้งแล้วจึงมีการเลือกตั้งกรรมการ สุขาภิบาลขึ้น ๙ คน แต่เนื่องจากตอนนั้นยังเป็นสุขาภิบาลที่มีรายได้น้อยกว่า ๕ ล้านบาท นายอาเภอหรือหัวหน้ากิ่งอาเภอจึงเป็นประธานคณะกรรมการสุขาภิบาลโดยตาแหน่ง ซึ่งเป็น เช่ น นี้ ม าจนกระทั่ ง ถึ ง ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ รายได้ เ กิ น เกณฑ์ ดั ง กล่ า ว เมื่ อ มี ก ารเลื อ กตั้ ง คณะกรรมการขึ้นใหม่ กรรมการที่ได้มาจึงสามารถเลือกกรรมการคนหนึ่งขึ้นมาเป็นประธาน ทาหน้าที่บริหารงานได้เอง ซึ่งผู้ที่ได้รับเลือกเป็นประธาน คือ นายเดชชัย ปริยพาณิชย์ และ ดารงตาแหน่งประธานสุขาภิบาลคนแรก

สานักงานสาธารณสุขอาเภอ

สถานีตารวจภูธร

๔๓) สถาบั นวิ ช าการทหารเรือชั้ นสู ง และกรมยุท ธศึก ษาทหารเรือ เป็ น ส่วน ราชการหนึ่งของกองทัพเรือ สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูงเดิมชื่อว่าโรงเรียนนายทหารเรือ และได้ เ ปลี่ ย นมาเป็ น สถาบั น วิ ช าการทหารเรื อ ชั้ นสู ง เมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ให้ เ ป็ น


๓๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

สถาบันการศึกษาชั้นสูงของกองทัพเรือ อยู่ในระดับเดียวกับสถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง และสถาบันวิชาการทหารอากาศชั้นสูง เดิมตั้งอยู่ในบริเวณพระราชวังเดิมในกรุงเทพมหานคร ย้ายมาอยู่ที่ศาลายาโดยซื้อที่ดินได้จานวน ๒๔๙ ไร่ เป็นเงิน ๑๐๙ ล้านบาท ในปีงบประมาณ ๒๕๓๑, ๒๕๓๒ และ ๒๕๓๔ วางศิลาฤกษ์ก่อสร้างอาคารเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ย้ายมาอยู่เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๕ และประกอบพิธีเปิดอาคารอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๖

สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง

ในบริเวณใกล้เคียงกันมี กรมยุทธศึกษาทหารเรือ ซึ่งเป็นอีกหน่วยงานหนึ่งของ กองทัพเรือที่เข้ามาสร้างและย้ายตามมาอยู่ในภายหลัง ทาหน้าที่ในการฝึกอบรมทหารเรือใน ระดับปฏิบัติการหลักสูตรต่างๆ

กรมยุทธศึกษาทหารเรือ

๔๔) ตั้งสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ศาลายา ส่ ว นหนึ่ ง ของที่ ดิ น วั ด บวรนิ เ วศ จานวน ๑๑๑ ไร่ ได้มอบหมายสถาบันการศึกษา คื อ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล แต่เดิมที่ บริเวณนี้ตั้งใจจะสร้างให้เป็นโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย แต่เนื่องจากถ้าใช้ชื่อดังกล่าวจะ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๓๓

ไม่สามารถขออัตราตาแหน่งใหม่ได้ต้องโอนอัตรามาจากที่เดิมทาให้มีบุคลากรไม่เพียงพอ จึง เปลี่ยนมาเป็นสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตศาลายา ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ ตาบลศาลายา เริ่ม รับนักศึกษาเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ปัจจุบันเป็นสถานศึกษาแห่งหนึ่งที่มีนักศึกษาจากชุมชนต่างๆ ในจั ง หวั ด นครปฐมมาเรีย นเป็ น จ านวนมาก เปิ ด เรีย นระดั บ ปวช. และปวส. จ านวน ๘ สาขาวิชา

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ศาลายา

๔๕) ตาบลและองค์การบริ หารส่วนตาบล ตาบลศาลายา ตาบลคลองโยง และ ตาบลมหาสวัสดิ์เป็นตาบลที่มีมาก่อนที่จะจัดตั้งขึ้นเป็นกิ่งอาเภอพุทธมณฑล โดยขึ้นอยู่กับ อาเภอนครชัยศรี ยกเว้นบางส่วนของตาบลศาลายาในบริเวณที่เป็นพุทธมณฑลขึ้นอยู่กับ อาเภอสามพราน ต่อมาเพื่อสะดวกในการปกครองจึงโอนมาขึ้นอยู่กับตาบลศาลายา หลังจาก ได้ ย กฐานะเป็ น อ าเภอแล้ ว ก็ มิ ไ ด้ เ ปลี่ ย นแปลงในเรื่ อ งของต าบลและเมื่ อ ประกาศใช้ พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ จึงยกฐานะตาบลเดิมมาเป็นองค์การ บริหารส่วนตาบล ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบลศาลายา องค์การบริหารส่วนตาบลคลอง โยง และองค์การบริหารส่วนตาบลมหาสวัสดิ์ และปฏิบัติหน้าที่พัฒนางานทุกด้านในท้องถิ่น สืบมาจนถึงปัจจุบัน ๔๖) ตั้งโรงพยาบาลพุทธมณฑล ตั้งอยู่ในหมู่ที่ ๑ ถนนศาลายา-นครชัยศรี ตาบล ศาลายา เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด ๑๐ เตียง สังกัดสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งก่อสร้างด้วยเงินงบประมาณของกระทรวง สาธารณสุข ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ จานวน ๑๓,๕๓๓,๐๐๐ บาท ในที่ดินนางม้วน สืบเผ่าพันธุ์ เป็นผู้ ถวายให้ เ ป็ น ที่ ธ รณี ส งฆ์ ข องวั ด สุ ว รรณาราม จั ง หวั ด นครปฐม โดยพระครู วิ ชั ย วุ ฒิ คุ ณ (หลวงพ่ อ ดี สุ ว รรโณ) อดี ต เจ้ า อาวาสเป็ น ผู้ อ นุ ญ าต เป็ น โครงการเฉลิ ม พระเกี ย รติ


๓๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉลองสิริราชสมบัติ ๕๐ ปี ของจังหวัดนครปฐม เริ่มเปิดบริการ ประชาชนอย่างเป็นทางการตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๘ ปัจจุบันมีนายแพทย์วั ฒนา เทียมปฐม เป็นผู้อานวยการโรงพยาบาล

โรงพยาบาลพุทธมณฑล

๔๗) ตั้ ง โรงพยาบาลศาลายา เป็ น โรงพยาบาลของเอกชน ตั้ ง อยู่ หมู่ ที่ ๕ ถนน ศาลายา-นครชัยศรี ตาบลศาลายา เป็นโรงพยาบาลเอกชนขนาด ๓๐ เตียง อยู่ในการควบคุม ของกระทรวงสาธารณสุข สร้างขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๕๓๗ เปิดบริการรักษาพยาบาลแก่ คนทั่วไป มีแพทย์และพยาบาลประจาหลายคน

โรงพยาบาลศาลายา

๔๘) ตั้งโรงพยาบาลตุลาการเฉลิมพระเกียรติ เป็นอาคาร “เฉลิมฉลองทรงครองสิริ ราชสมบั ติ ค รบ ๕๐ ปี ” ที่ ป ระทรวงยุ ติ ธ รรมจั ด สร้ า งขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๓๗ ตามมติ ของ อนุกรรมการจัดสร้างถาวรวัตถุเป็นการเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสมหามงคลสมัย ทรงครอง ศิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ในวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๓๕

จะให้เป็นสถานพยาบาลที่บริการแก่เด็กและเยาวชนในสถานพินิจบริการแก่ข้าราชการและ ลูกจ้างในกระทรวงยุติธรรมและประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณที่ใกล้เคียง โดยมีศาสตราจารย์ เริงธรรม ลัดพลี อธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลางเป็นประธานในการจัดสร้าง ในพื้ น ที่ ๕๕๐ ไร่ โดยคุ ณ หญิ ง สมนึ ก เปรมวั ฒ นะ บริ จ าค ๑๗๕ ไร่ คุ ณ หญิ ง สุ ภั ท รา ตันติพิพัฒนพงษ์ ซึ่งบริจาค ๑๐๐ ไร่ ที่ราชพัสดุ ๒๗๕ ไร่ โรงพยาบาลขนาด ๖๐ เตียง สูง ๕ ชั้น เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ เสร็จสมบูรณ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๑

โรงพยาบาลตุลาการเฉลิมพระเกียรติ

๔๙) ตั้งสถานฝึกอบรมเด็กและเยาวชนสิรินธร เป็นหน่วยงานราชการอีกแห่งหนึ่ง สังกัดกระทรวงยุติธรรม ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ในพื้นที่ ๓๓ ไร่ ๓ งาน ณ หมู่ที่ ๒ ตาบล คลองโยง โดยมีคุ ณหญิงสมนึก เปรมวัฒนะ และคุณหญิงสุภัทรา ตันติพิพัฒนพงษ์ เป็นผู้ บริจาค ต้องการให้เป็นสถานฝึกอบรมวิชาชาชีพต่างๆ แก่เยาวชนชายระหว่างอายุ ๑๔-๑๘ ปี หลักสูตรระยะ ๑ ปี

สถานฝึกอบรมเด็กและเยาวชนสิรินธร


๓๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

๕๐) ตั้งโรงเรียนกาจนาภิเษกวิทยาลัยนครปฐม (พระตาหนักสวนกุหลาบมัธยม) จัดตั้งขึ้นตามพระดาริขอสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่จะให้เป็น โรงเรียนมัธยมศึกษา เพื่อรองรับนักเรียนที่จะเรียนจบจากโรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบ โดยได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ล้ น เกล้ า ล้ น กระหม่ อ มพระราชทานที่ ดิ น ทรั พ ย์ สิ น ส่ ว น พระมหากษัตริย์ จานวน ๒๒ ไร่ ในเขตพื้นที่อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เป็นที่ตั้ง โรงเรียน จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ โดยมีนางสายพิณ มณีศรี ผู้อานวยการโรงเรียนสตรีวิทยา เป็นผู้รับผิดชอบในการดาเนินการประสานงาน โดยระยะแรกเจ้าอาวาสวัดไร่ขิงได้อนุญาตให้ โรงเรียนใช้สถานที่บริเวณวัดไร่ขิงที่เคยเป็นที่เรียนของโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์มาก่อน เป็น สถานที่เรียนชั่วคราวและย้ายมาเรียนในอาเภอพุทธมณฑลในปี พ.ศ. ๒๕๔๒

โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยนครปฐม (พระตาหนักสวนกุหลาบมัธยม)

๕๑) โรงพิมพ์มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย พื้นที่ส่วนที่เหลือจากการบริจาคให้ สถาบันการศึกษาต่างๆ ประมาณ ๑๖ ไร่ ๒ งาน ๗๒ ตารางวา ซึ่งแต่เดิมชาวบ้านเช่าอยู่หลาย ครัวเรือน ต่อมาวัดบวรนิเวศได้มอบให้เป็นสถานที่สร้างโรงพิมพ์มูลนิธิมหามงกุฏราชวิทยาลัย จึงได้เวนคืนที่จากชาวบ้านและก่อสร้างโรงพิมพ์ ปัจจุบันก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยและเปิ ด ดาเนินการแล้ว ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการพิมพ์หนังสือในกิจการของสงฆ์


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๓๗

โรงพิมพ์มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย

๕๒) ตั้งโรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบมหามงคล ตั้งอยู่หมู่ที่ ๕ ตาบลศาลายา เป็นสาขาของโรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ตามพระดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แต่ต่อมาที่ เดิ ม คั บ แคบไม่ ส ามารถขยายได้ จึ ง ได้ ม าตั้ ง ขึ้ น ที่ นี้ เริ่ ม ก่ อ สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ เปิ ด ดาเนินการสอนในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ รับนักเรียนชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษา ๕๓) ตั้งวิทยาลัยการอาชี พพุทธมณฑล เป็นสถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา ตั้งอยู่หมู่ที่ ๕ ตาบลคลองโยง จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ตามนโยบายการขยายโอกาสทาง การศึกษา เพื่อจัดสอนวิชาชีพต่างๆ ระดับ ปวช. ปวส. สาขาช่างยนต์ พาณิชยการและการ สอนวิชาชีพระยะสั้น รวมทั้งสอนวิชาชีพแก่นักเรียนในโรงเรียนขยายโอกาส รับนักเรียน นักศึกษาทั่วไป เริ่มรับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒

วิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล


๓๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

๕๔) ประกาศยกฐานะสุ ข าภิ บ าลขึ้ น เป็ น เทศบาลต าบล เมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ กระทรวงมหาดไทยได้ ป ระกาศยกฐานะสุ ข าภิ บ าลทั่ ว ประเทศขึ้ น เป็ น เทศบาลต าบล สุขาภิบาลศาลายาก็เป็นหนึ่งในจานวนนั้น โดยได้มีการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีขึ้น ได้นายพยุง เขียวคารพ เป็นนายกเทศมนตรีคนแรก

เทศบาลตาบลศาลายา

หมู่บ้านมหามงคล

นอกจากนี้ยังมี กองกากับการโรงเรียนตารวจนครบาล สถานีตารวจดับเพลงตลิ่งชัน และโรงเรียนช่างถมทอง เป็นหน่วยงานราชการอีกกลุ่มหนึ่งที่เพิ่งเข้ามาอยู่ในพื้นที่อาเภอ พุทธมณฑล บางหน่วยงานยังดาเนินการก่อสร้างไม่แล้วเสร็จโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่โฉนด ที่ดินหมายเลข ๘๕๘๖ ซึ่งเป็นที่ดินของสานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จานวน ๔๓๖ ไร่ ๑ งาน ๑๖ ตารางวา นั้น นอกจากให้สถาบันส่งเสริมงานสอบสวน จานวน ๒๓๔ ไร่ ๑ งาน ๑๖ ตารางวา แล้ว ยังแบ่งให้กองกากับการโรงเรียนตารวจนครบาล จานวน ๕๖ ไร่ สถานี ตารวจดับเพลิงตลิ่งชัน จานวน ๒๕ ไร่ โรงเรียนสวนกุหลาบมหามงคล ๒๕ ไร่ โรงเรีย น ช่างถมทอง จานวน ๓๐ ไร่ และหมู่บ้านมหามงคล ๕๔ ไร่ ด้วย หน่วยงานเหล่านี้จึงมีส่วน สาคัญที่ก่อให้เกิดพัฒนาการและเปลี่ยนแปลงในพื้นที่เป็นไปอย่างรวดเร็วขึ้น


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๓๙

๕๕)๓ ตั้งหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๔๑ - ๒๕๔๒ หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) โดยการบุกเบิกของ โดม สุขวงศ์ มีบทบาทอย่างสูงในการรักษาและรื้อฟื้น เรื่องราวของหนังไทยในวันวานให้กลับมาปรากฏ ผ่าน "พิพิธภัณฑ์ภาพยนตร์ไทย" ในอาคารสี เหลืองซึ่งจาลองแบบมาจากโรงถ่าย "ภาพยนต์เสียงศรีกรุง" โรงถ่ายระดับมาตรฐานแห่งแรก ของเมื อ งไทยในระยะแรกจั ด ตั้ ง เป็ น หอภาพยนตร์ แ ห่ ง ชาติ ต่ อ มาได้ ย กระดั บ เป็ น หอ ภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งหอภาพยนตร์ (องค์การ มหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๒ เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒ มีภารกิจในการเก็บรวบรวมและ การอนุรักษ์ฟิล์มหรือแถบแม่เหล็กบันทึกภาพ ตลอดจนสนับสนุนการศึกษาค้นคว้า ศึกษา วิจัย และร่วมมือกับต่างประเทศในการเก็บรวบรวมและการอนุรักษ์ภาพยนตร์

หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)

๕๖) ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย มหามกุ ฏ ราชวิ ท ยาลั ย ส่ ว นกลาง พ.ศ. ๒๕๔๘ พระเทพปริยั ติ วิ ม ล อธิ การบดี ม หาวิ ท ยาลั ย มหามกุฏราชวิ ท ยาลั ย ได้ รับ มอบหมายงาน ด าเนิ น การโครงการย้า ยมหาวิ ทยาลั ยมหามกุฏราชวิท ยาลัย ตั้ ง อยู่ เลขที่ ๒๔๘ หมู่ ที่ ๑ ถ.ศาลายา-นครชัยศรี ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม

ข้อความตั้งแต่ลาดับที่ ๕๕ เป็นต้นไปเขียนโดยผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อภิลักษณ์ เกษมผลกูล


๔๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

๕๗) ตั้งกาญจนาภิเษกวิทยาลัย ช่างทองหลวง จัดตั้งขึ้นตามแนวพระราชดาริใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่อง ในมหามงคลวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ทั้งนี้ โดยได้ รั บ พระราชทานพระบรมราชานุ ญ าตให้ ใ ช้ อ าคารเครื่ อ งสู ง เดิ ม อาคารที่ พั ก ข้าราชบริพารเดิม (อาคารเต๊ง) และอาคารโบราณข้างหมวด วรอาสน์เป็นอาคารเรียน รวม ๓ หลัง ในบริเวณพระบรมมหาราชวัง เปิดสอนเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๓๘ ระดับ ปวช. สาขาวิ ช าช่า งทองหลวง และสาขาวิช าวิ ท ยาการการเจี ย ระไนอั ญ มณี ในปี ง บประมาณ ๒๕๔๒ วิทยาลัยได้ขยายวิทยาเขตแห่งที่ ๒ ขึ้นในพื้นที่ ๑๖ ไร่ เลขที่ ๒๙๙/๑ หมู่ ๕ ตาบล ศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีอาคารรวม ๔ หลัง ประกอบด้วยอาคาร


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๔๑

อานวยการ อาคารเรียนและปฏิ บัติการพร้อมโรงอาหาร-หอประชุม และอาคารที่พักครู อาจารย์ เริ่ม เปิ ด ด าเนิ น การตั้ ง แต่ ปี การศึกษา ๒๕๔๕ การเปิ ด สอนระดั บ ปริญ ญาตรี ปี การศึกษา ๒๕๔๓ กระทรวงศึกษาธิการ อนุมัติเปิดสอนระดับปริญญาตรีสาขาวิชาช่างทอง หลวง โดยให้กาญจนาภิเษกวิทยาลัย ช่างทองหลวง เข้าร่วมเป็นศูนย์การเรียนของสถาบัน เทคโนโลยีปทุมวัน

กาญจนาภิเษกวิทยาลัย ช่างทองหลวง

๕๘) ตั้งสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วิทยาเขตศาลายา พ.ศ. ๒๕๕๑ สถาบันบัณฑิต พัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม เดิมตั้งอยู่บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) เชิง สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า ต่อมามีประกาศให้สถานที่ ตั้ง ย้ายไปอยู่อาเภอพุทธมณฑล โดยมี บทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ และ ช่ า งศิ ล ป์ ทั้ ง ไทยและสากล โดยที่ วิ ท ยาเขตศาลายานี้ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ของวิ ท ยาลั ย นาฏศิ ล ป์ คณะศิลปวิจิตร และสานักงานอธิการบดี


๔๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วิทยาเขตศาลายา

๕๙) ตั้งศูนย์สารนิเทศ สานักราชเลขาธิการ พ.ศ.๒๕๕๒ โดยย้ายมาจากที่ทาการ เดิมในพระบรมมหาราชวัง มาตั้งอยู่ ถนนศาลายา - บางภาษี ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ซึ่งโครงการศูนย์สารสนเทศ เป็นโครงการในดาริของสานักราชเลขาธิการ ที่จะ จัดทาสถานที่สาหรับจัดเก็บ เอกสารและหนังสือของกองต่างๆ รวมทั้งเป็นหอจดหมายเหตุ รวบรวมเอกสารสาคัญของสานักราชเลขาธิการ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมา โครงการ ประกอบด้วยส่วนเก็บเอกสารของกองต่างๆ ในสานักราชเลขาธิการ หอจดหมายเหตุที่เก็บ เอกสารสาคัญ ห้องเก็บผลิตภัณฑ์ของกองศิลปาชีพ ห้องสมุดบริการข้อมูลซึ่งเกี่ยวข้องกับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พระบรมวงศ์ และ พระราชกรณียกิจต่างๆ รวมทั้งห้องนิทรรศการเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๔๓

ศูนย์สารนิเทศ สานักราชเลขาธิการ

๖๐) น้ าท่ ว มใหญ่ พ.ศ. ๒๕๕๔ เกิ ด น้ าท่ ว มใหญ่ ทั่ ว ประเทศเรี ย กกั น ว่ า “มหาอุทกภัย” เกิดผลกระทบกับชาวอาเภอพุทธมณฑลเป็นอย่างมาก โดยเริ่มท่วมตั้งแต่ ปลายเดือนสิงหาคม และท่วมเต็มพื้นที่ในเดื อนพฤศจิ กายน ๒๕๕๔ สวนผลไม้ กล้วยไม้ นาข้าวและพื้นที่เกษตรต่างๆ เสียหายเป็นจานวนมาก ชาวบ้านส่วนใหญ่ต้องอพยพไปอยู่ใน ศูนย์พักพิงต่างๆ อาทิ ศูนย์พักพิงมหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์พักพิงมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ฯลฯ

ภาพเหตุการณ์น้าท่วม บริเวณหน้าสานักงานเทศบาลตาบลศาลายา


๔๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

๖๑) การเกิดห้างสรรพสินค้าในอาเภอพุทธมณฑล ในระยะเวลา ๗ ปีที่ผ่านมา (ปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๗) อาเภอพุทธมณฑลมีความเจริญมาโดยลาดับ สิ่งหนึ่งที่สะท้อนให้เห็น อย่างชัดเจนคือเกิดการลงทุนในธุรกิจการสร้างห้างสรรพสินค้า เริ่มต้น ด้วย บริษัท เอกชัย ดี ส ทริ บิ ว ชั่ น ซิ ส เทม จ ากั ด ผู้ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก ภายใต้ ชื่ อ “เทสโก้ โลตั ส ” โดยเปิ ด สาขาศาลายา เป็นอาคารสีเขียวแห่งที่ ๒ ของเทสโก้ โลตัส ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า ๓๘ ไร่ ด้วย เงินลงทุนกว่า ๘๐๐ ล้านบาท อาคารแห่งนี้ ประกอบไปด้วยสองแนวคิดหลัก คือ “อาคาร สีเขียว” และ “พลังงานสีเขียว” นั่นคือ เป็นอาคารที่อยู่สบาย ประหยัดน้า และพลังงาน (ใช้พลังงานทดแทน เพื่อลดสภาวะโลกร้อน) ปลอดสารพิษ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมีพิธี เปิด เทสโก้ โลตัส สาขาศาลายา อย่างเป็นทางการ เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑

ห้างสรรพสินค้า เทสโก้ โลตัส

ภายหลังต่อมาเกิดการสร้างสาขาของห้างร้านขนาดใหญ่ที่จาหน่ายวัสดุอุปกรณ์ ก่อสร้างและตกแต่งบ้าน คือ “ไทวัสดุ” และ “HomePro” สะท้อนให้เห็นถึงการเติบโตของ ชุมชน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในอาเภอพุทธมณฑล นอกจากนี้ต่อมายัง ได้เกิดแหล่งสรรพสินค้าขนาดกลางขึ้น เป็นศูนย์รวมอาหารและการจับจ่ายอีก ๒ แห่ง คือ “The Salaya Mall” และ “The Brio”


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๔๕

ห้างสรรพสินค้าในอาเภอพุทธมณฑล


๔๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ปั จ จุ บั น เกิ ด ห้ า งสรรพสิ น ค้ า ใหญ่ ขึ้ น อี ก ๒ แห่ ง ในเวลาใกล้ เ คี ย งกั น คื อ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลศาลายา และ ห้างแมคโคร ศาลายา โดยห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัล ศาลายา พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ฯ เสด็ จเป็นการส่วนพระองค์ เป็นประธานใน พิธีเปิด โดยมีผู้บริหาร บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จากัด (มหาชน) เฝ้ารับเสด็จ เมื่อวันที่ ๑๕ สิ ง หาคม ๒๕๕๗ เป็ น ศูน ย์ การค้า แห่ ง ที่ ๒๕ ของซี พี เอ็ น ไลฟ์ ส ไตล์ ช้ อปปิ้ ง เซ็ น เตอร์สุ ด อลังการที่คัดสรรสิ่งที่ดีที่สุดและครบครันที่สุดไว้ในที่เ ดียว ด้วยมูลค่าโครงการกว่า ๓,๙๐๐ ล้านบาท บนที่ดินกว่า ๗๐ ไร่ โครงการมีขนาดใหญ่ถึง ๑๘๐,๐๐ ตร.ม.

ห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๔๗

ส่ ว นแมคโคร สาขาศาลายา มี พิ ธี เ ปิ ด กิ จ การอย่ า งเป็ น ทางการ เมื่ อ วั น ที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นสาขาลาดับที่ ๖๘ ตั้งอยู่เลขที่ ๘๗/๑๘ หมู่ที่ ๓ ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

ห้างแมคโคร สาขาศาลายา


๔๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๔๙

มหาสวัสดี: ๑๕๐ ปี มหานทีพระราชทาน๔ อภิลักษณ์ เกษมผลกูล๕ หลักฐานทางโบราณคดีที่ขุดพบในบริเวณใกล้เคียงกับคลองมหาสวัสดิ์ อาทิ ซาก หอยกาบเดี่ยว หอยสองฝา หอยตะเกียง หอยเม่น หอยนางรมยักษ์ อายุราว ๕,๐๐๐ ปี เป็น ประจักษ์พยานสาคัญที่ทาให้นักโบราณคดีสันนิษฐานว่าบริเวณแถบนี้น่าจะเคยเป็นท้องทะเล กว้างใหญ่มาก่อน ๖ นอกจากนี้ในหลักฐานจากแผนที่ในภาพดาวเทียมที่แสดงร่องรอยทะเล โคลนตมเมื่อ ๕,๐๐๐ – ๓,๐๐๐ ปี มาแล้ว ยังพบว่าในพื้นที่บริเวณจังหวัดนครปฐมตั้งอยูบ่ นที่ ดอนขอบทะเลโคลนตม ต่อมาโคลนตมถมทับเป็นดอนขึ้น แล้วจึงมีบ้านเมืองขึ้นราวหลัง พ.ศ. ๑๕๐๐๗

สถานที่ก่อสร้างมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศาลายา บริเวณที่ค้นพบซากดึกดาบรรพ์อายุกว่า ๕,๐๐๐ ปี (ภาพจากเว็บไซต์มหามกุฎราชวิทยาลัย)

อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. (๒๕๕๓). มหาสวัสดี ๑๕๐ ปี มหานทีพระราชทาน. หน้า ๑ – ๕๘. ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ป ระจ าสาขาวิ ช าภาษาไทย คณะศิ ล ปศาสตร์ และคณบดี ค ณะศิ ล ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๖ วัฒนา ตันเสถียร, นักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณีวิทยา, สัมภาษณ์. อ้างใน สุจิตต์ วงษ์เทศ. “พุทธ มณฑล เมื่อ ๕,๐๐๐ ปี เป็นทะเลโคลนของสุวรรณภูมิ ” คอลัมน์สยามประเทศไทย. มติชน. ฉบับวันที่ ๒๑ พ.ค. ๒๕๕๐ ๗ สุจิตต์ วงศ์เทศ. กรุงเทพฯ มาจากไหน?. อ้างใน สุจิตต์ วงษ์เทศ. “พุทธมณฑล เมื่อ ๕,๐๐๐ ปี เป็น ทะเลโคลนของสุวรรณภูมิ” คอลัมน์สยามประเทศไทย. มติชน. ฉบับวันที่ ๒๑ พ.ค. ๒๕๕๐ ๔ ๕


๕๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ซากดึกดาบรรพ์ที่ขุดพบบริเวณใกล้เคียงกับคลองมหาสวัสดิ์ (ภาพจากเว็บไซต์มหามกุฎราชวิทยาลัย)

ต่ อมาพื้ น ที่ บ ริเวณนี้ ไ ด้ พัฒ นาการขึ้น จนกลายเป็ นแผ่ นดิ น รวมถึง มี แหล่ ง น้ าจืด เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งจากหลักฐานประวัติศาสตร์พบว่า คลองโยง นับเป็นคลองเก่าแก่รุ่น แรกๆ ของศาลายา มีมาก่อนขุด คลองมหาสวัสดิ์ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เป็นคลองที่เชื่อมแม่น้า เจ้าพระยากับแม่น้าท่าจีนให้ถึงกัน และเป็นเส้นทางสัญจรที่สาคัญระหว่างชุมชนริมฝั่งแม่น้า เจ้าพระยาในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กับชุมชนริม ฝั่งแม่น้าท่าจีนในพื้นที่นครปฐม สันนิษฐาน ว่าคลองโยงเดิมก็คือ หนทางบกที่ใช้สัญจรทั่วไป มีทั้งเกวียน วัว ควาย ผู้คนเดินไปมาประจา แต่เมื่อนานเข้าหนทางจึงลึกลงและกว้างออก ครั้นถึงฤดูฝนมีน้าขังเป็นช่วงๆ และพัฒนาการ ต่อมาจนกระทั่งต้องใช้เรือในการสัญจร แต่ถ้าเรือใหญ่หรือหนักเกินไปก็ต้องใช้ควายลากโยง ไปบนตลิ่งทาให้ไม่ต้องหาบสัมภาระ เมื่ อถึงหน้าแล้งจึงใช้เดินได้อีก แต่เมื่อคลองลึกมากขึ้น น้าจากแม่น้าไหลเข้าคลอง แม่น้ามีน้าขึ้นน้าลง จึงต้องใช้เรือโยงควายเกือบตลอดปี ซึ่งการ เกิด คลองในกรณี เช่นนี้มีปรากฏในหลาย พื้ น ที่ ของภาคกลาง เช่ น ทางเกวี ยนที่ใช้สัญจร ระหว่างตาบลคลองจินดากับเมืองราชบุรีซึ่งเป็นเส้นทางหลักที่ใช้มาแต่โบราณ จนกระทั่งทาง ลึกมากขึ้น มีน้าขัง พอถึงหน้าฝนต้องใช้เรือแทนเกวีย นซึ่งปัจจุบันยังเป็นทางน้าอยู่ แต่กรณี คลองโยงได้รับการขุดลอกให้เป็นคลองที่ลึกและใช้เดินทางได้สะดวกตลอดปีในสมัยต่อมา แต่ ไม่สามารถระบุได้ว่า คลองโยง เกิดใน พ.ศ. ใด ยุคใด๘ เอี่ยม ทองดี และคณะ. “โครงการสร้างองค์ความรู้ท้องถิ่นพุทธมณฑล เรื่องพลังประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ต่อการพัฒนาชุมชน อาเภอพุทธมณฑล จังหวั ดนครปฐม”. อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ นายถาวร เทียมปฐม เป็นกรณีพิเศษ ณ ฌาปนสถานวัดสุวรรณาราม ตาบลศาลายา อ าเภอพุทธมณฑล จั งหวัดนครปฐม ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๕. หน้า ๕๕. ๘


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๕๑

แผนที่แสดงที่ตั้งเมืองนครชัยศรีโบราณ ในสมุดภาพไตรภูมิสมัยกรุงศรีอยุธยา


๕๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

หลักฐานทางประวัติศาสตร์เริ่มค่อยๆ ปรากฏชัดขึ้น เมื่อภายหลังจากที่สมเด็จเจ้าฟ้า มงกุฎ (ภายหลังเสวยราชย์เป็นรัชกาลที่ ๔) ทรงออกผนวชในสมัยรัชกาลที่ ๓ และได้เสด็จฯ ธุดงค์ไปค้นพบองค์พระปฐมเจดีย์ ทรงมีพระราชดาริว่าเป็นสถานที่ที่น่าศรัทธาเลื่อมใสและมี ประวัติความเป็นมาน่าสนใจ จึงกราบบังคมทูลเสนอให้รัชกาลที่ ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๗ - ๒๓๙๔) ทรงปฏิ สั งขรณ์ แต่ ยั ง ไม่ ทันได้ ดาเนินการพระบาทสมเด็ จ พระนั่ งเกล้าเจ้ าอยู่ หัวก็เสด็จสู่ สวรรคาลัยเสียก่อน การค้น พบพระปฐมเจดีย์ในครั้งนั้น เป็นผลให้เจ้านายเชื้อพระวงศ์ ตลอดจนผู้ดี ขุนนางในพระนคร ศรัทธาที่จะเดินทางไปนมัสการ ในปีพระพุทธศักราช ๒๓๗๗ รัชกาล พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท ต้น ราชสกุล สนิทวงศ์ เป็นหนึ่งในจานวนเจ้ านายที่เสด็จไปนมัสการพระปฐมเจดีย์ด้วยเช่นกัน และทรงพระนิพนธ์วรรณคดีเรื่อง โคลงนิราศพระประธม ด้วย เนื้อความทรงกล่าวถึงการ เสด็ จ ไปนมั ส การพระปฐมเจดี ย์ โดยใช้ เ ส้ น ทางทางน้ า ออกจากพระนครทางคลอง บางกอกน้อย คลองบางใหญ่ เนื่องจากครั้งนั้นทางราชการยังไม่ได้ขุด คลองมหาสวัสดิ์ ต่อมา ในปี พระพุทธศักราช ๒๓๘๕ ในรัชกาลเดียวกัน พระสุนทรโวหาร (ภู่) หรือ สุนทรภู่ แต่ง นิราศพระประธม ในคราวที่เดินทางไปนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์เช่นกัน นิราศเรื่องนี้ทาให้ ทราบว่า คลองโยงเป็นเส้นทางสาคัญสายหนึ่งซึ่งคนในสมัยนั้นทราบดีและใช้สัญจรกั นมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากการค้นพบองค์พระปฐมเจดีย์แล้วคงจะมีผู้คนเดินทางไปนมัสการ องค์พระปฐมเจดีย์มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ ดังปรากฏความว่า ที่ริมคลองสองฝั่งเขาตั้งบ้าน ถึงชะวากปากช่องชื่อคลองโยง มีบ้านช่องสองฝัง่ ชื่อบางเชือก ที่เรือน้อยลอยล่องค่อยคล่องไป

น่าส้าราญเรียงรันควันโขมง เป็นทุ่งโล่งลิบลิ่วหวิวหวิวใจ ล้วนตมเปือกเปอะปะสวะไสว ที่เรือใหญ่โป้งโล้งต้องโยงควาย

ในช่วงเวลาไล่เลี่ยกัน สุนทรภู่ ก็ได้เดินทางไปเมืองสุพรรณบุรี ความปรากฏในนิราศ ว่าไปหาแร่ ทานองว่าจะเล่นแร่แปรธาตุ ในคราวนั้นได้แต่งนิร าศไว้เรื่องหนึ่งคือ โคลงนิราศ สุพรรณ เนื้อความในนิราศตอนหนึ่งได้กล่าวถึง คลองโยง คลองสาคัญของบ้านศาลายาไว้ด้วย


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๕๓

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะทรงศีล


๕๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

สภาพคลองโยงในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ พระพุทธศักราช ๒๓๘๖ หมื่นพรหมสมพัตสร (มี) เดินทางไปนมัสการพระแท่นดงรัง เนื่องจากในอดีตเมื่อถึงเทศกาลออกพรรษาประชาชนจากกรุงเทพมหานครจะใช้คลองโยงเป็น เส้นทางไปนมัสการพระแท่นดงรัง ในครั้งนั้นนายมีได้แต่ง นิราศพระแท่นดงรัง บรรยาย สภาพภูมิประเทศและสภาพสังคมที่เดินทางผ่าน และได้บันทึกเหตุการณ์เมื่อไปนมัสการ พระแท่นดงรังไว้รวมถึงกล่าวถึงคลองโยงไว้เช่นกัน ในเวลาต่อมา เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต เจ้าฟ้าชาย มงกุฎจึงเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๙๔ ครั้นถึงปี พ.ศ. ๒๓๙๖ พระองค์จึงทรงให้บูรณปฏิสังขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์พร้อมกับ ให้ขุด คลองเจดีย์บูชาขึ้นด้วยซึ่งเป็นพลังสาคัญที่ส่งผลหลายด้านแก่ชุมชนในพื้นทีอ่ าเภอพุทธมณฑล ในสมัยต่อมา


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๕๕

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทาน “คลองมหาสวัสดิ์”


๕๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระปฐมเจดีย์ในสมัยรัชกาลที่ ๕


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๕๗

ในรัช กาลพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่ หัว พระองค์ไ ด้ เสด็จ ฯ ไปนมัสการ องค์พระปฐมเจดีย์หลายครั้ง ปรากฏความในพระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่๔ ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ฯ (ขา บุนนาค) ว่า ...ครั้น ณ วันอังคารเดือนห้าขึ้นห้าค่้า ปีมะเมียสัมฤทธิศก พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว เสด็ จ โดยทางพยุ ห ยาตราทางชลมารคขึ้ น ที่ วั ด ไชยพฤกษมาลา ด้วยครั้งนั้นคลองมหาสวัสดิ์คลองเจดีย์บูชายังขุดไม่แล้ว... เส้นทางเสด็จพระราชดาเนินในครั้งนั้น คือจากวัดชัยพฤกษมาลา ตรงไปงิ้วราย การ ที่ทรงเลือกใช้เส้นทางนี้เนื่องจากเส้นทางดังกล่าวนี้สั้นกว่าการเดินทางผ่านคลองโยง แต่ก็ตอ้ ง ทรงล าบากมากเพราะเส้ น ทางทุ รกัน ดารนั ก อย่ า งไรก็ต ามเส้ น ทางเสด็ จ ฯ ในครั้ง นั้ น ได้ กลายเป็นเส้นทางแนวเดียวกับแนวการขุดคลองมหาสวัสดิ์ในสมัยต่อมา กาเนิดคลอง “มหาสวัสดี” “คลองโยง” เป็นเส้นทางเดินเรือสายหลักในการสัญจรระหว่างแม่น้าเจ้าพระยากับ แม่น้าท่าจีนมาจนกระทั่งปีพระพุทธศักราช ๒๔๐๐ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ มหาโกษาธิบดี (ขา บุนนาค) เมื่อครั้งยัง เป็น เจ้าพระยารวิวงศมหาโกษาธิบดี ขุดคลองมหาสวัสดิ์ ความปรากฏในพระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ฯ (ขา บุนนาค) ว่า ขุดคลองมหาสวัสดิ์ ในปีนั้น โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เจ้าพระยารวิวงษมหาโกษาธิบดี พระศิริ สมบัติ จ้างจีนขุดคลองขึ้นต้าบลหนึ่ง ตั้งแต่วัดไชยพฤกษมาลา ตลอดออกริมศาลเจ้า สุบินตกแม่น้าเมืองนครไขยศรี ได้ลงมือขุดเมื่อณ วันพุฒเดือนสิบแรมหกค่้า* คลอง ยาวหกร้อยเจ็ดสิบหกเส้น กว้างเจ็ดวา ลึกหก ศอก สิ้นพระราชทรัพย์กับเงินมรฎก  

ตรงกับวันที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ.๒๔๐๑ ตรงกับวันที่ ๙ กันยายน พ.ศ.๒๔๐๐


๕๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ท้าวเทพอากรก้านัลตลาด เมื่อถึงแก่ก้าม์บุตรหลานไม่สามัคคีพร้อมเพรียงกัน ทรัพย์ มรฎกเป็ น ความกัน เมื่ อครั้ง แผ่ น ดิ น พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หัว ทรง พระราชด้าริห์ว่า ท้าวเทพอากรมั่งมีก็เพราะท้าตลาด บุตรหลานจะมาแย่งกันมรฎ กมากนักไม่ชอบ จึงโปรดให้เจ้าพนักงานพระคลังมหาสมบัติ ไปขนเอาเงินมาไว้ใน พระคลังพันชั่ง ผู้คนข้าทาสทรัพย์สิ่งของที่เหลืออยู่ ก็โปรดให้แบ่งปันกันตามผู้ใหญ่ ผู้น้อย ครั้นมาถึงแผ่นดินปัตยุบันนี้ จึงพระราชทานเงินรายนี้เป็นค่าแรงจีนขุดคลอง ไม่พออยู่ร้อยชั่ง โปรดให้จัดเงินพระคลังมหาสมบัติอีกชั่งสิบต้าลึงนั้น ของเจ้าพระยา ระวิวงษมหาโกษาธิบดีธารณะ รวมเป็นเงินพันร้อยเอ็จชั่งสิบต้าลึงรวมทั้งคลองเก่า ด้วยแปดเส้นเป็นหกร้อยแปดสิบสี่เส้น ขุดตลอดไปถึงล้าแม่น้านครไชยศรี เมื่อ ณ วันพฤหัศบดี เดือนหก แรมสิบสามค่้า ปีวอก โทศก ประทานชื่อ คลองมหาสวัสดิ์ คลองมหาสวัสดิ์เป็นคลองขุดขนาดกว้างเจ็ดวา ลึกหกศอก ยาว ๒๗ กิโลเมตรเศษ เริ่มต้นจากคลองบางกอกน้อยริมวัดชัยพฤกษ์มาลา ไปออกแม่น้าท่าจีนตรงบริเวณเหนือศาล เจ้าสุบิน ตาบลงิ้วราย อาเภอนครชัยศรี ชาวบ้านบ้างเรียก คลองขุด บ้างเรียก คลองขุด ชัยพฤกษ์ ขุดเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๐๓ หมดเงินค่าจ้างขุดไปทั้งสิ้น ๑,๑๐๑ ชั่ง ๑๐ ตาลึง (ซึ่ง เป็นเงินที่ตกทอดมาจากสมัยรัชกาลที่ ๓ จานวน ๑,๐๐๐ ชั่ง และเป็นเงินพระคลังมหาสมบัติ ๑๐๐ ชั่ง และเป็นเงินธารณะ๙ ของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ มหาโกษาธิบดี จานวน ๑ ชั่ง ๑๐ ตาลึง ทุกระยะ ๔ กิโลเมตร มีการสร้างศาลาไว้ริมคลอง ซึ่งต่อมาเรียกชื่อต่างๆ ออกไป เช่น ศาลาธรรมสพน์ (เดิมเขียนว่า ศาลาทาศพ เพราะเป็นศาลาที่ตั้งศพเพื่อทาพิธีฌาปนกิจ ต่อมา หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ เห็นว่า ไม่เป็นมงคล จึงเปลี่ยนเป็น ธรรมสพณ์ มาจาก ธรรมสรพณ์ – สฺรวณ แปลว่าการฟัง) ศาลายา (อยู่บริเวณหมู่ที่ ๓ ตาบลศาลายา ปัจจุบัน) ศาลากลาง ศาลาดิน เป็นต้น คนที่มาขุดส่วนใหญ่เป็นคนจีนปกครองโดยราชวงศ์แมนจู คนจีนจึงถูกกดดัน จนต้องเดินทางออกนอกประเทศเป็นจานวนมาก และเข้ามาเมืองไทยตรงกับสมัยรัช กาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ซึ่งพระองค์ทรงเปิดโอกาสให้คนจีนเข้าประเทศได้ โดยเก็บภาษีคนต่างด้าว ผู้ที่เสียภาษีแล้วจะ “ผูกปี้” ไว้ที่มือ จากนั้นก็สามารถเดินทางไปรับจ้างทางานได้ทั่ว ราชอาณาจักรและกลายเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศในระยะนั้น ทั้งนี้เพราะคนไทย ในสมัยนั้นยังตกอยู่ในระบบไพร่ที่ต้องเกณฑ์แรงงานประจาปี จะเดินทางไปรับจ้างหรือทา

เงินจบทาบุญที่ให้แก่ภกิ ษุหรือ บุคคลใด ๆ เพื่อนาไปใช้เป็นการกุศล


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๕๙

การค้าขายไกลภูมิลาเนาไม่ได้ ในการขุดคลองมหาสวัสดิ์นั้นผู้เฒ่าแก่ในพื้นที่เล่าสืบต่อกันมา ว่า คนจีนเปลือยกายขุดดินกินข้าวต้มจมโคลนตม น่าเวทนายิ่งนัก๑๐ อย่างไรก็ตามคนจีนส่วนหนึ่งที่อพยพมาในรุ่นนี้ก็ได้ตั้งรกรากลงหลักปักฐานอาศัยอยู่ ริม ๒ ฝั่งคลองมหาสวัสดิ์ ต่อมาภายหลังประกอบอาชีพด้วยความวิริยะ จนสามารถกลายเป็น เจ้าของที่ดินได้ในที่สุด นอกจากนี้ เ หตุ ผ ลส าคั ญ ในการขุ ด คลองมหาสวั ส ดิ์ ปรากฏชั ด อยู่ ใ น พระ ราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสมณฑลราชบุรี ร.ศ. ๑๒๘ ว่า “เพื่อใช้เป็นเส้นทางหลักในการเสด็จพระราชด้าเนินไปพระปฐมเจดีย์และเป็นคลอง เปิดที่ให้เป็นนาส้าหรับแจกพระเจ้าลูกยาเธอ” ส่วนที่ปรากฏอยู่ในอักขรานุกรมภูมิศาสตร์ ไทย (เล่ม ๔ หน้า ๑๑๗๔) ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒ ปี พ.ศ. ๒๕๒๑) ว่า “เป็นคลองส้าหรับเสด็จ พระราชด้าเนินไปพระปฐมเจดีย์ โดยไปต่อคลองเจดีย์บูชาและเปิดที่สองฝั่งซึ่งเป็นป่าพงที่ ว่างให้เป็นนามีประตูน้าและประตูระบายน้​้าฉิมพลีทางด้านคลองขุดห่างจาก ปากคลองเข้า มา ๘ กิโลเมตร และประตูน้ามหาสวัสดิ์ที่ปากคลองด้านแม่น้านครชัยศรี ห่างจากสถานีงิ้วราย ไปทางทิศตะวันออกไป ๑ กิโลเมตร” อย่ า งไรก็ ต ามคลองนี้ จั ด ว่ า เป็ น เส้ น ทางล าเลี ย งสิ น ค้ า ที่ ส าคั ญ ระหว่ า งแม่ น้ า เจ้าพระยากับแม่น้าท่าจีนมาเป็นเวลานาน สินค้าส่วนใหญ่ ได้แก่ ข้าว อ้อยและน้าตาล ซึ่ง ผลิตได้จากพื้นที่ลุ่มน้านครชัยศรี มีโรงงานน้าตาลและโรงสีมาตั้งบริเวณริมแม่น้านครชัยศรี หลายโรงและสิ่งเหล่านี้เป็นสินค้าออกที่สาคัญด้วย สอดคล้องกับคาบอกเล่าของคนเฒ่าแก่ใน พื้นที่ว่า แต่เดิมคลองมหาสวัสดิ์มีเรือใหญ่ผ่านเข้าออกอยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรือบรรทุก ข้าว อ้อย และน้าตาล ในเวลาภายหลังจากขุดคลองมหาสวัสดิ์เสร็ จได้ไม่นาน คือหลัง พ.ศ. ๒๔๐๓ กวีคน สาคัญอีกท่านหนึ่ง คือ หลวงจักรปาณี (ฤกษ์) หรือ มหาฤกษ์ ได้แต่ง นิราศพระปฐม ท่านได้ เดินทางผ่านคลองมหาสวัสดิ์และบันทึกว่าตลอดลาคลองมีศาลาอยู่ ๗ ศาลา ห่างจากกันเท่าๆ กัน แต่ดูเหมือนสมัยนั้นแต่ละศาลายังไม่ มีชื่อ คงได้แต่เรียกว่ าศาลาสอง ศาลาสาม มีศาลา เดี ย วที่ เรีย กชื่ อคือศาลากลางซึ่ง มี ชื่อนี้ม าจนปัจ จุ บัน นอกจากนี้ ยั งกล่ าวว่า โดยบอกว่ามี คนมอญอยู่ที่บริเวณนั้นด้วยบันทึกนี้เป็นเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ประการหนึ่ง ดังความ ตอนหนึ่งว่า

๑๐

เอี่ยม ทองดี และคณะ. เรื่องเดิม. หน้า ๕๖-๕๗.


๖๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ถึงคลองมหาสวัสดีนี้มีใหม่ ไม่มีใครร้องเรียกส้าเหนียกนาม จนเลยศาลาสองยิ่งหมองไหม้ กับบ่าวไพร่ศิษย์หาสี่หา้ คน ………………………………………. จนถึงศาลากลางไม่สร่างร้อน ให้จอดพักหยุดร่มพอลมชาย พวกเรือจอดทอดอยู่แลดูถม ที่พึ่งจอดทอดเสือกผู้เชือกโยง นางสาวมอญหนึ่งนั้นดูขนั เหลือ แต่ผ้านุง่ น่องถกขึ้นปกท้อง

แต่ตามในล้าคลองได้ร้องถาม จะหาความทีป่ ระกอบไม่ชอบกล ระก้าใจอ้างว้างมากกลางหน มักซุกซนสารพัตรจะขัดเชิง ……………………………………….. เด็กๆ อ่อนหน้านิ่วหิวกระหาย ตะวันบ่ายคล้อยงามสักสามโมง บ้างหุงต้มพร้อมกันควันโขมง โดดน้า้ โพล่งด้าว่ายเป็นก่ายกอง ยุดแคมเรือนอนหงายว่ายตุบป่อง เด็กมันร้องนั่นแน่แลทมึน

พระราชทานนาม “มหาสวัสดี” ต่ อ มาในปี พ ระพุ ท ธศั ก ราช ๒๔๐๕ หลั ง จากที่ ขุ ด คลองเสร็ จ แล้ ว ๒ ปี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อคลอง ที่ขุดใหม่ว่า “มหาสวัสดี” เพื่อให้คู่กันกับคลอง “เจดียบูชา” ดังความปรากฏในหมายรับสั่ง รัชกาลที่ ๔ ดังนี้ อนึ ง เพลาบ่ า ย ๔ โมงเสท นายนอยต้ า รวจวั ง มาสั ง วา ด้ ว ย เจาพระยารวิวงษมหาโกษาธิบดีรับพระบรมราชโองการไสเกลาฯ ทรงพระ กรรุณาโปรฏเกล้าฯ ด้ารัษเหนือเกล้าสังวาคลองวัดไชยพฤกษมาลาขุดทลุ ออกไปล้าแม่น้าเมือง ณคอรไชศรีนั้น ยังหาไดพระราชทานชื่อคลอง บัดนี พระราชทานชือวา คลองมหาสวัสดีจะไดคูกันกับคลองเจดีย


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๖๑

สาเนาต้นฉบับตัวเขียนหมายรับสั่งรัชกาลที่ ๔ เรื่อง พระราชทานชื่อคลองมหาสวัสดี และคลองเจดีย์บชู า ปัจจุบนั เก็บรักษา ณ ฝ่ายเอกสารโบราณ สานักหอสมุดแห่งชาติ


๖๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ภาพคลองต่างๆ จากกรุงเทพฯ ถึงเมืองนครไชยศรี ส่วนหนึ่งของแผนที่เมืองนครศรีธรรมราช อายุราวก่อนสมัยรัชกาลที่ ๔ (ภาพจากหนังสือ “Royal Siamese Maps” by Santanee phasuk and Philip Stott)


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๖๓

“สวัสดิ์” แห่ง “สวัสดิ์” ในนาม “มหาสวัสดี”๑๑ “มหาสวัสดี” อันเป็นนามพระราชทานนั้น มาจาก คา “มหา” มาจากภาษาบาลี หมายถึง ใหญ่ ยิ่งใหญ่๑๒ สมาสกับคา “สวัสดี” มาจากภาษาบาลี (สฺวสฺติ) และภาษาสันสกฤต (โสตฺถิ) หมายถึง ความดี ความงาม ความเจริญรุ่งเรือง ความปลอดภัย ๑๓ รวมความแล้ว “มหาสวัสดี” จึงหมายถึง ความเจริญรุ่งเรืองยิ่ง ความหมายของ “มหาสวัสดี ” ข้างต้น สันนิษฐานว่าเกี่ยวข้องกับความ “สวัสดี” ๓ ประการหลัก คือ ๑. ความ “สวั ส ดี ” อั น เกิด จากการที่ เมื่ อคลองนี้ ขุด สาเร็จแล้ว จะเป็ น เส้นทาง คมนาคมที่สาคัญที่ไม่เพียงใช้เป็นเส้นทางสัญจรของราษฎรเท่านั้น หากแต่ยัง เป็นเส้นทางลาเลียงขนส่งสินค้าอีกด้วย ส่งผลให้เศรษฐกิจของชาติก้าวหน้าขึ้น ด้วย ๒. ความ “สวัสดี” อันเกิดจากการที่เมื่อขุดคลองนี้สาเร็จแล้ว คลองนี้จะกลายเป็น แหล่ ง ชลประทานส าคั ญ ของท้ อ งถิ่ น ส่ ง ผลให้ ส องฟากฝั่ ง คลองเกิ ด พื้ น ที่ เกษตรกรรมมากขึ้น ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของราษฎรที่จะดีขึ้นมาตามลาดับ ๓. ความ “สวัสดี” อันเกิดจากการที่เมื่อคลองนี้ขุดสาเร็จแล้ว จะเชื่อมต่อรับกับ คลองเจดีย์บูชา ซึ่งเป็นเส้นทางการไปนมัสการพระปฐมเจดีย์ ซึ่งจะทาให้การ เดินทางไปประกอบการกุศลดังกล่าวเป็นไปด้วยความสะดวก สนองศรัทธา พุทธศาสนิกชน จากข้อสันนิษฐานข้างต้นจะเห็นได้ว่านามพระราชทาน “มหาสวัสดี” มีความหมาย ลึกซึ้งเกี่ยวพันกับความเจริญก้าวหน้าของบ้านเมือง ซึ่งแฝงไปด้วยพระมหากรุณาธิคุณอย่าง เปี่ยมล้น

ในหัวข้อนี้ผู้เขียนได้รับความกรุณาและคาแนะนาเป็นอย่างดีจาก อาจารย์วิกัลย์ พงศ์พนิตตานนท์ งาน จดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ผู้เขียนขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาส นี้ ๑๒ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์, ๒๕๔๖. หน้า ๘๓๘. ๑๓ เรื่องเดิม. หน้า ๑๑๔๓. ๑๑


๖๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

“ท้าวเทพอากร (มั่ง)” คือใคร? ในคราวที่ ขุ ด คลองมหาสวั ส ดิ์ เ มื่ อ พ.ศ. ๒๔๐๐ ดั ง มี เ นื้ อ ความปรากฏอยู่ ใ น พระราชพงศาวดารกรุง รัต นโกสิ นทร์ รัช กาลที่ ๔ ฉบั บ เจ้ า พระยาทิ พากรวงศ์ฯ (ขา บุนนาค) นั้น มีเนื้อความตอนหนึ่งกล่าวถึง “ท้าวเทพอากร” ซึ่งเป็นเจ้าของทรัพย์ส่วนหนึ่งที่ นามาใช้ในการขุดคลองมหาสวัสดิ์ ดังนี้ ... สิ้นพระราชทรัพย์กับเงินมรฎกท้าวเทพอากรก้านัลตลาด เมื่อถึงแก่ก้าม์ บุตรหลานไม่สามัคคีพร้อมเพรียงกัน ทรัพย์มรฎกเป็นความกัน เมื่อครั้งแผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชด้าริห์ว่า ท้าวเทพอากรมั่งมีก็ เพราะท้าตลาด บุตรหลานจะมาแย่งกันมรฎกมากนักไม่ชอบ จึงโปรดให้เจ้า พนักงานพระคลังมหาสมบัติ ไปขนเอาเงินมาไว้ใน พระคลังพันชั่ง ผู้คนข้าทาส ทรั พ ย์ สิ่ ง ของที่ เ หลื อ อยู่ ก็ โ ปรดให้ แ บ่ ง ปั น กั น ตามผู้ ใ หญ่ ผู้ น้ อ ย ครั้ น มาถึ ง แผ่นดินปัตยุบันนี้ จึงพระราชทานเงินรายนี้เป็นค่าแรงจีนขุดคลองไม่พออยู่ร้อย ชั่ ง โปรดให้ จั ด เงิ น พระคลั ง มหาสมบั ติ อี ก ชั่ ง สิ บ ต้ า ลึ ง นั้ น ของเจ้ า พระยา ระวิวงษมหาโกษาธิบดีธารณะ รวมเป็นเงินพันร้อยเอ็จชั่งสิบต้าลึง ... “ท้าวเทพอากร” ที่กล่าวถึงข้างต้นนี้ คือ ท้าวเทพอากร (เงิน) กานันตลาดแขวงเมือง นนทบุรี ที่ปรากฏเรื่องราวอยู่ใน ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ เรื่อง พระราชกระแสเลิกเก็บ อากรตลาดเปลี่ ย นเป็ น เก็บ ภาษี โ รงร้า นเรื อ แพ ณ วั น ศุกร์ เดื อน ๘ ขึ้ น ๑ ค่า ปี ม ะเมี ย สัมฤทธิศก มีเนื้อความดังนี้ ... ว่ า อากรเก็บ ตลาดกรุง เทพมหานคร แลเมื องนนทบุรี เป็ น นายอากร เดี ย วกั น มาแต่ ก่ อ น แต่ ค รั้ ง ท้ า วเทพทากร ท้ า วเงิ น ท้ า มาครั้ น ท้ า วเทพทากร ท้าวเงินถึงแก่กรรมลง ในปลายแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยู่หัว จึง พระเจ้ า หลานเธอ พระองค์เจ้ าโสมนัสวัฒนาวดี กราบทูล ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอให้นิ่มบุตรพระพิทักษ์ทศกรท้าต่อมาได้สองปี ครั้นล่วง แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มาในแผ่นดินพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวนี้ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าโสมนัสวัฒนาวดี นั้ น


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๖๕

ได้สมมัตยาภิเษกเป็นสมเด็จ พระนางเธอ เป็นใหญ่ในฝ่ายข้างใน สมเด็จพระนาง เธอ ทรงขัดเคืองแก่นิ่มมาตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคตแล้ว นิ่มหานับถือในพระเดชพระคุณไม่ จึงได้กราบทูลขอถอดนิ่มออกเสียจากที่ ก้านัน ตลาด แล้วทูลขอตั้งท่านจัน ภรรยาพระศรีไชยบาน เป็นที่ก้านันตลาดต่อมา ท้า จ้านวนเงินอากรตลาดกรุงเทพมหานคร แลอากรตลาดเมืองนนทบุรี ตามจ้านวน ซึ่งท้าวเทพทากร ท้าวเงิน ท้ามาแต่ก่อนนั้นไม่มีจ้านวนประมูลเลยทั้งสองครั้ง ท่ า นจั น ภรรยาพระศรีไชยบานท้า อากรมาตั้ งแต่ ปีชวด จั ต วาศก จนปี ม ะเส็ง นพศก หกปี เงิ น อากรค้ า งทั บ งวดทั บ ปี ม าเป็ น อั น มาก จึ ง พระเจ้ า ลู ก ยาเธอ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร พระยาราชภักดีศรีรัตนราชสมบัติ พระยาพิพิธโภไคย ศวรรย์ จมื่นศรีสรรักษ์ แลเจ้าพนักงานกรมสรรพากรปรึกษาเห็นพร้อมกัน เห็นว่า จะให้ท่านจัน ท้าต่อไปมิได้ จึงได้ไปคิดอ่านกับพระยาพิศาลศุภผล ให้แต่งให้หญิง คนหนึ่ง ชื่อเขียนเป็นก้านันตลาด หลวง บริบูรณสุรากรเป็นผู้เข้าส่วน ท้าตาม จ้ า นวนเดิ ม ทั้ ง กรุงเทพมหานครแลเมื องนนท์ สองราย ครั้น จั ด แจงกัน แล้วเจ้า พนักงานทั้งปวง จึงได้น้าความขึ้นกราบทูลพระกรุณา ขอพระราชทาน ตั้งเขียน เป็นตัวก้านันตลาด ตั้งแต่ปีมะเมีย สัมฤทธิศกนี้ไปฯ จากประกาศข้างต้น จะเห็นว่า ยายเงิน หรือท้าวเทพอากร (เงิน) นั้นเป็น กานัน ตลาดนนทบุรี ภายหลังเสียชีวิตในสมัยรัชกาลที่ ๓ จากนั้น พระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี ขณะนั้นดารงพระยศเป็นพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าราเพย ได้ขอพระราชทานให้ นิ่ม เป็น กานันตลาดแทน ซึ่งในขณะนั้น พี่ชายของหม่อมงิ้ว ๑๔ คือ พระยาราชภักดีศรีรัตนสมบัติบวร พิริยพาหะ (ทองคา สุวรรณทัต) มีศักดิ์เป็นพระมาตุลา (ลุง) ในพระนางราเพย ดูแลหน่วยงาน ที่เก็บอากรอยู่ และครั้งนั้นยังโปรดให้สารวจอากรเดินสวนในท้องที่กรุงเทพฯ และนนทบุรี ด้ ว ย ซึ่ ง นิ่ ม นี้ สั น นิ ษ ฐานว่ า อาจเป็ น ญาติ ของหม่ อมงิ้ ว ก็เป็ น ได้ ดั ง นั้ น จึ ง อาจเป็ น ไปได้ ว่ า

หม่อมงิ้ว เป็นพระมารดาในสมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี และเป็นหม่อมในพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าลักขณานุคุณ พระราชโอรสพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังได้หม่อมงิ้วได้รับสถาปนาเป็น เจ้าจอมมารดา ตามประวัติว่าหม่อมงิ้วเป็นธิดาของนายทองสุขกับคุณทองจันทร์ พี่ชายคนโตได้รับราชการได้เป็น พระยาราชภัก ดีศ รี รั ต นสมบั ติ บ วรพิ ริ ย พาหะ (ทองค า สุ ว รรณทั ต ) เมื่ อ สมเด็ จ พระนางเจ้ า โสมนั สวั ฒนาวดี สิ้นพระชนม์แล้ว เจ้าจอมมารดางิ้วได้ลาออกจากพระบรมมหาราชวังมาอยู่กับพระราชภักดีฯ เล่ากันว่าทรัพย์สมบัติ มากมายถึงต้องใช้เรือเอี้ยมจุ้นบรรทุก (ประวัติต้นสกุล สุวรรณทัต) ๑๔


๖๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ท าให้ ก ารขุ ด คลองมหาสวั ส ดิ์ ส าเร็ จ ด้ ว ยดี อาจจะได้ รั บ ความช่ ว ยเหลื อ จาก นายอากรนิ่ม ที่ดูแลอยู่ด้วยก็เป็นได้ ที่นาพระราชมรดก สิ่งที่เป็นผลประโยชน์จากการขุดคลองมหาสวัสดิ์ที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กับประโยชน์ ในการสัญจรและการดาเนินการค้าก็คือ เป็นการเปิดทางที่นาที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้ า อยู่ หั ว ทรงจั บ จองที่ ดิ น สองฝั่ ง คลองมหาสวั ส ดิ์ พ ระราชทานแก่ พ ระราชโอรสและ พระราชธิดา และให้จัดทาผังระวางที่ดินขึ้น แบ่งที่ดินออกเป็นแปลงๆ มีทั้งหมด ๔๗ แปลง รวมเนื้อที่กว่าสองหมื่นไร่ เพื่อแบ่งให้กับพระราชโอรสและพระราชธิดาทุกพระองค์ โดยให้ เจ้าหน้าที่ที่เรียกว่า “นายกอง” คอยดูแลเก็บผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น ซึ่งจากหลักฐานข้อนี้แสดง ให้เห็นว่าทุ่งศาลายาหรือพื้นที่ใกล้เคียงดังกล่าวนี้ในสมัยนั้นยังไม่มีการจับจองหรือตั้งถิ่นฐาน ทั่วไปและหากจะพิจารณาขอบเขตของพื้นที่จับจองที่ปรากฏในระวางที่ดินจะสังเกตได้ว่า บริเวณที่เป็นคลองโยงในปัจจุบันน่าจะมีการตั้งถิ่นฐานจับจองที่ดินไว้ก่อนแล้ ว ระวางที่ดิน บริเวณนั้นจึงไม่เป็นเส้นตรงเช่นด้านอื่นๆ ปีพระพุทธศักราช ๒๔๐๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงประกาศ ร่างพระราชหัตถเลขาพระราชทานนาพระเจ้าลูกเธอ ในบริเวณคลองมหาสวัสดิ์ ดังปรากฏใน หนังสือ ประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔ ความว่า ประกาศร่างพระราชหัตถเลขาพระราชทานนาพระเจ้าลูกเธอ (ณ วันพฤหัสบดี เดือน ๑๑ ขึ้น ๖ ค่า ปีระกา ตรีศก) สมเด็ จ พระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้ า เจ้ า กรุง สยาม ซึ่ ง เป็ น พระเจ้าแผ่นดินที่ ๔ ในพระบรมมหาราชวงศ์ปัจจุบันนี้ ขอประกาศแก่ชนที่ควร จะรู้ค้าประกาศนี้ว่า ที่ท้องทุ่งริมคลองขุดใหม่ตั้งแต่บางขวางไปออกบ้านงิ้วราย นั้น เป็นแขวงเมืองนนทบุรี เมืองนครไชยศรี เดิมรกร้างว่างเปล่าอยู่หามีผู้เป็น เจ้ า ของไม่ ครั้น เมื่ อขุด คลองตลอดไปแล้ ว ข้า พเจ้ า ได้ สั่ ง เจ้ า พระยารวิ ว งศ์ มหาโกษาธิบดีที่พระคลัง ผู้เป็นแม่กองขุดคลองให้จับที่ร้างว่างเปล่านั้นเป็นที่นา อยู่ในแขวงเมืองนนทบุรีฝั่งเหนือ ๑๖๒๐ ไร่ อยู่ในแขวงเมืองนครไชยศรีฝั่งเหนือ ๙๓๙๖ ไร่ ฝั่งใต้ ๕๑๘๔ ไร่ รวมเป็นที่นา ๑๖๒๐๐ ไร่ แบ่ง ๕๐ ส่วน ได้ส่วน


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๖๗

ละ ๓๒๔ ไร่ เป็นที่นายาว ๖๐ เส้น กว้าง ๕ เส้น ๘ วา ที่นาทั้งปวงนี้เพราะไม่มี เจ้าของมาแต่เดิม เป็นที่จับจองของข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าขอยกส่วนที่ว่านั้นส่วน หนึ่งส่วนหนึ่งให้บุตรชายหญิงของข้าพเจ้า คนละส่วนบ้าง สองส่วนบ้างให้เป็นที่ ให้บ่าวไพร่ไปตั้งท้านาหรือจะให้ผู้อื่นเช่าก็ตาม ส่ ว นหนึ่ ง ซึ่ ง จะมี ส้ า คั ญ ด้ ว ยหนั ง สื อ พิ ม พ์ ฉ บั บ นี้ ข้ า พเจ้ า ยอมยกให้ ...................... ให้ ......................... จงเอาหนังสือพิมพ์ฉบับนี้ไปเป็นส้าคัญแล้ว ขอให้เจ้าพระยารวิวงศ์มหาโกษาธิบดี น้าข้าหลวงไปรังวัดแล้วท้าตราแดงให้เป็น ส้าคัญ ตามอย่างธรรมเนียมแผ่นดินเมืองเถิด นาจับจองใหม่ ไม่มีค่านาในก้าหนดตามประกาศแต่ก่อนแล้ว แต่นารายนี้ ถ้ายังเป็นของ ............... อยู่ตราบใด ไม่ได้ขายไม่ได้ยกให้ผู้อื่นไป ข้าพเจ้าผู้มี อ้านาจแต่ท่านเสนาบดียอมไว้ให้ยกค่านาให้แก่นาของผู้ใดๆ ตามชอบใจได้นั้น ขอยกค่านาให้แก่............... ผู้เป็นเจ้าของนาไปกว่าจะต้ องท้า ตราแดงใหม่ ภายหลังตราแดงในครั้งนี้ ประกาศไว้ วันพฤหัสบดี เดือนสิบเอ็ด ขึ้นหกค่้า ปีระกา ตรีศก ศักราช ๑๒๒๓ ในรัชกาลปัจจุบันนี้

ทุ่งนาบริเวณคลองมหาสวัสดิ์ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓


๖๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

แผนที่นาคลองมหาสวัสดีที่หลวงไกรมอบให้แก่ขุนนิคมศาลาฌาปนะ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๖๙

การพระราชทานที่นาสองฝั่งคลองให้พระราชโอรสและพระราชธิดาเพื่อทาเป็นที่นานัน้ ไม่ได้ผลสาเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายเอาไว้ เพราะเจ้านายที่ได้รับพระราชทานยังทรงพระเยาว์อยู่ มาก ไม่สามารถดูแลได้ต้องปล่อยให้ผู้จัดการ หรือผู้ที่ทานาทากันไปตามใจชอบ ในเวลานั้น คนท านาก็ มี น้ อ ย ที่ ร กร้ า งว่ า งเปล่ า มี ม าก ผู้ ที่ ท านาก็ ท าพอก าลั ง ของตนไม่ เ ต็ ม เนื้ อที่ ที่ พระราชทาน ทั้งๆ ที่พระองค์ยกเว้นค่านาให้ตลอดไปจนกว่าจะต้องทาตราแดงใหม่ ดังความ ว่า ...มีพระราชประสงค์ทรงแสดงไว้ในประกาศนี้ว่า ถ้าและที่นารายนี้ยังเปนของ ผู้รับพระราชทานอยู่ตราบใด โปรดเกล้าฯ ยกค่านาพระราชทานแก่พระองค์นั้น ไปกว่าจะต้องท้าตราแดงใหม่...๑๕ อนึ่ง ที่นาในพื้นที่ศาลายานั้นปรากฏหลักฐานว่า นายพันตรีหลวงพิทักษ์ ภูเบนทร์ (แป้น ยงใจยุธ) เป็นนายกองเก็บผลประโยชน์ในที่นาของเจ้าฟ้า ๕ พระองค์ ในรัชกาลที่ ๔ มี พระนามดังนี้ ๑. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ (ภายหลัง คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ๒. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี (ภายหลัง คือ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระจักรพรรดิพงศ์) ๓. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังสีสว่างวงศ์ (ภายหลัง คือ จอมพล สมเด็จพระราชปิ ตุลาบรมพงศาภิมุข กรมพระยาภานุพันธุ วงศ์วรเดช) ๔. พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้ากรรณิกาแก้ว (ภายหลัง คือ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนขัตติยกัลยา) ๕. พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าจิตรเจริญ (ภายหลัง คือ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์)

หจช. ร.๕ กษ. ๓.๓/๓๑ รายงานกราบบังคมทูลของกรมพระยาดารงราชา- นุภาพ เสนาบดี กระทรวงมหาดไทยต่อรัชกาลที่ ๕ . ๑ มิถุนายน ร.ศ.๑๒๒ (พ.ศ. ๒๔๔๖) ๑๕


๗๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระนามเจ้าของที่ดิน แขวงเมืองนครไชยศรี แปลงที่

เจ้าของนา ไร่

ฝั่งเหนือ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓

กรมหลวงดารงราชานุภาพ กรมหมื่นสวัสดิ์วัฒนวิสิษฐ์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชเทวี สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ กรมหลวงเทวะวงษ์วโรประการ กรมหมื่นนราธิปประพันธุ์พงษ์ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา กรมขุมสมมต่อมรพันธุ์ กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา พระนางเจ้าสุขุมาลย์มารศรี พระองค์เจ้าบุษบงเบิกบาน พระองค์เจ้านารีรัตนา พระองค์เจ้ากาญจนากร กรมหมื่นสรรพสาตรศุภกิจ กรมหลวงประจักษศิลปาคม กรมหมื่นพงษาดิศรมหิป พระองค์เจ้ากนกวรรณเลชา กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร พระองค์เจ้าศรีนาคสวาด พระองค์เจ้าโสมาวดี พระองค์เจ้าวานีรัตนกัญญา พระองค์เจ้าประภัศร พระองค์เจ้ามัณฑารพรัตน์ หลวงมหาดไทยนครไชยศรี พระองค์เจ้าดารงฤทธิ์ กรมหมื่นมรุพงษ์ศิริพฒน์ พระองค์เจ้าอนงค์นพคัณ กรมสมเด็จพระบาราบปรปักษ์ สมเด็จกรมพระจักรพรรติพงษ์ สมเด็จกรมพระภาณุพันธุวงษ์วรเดช เจ้าฟ้ากรมขุนขัติยกัลยา เจ้าฟ้ากรมขุนนริศรานุวัติวงษ์

๖๑๓ ๒๙๙ ๓๐๙ ๓๐๙ ๓๐๘ ๓๑๓ ๔๘๓ ๔๔๓ ๔๕๕ ๓๕๙ ๓๔๖ ๓๙๐ ๓๔๑ ๓๔๖ ๓๖๗ ๓๖๔ ๓๖๙ ๓๙๒ ๓๔๙ ๓๖๖ ๓๘๐ ๓๔๕ ๓๕๔ ๓๖๔ ๒๗๖ ๓๒๑ ๓๑๗ ๓๑๗ ๕๙๐ ๔๓๖ ๒๒๓ ๘๘ ๓๙

เนื้อนา งาน ๑ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๒ ๒ ๓ ๓ ๒ ๓ ๓ ๑ ๒ ๒ ๑ ๑ ๓ ๓ ๒ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๓ ๐ ๒ ๑ ๓ ๓ ๑

อธิบาย วา ๗๒ ๖๐ ๔๐ ๕๖ ๘๔ ๖๔ ๖๐ ๓๒ ๒๔ ๖๔ ๗๖ ๖๔ ๙๒ ๓๒ ๗๒ ๖๘ ๙๒ ๔๘ ๐๐ ๗๖ ๘๘ ๖๔ ๙๒ ๓๖ ๖๔ ๑๒ ๔๐ ๘๘ ๖๘ ๑๖ ๐ ๒๐ ๖๐

เดิม ๒ เจ้าของซื้อรวมเป็นเจ้าของเดียว เดิมเป็นนาแปลงเดียวกัน แบ่งปันในคราวนี้

เดิมจะเป็นของ พระองค์เจ้าเจริญรุ่งราษี

ยังมีที่ ยังมีที่ ยังมีที่ ยังมีที่

๑ ๒ ๓ ๔

แขวงเมืองนนทบุรี แขวงเมืองนนทบุรี แขวงเมืองนนทบุรี แขวงเมืองนนทบุรี


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๗๑ ฝั่งใต้ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗

พระองค์เจ้าอุนากันอนันตนรไชย พระองค์เจ้าปัญจบเบ็ญจมา กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส กรมหมื่นพรหมวรานุรักษ์ พระองค์เจ้าภักตร์พิมลพรรณ นาหลวง พระองค์เจ้าศรีพัฒนา กรมหมื่นภูธเรศธารุงศักดิ์ พระองค์เจ้ากาพย์กนกรัตน์ พระองค์เจ้าเสมอสมัยหรรษา กรมหมื่นวิศณุนารถนิภาธร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระองค์เจ้าอรุณวดี กรมหลวงนเรศร์วรฤทธิ์

๒๙๗ ๒๙๗ ๒๘๓ ๒๕๒ ๓๓๗ ๓๒๕ ๔๐๔ ๓๓๗ ๓๓๖ ๒๙๙ ๔๖๖ ๑๘๙๖ ๒๔๓ ๒๐๙

๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๑ ๐ ๒ ๒ ๐ ๐

๙๒ ๒๐ ๗๒ ๗๒ ๖๔ ๒๔ ๘๐ ๓๖ ๕๒ ๒๐ ๑๖ ๗๖ ๘๘ ๑๒

รวมกับของสมเด็จกรมหลวง วิสุทธิกระษัตรี ยังมีที่ ๑๓ แขวงเมืองนนทบุรี ยังมีที่ ๑๔ แขวงเมืองนนทบุรี

อย่างไรก็ดี แนวพระราชดาริเรื่องการพระราชทานที่นาเป็นที่พระราชมรดกนี้ได้ สื บ ทอดมาถึงพระบาทสมเด็ จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้ าอยู่ หัวด้ ว ย ดั ง ความปรากฏในหนังสือ ประวัติกระทรวงเกษตราธิการ ว่า ในคราวขุดคลองทวีวัฒนาทรงให้กาหนดเขตที่ดินไว้ดังนี้ “ในศก ๑๒๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ก้าหนดเขตร์ที่ดินไว้ฝั่งละ ๔๐ เส้น” เช่นเดียวกับ คลองนราภิรมย์ที่ทรงกาหนดเขตไว้เช่นกัน “ครั้นต่อมา ณ ปีกุนพศก จุลศักราช ๑๒๔๙ ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ก้าหนดเขตร์ที่ดินไว้ฝั่งละ ๔๐ เส้น” เรื่ อ งที่ น าในคลองมหาสวั ส ดิ์ นี้ ภ ายหลั ง ในสมั ย รั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ความปรากฏว่ามีการรุกล้าก้าวก่ายกัน จนเป็นเหตุให้ต้องมีการ ปักปันเขตแดนที่นาในเวลาต่อมา ดังปรากฏในเอกสาร หจช. ก.ร.๕ ค/ ๓๒ เรื่องที่นาใน คลองมหาสวัสดิ์ (๒๖ – ๒๙ ธันวาคม ร.ศ.๑๑๘) ดังนี้ ที่ ๘๖/๑๐๗๗

ห้องกรมพระคลังข้างที่ วันที่ ๒๖ ธันวาคม รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๘ ขอเดชะ ฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ด้ ว ยที่ น าในคลองมหาสวั ส ดี แ ขวงเมื อ งนครไชยศรี ส่ ว นซึ่ ง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแก่พระราชโอรสพระราชธิดา เปนส่ ว นๆ ซึ่ ง บั ด นี้ ต่ า งท้ า รุ ก ล้​้ า ก้ า วก่ า ยซึ่ ง กั น แลกั น ตามที่ พ ระเจ้ า น้ อ งยาเธอ


๗๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

กรมหลวงด้ารงราชานุภาพเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยได้น้าความกราบบังคมทูล พระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท แลทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน กระแสพระราชด้าริห์ให้ข้าพระพุทธเจ้าออกใบแจ้งความทูลไปยังท่านผู้เปนเจ้าของที่ นานั้นๆ เปนการหาฤๅเพื่อการที่จะโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพนักงานออกไปรางวัดปักปัน เขตรแดนให้เปนหลักฐานตรงตามส่วนเดิม โดยพระราชประสงค์จะมิให้เปนเหตุ วิวาทกันต่อไปนั้น ข้าพระพุทธเจ้าได้ออกใบแจ้งความทูลไปยังท่านผูเ้ ปนเจ้าของทีน่ า ทั้ ง ปวงอั น อยู่ ใ นเขตรแขวงนครไชยศรี แ ลได้ รั บ ตอบเห็ น ชอบโดยกระแส พระราชด้าริห์ทุกประการพร้อมกันแล้ว เพราะฉะนั้นจึงขอพระราชทานน้าความ กราบบังคมทูลพระกรุณาทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ณ บัดนี้ ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ข้าพระพุทธเจ้า สมมตอมรพันธ์ ขอเดชะ ภายหลั ง ที่ ส มเด็ จ พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพั น ธ์ กราบบั ง คมทูล รายงานแล้ว จึงมีรับสั่งถึงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ความ ปรากฏดังนี้ ที่ ๑๒๙/๑๑๘๖ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท วันที่ ๒๘ ธันวาคม รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๘ ถึงกรมหลวงด้ารงราชานุภาพ ตามที่เธอได้น้าความมาบอกคราวหนึ่งเรื่องที่นา ในคลองมหาสวัสดี แขวงเมืองนครไชยศรี ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่เจ้านายที่เป็นพระราชโอรสแลพระราชธิดาว่า ผู้ที่ให้ไปท้าต่างท้ารุก ล้​้าก้าวก่ายซึ่งกันแลกัน ฉันได้สั่งกรมหมื่นสมมตอมรพันธุ์ ให้บอกเจ้านายพี่น้ อง บรรดาที่เปนเจ้าของนาว่า จะให้มีพนักงานออกไปตรวจรางวัดปักปันเขตรแดนให้ เปนหลักฐาน เพื่อจะกันมิให้เปนทางวิวาทต่อไป บัดนี้เจ้าของที่นาเหล่านั้นมีความ ยินดีเต็มใจเห็นชอบพร้อมกันแล้ว ให้เธอสั่งข้าหลวงมณฑลนครไชยศรีให้จักพนักงาน ไปตรวจรางวัดปักปันเขตรให้เป็นที่เรียบร้อย อย่าให้ที่จะก้าวก่ายรุกล้​้ากันต่อไป


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๗๓

จาก “มหาสวัสดี” ถึง “ทวีวัฒนา” และ “นราภิรมย์” ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ข้าวกลายเป็นสินค้าสาคัญของ ประเทศ การขุดคลองจะทาให้เกิดการขยายพื้นที่ ทานามากขึ้น และเป็นการระบายน้าเข้าสู่ ผืนดิน ดังพระราชดาริว่า ...การขุดคลอง เพื่อจะให้เป็นที่มหาชนทั้งปวงได้ไปมาอาศัยและเป็นทางที่จะให้ สินค้าได้บรรทุกไปมาโดยสะดวก ซึ่งให้ผลแก่การเรือกสวนไร่นา ซึ่งจะได้เกิดทวีขึ้น ในพระราชอาณาจักร เปนการอุดหนุนการเพาะปลูกในบ้านเมือง ให้เจริญวัฒนา ยิ่งขึ้น...๑๖ ด้ ว ยเหตุ ดั ง นี้ ใ นบริ เ วณพื้ น ที่ ศ าลายาและบริ เ วณใกล้ เ คี ย งจึ ง เกิ ด คลองขุ ด ใหม่ เพิ่มเติมจากคลองโยง และคลองมหาสวัสดิ์ ที่มีอยู่เดิม คลองที่ขุดเป็นคลองแรก ได้แก่ คลอง ทวีวัฒนา หรือที่เรียกกันว่า คลองขวาง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรด เกล้าฯ ให้เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) เป็นแม่กองจ้างชาวจีนขุดเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๒๐ เพราะคลองมหาสวัสดิ์และคลองภาษีเจริญตื้นเขิน เนื่องจากคลองทั้งสองสายนี้เชื่อมแม่น้าท่า จีนกับแม่น้าเจ้าพระยาเข้าด้วยกัน เวลาน้าขึ้นกระแสน้าจากแม่น้าทั้งสองสายจึงไหลเข้าคลอง ทั้งสองทั้งทางต้นคลองและปลายคลอง เป็นที่ชนกันบริเวณกลางๆ จึงเป็นเหตุให้คลองตื้นเขิน ขึ้นทุกปี เป็นอุปสรรคในการสัญจร จึงแก้ปัญหาโดยการขุดคลองทวีวัฒนาบริเวณกิโลเมตรที่ ๒ ของคลองภาษีเจริญฝั่งเหนือ ไปยังคลองมหาสวัสดิ์ ขนาดคลองกว้าง ๔ วา ลึก ๔ ศอก ยาว ๓๔๐ เส้น ขุดเสร็จใน พ.ศ. ๒๔๒๑ สิ้นเงินค่าจ้างขุด ๒๗,๒๐๐ บาท๑๗ อย่างไรก็ตามทุนที่ใช้ในการขุดคลองสายนี้ ราษฎรช่วยเสียค่าขุดคลองไร่ละ ๑ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๒๗,๒๐๐ บาท เท่ากับค่าใช้จ่ายในการขุดคลองสายนี้พอดี ซึ่งหมายถึงว่า รัฐบาลขุดคลองสายนี้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเลย เพียงแต่จัดการกะแนวว่าจะขุดคลองที่ไหน เท่านั้น นับว่ารัฐบาลได้ประโยชน์ ๒ ประการด้วยกัน คือ มีคลองเพิ่มขึ้นโดยไม่ ต้องออก

เสถียร ลายลักษณ์,ร.ต.ท. และคนอื่นๆ. “ประกาศเรื่องอนุญาตขุดคลอง” ประชุมกฎหมายประจาศก เล่ม ๑. มปท., ๒๔๗๘. หน้า ๘ ๑๗ เจ้าพระยาวงศานุประพันธ์. ประวัติกระทรวงเกษตราธิการ. มปท. , ๒๔๘๔. หน้า ๑๔๒ – ๑๔๓. ๑๖


๗๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ค่าใช้จ่ายและเก็บภาษีเงิน ค่านาได้เพิ่มขึ้นจากพื้นที่นาที่เปิดใหม่นั้น ซึ่งการที่ราษฎรช่วยเสีย ค่าขุดคลองนี้ คลองทวีวัฒนา ถือเป็นคลองแรก

แผนที่อาเภอนครไชยศรี จังหวัดนครปฐม กรมแผนที่ทหารสารวจเมื่อ พ.ศ.๒๔๕๗ พิมพ์เผยแพร่ พ.ศ. ๒๔๖๙ ด้านบนแสดงคลองมหาสวัสดิ์และทางรถไฟในบริเวณพื้นที่ตาบลศาลายา


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๗๕

คลองมหาสวัสดิ์ ที่หน้าวัดสุวรรณ สายน้าที่หล่อเลี้ยงชาวศาลายามาไม่น้อยกว่า ๑๐๐ ปี


๗๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

อนึ่ง เมื่อการขุดคลองแล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ แม่กองขุดคลองทวีวัฒนา เป็นประธานเปิด คลอง และทารายงานหรือที่เรียกว่า ริโปต (report) ถวาย ดังมีเนื้อความใน เอกสารจดหมาย เหตุ หจช. ม.ร. ๕ รล - พ.ศ. / ๒ ดังนี้ ๏ ข้ า พระพุ ท ธเจ้ า เจ้ า พระยาสุ ร วงษ์ ไ วยวั ฒ น์ ที่ ส มุ ห พระกะลาโหม ขอ พระราชทานกราบบั ง คมทู ล พระกรุ ณ า แด่ พ ระบาทสมเดจพระเจ้ า อยู่ หั ว ทราบฝ่าลอองธุลีพระบาท ด้วยคลองซึ่งข้าพระพุทธเจ้าขุด ตั้งแต่หลักสองฝั่งเหนือคลองภาษีเจริญไปออก คลองมหาสวัสดีฝั่งใต้ โปรดเกล้าพระราชทานฤกษ์ ข้าพระพุทธเจ้าไปเปิด ณ วันศุกร์ แรม ๑ ค่้า เดือน ๖ ปีขานสัมฤทธิ์ศกแล้ว พระราชทานชื่อคลอง ทวีวัฒนา

คลองทวีวัฒนาในปี พ.ศ. ๒๕๕๐


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๗๗

เมื่อเวลาเปิดคลองแล้ว ข้าพระพุทธเจ้าพิเคราะห์ดูทุ่งฝั่งเหนือ คลองมหาสวัสดี ฝ่ า ยตะวั น ออกมี ทิ ว ต้ น มะพร้ า ว ต้ น หมาก ฝั่ ง ตะวั น ตกคลองบางกอกน้ อ ย ฝ่ายตะวันตกมีทิวไผ่ต้นไม้ต่างต่างบ้าง ฝั่งตะวันออกล้าน้​้าเมืองนครไชยศรี ระหว่าง กลางเปนทุ่ ง กว้ า ง ข้า พระพุ ท ธเจ้ า ถามราษฎรชาย หญิ ง ได้ ความว่ า ทุ่ ง นาฝ่ า ย ตะวั น ออกพ้ น ทิ ว ต้ น มะพร้ า ว ต้ น หมาก ออกไปประมาณ ๔๐ – ๕๐ เส้ น ฝ่ า ย ตะวันตกมีทุ่งนาพ้นทิวไม้ออกมามากบ้างน้อยบ้าง ระหว่างกลางเป็นทุ่งหามีนาไม่ ตามล้าคลองโยงเก่าตื้นแห้ง เรือเดินไม่ได้ ข้ า พระพุ ท ธเจ้ า เห็ น ด้ ว ยเกล้ า ว่ า ฝั่ ง เหนื อ คลองมหาสวั ส ดี ต รงปากคลอง ทวีวัฒนาค่าม ถ้าขุดเปนล้าคลองไปออกล้า น้​้าเมืองนครไชยศรีแห่งหนึ่งแห่ง ใดได้ น้​้าจืดในล้าน้​้าเมืองสุพรรณบุรี ก็จ ะไหลเข้าคลองขุดใหม่ออกคลองมหาสวัสดีคลอง ทวีวัฒนาถึงคลองภาษีเจริญก็จะได้รับพระราชทานน้​้าจืดทั่วกัน ล้าคลองมหาสวัสดี ภาษีเจริญ น้​้าไหลแรง มูลดินก็จะไม่นอนคลองอยู่ได้คงจะฦก ข้าพระพุทธเจ้าจึงปฤกษาท่าน เจ้าพระยาภาณวงษ์มหาโกษธิบดีเหนว่า ถ้าขุด เปนล้ า คลองขึ้น ได้ เปนการดี ข้า พระพุ ท ธเจ้ า จึ่ ง ขอตราไปให้ พ ระยานครไชยศรี กรมการ น้ากับตันริจีลิวตรวจท้าริโปตแผนที่ล้าแม่น้าเมืองนครไชยศรี แลท้องทุ่ง ตั้งแต่ฝั่งเหนือคลองมหาสวัสดีไปออกต้าบลบ้านล้าพยาเปนระยะทางประมาณ ๕๔๐ เส้น ถ้าขุดเปนคลองขึ้นจะเกิดที่มาเปนประโยชน์แผ่นดินมากประมาณ เงินค่าจ้าง ๕๗๓ ชั่งเสศ ขอพระราชทานทูลเกล้าฯ ถวายริโปตแผนที่กับตันริจีลิว ควรมิควร แล้วแต่จะโปรดเกล้าฯ ขอพระราชทานกราบบังคมทูลกรุณามาณวันอังคาร ขึ้น ๑๑ ค่้า เดือน ๗ ปีขานสัมฤทธิศก ๑๒๔๐ ขอเดชะ (ลงชื่อ) เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ รายงานกัปตันเอเดอร์ริจีลิว ๏ ข้าพเจ้า กับตันเอเดอรีจีลิว ขอท้าริโปตเรียนท่านเจ้าพระยาสุรวงษไวยวัฒน์ ที่สมุหพระกะลาโหม ด้วย ณ วันที่ ๒๐ เดือนเม คฤสตศักราช ๑๘๗๘ ตรงกับวัน จันทร์ แรม ๔ ค่้า เดือน ๖ ปีขานสัมฤทธศก ตามค้าสั่งของเจ้าคุณ ข้าพเจ้าได้ออกไป ล้าแม่น้านครไชยศรี ไปตรวจตั้งแต่ ปากคลองมหาสวัสดี ตามล้าแม่น้าจนถึงบางปลา ไปดูต้าบลใดดีที่จะขุดคลองต่อคลองทวีวัฒนาไปออกล้าแม่น้านครไชยศรีข้างเหนือ ให้เกิดประโยชน์แก่แผ่นดินที่ว่างเปล่า แลทั้งจะให้น้าในคลอง มหาสวัสดี ทวีวัฒนา


๗๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ภาษีเจริญ มากขึ้น ข้าพเจ้าได้ไปตรวจดูตามล้าแม่น้าที่ว่ามาแล้ว แลทางบกตั้งแต่ คลองทวีวัฒนา ตามทางที่เหนควรจะขุดคลองจนถึงล้าแม่น้า บัดนี้ข้าพเจ้าได้กลับมาแล้ว ขอริโปตแก่เจ้าคุณว่า ตั้งแต่ปากคลอง มหาสวัสดี ล้าแม่น้านครไชยศรีขึ้นไปทางทิศเหนือตะวันตกประมาณ ๑๔ ไมล์ ในระยะนี้แม่น้า เบนไปข้างทิศตะวันออก ๔ แห่งที่ บางพระ บางขโมย ล้าพยา บางปลาสี แห่งหนึ่ง ใน ๔ แห่งนี้บางพระกับบางขโมยอยู่มาข้างใต้มากนัก ถึงจะขุดคลองล้าคลองก็ไป ข้างเหนือ ข้างใต้กี่มากน้อย แลในคลองยาวเวลาน้​้าขึ้นน้​้าลง น้​้าที่จะไหลจากคลองนี้ เข้าไปในคลองมหาสวัสดี ทวีวัฒนา ภาษี เจริญ ก็จะน้อยทีเดียว น้​้าที่แม่น้าแถบ บางพระ บางขโมย น่าแล้งก็กร่อย ถึงจะขุดคลองตั้งแต่นี้ไปน้​้าในคลองมหาสวัสดี ทวีวัฒนา ภาษีเจริญ ก็จะไม่จืดขึ้นกว่าเก่า ที่ล้าพยานั้นข้าพเจ้าเหนว่าจะขุดคลอง ดีกว่าที่ไนหมด ด้วยน้​้าที่แถบนี้จืดอยู่เสมอ แลตามคุ้งเบนนี้เวลาน้​้าลงสายน้​้าก็แทง เข้าไปในคลองได้แรง ถ้าขุดปากคลองกว้างกว้าง สายน้​้าก็จะแทงเข้าไปในคลอง หมด ข้าพเจ้าเหนว่าทางที่จะขุดคลอง ตั้งแต่ล้าพยาไปคลองมหาสวัสดี ต้องขุดต่อ คลองทวีวัฒนาขึ้นมา ๓๔๐ เส้น แลขุดตามเลี้ยวคุ้งล้าพยาลงมาต่อตอนนี้อีก ๒๑๐ เส้น อย่างนี้แล้วก็จะเข้ามาในคลองโดยง่าย ล้าคลองนี้ยาว ๕๔๐ เส้นในระยะนี้ ๓๐ เส้น ต้องขุดผ่าไร่นาซึ่งอยู่เหนือคลอง มหาสวัสดี แลอิก ๔๐ เส้นต้องขุดผ่านาแลดงไผ่ข้างแม่น้านครไชยศรี แลอิก ๔๗๐ เส้นมีแต่ทุ่งเปล่า ถ้าก้าหนดจะท้านาข้างละ ๓๐ เส้น ในล้าคลองนี้จะก้าหนดนาได้ สั ก ๒๘๐๐๐ ไร่ แลข้า พเจ้ าเหนว่ าขุ ดคลองนี้ คงจะพาให้ น้าในคลองมหาสวัสดี ทวี วั ฒ นา ภาษี เ จริ ญ มากขึ้ น แลน้​้ า ในคลองนี้ จื ด อยู่ เ สมอ คงพาน้​้ า ในคลอง มหาสวัสดี ทวีวัฒนา ภาษีเจริญ จืดขึ้นด้วย แล้วก็จะมีประโยชนแก่ราษฎรที่ตั้งบ้าน อยู่ตามล้าคลองมหาสวัสดี ทวีวัฒนา ภาษีเจริญ ซึ่งได้อดน้​้าจืดมาแต่ก่ อนนั้ น ใน น่าแล้ง แลดินทางที่จะขุดคลองนั้นก็เสมอกันหมด ต่้าแต่ตลิ่งแม่น้าตั้งแต่ ๓ ฟุต ถึง ๕ ฟุต ข้าพเจ้าเหนว่าดินที่ทุ่งเปล่านี้เปนดินดีแล้วอยู่ใกล้กรุงเทพ แลมีราษฎรตั้งบ้าน อยู่ตามขอบทุ่งก็มาก แลเหตุที่ยังไม่มีใครมาท้าไร่ ท้านานั้นก็เพราะไม่มีน้า ข้าพเจ้า เหนว่าถ้าเกิดคลองนี้ขึ้น ซึ่งขุดผ่าทุ่งเหล่านี้ นอกจาก ๒๘๐๐๐ ไร่ ซึ่งข้าพเจ้าคิดไว้ นั้น นาอื่นก็จะเกิดขึ้นในที่เปล่า ซึ่งอยู่ในหว่างแม่น้านครไชยศรี กับแม่น้าเจ้าพระยา อีกเปนอันมาก เหนือล้าพยาขึ้นไปนั้น ล้าแม่น้านครไชยศรี กับแม่น้าเจ้าพระยานั้น


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๗๙

อีกเปนอันมาก เหนือล้าพยาขึ้นไปนั้น ล้าแม่น้านครไชยศรีเบนไปข้างตะวันตก แลคุ้ง แถบนั้นข้าพเจ้าไม่เหนมีที่ดี ที่จะขุดคลองได้เหมือนที่ล้าพยา ริโปตเขียนลงวันที่ ๓๑ เดือนเม คฤสตศักราช ๑๘๗๘ ๚ะ จากคากราบบั ง คมทู ล ของเจ้ า พระยาสุ รวงษไวยวั ฒ น์และริโ ปตข้า งต้ นจึ ง ท าให้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เจ้าพระยาสุรวงษไวยวัฒน์ เป็นแม่กองจ้าง จี น ขุ ด คลองนราภิ ร มย์ ขึ้ น โดยขุ ด ต่ อ เนื่ อ งจากคลองทวี วั ฒ นาไปออกแม่ น้ าท่ า จี น เป็ น ระยะทางยาว ๕๔๐ เส้น กว้าง ๔ วา ลึก ๔ ศอก สิ้นเงินค่าจ้าง ๔๕,๘๔๐ บาท ดังรายงาน ของข้าราชการกรมนา ต่อสมุหพระกลาโหม ในเอกสารจดหมายเหตุ หจช.ม.ร.๕ล-พ.ศ./๒๐ ความว่า ข้า พระพุ ท ธเจ้ า หลวงจ านงพลภักดิ์ ข้า หลวง ขุน พิ บู ล ย์ ส มบั ติ เสมี ย นตรา กรมนา ขอพระราชทานกราบเรียน ฯพณฯ ที่สมุหพระกะลาโหมทราบ ด้วยมีบัญชาให้ข้าพระพุทธเจ้า ทาริโปตคลองขุดใหม่ต่อนาข้าหลวงเดิมคลอง มหาสวัสดิ์ ไปออกบ้านลาพยาล้าแม่น้าเมืองนครไชยศรี ข้าพระพุทธเจ้าตรวจคลองใหม่ ยาว ๕๔๐ เส้น ขุด กว้าง ๔ ว่า ฦก ๔ ศอก ราคาเส้นละ ๑ ชั่ง เศษ ๑ บาท ๑ สลึง คิดเปนเงินค่าจ้าง ๕๗๓ ชั่ง ๑๕ บาท ได้รับ พระราชทานเบิกไปแล้ว เงิน ๕๖๒ ชั่ง ยังค้าง ๑๑ ชั่ง ๑๕ บาท ขุดตลอดแล้ว เวลา น้าขึ้นน้าไหลเข้าทั้ง ๒ ข้าง น้าไปหยุดอยู่ที่หลัก ๓๕๐ เส้น เวลาน้าลงน้าไหลออก ลา พยาแม่น้าเมืองนครไชยศรีอ่อน น้าไหลออกทางคลองมหาสวัสดิ์แรง ข้าพระพุทธเจ้า ได้ตรวจที่นาต่อนาข้าหลวงเดิมทั้ง ๒ ฝั่งคลอง ผู้มีบันดาศักดิ์แล ราษฎรจับจองขึ้นใหม่ ๖๖ เจ้าของ เปนเนื้อที่ยาวตามคลอง ๔๔๙ เส้น คิดเปนเนื้อ นา ๘๙๘๑ ไร่ ราษฎรได้ลงเมือทาบ้างยังมิได้ทาบ้าง แต่ที่รกร้างราษฎรยังมิได้ลงชื่อ จับจอง ๙๑ เส้น คิดเปนเนื้อนา ๑๘๒๐ ไร่ ราษฎรที่ได้จับจองได้ทานามานั้น มีความ ยินดีสรรเสริญพระบารมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งโปรดเกล้าฯให้ขุดคลองได้ ไปมาถึงนาโดยสะดวก แต่วันฤกษจะเปิดคลองให้ตลอดถึงกันนั้น สุดแล้วแต่จะโปรด เกล้าฯ ควรมิควรสุดแต่จะโปรด เซนชื่อ หลวงจ้านงพลภักดิ์


๘๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ภาพถ่ายทางอากาศแสดงคลองมหาสวัสดิ์ (แนวตั้ง) ช่วงรอยตัดกับคลองขุดใหม่คือ คลองทวีวัฒนา (แนวนอนด้านขวา) และคลองนราภิรมย์ (แนวนอนด้านซ้าย) (ภาพจาก www.GoogleEarth.com)


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๘๑

เมื่อได้รับรายงานแล้วเจ้าพระยาสุรวงษไวยวัฒน์จึงได้กาหนดฤกษ์เปิดคลอง และขอ พระราชทานชื่อคลอง ดังนี้ ข้าพระพุทธเจ้า เจ้าพระยาสุรวงษไวยวัฒน์พิพัฒนศักดิ์ ที่สมุหพระกะลาโหม ขอพระราชทานกราบบังคมทูลพระกรุณา แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทราบ ฝ่าละอองธุลีพระบาท ด้วยโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองใหม่แต่ที่นาหลวงคลองมหาสวัสดิ์ ไปออกบ้าน ล้าพยาแม่น้าเมืองนครชไยศรีได้ขุดแล้ว ก้าหนดฤกษจะได้เปิดคลอง วันจันทร์ ขึ้น ๙ ค่้า เดือน ๑๐ ปีมโรงโทศก ปีที่ ๑๓ ในรัชกาล ข้าพระพุทธเจ้า ฃอกราบถวายบังคม ลาออกไปเปิดคลอง ๓ วัน จึ่งจะกลับเข้ามา หนึ่ง ขอรับพระราชทานชื่อคลองด้วยเปนคลองต่อกับคลองทวีวัฒนา ควรมิควร แล้วแต่จะโปรดเกล้า ฯ ฃอพระราชทานกราบบังคมทูลมา ณ วัน เสาร์ แรม ๗ ค่้า เดือน ๑๐ ปีมโรงโทศก ๑๒๔๒ ฃอเดชะ ภายหลังพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตอบจดหมายเจ้าพระยา สุรวงษไวยวัฒน์ ความว่า ถึงคุณสุรวงษไวยวัฒน์ ด้วยเธอจดหมายมาที่ไปเปิดคลองนั้นดีแล้ว ให้ได้เปิด เสียเถิด คลองนี้ให้ชื่อคลองนราภิรมย์ ต่อกับทวีวัฒนา จดหมายมา ณ วันเสาร์ แรม ๗ ค่้า เดือน ๑๐ ปีมโรงโทศก ๑๒๔๒ สยามินทร์ ด้วยเหตุที่คลองแต่ละคลองมีความสัมพันธ์ต่อกันดั งนี้ ชื่อคลองในบริเวณนี้จึงมี ชื่อคล้องจองกันเป็น มหาสวัสดี ทวีวัฒนา นราภิรมย์๑๘

ในสมัย รัชกาลที่ ๔ ทรงมีพ ระราชประสงค์ให้ ชื่อ คลองมหาสวัสดี คล้อ งกับ คลองที่ขุ ดในสมัยของ พระองค์คือ “เจดีย์บูชา มหาสวัสดี ภาษีเจริญ ด้าเนินสะดวก” ๑๘


๘๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) แม่กองขุดคลองทวีวัฒนา และคลองนราภิรมย์


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๘๓

การขุดคลองต่างๆ นี้พบว่ามีความสาคัญต่อการคมนาคม การระบายน้าและขยาย พื้นที่ทากิน โดยเฉพาะการขยายพื้นที่ทากินนั้น ปรากฏว่า การขุดคลองแต่ละสาย สามารถ ขยายเนื้อที่การเพาะปลูกได้ ดังนี้๑๙ คลองมหาสวัสดิ์ ๒๑,๘๘๒ ไร่ คลองทวีวัฒนา ๒๗,๒๐๐ ไร่ คลองนราภิรมย์ ๔๓,๒๐๐ ไร่ อนึ่ ง ในระหว่ า งที่ มี ก ารขุ ด คลองทวี วั ฒ นา ในปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๒๐ นั้ น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชประสงค์จะเสด็จประพาสไทรโยค เมืองกาญจนบุรี และในคราวเสด็จประพาสนั้นได้พระราชนิพนธ์ถึงการขุดคลองทวีวัฒนา ซึ่ง ในขณะนั้นยังไม่ได้รับพระราชทานชื่อคลอง และทรงกล่าวถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณ บ้านศาลายาไว้ดังนี้ ...มาถึงปากคลองมหาสวัสดี วัดไชยพฤษมาลา เวลา ๒ โมงเช้า ๕๕ นาที คลอง มหาสวัสดีตะวันออก ไปตะวันตกตรง ถัดปากคลองเข้ามาหน่อยหนึ่ง น้​้าลึกสามศอก คืบ เวลาน้​้าขึ้นเต็มที่ คลองคงกว้างประมาณ ๖ - ๗ วา ในตอนปากคลองนั้น แลดู สองข้างทาง มีต้นตาลเปนหมู่นับด้วยร้อยด้วยพันทั้งสองฟาก ต่อมามีทุ่งนาแลไกลๆ เห็นต้นตาลห่างๆ น้​้าในคลองข้างตอนปากคลองริมวัดไชยพฤกษ์ หยั่งน้​้าได้ลึกสาม ศอกคืบ ตั้งแต่หลัก ๒๐๐ มาแลเห็นคราบน้​้าลดลงสามนิ้ว แต่น้าในท้องคลองลึกถึง ๔ ศอก ตั้งแต่หลัก ๓๐๐ มา คราบน้​้าลดห้านิ้วหกนิ้วเศษ น้​้าในท้องคลองลึกเพียง ๒ ศอก ๑๘ นิ้ว ตั้งแต่ก่อนหน้าจะถึงนากรมหมื่นมเหศวรหน่อยหนึ่ง เป็นที่ตื้นมาก ตลอดไปจนหลัก ๔๐๐ เกือบถึงหลัก ๕๐๐ คราบน้​้ามีอยู่ ๔ นิ้ว ๕ นิ้ว น้​้าลึกอยู่ เพียง ๒ ศอก ๒ ศอกคืบหย่อนบ้าง ในระยะนี้เป็นน้​้าตื้นที่สุดเพราะเป็นที่น้าชน ได้ ปรึกษาพร้อมกับคุณสุรวงศ์  คิด จะแก้ไม่ ให้ คลองนี้เสีย คุณ สุ รวงศ์ได้ให้ อ อกมา ทวี ศิ ล ป์ สื บ วั ฒ นะ. การผลิ ต และการค้ า ข้ า วในภาคกลางตั้ ง แต่ รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลี่ ๕ จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๑๑ - ๒๔๗๕). วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๐.หน้า ๓๘  เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) สมุหพระกลาโหม ๑๙


๘๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ท้ า แผนที่ ใ นระหว่ า งกลางคลองมหาสวั ส ดิ์ และคลองภาษี เ จริ ญ ต่ อ กั น ได้ เ ป็ น ระยะทาง ๓๐๐ เส้ น เศษ จึ ง คิด ขุด คลองตั้ ง แต่ พ้ น หลั ก ๓๐๐ มา เส้ น ในคลอง มหาสวัสดีไปทลุออกที่คลองภาษีเจริญ ตั้งแต่หลัก เส้น คลองนั้นได้ขุดในปีนี้ กว้าง ลึก ราคาเส้นละชั่ง เมื่อเรามาถึงปากคลองเวลา ๕ โมงเกือบจะครึ่ง เห็นคลองนั้นได้ เปิดมีน้าเต็ม ขุดเหนือไปใต้ เพราะเห็นว่าถ้าเวลาน้​้าขึ้น น้​้าคลองภาษีเจริญขึ้นก่อน คงจะไหลมาตามคลองนี้ถึงคลองมหาสวัสดี ถ้าเวลาน้​้าลงหรือน้​้าเหนือมา น้​้าใน คลองมหาสวัสดีคงไหลลงทางคลองที่ขุดตัดนี้แรง เลนในกลางคลองที่ตื้นก็จะค่อย เบาบางลง จะแก้ให้หายตื้นได้ทั้ง ๒ คลอง แต่การที่หมายนี้จะแก้ได้สมคิดแน่หรือ ไม่ได้ ยังรับประกันไม่ได้ ในที่นี้แขวงเมืองนนท์และเมืองนครไชยศรีต่อกัน เรือแจว ล้าบากจึ่งให้กระบือลากมาจนจวบถึงหลัก ๕๐๐ น้​้าลึก ๓ ศอกคืบ แต่ยังเห็นคราบ น้​้าอยู่ประมาณสัก ๔ นิ้วจึ่งได้ลงมือแจวเรือต่อมา เมื่อเกือบจะถึงปากคลองยังสัก ๕๐ เส้นเศษ น้​้าลึก ๔ ศอก เมื่อใกล้ปากคลองลึกถึง ๕ ศอก วัดน้​้าในคลองที่มาวันนี้เป็น เวลาก้าลังน้​้าขึ้นมากตลอดจนกระทั่งถึงแม่น้าท่าจีน เมื่อออกมาถึงแม่น้าแล้วยังต้อง แจวเรือมา ตลอดถึงเรื อปิกนิกจอกที่ปากคลองเจดียบูชา ตามหนทางที่มาในคลอง สองฝั่งพ้นจากต้นตาลหมู่ใหญ่ที่ได้ว่าแล้วข้างต้นมา มีแต่ทุ่งนากับต้นไม้ริมคลองบ้าง ต้นไม้ในกลางทุ่งมีบ้างน้อยๆ ไม่หนา ไม่มีต้นใหญ่ ต้นมะม่วงมีอยู่แห่งเดียวที่ได้แล เห็น ในระหว่างทางนั้นมีโรงนาแห่งละโรงบ้างสองโรงบ้า ง ห่างกัน ๙ เส้น ๑๐ เส้น ๒๐ เส้น เป็นแต่โรงเล็กๆ โดยมาก ที่มีโรงนาดังนั้น มีต้นกล้วยและต้นนุ่น กับต้นไม้ อื่นๆ บ้างเล็กน้อย ที่ต้นมะม่วงว่าเมื่อกี้นั้นคือ นาท่านเล็ก นมคล้ายมายืนอยู่ที่หัว ตะพาน มีต้นไม้มากทุกแห่ง ในท้องนามีหญ้าแห้งหรือตอข้าวแลดูไม่งามเลย มีกลิ่น อายดินที่ถูกร้อนเข้าจมูกบ้างเป็นบางคราว เมื่อเรือเกือบจะถึงปากคลองแลเห็ น ต้นตาวอีกบ้าง แต่ไม่มากเหมือนปากคลองข้างโน้นข้างขวามือริมปากคลองทีเดียว มี หนองบัวอยู่ข้างจะใหญ่แต่ไม่แลเห็นขอบหนองข้างริมน้​้าด้วยเปนน้​้าลบฝั่ง มีเรือน

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระนมคล้าย พระนมในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ผู้เป็นย่า ของนายพันตรี หลวงพิทักษ์ภูเบนทร์ (แป้น ยงใจยุธ) 


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๘๕

ต่อกันไปตามล้าน้​้าประมาณ ๑๔ หลัง ๑๕ หลังเรือน เรือออกจากปากคลองแล้วล่อง ลงไปข้างใต้ตามระยะทาง...๒๐

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานคลองทวีวัฒนา และคลองนราภิรมย์

พระบาทสมเด็จ พระจุ ลจอมเกล้า เจ้ า อยู่หั ว .พระราชนิ พ นธ์ เ สด็ จ ประพาสไทรโยค. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๐๔. หน้า ๔ - ๖. ๒๐


๘๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

นาม “ทวีวัฒนา” และ “นราภิรมย์” พระราชานุสรณ์แห่งสมเด็จพระราชินีในรัชกาลที่ ๔๒๑ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ นาม “มหาสวัสดี” นั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงต้ องการให้ คล้ อ งจองกับ คลองเจดี ย์ บู ช า ดั ง ปรากฏในหมายรับ สั่ ง รัช กาลที่ ๔ เรื่อ ง พระราชทานชื่อคลองมหาสวัสดีและคลองเจดียบูชาว่า “คลองวัดไชยพฤกษมาลาขุด ทลุ ออกไปล้าแม่น้าเมือง ณคอรไชศรีนั้น ยังหาไดพระราชทานชื่อคลอง บัดนีพระราชทานชือวา คลองมหาสวัสดีจะไดคูกันกับคลองเจดียบูชา” ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๕ มีการขุดคลองใหม่ขึ้นอีก ๒ คลองในบริเวณบ้านศาลายา โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองแยกออกจากคลองมหาสวัสดีไปทางทิศใต้และทิศ เหนือ คลองที่แยกไปทางทิศใต้คือ คลองทวีวัฒนา คลองที่แยกไปทางทิศเหนือ คือ คลอง นราภิรมย์ ซึ่งคลองทั้ง ๒ คลองนี้ขุดแยกออกจากคลองมหาสวัสดิ์ในที่เดียวกันพอดีแต่แยกไป กันคนละทิศ จนดูราวกับเป็นคลองที่ตัดผ่ากลางคลองมหาสวัสดี ซึ่งหากไม่ทราบที่มาอาจทา ให้เข้าใจผิดได้ เมื่อเกิดคลองใหม่ในย่านนี้ขึ้นอีก ๒ คลอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ จึงทรงพระราชทานนามคลองให้คล้องจองกับ “คลองมหาสวัสดี” ซึ่งเป็นคลองเก่าซึ่งขุดไว้ ตั้งแต่ครั้งสมเด็จพระบรมชนกนาถ โดยพระราชทานนามว่า “คลองทวีวัฒนา” และ “คลอง นราภิรมย์” หากพิ จ ารณาในแง่ความหมายก็จะพบว่ า นามที่ พ ระราชทานให้ คลองใหม่นี้ก็มี ความหมายไปในเชิงความเจริญรุ่งเรืองยิ่ง (ทวีวัฒนา) และความผาสุกของราษฎร (นราภิรมย์) แต่หากพิจารณาในบริบทประวัติศาสตร์แล้วจะพบข้อสันนิษฐานว่า การนามพระราชทาน คลองใหม่นี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระอนุสรณ์ถึงพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผู้เป็นสมเด็จพระบรมชนกนาถ ซึ่งทรงริเริ่มขุดคลองมหาสวัสดีขึ้น ดังนั้น คลองมหาสวัสดี จึงมีความหมายในฐานะเป็น “พระราชานุสาวรีย์” ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉะนั้น เมื่อจะทรงพระราชทานนามคลองขุดใหม่ ๒ คลองที่แยกออก จากคลองมหาสวั ส ดี จึ ง ทรงพิ จ ารณานามที่ พ้ อ งกั บ พระนามของสมเด็ จ พระราชิ นี ใ น ในหัวข้อนี้ผู้เขียนได้รับความกรุณาและคาแนะนาเป็นอย่างดีจาก อาจารย์วิกัลย์ พงศ์พนิตตานนท์ งานจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ผู้เขียนขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ๒๑


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๘๗

รัชกาลที่ ๔ ทั้ง ๒ พระองค์ด้วย คือสมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี และ สมเด็จพระเทพ ศิรินทราบรมราชินี (พระนางเธอ พระองค์เจ้าราเพยภมราภิรมย์) เพื่อเป็น “พระราชานุสาวรีย์” แห่ ง สมเด็ จพระราชินีทั้ง ๒ พระองค์เคียงคู่ กับ “พระราชานุสาวรีย์ ” ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีอยู่ก่อนหน้านั้น “ทวีวัฒนา” เป็นคลองที่ขุดขึ้นเป็นลาดับที่ ๒ ในย่านศาลายา ภายหลังจากที่มีการ ขุดคลองมหาสวัสดีมาก่อนหน้า นาม “ทวีวัฒนา” พ้องกับคา “วัฒนา” ในพระนาม “โสมนัส วัฒนาวดี” คลองนี้จึงสันนิษฐานว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ทรงพระราช ประสงค์ให้เป็นพระราชานุส รณ์ ถึงสมเด็ จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี สมเด็จพระราชิ นี พระองค์แรกในรัชกาลที่ ๔ สมเด็ จ พระนางเจ้ า โสมนั ส วั ฒ นาวดี ทรงเป็ น พระธิ ด าใน พระเจ้ า บรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักขณานุคุณ พระราชโอรสพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น กับหม่อม งิ้ว เมื่อแรกประสูติมีพระนามว่าหม่อมเจ้าหญิงโสมนัส ประสูติเมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๗๗ (ในปีรุ่งขึ้น พระองค์เจ้าลักขณานุคุณก็สิ้นพระชนม์ ประชวรไข้ป่วงสิ้นพระชนม์ เมื่อ วันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๓๗๘ พระชนมายุ ๒๒ ปี) หม่อมเจ้าหญิงโสมนัสจึงเป็นกาพร้า มาแต่เยาว์วัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าฯ ทรงพระเมตตา จึงได้สถาปนาขึ้นเป็นพระเจ้า หลานเธอ พระองค์เจ้าหญิงโสมนัสวัฒนาวดี และโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รับมาเลี้ยงไว้ใน พระราชวัง ครั้นเมื่อทรงพระจาเริญขึ้ น ก็ทรงเมตตาว่าเป็นเจ้ากาพร้า เมื่อจะโสกันต์นั้นให้มี การแห่และการละเล่นต่างๆ แต่ไม่มีเขาไกลาสและมยุรฉัตร ในพงศาวดารกล่าวว่า โสกันต์เมื่อ วันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๓๘๙ เมื่อพระชนมายุราว ๑๗ – ๑๘ พรรษา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ ทรงสถาปนาเป็ นสมเด็จ พระนางเจ้ าโสมนัส วัฒนาวดี เมื่ อวั น อาทิ ต ย์ ที่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๓๙๔ นับเป็นพระอัครมเหสีพระองค์แรก แต่เป็นที่น่าเศร้าเสียใจอย่างยิ่งที่พระองค์ได้ดารง ตาแหน่งนี้ได้เพียง ๙ เดือนเศษ เท่านั้นก็สิ้นพระชนม์ ครั้นถึง พ.ศ. ๒๓๙๖ เมื่อสร้างพระเมรุที่ท้องสนามหลวงเสร็จแล้ว ได้ชักพระศพเข้า สู่พระเมรุ เมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๙๖ มีการมหรสพ ๓ วัน ๓ คืน ครั้นถึงวันที่ ๒๐ มีนาคม ได้พระราชทานเพลิงศพ และมีการสมโภชพระอัฐิอีกวัน ๑ เป็นคารบ ๔ วัน ๔ คืน ครั้นการเสร็จแล้วชักพระอัฐิเข้าสู่พระบรมมหาราชวัง๒๒ ชวนพิ ศ ทองแคล้ ว และคณะ. สมเด็ จ พระบรมราชิ นี ในสมั ย กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ . กรุ ง เทพฯ : คณะกรรมการอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ๒๕๔๗. ๒๒


๘๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระสาทิสลักษณ์สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี วาดโดย อ.สมภพ บุตราช พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๔ ที่มาแห่งนามคลอง “ทวีวัฒนา”

อนึ่งในครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงสร้างวัดโสมนัสวิหาร ขึ้นใหม่เพื่อพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๘๙

พระอุโบสถวัดโสมนัสวิหาร กรุงเทพฯ (ด้านหน้าพระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี)

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปประพันธ์พงศ์ ได้ทรงพระนิพนธ์ พระประวัติ และพระอาการประชวร สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี ซึ่งสะท้อนให้เห็นพระอุปนิสยั ของพระนางไว้ดังต่อไปนี้ … ตั้ ง แต่ ราชาภิเษกสมรส ด้ า รงพระอิ ส ริย ศเป็นพระอั ครมเหสีร่วมพระราช หฤทัยพระราชสวามีโดนสนิทสนมกลมเกลียว ทั้งในส่วนพระองค์และทางราชการ แผ่ น ดิ น เป็ น ที่ เ คารพนั บ ถื อ ของบรมวงศานุ ว งศ์ เสนามาตย์ ร าษฎรสยามทั่ ว พระราชอาณาจักร …


๙๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระพุทธรูปฉลองพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี ประดิษฐาน ณ หน้าพระอุโบสถ วัดโสมนัสราชวรวิหาร


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๙๑

นอกจากนี้ใน พระราชนิพนธ์ภาษาบาลีในพระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังได้ กล่าวถึงสมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดีไว้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพระราชอนุสรณ์ของพระองค์ ที่มีต่อสมเด็จพระราชินีคู่พระราชหฤทัย ดังความตอนหนึ่งว่า สา จ ตสฺส บียา อาสิ มนาปา บียวาทินี ปุพฺพฏฺฐายินี มนาปจา รินี จ ปติพฺพตา ปจฺฉานิปาตินี จาบี ก้การปฏิสาวินี นารีวิสยกิจฺเจสุ ปตฺตา สพฺเพสุ เฉกต้ ทกฺขา อนลสา จาสิ อล้ว ส้วิธาตเว. ก็พระนางโสมนัสวัฒนาวดีนั้น เป็นที่รักเป็นที่เอิบอาบพระทัยของ พระราชานั้น และเป็นผู้มีพระวาจา น้ามาซึ่งความรัก เป็นผู้ตั้งอยู่ในเบื้องหน้า (แห่งพระสนม) เป็นผู้มีความประพฤติ เป็นที่เอิบอาบพระทัย เป็นผู้มีวัตรปฏิบัติ ในพระราชาผู้พระราชสามี เป็นผู้มีความประพฤติตกต่้าในภายหลัง เป็นผู้คอย รั บ ใช้ ส อยดุ จ สาวใช้ อนึ่ ง เป็ น ผู้ ถึ ง แล้ ว ซึ่ ง ความเป็ น ผู้ ฉ ลาดเฉี ย บแหลม ไม่ เกีย จคร้า น ควรแล้ ว เที ย วเพื่ อจะจั ด แจงพร้อมในกิจ ซึ่ ง เป็ น วิ สั ย ของนารี ทั้งหลายทั้งสิ้น. ส่วนอีกคลองหนึ่งคือ “นราภิรมย์” เป็นคลองที่ขุดขึ้นเป็นลาดับที่ ๓ ในย่านศาลายา ภายหลังจากที่มีการขุดคลองมหาสวัสดี และคลองทวีวัฒนามาก่อนหน้า นาม “นราภิรมย์” พ้ อ งกั บ ค า “ภิ ร มย์ ” ในพระนาม “ร าเพยภมราภิ ร มย์ ” คลองนี้ จึ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ทรงพระราชประสงค์ให้เป็นพระราชานุสรณ์ถึง สมเด็จพระนางเจ้าราเพยภมราภิรมย์ (ภายหลังในสมัยรัชกาลที่ ๕ ทรงสถาปนาพระอัฐิเป็น กรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ แต่มักขานพระนามว่า สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี) ซึ่งทรงเป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์ที่ ๒ ในรัชกาลที่ ๔ และเป็นสมเด็จพระราชมารดาใน รัชกาลที่ ๕ ด้วย


๙๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายคู่กับ สมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ พระบรมราชินี


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๙๓

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า สิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์๒๓ (พระราชโอรสในรัชกาลที่ ๓) กับพระชนนีน้อย๒๔ ภายหลัง เมื่อพระชนกสิ้นพระชนม์แล้ว บรรดาพระโอรสและพระธิดายังทรงพระเยาว์อยู่ รัชกาลที่ ๓ ในฐานะพระอัยกาจึงทรงรับมาอยู่ในพระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระเทพศิรินทราฯ จึงได้ทรง เข้ า มาอยู่ ใ นพระบรมมหาราชวั ง นั บ แต่ นั้ น ดั ง พระราชนิ พ นธ์ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว๒๕ … สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอพระองค์นั้น มีพระโอรสและพระธิดา หลายพระองค์ ในเวลาเมื่อพระบิดาสิ้นพระชนม์นั้นยังทรงพระเยาว์ พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวซึ่งเป็นพระไอยกา โปรดให้เสด็จมาอยู่ในพระบรมมหาราชวัง พระองค์ ใหญ่ ๆ ได้ รับ ราชการฉลองพระเดชพระคุณ ในที่ ใกล้ ชิ ด ตามเสด็ จ อย่าง พระเจ้าลูกเธอตลอดมา พระโอรสพระองค์ใหญ่สมเด็จพระบรมไอยกา พระราชทาน นามว่ามงคลเลิศ ในรัชกาลที่ ๔ ก็โปรดให้เป็นพระวงค์เธอพระองค์เจ้า ทรงพระ เมตตาเป็นอันมาก พระองค์เจ้ามงคลเลิศ มีบุตรและบุตรี ได้รับราชการฉลองพระ เดชพระคุ ณ หลายคน มี พ ระยาไชยสุ ริ น ทร์ เ ป็ น ต้ น พระธิ ด าพระองค์ ใ หญ่ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาใช้สอยสนิท โปรดว่าอยู่งานพัด ดี จึงพระราชทานนามว่าร้าเพย ๒๖ ภายหลังมาได้เป็นสมเด็จพระบรมราชเทวีใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวปรากฏพระนามว่าสมเด็จพระนางเจ้าร้าเพย ภมราภิรม …

๒๓

ครั้นถึงรัชกาลที่ ๕ ทรงสถาปนาพระอัฐิเป็นสมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ เป็นต้นสกุล สิริวงศ์

ณ อยุธยา พระชนนีน้อย เป็นธิดาท่านแจ่ม หลานพระยารัตนจักรหงส์ทองและนายบุศย์ สกุลบางเขน สืบมาแต่ สกุลอามาตย์รามัญกับไทย เป็นชาวสวนบางเขน มีพระธิดาเพียงพระองค์เดียวคือสมเด็จพระนางเจ้าราเพยภมรา ภิรม ๒๕ ชวนพิ ศ ทองแคล้ ว และคณะ. สมเด็ จ พระบรมราชิ นี ในสมั ย กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ . กรุ ง เทพฯ : คณะกรรมการอานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ๒๕๔๗. ๒๖ มีเรื่องอันเนื่องมาจากพระนามนี้อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งควรเล่ารวมไว้ด้วย คือเมื่อครั้งรัชกาลที่ ๓ พระยาศรี สุนทร (ฟัก) เมื่อยังเป็นภิกษุ (พระศรีวิสุทธิวงศ์) ไปลังกา (พ.ศ. ๒๓๘๖ หรือ ๒๓๘๗) ขากลับได้นาเอาต้นไม้ชนิด หนึ่งเข้ามาและนาขึ้นถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดไม้นั้นมากได้พระราชทานชื่อไม้นั้นว่า ราเพย ตามพระนามของพระเจ้าหลานเธอ ๒๔


๙๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (สมเด็จพระนางเจ้าราเพยภมราภิรมย์) พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๔ ที่มาแห่งนามคลอง “นราภิรมย์”


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๙๕

ในหนังสือราชินิกูลรัชกาลที่ ๓ ได้กล่าวถึงประวัติของพระองค์เมื่อยังทรงพระเยาว์ และที่มาของพระนาม “ราเพย” ไว้ว่า ... พระองค์ไร้ชนกและพระชนนีแต่เมื่อยังทรงพระเยาว์อยู่ในรัชกาล ที่ ๓ ได้เสด็จเข้ามาประทับอยู่ในพระบรมมหาราชวังกับพระปิตุจฉา คือสมเด็จ กรมพระยาสุดารัตนราชประยูร ณ พระต้าหนักตึกซึ่งเดิมเป็นพระต้าหนักของ สมเด็ จ พระศรีสุล าลั ย ต่ อมาไปประทับอยู่กับกรมหลวงวรเศรฐสุด า ซึ่ ง เดิม พระนามว่า “พระองค์เจ้าบุตรี” ในรัชกาลที่ ๓ เมื่อทรงศึกษาอักขระวิธี และ พระราชประเพณี ณ ต้ า หนั ก ต้ น จ้า ปีในพระบรมมหาราชวั งนั้น เอง ครั้น ถึง รัช กาลที่ ๔ เสด็ จ มาประทั บ อยู่ ส้ า นั กเดิ ม ณ พระต้ า หนั กตึ ก ในสมั ย นั้ น มี อิสริยศักดิ์เป็นพระราชเทวีแล้ว มีที่ประทับพักเดิมอยู่ที่ชานพระที่นั่งไพศาล ทักษิณ ในหมู่พระราชมนเทียรเก่า ต่อมา ณ พระที่นั่งจันทรทิพโยภาสในหมู่ พระราชมนเทียรใหม่สวนขวา ซึ่งมีนามว่าพระอภิเนาวนิเวศน์ ภายหลังโปรดให้ สร้างที่ประทับในหมู่พระต้าหนักตึกหลัง ๑ เรียกว่าพระต้าหนักหอ แลต่อกับ หลั ง เดิ ม อี ก หลั ง ๑ เรี ย กว่ า พระที่ นั่ ง ศี ต ลาภิ ร มย์ ในบริ เ วณนั้ น เป็ น ที่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จมาประทับอยู่ได้ และมีที่เสด็จออก ข้างหน้าได้ด้วย และพระที่นั่งศีตลาภิรมย์ทั้งพระต้าหนักหอก็ดี ต้าหนักอื่นๆ ใน หมู่ พระต้าหนักตึกเดิมนั้นก็ดี ตั้งอยู่ ณ สถานซึ่ง เป็นหมู่พระที่นั่งจักรี มหาปราสาททุกวันนี้ สมเด็จพระเทพ ศิรินทราบรมราชินีประทับอยู่ ณ พระ ต้าหนักหอนั้น จนถึงกาลเสด็จสวรรคตในรัชกาลที่ ๔ นั่นเอง ... สมเด็จพระนางเจ้าราเพยภมราภิรมย์ ๒๗ ประสูติ ณ วันพฤหัสบดี เดือน ๘ ขึ้น ๑๒ ค่า ปีมะเมีย ตรงกับวันที่ ๑๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๗๗ และเมื่อมีพระราชโอรสพระองค์แรก นั้นทรงมีพระชนมายุเพียง ๑๙ ปี ซึ่งทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดาดังนี้

ในรัชกาลที่ ๕ ทรงสถาปนาพระนามพระอัฐิเป็นกรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย็ เมื่อวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ ในปัจจุบันขานพระนามว่า สมเด็จพระเทพศิรินทรา บรมราชินี ๒๗


๙๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงฉายกับสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี และพระราชโอรส

๑. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติ ณ วันอังคารที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ ๒. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงจันทรมณฑลโสภณภควดี ในรัชกาลที่ ๕ ทรงสถาปนาเป็น กรมหลวงวิสุทธิกระษัตรีย์ ประสูติ ณ วันอังคาร วันที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๘ ๓. เจ้าฟ้ากรมพระจักรพรรดิพงศ์ ประสูติ ณ วันอังคาร วันที่ ๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๓๙๙ ๔. สมเด็ จ เจ้ า ฟ้ า กรมพระยาภาณุ พั น ธุ ว งศ์ว รเดช ประสู ติ ณ วั น พุ ธ วั น ที่ ๑๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๐๒ หลังจากประสูติสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์เป็นต้นมา สมเด็จพระนางเจ้า ราเพยภมราภิรมย์ก็ทรงประชวรเรื่อยมา กระทั่งสิ้นพระชนม์ในเวลาต่อมา ความปรากฏใน พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔ ว่า


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๙๗

... ฝ่ายสมเด็จพระนางประชวรพระยอดเม็ดเล็ก ทรงพระกาสะเป็นโลหิตติด ระคนเสมหะออกมา ทรงพระประชวรอยู่หลายเดือน ครั้นมาถึง ณ วันจันทร์ เดื อน ๑๐ ขึ้น ๕ ค่้า (วั น ที่ ๙ กัน ยายน พ.ศ. ๒๔๐๔) เวลาเช้า ๕ โมงเศษ สิ้นพระชนม์สิริพระชนม์ได้ ๒๘ พรรษา๒๘ ได้เชิญพระศพเข้าสถิตในพระโกศ ทองค้า แล้วเชิญพระศพแห่ออกประตูพรหมไปประดิษฐานไว้ในหอธรรมสังเวช เมื่อสิ้นพระชนม์นั้นบรรดาฝรั่งพากันลดธงครึ่งเสาให้สามวัน ซึ่งเห็นจะเป็นครั้งแรก พระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงพระยาศรีพิพั ฒน์ราชทูตฉบับ หนึ่งมีข้อความว่า ... แม่เพยนี้ถึงในกรุงเทพฯ ท่านทั้งปวงรู้ว่าเป็นแต่เจ้าเล็กเจ้าน้อยก็ดี ในเมืองที่มาท้าสัญญาไมตรี แลลู กค้าพานิชต่างประเทศเป็นอันมาก เขานับถือ ว่าเป็นคนโตคนใหญ่ ตั้งแต่วันสิ้นชีวิตลงแล้ว กงสุลต่างประเทศบรรดาที่มี ธง เขาก็ลดธงครึ่งเสาให้สามวัน เรือก้าปั่นที่ทอดอยู่ในแม่น้าทุกล้า กงสุลเขาก็ป่าว ร้องให้ลดธงแลไขว้เชือกส้าแดงความให้รู้ว่าเศร้าโสกสามวัน ... สมเด็จพระนางเจ้าราเพยภมราภิรมย์ หรือกรมสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี นับว่าเป็นพระราชินีที่ มีพระชนม์น้อยอี กพระองค์หนึ่ง เริ่มรับราชการในพระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อพระชนมายุเพียง ๑๘ ปี และสิ้นพระชนม์เมื่อพระชนมายุได้ ๒๘ ปี เท่านั้น

อนึ่งเนื่องมาจากกรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์สวรรคต เมื่อพระชนมพรรษา ๒๘ สมเด็จพระบรม ราชมาตามหัยยกาเธอ ซึ่งเป็นพระบิดาก็สิ้นพระชนม์เมื่อมีพระชนม์ ๒๘ และพระองค์เจ้ามงคลเลิศซึ่งเป็นพระเชษฐา สิ้นพระชนม์ เมื่อพระชนม์ ๒๘ อีกเหมือนกัน จึงเป็นเหตุถือกันว่า ในราชวงศ์ฝ่ายกรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ มีอันตรายแก่พระชนม์ชีพเมื่อพระชนมพรรษา ๒๘ ถึง ๓ พระองค์ ฉะนั้นเมื่อรัชกาลที่ ๕ มีพระชนมพรรษา ๒๘ เท่า พระชนนีจึงได้บาเพ็ญพระราชกุศลพิเศษเพื่อขจัดอันตราย และถือเป็นธรรมเนียมว่าเมื่อสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ มีพระชนมพรรษา ๒๘ เท่ากรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ก็จะทรงบาเพ็ญพระราชกุศล เป็นลาดับมา ๒๘


๙๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระพุทธรูปฉลองพระองค์สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี สร้างราวปี พ.ศ. ๒๔๓๘ – ๒๔๔๓ ประดิษฐาน ณ พระอุโบสถ วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพมหานคร


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๙๙

ซ่อมคลองมหาสวัสดีสมัยรัชกาลที่ ๕ ภายหลังเมื่อขุดคลองมหาสวัสดีแล้ว ๔๐ ปี คือ พ.ศ. ๒๔๔๓ (ร.ศ.๑๑๙) ปรากฏ ความว่า คลองมหาสวัสดีตื้นเขินมาก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ขณะนั้นทรงดารงตาแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ได้ทรงมอบหมายให้พระยาศรีสหเทพ (เส็ง วิริยะศิริ) ราชปลัดทูลฉลองกระทรวงมหาดไทย ทาหนังสือถึง พระยาศรีสุนทรโวหาร ปลัดทูลฉลองกระทรวงเกษตราธิ การ ว่าคลองมหาสวัสดีและคลองเจดีย์บูชาตื้นเขิน มาก สมควรที่จะซ่อมคลองให้เรียบเรียบร้อยเพื่อความสะดวกในการสัญจรไปมาและการค้าขาย อย่างไรก็ตาม ภายหลังได้มีหนั งสือตอบจากกระทรวงเกษตราธิการว่า ให้ยกเรื่องไปก่อน เนื่องจากเห็นว่าคลองที่ควรจะซ่อมก่อนคือคลองภาษีเจริญ ส่วนคลองมหาสวัสดีและคลอง เจดีย์บูชา จะได้ซ่อมต่อมาเมื่อใดนั้นยังไม่พบหลักฐาน

พระยาศรีสหเทพ (เส็ง วิริยะศิริ) ราชปลัดทูลฉลองกระทรวงมหาดไทย ต่อมาได้เป็น พระยามหาอามาตยาธิบดี


๑๐๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๐๑


๑๐๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๐๓


๑๐๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๐๕


๑๐๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๐๗

ถิ่นย่านบ้านเก่าและวัดสาคัญ ริมคลองมหาสวัสดี๒๙ อภิลักษณ์ เกษมผลกูล๓๐ เอกชัย ลุนดาพร๓๑ การตั้ ง ถิ่ น ฐานบ้ า นเรื อ นในย่ า นคลองมหาสวั ส ดิ์ นั้ น แม้ ว่ า ที่ ดิ น สองฝั่ ง คลอง มหาสวั ส ดิ์ จ ะถูกจั บ จองไปแล้ ว ก็ต าม แต่ การท าประโยชน์ ในที่ ดิ น ดั ง กล่ า วยั ง ไม่ เกิด ขึ้ น จนกระทั่งเมื่อชาวบ้านที่อยู่ในชุมชนเดิมบริเวณริมฝั่งแม่น้าท่าจีนทยอยขึ้นมาตั้งถิ่นฐานอยู่ โดยมาขอเช่าพื้นที่จากนายกองทานาและตั้งถิ่นฐาน “ภาพของชุมชน” จึงค่อยๆ เกิดขึ้นใน พื้นที่ดังกล่าว๓๒ เพิ่มเติมจากชุมชนบริเวณฝั่งคลองโยงที่มีมาแต่เดิม บริเวณที่พอจะเรียกเป็น ชุมชนได้ ได้แก่บริเวณชุมชนวัดชัยพฤกษมาลา บริเวณชุมชนวัดสุวรรณารามในปัจจุบัน โดย ชาวบ้านร่วมกันสร้างสานักสงฆ์สุวรรณาราม ขึ้น วัดชัยพฤกษมาลา๓๓ วั ด ชั ย พฤกษมาลา เป็ น พระอารามหลวงชั้นโท ชนิ ด ราชวรวิหาร ตั้ ง อยู่ ริมคลอง บางกอกน้ อ ย ปากคลองมหาสวั ส ดิ์ ต าบลมหาสวั ส ดิ์ อ าเภอบางกรวย จั ง หวั ด นนทบุ รี พระอุโบสถและพระวิหารหันหน้าลงทางลาคลองบางกอกน้อย

อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. (๒๕๕๓). มหาสวัสดี ๑๕๐ ปี มหานทีพระราชทาน. หน้า ๕๙ – ๑๑๒. ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ป ระจ าสาขาวิช าภาษาไทย คณะศิ ล ปศาสตร์ และคณบดี ค ณะศิ ล ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๓๑ นักวิชาการอิสระ และอาจารย์พิเศษคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๓๒ ผู้คนที่อาศัยอยู่ริมคลองมหาสวั สดิ์ โดยเฉพาะในแถบตาบลมหาสวัสดิ์ มักมีนามสกุลที่ขึ้นต้นหรือ ลง ท้ายด้วยคาว่า “สวัสดิ์” ซึ่งมีถึง ๖๘ นามสกุล อาทิ มหาสวัสดิ์ สวัสดิ์แดง สวัสดิ์ก้าน สวัสดิ์จุ้น สวัสดิ์โต เป็นต้น (ขนิษฐา อลังกรณ์. “ท่องเที่ยวเกษตร (Agro tourism): ชุมชนกับการมีส่วนร่วมในการท่ องเที่ยว ศึกษาเฉพาะกรณี: ชุมชนริมคลองมหาสวัสดิ์ ตาบลมหาสวัสดิ์ และตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม” สารนิพนธ์นี้เป็น ส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (มานุษยวิทยา) ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๕.หน้า ๒๗) ๓๓ กรมศิลปากร. ประวัติวัดชัยพฤกษมาลา. พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระธรรม ทานาจารย์ (อิ่ม ยโสธโร) ณ เมรุวัดชัยพฤกษมาลา ๑๐ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๑๖ ๒๙ ๓๐


๑๐๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

เขตของวัดนี้ ด้านตะวันออกกว้างตามลาคลองบางกอกน้อย ๒ เส้น ๑๑ วา ด้าน เหนือยาวตามลาคลองมหาสวัสดิ์ ๘ เส้น ๑๗ วา ด้านตะวันตกกว้าง ๒ เส้น ๑๘ วา ด้านทิศใต้ ติดกับสวนเจ้าจอมกลีบ๓๔ ในรัชกาลที่ ๕ และด้านตะวันตกกับด้านใต้นี้ มีคูเป็นเขตทั้งสองข้าง

ปากคลองมหาสวัสดิ์ มองเห็นหลังคาพระอุโบสถวัดชัยพฤกษมาลา

๓๔

เจ้าจอมกลีบ ธิดาพระยาไชย์สุรินทร์ (ม.ล.เจียม เทพหัสดิน)


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๐๙

พระอุโบสถเก่าวัดชัยพฤกษมาลา

พระประธานในพระอุโบสถเก่าวัดชัยพฤกษมาลา และพระศรีอาริยเมตไตรย


๑๑๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

วัดนี้เป็นวัดโบราณ มีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยายังเป็นราชธานี เดิมเรียกกันว่า วัด ชัยพฤกษ์ เป็นวัดร้าง เมื่อสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ ๓๕ ในรัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย ครั้งยังเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ โปรดให้รื้อเอาอิฐมาสร้างกาแพงพระนคร ครั้ ง นั้ น พระองค์ ท รงเป็ น นายด่ า น ครั้ น ถึ ง รั ช กาลที่ ๒ ทรงสร้ า งวั ด ชั ย พฤกษ์ ขึ้ น ใหม่ สันนิษฐานว่าจะให้เป็นผาติกรรมของพระองค์ในการที่โปรดให้รื้อเอาอิฐมาสร้างกาแพงพระ นครเมื่ อ ในรัช กาลที่ ๑ นั้ น ๓๖ แต่ ก ารยั ง หาส าเร็ จ โดยเร็ ว ไม่ จึ ง ได้ มี พ ระราชด ารัส สั่ ง ให้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก่อนทรงผนวช เป็นแม่กองทาเป็นการหลวง การนั้น ค้างอยู่จนตลอดรัชกาลที่ ๓ ด้วยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงผนวชเสีย ครั้นถึง รัช กาลที่ ๔ จึ ง โปรดให้ ป ฏิสัง ขรณ์ต่ อมา ดั ง ปรากฏในประชุ มประกาศรัช กาลที่ ๔ ภาค ปกิรณกะ ส่วนที่ ๒ ได้คัดลงไว้ต่อไปนี้ … มีพระบรมราชโองการมานพระบัณฑูรสุรสิงหนาท ในพระบาทสมเด็จพระ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นพระเจ้าแผ่นดินใหญ่ที่ ๔ ในพระบรมราชวงศ์นี้ ให้ประ ประกาศแก่ ภิ ก ษุ ส งฆ์ ส ามเณรบรรพชิ ต ทั้ ง ปวงที่ พระพฤติ พ รหมจรรย์ ใ น พระพุทธศาสนา และมนุษย์เทพยดาที่มีศรัทธาในพระธรรมวินัย บรรดาที่ได้ฟังค้า ประกาศนี้ ฤาเฉพาะโดยวิเศษ ขอประกาศแก่พระเถรานุเถรที่ อาราธนานิม นต์ ประชุม เพื่อจะรับจีวรลาภไทยธรรมบริขาร ซึ่งจะพระราชทานในสมาคมนี้ให้ทราบ ทั่วกันว่า วัดชัยพฤกษมาลาที่อยู่ปากคลองบางขวาง ซึ่งพระราชทานนามใหม่ว่า คลองมหาสวัสดิ์ แขวงเมืองนนทบุรีนั้น เป็นวัดโบราณมาแต่ครั้งกรุงเก่า เมื่อธนบุรี ตั้ ง ขึ้ น ใหม่ ต้ อ งรื้ อ เอาอิ ฐ ไปก่ อ ก้ า แพงอั น ตรธานไปแล้ ว ยั ง อยู่ แ ต่ ภู มิ วั ด ครั้น พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก ได้ เ สด็ จ เถลิ ง ถวั ล ยราชสมบั ติ ปราบดาภิเษกในปีขาลจัตวาศก จุลศักราช ๑๑๔๔ ได้มีพระบรมราชโองการด้ารัส แด่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งเวลานั้นเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระองค์ใหญ่ ว่าวัดชัยพฤกษมาลาเป็นวัดอยู่ใกล้สวนหลวง๓๗ เดิมถูกรื้อแร่งท้าลาย ในประชุมพงศาวดารภาคที่ ๒๕ ว่ารื้ออิฐมาสร้างกาแพงกรุงรัตนโกสินทร์ แต่ในประชุมประกาศ รัชกาลที่ ๔ ภาคปกิรณกะ ส่วนที่ ๒ ว่ารื้อมาสร้างกาแพงกรุงธนบุรี ๓๖ ถ้าข้อสันนิฐานนี้เป็นการถูกต้อง ก็ย่อมสมจริงตรงกับข้อความในประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๒๕ ๓๗ สวนหลวงอยู่ฝั่งตะวันตกของคลองวัดชลอ ระหว่างวัดน้อยในถึงวัด ชับพฤกษมาลา ในพระราชพงศาร ดาร ร.๔ ตอนทรงตั้งและแปลงนามบรรดาศักดิ์ขุนนาง มีข้อความว่า “สวนหลวงริมวัดชัยพฤกษ์ หลวงราชนุจิตร ๓๕


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๑๑

มา ขอให้ ท รงพระศรั ท ธาไปสร้ า งคื น ขึ้ น ใหม่ เ ป็ น พระอารามได้ จ ะเป็ น การดี พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงได้ทรงรับพระบรมราชโองการว่า ทรง สร้างพระอารามนั้นคืนให้จงได้ จึงได้ทรงบริจาคส่วนทรัพย์สมบัติในกรม จ้าหน่าย เป็ น ค่ า ไม้ ค่ า อิ ฐ ค่ า ปู น แล้ ว ให้ ข้ า ในกรมไปท้ า เป็ น พระอุ โ บสถหลั ง หนึ่ ง มี พระพุทธรูปองค์หนึ่งเป็นพระประธาน มีรูปพระสาวก ๒ องค์ พระวิหารหลังหนึ่ง มีพระพุทธรูป ๔ องค์ การเปรียญหลังหนึ่ง และปลูกกุฏิถวายสงฆ์บ้าง วัตถุฐานนั้น ก็เป็นแต่เพียงพอพระสงฆ์จะได้ใช้บริโภคได้ การทั้งปวงก็ยังไม่ส้าเร็จบริบูรณ์ดี เพราะครั้งโน้นบ้านเมืองยังไม่สมบูรณ์ ราชการทัพศึกก็มีมาก การที่ท้าพระอาราม นั้นก็งดไว้ให้ค้างอยู่ เป็นแต่ถึงฤดูพระกฐินทานพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัยได้เสด็จไปทรงถวายกฐินบ้าง พระราชทานผ้าไตรจีวรบรีขารให้พระโอรส พระธิดาทรงน้าไปถวายบ้างทุกปีมิได้ขาด ครั้นเมื่อเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติแล้ว ก็ยกวัดชัยพฤกษมาลาเข้าในจ้านวนพระอารามกฐินหลวง มีเทียนพรรษาและผ้า กฐินหลวงทุกปี แต่พระราชทานพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้ทรงจุด เทียนพรรษา และเสด็จไปถวายกฐินทุกปีมา ตั้งแต่ปีมะเส็งเอกศก ศักราช ๑๑๗๑ มาจนปีมะแมเบญจศก ศักราช ๑๑๘๕ ครั้งเมื่อปีวอกฉศก พระบาทสมเด็จพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ มีพระบรมราชโองการด้ารัสสั่งให้ยก วัดชัยพฤกษ์ออกเสียจากจ้านวนพระกฐินหลวง ครั้งนั้นกรมสมเด็จพระศรีสุริเยน ทรามาตย์ จึงได้ทรงรับทอดพระกฐินวัดนั้ นสืบมาทุกปี ถึงผู้อื่นมีศรัทธาจะใคร่ทอด ก็ต้องไปกราบทูลขอ แต่โปรดแล้วจึงทอดไว้ ภายหลังมาปีวอก ฯลฯ๓๘ ถ้ามีก้าลังพอจะทะนุบ้ารุง ให้ก็ให้ทะนุบ้ารุงให้เป็นวัดอยู่ ถึงปีให้จัดผ้ากฐินไป ถวาย ถ้าผู้อื่นจะทอดก็ต้องให้มากราบทูลขอก่อน ต่อจึงโปรดทอดได้ อย่าให้สละ ละทิ้ ง เสี ย เป็ น ที่ เ สื่ อ มเสี ย พระเกี ย รติ ย ศสาบสู ญ พระนามในพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศหล้ า นภาลั ย ไปได้ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หัว ได้ รั บ

เจ้ากรม ทรงแปลว่า หลวงราชอุทยานิศร” ต่อมาสวนนี้ตกเป็นของเจ้าจอมกลับ ใน ร.๕ แล้วแบ่งขายบ้าง ถวายเป็น ที่ธรณีสงฆ์ของวัดชัยพฤกษมาลาบ้าง และมีที่ซึ่งตกเป็นของนางชื่น แดงอร่าม ภายในที่ผืนนี้ ยังมีสระกว้างยาว ประมาณร้อยเมตรและมีลาคู (ตรงข้ามพิกุล) ขุดแยกจากคลองวัดชะลอฝั่งตะวันตก เข้าไปสู้สระ ซึ่งกล่าวกันว่า เป็น ทางเรือพระที่นั่งในเวลาเสด็จประพาสแต่เดี๋ยวนี้ คูและสระตื้นเขินเสียแล้ว (จากบทกวีนิราศ) ๓๘ ตอนนี้เนื้อความไม่ติดต่อกัน เห็นจะเป็นด้วยความฉบับเดิมไม่มี หรือมีแต่เป็นถ้อยคาซึ่งไม่ควรจะ กล่าวในที่นี้ ฉะนั้นจึงได้ ฯลฯ ไว้


๑๑๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระวาจาสั่งกรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์ พระบรมราชชนนีได้ดังนี้แล้ว ก็ได้ ทรงทะนุบ้ารุงพระอารามนั้นมาตามสติก้าลังจนสิ้นแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้นเมื่อปีกุนตรีศก ศักราช๑๒๑๓ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษกแล้ว จึงทรงบริจาคพระราชทรัพย์เป็นอัน มากหลายร้อยช่าง ให้ปฏิสังขรณ์วัดชัยพฤกษ์อและวัดเขมา พระราชทานนามเพิ่ม เข้าทั้วสองพระอารามว่า วัดชัยพฤกษมาลา วัดเขมาภิรตาราม ที่วัดชัยพฤกษมาลา มีพระบรมราชโองการโปรดให้กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาสเป็นแม่กองท้า ให้จัดซื้อที่ สวนถวายเพิ่มเติมเข้าให้ใหญ่กว้างออกไป และขุดคูรอบคลอง ให้ท้าพระอุโบสถ พระวิหารของค้างเดิมของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิ ศหล้านภาลัย ให้ส้าเร็จ แล้ว ทรงสร้างการเปรียญลงในข้างหน้าระหว่างพระอุโบสถ พระวิหาร มีพระเจดีย์ใหญ่ ลงในด้านหลังระหว่างพระอุโบสถ พระวิหาร มีพระเจดีย์น้อยในสี่ทิศ และคฤห ส้าหรับเป็นที่บูชาพระเจดีย์ด้ วย และสร้างกุฏิหมู่กุฏิที่อยู่พระภิกษุสงฆ์ หอสวด มนต์ หอระฆัง สะพานท่าน้​้า สะพานข้ามคลอง ศาลาส้าหรับพระอาราม พร้อมมูล บริบูรณ์แล้วเสร็จทุกอย่าง…๓๙ ต่อจากยุคนี้ ไม่ปรากฏว่าได้ปฏิสังขรณ์อะไรบ้าง ครั้นถึงปีชวด จุลศักราช ๑๒๖๒ พ.ศ. ๒๔๔๓ ยุคพระธรรมธาดาโกศล(พ่วง) ปกครองวัดได้จัดการสร้างพระวิหารคดติด กับ ก าแพงพระอุ โ บสถ ๒ หลั ง แต่ ไ ม่ ส าเร็ จ ต่ อ มาถึ ง พุ ท ธศั ก ราช ๑๒๗๗ พ.ศ. ๒๔๕๗ ยุคพระธรรมเจดีย์ (แก้ว) เมื่อยังเป็นที่ พระรัตนมุนี ปกครองวัด ได้ปฏิสังขรณ์บ้างแต่ไม่ค่อย เป็นชิ้นเป็นอัน ฉะนั้นในยุคนี้เสนาะสนะจึงโทรมอยู่ถึง ๖๐ ปีเศษ

ในรัชกาลที่ ๔ นี้มีหมายรับสั่งเรื่องราวต่างๆ ของวัดชัยพฤกษมาลาหลายฉบับและได้นามาตีพิมพ์ไว้ ข้างท้ายประวัติพระอารามนี้ด้วยแล้ว ๓๙


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๑๓

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส แม่กองบูรณะวัดชัยพฤกษมาลา เมื่อครั้งรัชกาลที่ ๔


๑๑๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ครั้ น ถึ ง ยุ ค พระนั น ทวิ ริ ย ะ (โพธิ์ ) ปกครองวั ด เป็ น เวลา ๒๕ ปี ได้ จั ด การ บูรณปฏิสังขรณ์ให้ดีขึ้นเป็นอันมาก นับว่าบริบูรณ์แทบทุกอย่าง คือ ครั้งแรกปฏิสังขรณ์ศาลา การเปรี ย ญ ๑ หลั ง ใช้ ไ ม้ แ ละกระเบื้ อ งศาลาพื้ น ปู น ๒ หลั ง ของเก่ า ซึ่ ง หั ก พั ง แล้ ว เปลี่ยนแปลงขึ้นใหม่ เป็นพื้นปูด้วยกระเบื้องซีเมนต์ และถมพื้นศาลาสกัดอีก ๒ หลัง สูง ๓๔ นิ้ว เสมอกับพื้นศาลาการเปรียญ ปูกระเบื้องหน้าวัว ทาฝาคิ้วซี่กรงไม้ ๑๒ ฝา ทาสีซี่กรง หน้าต่างเชิงกลอนแล้วเสร็จ สิ้นเงิน ๑,๑๔๓ บาท ด้วยทุนทรัพย์ ของสมเด็จพระศรีพัชริน ทราบรมราชินีนาถ ทรงบริจาค ๔๒๐ บาท ของหลวงรามพิชัย นามเดิม(พิน) ๔๐๐ บาท เจ้าพระยาอภัยราชา (ม.ร.ว.ลบ สุทัศน์) เมื่อยังเป็นพระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมือง ซึ่งได้ น าผ้ า กฐิ น พระราชทานไปถวายพระสงฆ์ วั ด นี้ ๑๖๐ บาท หมื่ น เสนานั น ต์ ๑๐๐ บาท พระนันทวิริยะ (โพธิ์) ๖๓ บาท ถึง ร.ศ. ๑๒๑ (พ.ศ. ๒๔๔๕) สร้างศาลาอีก ๕ หลัง ห่างจากคลองมหาสวัสดิ์ ๗ วา เศษ เรียงไปตามลาคลองมหาสวัสดิ์ หลังกลาง ๗ ห้อง ยาว ๘ วา ๓ ศอก หลังสกัด ๒ หลัง หลังละ ๔ ห้อง ยาว ๕ วา กว้าง ๕ วาเท่ากันทั้ง ๒ หลัง เสาไม้มะค่าโต ๓ กากึ่ง ยาว ๓ วา ศอก เดี่ยวสูงแต่ดินถึงพื้น ๒ ศอกคืบ พื้นไม้ตะเคียนบ้าง ไม้ยางและไม้ตะแบกบ้า ง แล้วทา เตียงอาสน์สงฆ์ ๗ เตียง ยางเตียงละ ๕ ศอก กว้าง ๒ ศอก ๑๐ นิ้ว สูง ๑ ศอก ธรรมมาสน์ ๓ ธรรมมาสน์ และศาลาแทรกอีก ๒ หลัง ยาว ๒๓ วาศอก มุงสังกะสี ฝาไม้สักทั้ง ๕ หลัง สิ้น เงิน ๕,๗๖๕ บาท ไม่ปรากฏรายนามผู้บริจาค ต่อจากนี้สร้างศาลาน้า ๒ หลัง มีสะดึงยกเข็ญ ได้ ตั้งอยู่ริมคลองมหาสวัสดิ์ตรงประตูศาลาหลังแทรกข้าง ๑ หลัง เดี่ยวสูงหลังละ ๕ ศอก ๑๒ นิ้ว ยาว ๙ ศอก กว้าง ๖ ยกพื้นเป็นอาสนะสูง ๑ ศอก กว้าง ๑ ศอก ๑๕ นิ้ว มีกระดานกรุ รอบ หลังคามุงสัง กะสี และมีสะพานบันไดทั้ง ๒ หลัง สิ้นเงิน ๓๘๐ บาทเศษ แล้วทารั้ว ด้านข้างคลองมหาสวัสดิ์ เสาก่ออิฐสูง ๕ ศอก ๔ นิ้ว โต ๑๙ นิ้ว ระหว่างเสาก่อเป็นผนังสูง ๑ ศอก ๑๒ นิ้ว ซี่รั้วทาด้วยไม้แดง ก่อตั้งแต่มุมสกัดศาลาการเปรียญจดกาแพงพระอุโบสถ สิ้น เงิน ๙๘๗ บาทเศษ สร้างถนนอิฐด้านข้างคลองมหาสวัสดิ์ ยาว ๘๘ วา ๒ ศอก กว้าง ๓ ศอก สิ้นเงิน ๗๐๕ บาท บางทิมกับนางพลอยสร้างหงส์ ๑ คู่ เงินคนละ ๓ ชั่ง เป็นเงิน ๔๘๐ บาท แล้วซ่อมศาลาน้าอีก ๒ หลัง เป็นเงิน ๔๐ บาท ด้วยทุนทรัพย์ส่วนตัว ในระหว่างนี้นายทรัพย์ กับนางอุ่ม สร้างศาลาน้าน้าทางข้างพระอุโบสถ ๑ หลัง เงิน ๑๒๐ บาท และได้รื้อศาลาตั้ง บาตรซึ่งเดิมอยู่ในบริเวณพระอุโบสถ มาปลูกขึ้นที่ข้างศาลาการเปรียญ สิ้นเงิน ๔๗ บาท ถม พื้นที่ที่เป็นหลุมเป็นบ่อข้างศาลาการเปรียญยกเป็ นถนนสูง ๑ ศอก ๑๒ นิ้ว กว้าง ๓ วา ยาว ๑๘ วา ก่ออิฐ เงิน ๒๖๓ บาท เปลี่ยนไม้ธรณีพระอุ โบสถ คือ ธรณีหน้าต่าง ๑๐ ช่อง ธรณี


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๑๕

ประตู ๒ ช่อง ไม้ทับหลังประตู ๑ช่อง กับก่อประสานที่แตกร้าวและปรับพื้นในพระอุโบสถโบก ปูนถือปูนใหม่ นายสวนบริจาคทรัพย์ช่วย ๔๐ บาท พระอธิการเหนี่ ยงช่วยไม้แดงทาธรณี หนา ๔ นิ้ว กว้าง ๒๐ นิ้ว ยาว ๗ วา ๗ แผ่น พระนนทวิริยะ(โพธิ์) เป็นผู้อานวยการเอง รวม ๑๑ สิ่ง สิ้นเงิน ๑๐,๐๙๐ บาทเศษ ต่ อ มาเมื่ อ คราวพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว เสด็ จ พระราชทาน พระกฐิน สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสโปรดให้เบิกเงินศาสนสมบัติ ซ่อมพระอุโบสถ ๖๐๐ บาท และพระนนทวิริยะ(โพธิ์) ปฏิสังขรณ์กุฏิไม้ ๑๒ หลัง หอฉัน ๒ หลั ง หอสวดมนต์ ๓ ชั้ น ก่อเป็ น ตึ ก ๑ หลั ง ท าถนน ๑๐ สาย กับ ลาดพื้ น ซี เมนต์ ที่ ล าน พระอุโบสถ ในระหว่างนี้พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสั งฆราชเจ้า ทรงบริจาคกัปปิยภัณฑ์ราคา ๑๐๐ บาท ปิดทองพระประธาน นอกนั้นไม่ปรากฏรายนามผู้ บริจาค อนึ่ง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๕ หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ ได้ทรงบริจาคทรัพย์สร้างเมรุเผาศพ ทาด้วยเสาไม้ ๔ ต้น หลังคามุงสังกะสี พร้อมทั้งถนนไปเมรุ ๑ สาย สิ้นเงิน ๓๘๐ บาท ครั้นถึง พ.ศ. ๒๔๖๙ ยุคประครูนนทสิริมหาปัญญา(อิ่ม) ปกครองวัด ได้จัดการสร้าง โรงเรียนบาลีเป็นอนุสรณีย์ ในการพระราชทานเพลิงศพพระนันทวิริยะ(โพธิ์) ๑ หลัง พื้นและ เสาเทคอนกรีต เครื่องบนไม้สัก หลังคามุงกระเบื้องซีเมนต์ สิ้นเงิน ๓.๗๐๐ บาท ด้วยทุน ทรัพย์ของทายกทายิกาและศิษยานุศิษย์ช่วยกันบริจาค ถึง พ.ศ. ๒๔๗๐ ปฏิสังขรณ์กาแพงพระอุโบสถตอนแถบคลองมหาสวัสดิ์กับด้านสกัด หน้าพระอุโบสถ สิ้นเงิน ๕๑๐ บาท เป็นเงินผลประโยชน์ของวัด เกิดจากที่สวนที่นา และสร้าง สะพานคอนกรีตข้ามคลองมหาสวัสดิ์ ๑ สะพาน สิ้นเงิน ๒.๒๖๕ บาท ด้วยเงินของผู้มีศรัทธา ช่วยกันบริจาค กับสะพานน้าคอนกรีต ๓ สะพาน สิ้นเงิน ๑.๐๑๐ บาท ด้วยเงินผลประโยชน์ เกิดจากที่สวนและที่นา และเทคอนกรีตสระน้า ๑ สระ กว้าง ๔ วาสี่เหลี่ยม ลึก ๖ ศอก สิ้น เงิ น ๘๐๐ บาท เงิ น รายนี้ เป็ น ของ นางเติ ม บริจ าค ท าเขื่อนคอนกรีต ยาวเท่ า กับ กาแพง พระอุโบสถ ๑ เส้น ๑๐ วา สิ้นเงิน ๙๐๐ บาท เป็นเงินของผู้มีชื่อช่วยกันทาคนละ ๑ วา ส่วน ๑๐ วานั้นเงินของหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ กับ ของชาวบ้านช่วยในการรับพระราชทานกฐิน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๔ อนึ่ง การบูรณปฏิสังขรณ์สาหรับวัด เฉพาะพระอุโบสถได้ปฏิสังขรณ์กันมาหลายครั้ง แต่ ใ นที่ นี้ จ ะกล่ า วเพี ย งยุ ค พระนั น ทวิ ริ ย ะ(โพธิ์ ) ตลอดมาจนถึ ง ปั จ จุ บั น คื อ ครั้ ง ที่ ๑ พระนั น ทวิ ริย ะ(โพธิ์ ) เมื่ อยั ง เป็ น พระครูน นทปรีชา ซ่ อมผนั ง ที่ แตกร้าวและทรุด เปลี่ ยน กระเบื้องหลังคา ซ่อมช่อฟ้าดีดเสาระเบียง ถือปูนที่ ชารุด ปูพื้นกระเบื้องลายคราม ครั้งที่ ๒


๑๑๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ พระวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ครั้งยังเป็นพระองค์เจ้าธานี นิวัต ทรงซ่อมปูนที่กะเทาะ และใน พ.ศ. ๒๔๗๒ นี้ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดาเนินพระราชทานผ้าพระกฐิน พระครูนนทสิริมหาปัญญาจัดการเทคอนกรีต รับขื่อและถือปูนใหม่ เขียนภาพปางปฐมสมโพธิเป็นกรอบติดที่ผนัง ๔ กรอบ เขียนลายลูกไม้ เหนือหน้าต่างประตูพระอุโบสถ เจาะประตูด้านหน้าพระอุโบสถอีก ๒ ประตู ทาเป็น ๓ ประตู ในด้านหน้า ด้านหลังคงไว้ตามเดิม และปั้นดอกไม้เป็นซุ้มบนประตูหน้าต่าง ปิดทองลายรดน้า ประตูและดอกไม้ปั้น ๒ ช่อง นอกนั้นเป็นแต่ล งรักไว้และได้เขียนภาพอีก ๔ ช่อง กับปูพื้น กระเบื้องสีที่หน้ามุขทั้ง ๒ ข้าง การกระทาครั้งนี้ก็เป็นแต่เพียงซ่อมสิ่งที่ ชารุดเท่านั้น ยังหา ทั่วถึงไม่ ต่อมาได้มีผู้ศรัทธาบริจาคทรัพย์ ช่วยกันปิดทองดอกไม้ที่ซุ้มประตูอีก คือ นางวาด ๒๕ บาท นางถม ๑๐ บาท นางหนู ๑๐ บาท นางหงิม ๕ บาท ผู้บริจาคต่ากว่า ๕ บาท เงิน ๓ บาท ๑๐ สตางค์ กับเงินกัลปนาซึ่งเกิดจากที่สวนของเจ้าจอมกลีบ ๕๐ บาท รวมทั้งสิ้นเป็น เงิน ๑๐๓ บาท ๑๐ สตางค์ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๑ ได้ชักชวนประชาชนสร้างศาลาการเปรียญขึ้นใหม่ ๑ หลัง เพราะ หลังเก่าเสียใช้การไม่ได้ แล้วเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๐๐ สิ้นเงินประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท และได้ ซ่อมและสร้างกุฏิ ๒ ชั้น ๖ หลัง โดยเริ่มงานมาแต่ พ.ศ. ๒๔๙๙ แล้วเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๐๕ สิ้นเงินประมาณ ๔๓,๗๔๓ บาท ภายในวัดชัยพฤกษมาลามีปชู นียวัตถุที่สาคัญดังนี้ ๑. พระประธานในพระอุโบสถเป็นพระพุทธรูปปัน้ ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๔ ศอก ๘ นิ้ว สูง ๔ ศอกคืบ ๙ นิ้ว มีพระอัครสาวกนั่งประนมหัตถ์ ๒ องค์ เป็นพระปั้นดุจกัน ๒. พระพุทธรูปยืน ปางราพึง สูง ๓ ศอกเศษ มีตานานว่า เมื่อหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ ทรงได้พระเศียรพระพุทธรูปมาจากทางเหนือแล้วทรงหล่อองค์พระให้สมบูรณ์ขึ้น และได้ทรง ถวายพระนามว่า พระพุทธศรีสัชนาลัย และที่ฐานพระได้ให้ช่างทาประตูปิดเปิดไว้สาหรับ บรรจุอัฐิได้ บัดนี้ประดิษฐานไว้ตรงหน้าพระประธาน ๓. พระพุทธรูปหล่อปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๑ ศอก ๑๐ นิ้ว สูง ๑ ศอก ๑๓ นิ้ว พระนันทวิริยะ(โพธิ์) สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๔ สมเด็จพระสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ประทานนามว่า พระมารชิน ๔. พระพุทธรูปปัน้ ขนาดย่อมประดิษฐานอยู่ในพระวิหาร ๔ องค์ ๕. พระศิลาขาว ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง ๑ ศอกเศษ เป็นพระที่หม่อมห่วง ลดาวัลย์ ได้ถวายไว้ บัดนีป้ ระดิษฐานอยู่ที่ศาลาการเปรียญ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๑๗

๖ . รูปหล่อพระนันทวิริยะ (โพธิ์) คณะศิษยานุศิษย์ได้สร้างไว้ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๑ บัดนี้ประดิษฐานอยู่ที่ศาลาการเปรียญ ๗. พระเจดีย์ ๑ องค์ สูง ๑๐ วา ๒ ศอก วัดโดยรอบ ๑๔ วา และมีพระเจดีย์ขนาด เล็กอยู่บนฐานเดียวกันนั้น ๔ องค์ มาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๘ หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัล ย์ ได้ทรง ทาการบูรณะปฏิสังขรณ์ เสร็จแล้วได้อันเชิญพระบรมอัฐิรัชกาลที่ ๓ และพระอัฐิเจ้านายอีก หลายพระองค์มาบรรจุไว้ในพระเจดีย์องค์นี้ ครั้นถึงวันที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ เวลา ๓.๐๐ น.เศษ อสนีบาตได้ตกลงทาให้พระเจดีย์เสียหาย และในปีนี้ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้รับพระราชทานกฐินมาทอดพระอารามนี้ ได้บริจาคเงินสาหรับบูรณะพระเจดี ย์ได้เป็น จานวน ๓.๘๐๐ บาท และมีผู้บริจาคร่วมด้วยอีกจานวนหนึ่ง วัดได้ดาเนินการบูรณะพร้อม ด้วยติดสายล่อฟ้าไว้เสร็จสิ้นเงินไปเป็นจานวน ๔,๘๒๖ บาท ส่วนถาวรวัตถุทสี่ าคัญภายในวัดชัยพฤกษมาลามีดังนี้ ๑. พระอุโบสถ กว้าง ๔ วา ยาว ๑๑ วา ๒ ศอก ที่หน้าบันชั้นบนมีปูนปั้นเป็นรูป พระครุฑพ่าห์ ซึ่งเป็นเครื่องหมายของรัชกาลที่ ๒ และที่หน้าบันมุขลด มีปูนปั้นเป็นรูปพระ มหามงกุฎ ซึ่งเป็นเครื่องหมายของรัชกาลที่ ๔ ๒. พระวิหารกว้างและยาวเท่ากับพระอุโบสถ ๓. หอสวดมนต์ตึก ๓ ชั้น สูง ๖ วา ๓ ศอก กว้าง ๔ วา ๓ ศอกคืบ ยาว ๗ วา ๓ ศอกคืบ มีมุข ๒ ข้าง สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๓ สิ้นเงิน ๑๓,๕๓๔ บาท ๔. ศาลาการเปรียญตึก กว้าง ๖ วา ยาว ๑๔ วา (เดี๋ยวนี้เป็นโรงเรียนหนังสือไทย) ๕. โรงเรียนภาษาบาลี ซึ่งเป็นอนุสรณียสถานแห่งพระนันทวิริยะ (โพธิ์) กว้าง ๕ วา ยาว ๗ วาศอก ๖. สะพานคอนกรีตข้ามคลองมหาสวัสดิ์ กว้าง ๓ ศอก ยาว ๑๓ วา สูงจากระดับน้า ๙ ศอก ๗. พระไตรปิ ฎกฉบั บพิ ม พ์ ในรัชกาลที่ ๕ พร้อมทั้ ง ตู้ ส าหรับ บรรจุ ฯ ๑ ชุ ด และ พระไตรปิฎกฉบับอนุสรณ์งานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ ๑ ชุด ๘. หนังสือ ปาติโมกข์ พร้อมทั้งตู้เชิง เทียนทอง เหลืองและธรรมมาสน์ สาหรับสวด สังเค็ดในงานพระศพสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี ๑ ชุด ๙.พระบรมรูปหล่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเครื่องยศจอมพล ทหารบก


๑๑๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

๑๐. ธรรมมาสน์ลายทองสังเค็ด ในงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ๑๑. โต๊ะไม้สักหมู่ ๕ เดินทอง พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จ พระสังฆราชเจ้า ประทานไว้สาหรับวัด ๑ ชุด มรรคนายกสาหรับ พระอารามนี้ ยั ง สื บ ไมได้ ว่ าผู้ใดเป็ นมาบ้าง จ าได้ แต่ เพียงว่า หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์๔๐ ได้ทรงอุปการะวัดมาโดยประทานนิตยภัตแก่พ ระเปรียญเป็นราย เดือนๆ ละ ๖ บาท ประทานมาแต่ พ.ศ. ๒๔๖๙ และพระครูนนทสิริมหาปัญญา (อิ่ม) ได้ปลูก ห้ อ งแถวให้ เ ช่ า ส าหรั บ เก็ บ ผลประโยชน์ บ ารุ ง พระสงฆ์ ส ามเณร และพระอาราม อนึ่ ง ผลประโยชน์รายได้ของวัดนี้ พึ่งจะเริ่มมีขึ้นจากห้องแถว ๑๐ ห้อง ได้ค่าเช่าห้องละ ๒ บาทต่อ เดือน และได้จากผู้เช่าที่ธรณีสงฆ์อยู่ในวัดอีกปีละ ๒๐ บาท แต่ไม่คงที่เพราะอยู่กันไม่เป็น หลักฐาน ส่วนไวยาวัจกรนั้น นายแหนเป็นไวยาวัจกร ต่อมา นายสิโรตม์ ปัญญานุวัฒน์เป็น ไวยาวัจกร วัดสุวรรณาราม พระครูวิชัยวุฒิคุณ บันทึกไว้ว่าผู้ก่อตั้งวัดสุวรรณารามชื่อ ตากองคง มี หลวงพ่อสาด เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และได้รับจัดตั้งจดทะเบียนเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๒๔ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๓ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา โดยมีหลวงพ่อเนียม โชติกาโร เป็นเจ้าอาวาสในสมัย นั้ น โดยได้ เ ริ่ ม ก่ อ สร้ า งพระอุ โ บสถ และมี พ ระยาพิ พิ ธ ไอศู ร ย์ เ ป็ น ประธานการก่ อ สร้า ง ภายหลังวัดสุวรรณนี้ได้กลายเป็นศูนย์กลางชุมชนที่สาคัญแห่งหนึ่งของพื้นที่สืบมา อนึ่ง เมื่อ คนอพยพเข้ามาอยู่นานเข้าบางคนพอมีเงินบ้างจึงขอซื้อที่ดินจากเจ้าของเดิม ซึ่งเป็นของ พระบรมวงศานุวงศ์ ในสมัยต่อมาที่ดินหลายแปลงจึงเปลี่ยนเจ้าของไป๔๑

ทราบมาว่า เมื่อวันที่ ๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๘ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จ พระราชดาเนินไปทรงถวายผ้ากฐิน ณ พระอารามนี้ หม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ ได้จัดการรับเสร็จโดยทาภาชนะรับรอง และของเสวยโดยใช้มะพร้าวทั้งสิ้นเป็นที่สบพระราชหฤทัย จึงโปรดเกล้าฯ ตั้งให้เป็นมรรคนายก พระอารามนี้ต่อไป ๔๑ เอี่ยม ทองดี และคณะ. เรื่องเดิม. หน้า ๕๘. ๔๐


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๑๙

วัดสุวรรณารามในปี พ.ศ. ๒๕๕๐

วัดสุวรรณารามนี้ มีพระเถระที่ชาวบ้านในแถบคลองมหาสวัสดิ์นับถืออยู่รูปหนึ่งคือ พระครูวิชัยวุ ฒิคุณ มีนามเดิมว่า ดี นามสกุล พุทธสัยยาตร์ เป็นบุตรนายแก้ว นางแปลก พุทธสัยยาตร์ เกิดเมื่อวันอังคาร ขึ้น ๘ ค่า เดือน ๘ ตรงกับเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๗ ที่ บ้านมหาสวัสดิ์ อาเภอนครชัยศรี (ปัจจุบันเป็นอาเภอพุทธมณฑล) จังหวัดนครปฐม มีพี่ชาย ๑ คน คือ นายปุ แก้วประเสริฐ เมื่ออายุ ๑๔ ปี ได้มาอาศัยอยู่กับหลวงพ่อพุฒซึ่งเป็นลุงของท่าน ที่วัดสุวรรณาราม ตาบลศาลายา อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม และได้บรรพชาเป็น สามเณร


๑๒๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระครูวิชัยวุฒิคุณ (หลวงพ่อดี สุวณฺโณ)

ต่อมาได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ ณ วัดงิ้วราย ตาบลงิ้วราย อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยมี พระครูปัจฉิมทิศบริหาร วัดงิ้วราย เป็น พระอุ ปั ช ฌาย์ พระปลั ด บุญ เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ ได้ รับ ฉายาว่า สุ ว ณฺ โ ณ และได้จา พรรษาที่วัดสุวรรณาราม หลังจากอุปสมบทแล้ว ได้ศึกษาธรรมและภาษาบาลีกับหลวงพ่อเนียม โชติกาโร ซึ่ง ท่านเป็นศิษย์ของท่านเข้าคุณพระพุทธวิถีนายก (หลวงปู่บุญ) วัดกลางบางแก้ว อาเภอนครชัยศรี


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๒๑

จังหวัดนครปฐม จนมีความรู้ภาษาบาลี และปริยัติธรรม และสอบได้นักธรรมตรี เมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ สอบได้นักธรรมโท เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ พ.ศ. ๒๔๗๗ ได้ไปจาพรรษาที่วัดกกตาล อาเภอนครชัยศรี จนถึง พ.ศ. ๒๔๘๑ จึงได้ ย้ายกลับมาวัดสุวรรณารามอีกเพื่อได้อยู่ใกล้กับญาติ ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ท่ านได้ รั บแต่ งตั้ งเป็ นเจ้ าอาวาสวั ดสุ วรรณารามและได้ ดาเนินการก่อนสร้างพระอุโบสถซึ่งเริ่มก่อสร้างตั้ งแต่สมัยหลวงพ่อเนียม โชติกาโร จนแล้ว เสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ ท่านเป็นเจ้าอาวาสอยู่ประมาณ ๗ ปี ในระหว่างนั้นได้ไปจาพรรษาอยู่ ที่วัดขนอน อาเภอโพธารามจังหวั ดราชบุ รี เป็นเวลา ๑ พรรษา หลังจากนั้นได้ กลับมาจ า พรรษาที่วัดสุวรรณารามอีกครั้งหนึ่ง และได้ลาออกจากตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดสุวรรณารามโดย มีพระมหาโชติ เรวโต เป็นเจ้าอาวาสต่อมา ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๘ ได้รับแต่งตั้งเป็นพระคูส่ วด ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๘ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๒ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตาบลสาโรง ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูวิชัยวุฒิคุณ พระครูวิชัยวุฒิคุณ หรือ หลวงพ่อดี ท่านมีวัตรปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดีจนเป็นที่ ศรัทธาของประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิง่ ความสมถะและถือสันโดษ ท่านอยู่อย่างง่ายๆ ไม่ชอบ สะสมสิ่งของที่มีผู้มาถวายท่าน ท่านมักจะมอบต่อให้กับพระภิกษุอื่นหรือมอบให้กับลูกศิษย์ ถ้าเป็นเงินท่านจะมอบให้เป็นสมบัติของวัดเพื่อใช้สร้างถาวรวัตถุต่อไป หลวงพ่อดี สุวณฺโณ เป็นผู้มีความเมตากรุณากับประชาชนทั่วไป เมื่อท่านเป็นพระอุปัชฌาย์ มีผู้มีให้ท่านบวชให้ เป็นจานวนมาก บางคนอาจถือเคล็ดว่าชื่อท่านเป็นมงคลเมื่อท่านรับแล้วท่านต้องไปให้ได้ มี อยู่ครั้งหนึ่งท่านไปเป็นพระอุปัชฌาย์ที่วัดปุรณาวาสเสร็จเรียบร้อยแล้วจึง เดิน ทางกลับ โดย เรือ หางยาวขณะนั้น มีฝ นตกท่ า นนั่ง อยู่ก ลางลาในลัก ษณะเข่าชันศอก เมื่อเรือผ่านสี่แยก ศาลายาปรากฏว่ามีเรืออีกลาหนึ่งแล่นตัดมาชนเรือที่ท่านนั่งมาจนขาดตรงตาแหน่งหน้าแข้ง ท่าน ทาให้เรือจม แต่ท่านได้รับบาดเจ็บเป็นแผลถลอกเล็กน้อยและมีผู้นามาส่งที่วัดสุวรรณาราม วันรุ่งขึ้นคนขับเรือลาที่ชนท่านได้มาเยี่ยมท่านที่วัดสุวรรณารามด้วยความเป็นห่วงแต่ ปรากฏว่าท่านได้กลับเดินทางไปงานที่ท่านรับนิมนต์ไว้เสียแล้ว


๑๒๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระอุโบสถวัดสุวรรณาราม ริมคลองมหาสวัสดิ์

พระประธานภายในพระอุโบสถวัดสุวรรณาราม


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๒๓

หลวงพ่อดี สุวณฺโณ ฉายาของท่านคู่กับวัดสุวรรณาราม อาจกล่าวได้ว่ าชาวอาเภอ พุทธมณฑลและใกล้เคียงรู้จักท่านในนามของ “หลวงพ่อดีวัดสุวรรณ” คงเนื่องจากท่านเป็น เจ้าอาวาสวัดสุวรรณารามนานที่สุดในจานวน เจ้าอาวาสทั้งหมดท่านเป็นเจ้าอาวาส ๒ ครั้ง รวมเป็นระยะเวลาถึง ๔๕ ปี มีผู้มาให้ท่านเป็นอุปัชฌาย์บวชให้หรือมาขอลาสิกขาบทกับท่าน หลายพันคน ซึ่งบุคคลเหล่านี้ก็ยังระลึกถึงท่านเสมอมา ท่านเป็นผู้มีส่วนในการสร้างถาวรวัตถุ ต่างๆ ของวัดสุวรรณารามเกือบทั้งสิ้นไม่ว่าจะเป็นพระอุโบสถศาลาการเปรียญ หอปริยัติธรรม และหอฉัน ฌาปนสถาน หอระฆัง กุฏิสงฆ์ ศาลาท่าน้าโรงเรียนวัดสุวรรณาราม ซึ่งทางราชการ ได้นาชื่อของท่านมาเป็นชื่อของโรงเรียนว่า “โรงเรียนวัดสุวรรณาราม (ดีราษฎรรังสฤษดิ์)” โดยมีไวยาวัจกรคือ นายถาวร เทียมปฐม และพระครูใบฎีกาจรูญ กิตฺติญาโณ ซึ่งท่านไว้วางใจ เป็นผู้ช่วยดาเนินการ หลวงพ่อดี สุวณฺโณ เป็นพระที่ไม่ยึดติดกับลาภยศตาแหน่ง ท่านแสดงความต้องการ จะลาออกจากตาแหน่งเจ้าอาวาส เจ้าคณะตาบล และตาแหน่งอุปัชฌาย์ ซึ่งตาแหน่งเหล่านี้ เป็นที่ต้องการของพระภิกษุโดยทั่วไปในปัจจุบัน ท่านได้ยื่นใบลาออกหลายครั้งแต่กรรมการ วัดและญาติโยมได้ขอร้อ งให้ท่านอยู่ในตาแหน่งเดิมต่อไป บางครั้งต้องขอให้พระผู้ใหญ่ช่วย ขอร้องจึงสาเร็จ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ ท่านได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูวิชัยวุฒิ คุณ คณะศิษยานุศิษย์ได้จัดทาเหรียญที่ระลึกของท่านเป็นรุ่ นแรกลักษณะเป็นรูปภาพอัด กระจก หลังจากนั้นก็ได้มีการจัดทาเหรียญที่ระลึกของท่านในโอกาสต่างๆ อีกหลายรุ่นหลาย แบบ หลวงพ่อดี สุวณฺโณ ได้อาพาธด้วยโรคระบบทางเดินหายใจและได้เข้ารับการรักษาที่ โรงพยาบาลพญาไท ๑ และได้มรณภาพในวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ด้วยภาวะหัวใจ ล้มเหลว รวมสิริรวมอายุได้ ๘๙ ปี ๔ เดือน ๑๖ วัน


๑๒๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

วัดสาลวัน๔๒ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๐ ก้านันพิน ซึ่งมีบรรดาศักดิ์เป็น ขุนวิศาลกันโอภาส เป็นนายกอง เก็บผลประโยชน์จากที่ดินนาของเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ได้นาเงินจากค่ากองนามา สร้างเป็นวัดขึ้น ในสมัยเริ่มแรกมีเพียงกุฏิและศาลารวมอยู่ด้วยกันเป็นเรือนหมู่ดูสวยงามแต่ยงั ไม่มีโบสถ์ มีพื้นที่กว้างขวางกว่าปัจจุบันมาก มีพระอธิการชด (เดช ดิษดี) เป็นสมภารรูปแรก ได้ร่วมกับขุนวิศาลฯและชาวบ้านทานุบารุงวัดสาลวันเรื่อยมาได้ริเริ่มสร้างศาลาการเปรียญขึน้ เป็นหลังแรกของวัด วั ด นี้ เรีย กกันแต่เดิ มว่า “วั ด ตาพิ น ” ตามชื่ อของขุนวิศาลกันโอภาส ต่ อมามีการ เปลี่ยนชื่อมาเป็น “วัดภิญโญสโมสร” ตามชื่อผู้สร้าง และเป็น “วัดสาลวัน ” ในที่สุด และ กลายเป็นศูนย์กลางชุมชนในสมัยต่อมา ที่สาคัญคือวัดทาให้ชุมชนเริ่มเคลื่อนตัวจากสี่แยก คลองขวางมาอยู่ฝั่งตรงกันข้ามกับวัดและกลายเป็นชุมชนศาลายามาจนกระทั่งปัจจุบัน ต่อมา เมื่อเปิดเดินรถไฟสายใต้ ชุมชนศาลายาได้รับคัดเลือกให้เป็นสถานีหนึ่งที่ร ถไฟจอดรับส่ง ผู้โดยสาร เรียกว่า “สถานีศาลายา” เจ้าอาวาสรูปแรกของวัดสาลวันคือ พระอธิการชด (เดช ดิษดี) เกิดเมื่อ พ.ศ.๒๔๕๓ ณ บ้านย่านบางพรหม ตลิ่งชัน ธนบุรี เป็นบุตรของนายกวากับนางกล่า ดิษฐ์หนู มีพี่น้องร่วม บิดามารดารวมกัน ๕ คน ดังนี้ ๑. นางสาลี ดิษฐ์หนู ๒. นางสารวม ดิษฐ์หนู ๓. พระอาจารย์ชด ดิษดี ๔. นางเสงี่ยม ดิษฐ์หนู ๕. นายฉ่อง ดิษฐ์หนู ครอบครัวของท่านมีอาชีพทาสวนทานา ท่านได้บรรพชาเป็นสามเณรตั้งแต่วัยเด็ก จนอายุครบอุปสมบทได้อุปสมบท ณ วัดช่างเหล็ก ท่านได้มารับตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดสาลวัน ต่อจากหลวงตาจิ๋ว ซึ่งเป็นสมภารรูปแรกของวัดสาลวัน ในสมัยนั้นมีพระสงฆ์จาพรรษาเพียง ๒ – ๓ รูป วัดมีเพียงหมู่กุฏิกับมณฑป (เป็นเรือนไม้ทรงกลมมีชานเดินได้รอบมียอดฉลุลาย สวยงามลักษณะคล้ายมณฑป) ริมสระน้า ท่านได้สร้างศาลาเรียน เป็นศาลาไม้หลังคามุงจาก

๔๒

เรียบเรียงโดยคุณเอกชัย ลุนดาพร


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๒๕

ไว้เป็นที่เรียนหนังสือของเด็กๆ นับเป็นศาลาการเปรียญและโรงเรียนหลังแรกของวัดสาลวัน โดยท่านเป็นครูผู้สอนด้วยตัวท่านเอง ต่อมาภายหลังท่านได้ลาสิกขากลับไปอยู่ที่บ้านเดิมย่าน บางระมาด ตลิ่งชัน ต่อมาได้ย้ายมาอยู่ที่ศาลายาและได้อุปสมบทอีกครั้ง ณ พัทธสีมาวัด มะเกลือโดยมีพระครูศิริชัยวัฒน์เป็นพระอุปัชฌาย์ อยู่ในสมณเพศจนมรณภาพ ต่อมาหลังจาก หลวงตาชด มรณภาพ กานันเถิ่งได้นิมนต์พระอธิการสมจากวัดมะเกลือมาเป็นเจ้าอาวาส เล่า กันว่าแต่เดิมหลวงพ่อสมเป็นเสือเก่าท่าทางน่าเกรงขาม ภายหลังมรณะภาพได้หล่อรูปเหมือน ไว้ที่ศาลาริมน้า๔๓

หน้ากุฎิสมควรสามัคคี ทวีวัฒน์ ๑-๒ และ ๓ วัดสาลวัน ถ่ายเมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๔๙๙ (อนุเคราะห์ภาพโดยคุณเอกชัย ลุนดาพร)

สัมภาษณ์ นางจันทร์สุดา สุภาพันธ์ (หลาน) ที่อยู่ ๘๘/๔ ม.๕ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม นางดวง ชิตสุข อายุ ๘๒ ปี ที่อยู่ ๘๘ ม.๕ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม และ นายกลิ่น แมงทับ อายุ ๗๒ ปี ที่อยู่ ๕/๒ ม.๔ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๔๓


๑๒๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ภายหลังจากพระอธิการสมแล้ว ต่อมาพระอธิการสมควรได้รับตาแหน่งเจ้าอาวาสรูป ต่อมา พระอธิการสมควร (วิชชา วิสาโล) เกิดเมื่อเดือน ๘ ปีมะโรงตรงกับวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๔๕๙ ณ หมู่บ้าน โพนโด่ง จังหวัดตราวิน ไซง่อน (ปัจจุบันโฮจิมินท์ซิตี้) เวียดนาม เป็นบุตร นายเชิงแนกับนางสุพันธ์ สุริยประภา (เซ็งหงก) มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด ๘ คน เป็นชาย ๗ คน หญิง ๑ คน โดยหลวงพ่อเป็นบุตรคนโต เมื่อเยาว์วัย หลวงพ่อได้ศึกษาเล่าเรียนที่โรงเรียนวัดโพนโด่ง จังหวัดตาวิน ไซง่อน เวียดนาม จนจบการศึกษาชั้นประถมปีที่ ๔ ในปีการศึกษา ๒๔๗๑ จากนั้นก็ได้ช่วยบิด า มารดาทานา ทาไร่ จนถึงวัยอุปสมบท พระอธิการสมควรอุปสมบทเมื่ออายุได้ ๒๐ ปี ณ วัดจงโกรม จังหวัดตาวิน ไซง่อน เวียดนาม ปี ๒๔๗๙ แล้วมาจาพรรษา ณ วัดโพนโด่ง จังหวัดตาวิน ไซง่อน เวียดนาม ซึ่งเป็น บ้านเกิดของท่าน จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ได้เดินทางเข้ามาที่ประเทศกัมพูชา และได้ จ าพรรษา ณ วั ด ล าดวน ต าบลในเมื อ ง อ าเภอพระตะบอง จั ง หวั ด พระตะบอง ศึ ก ษา พระธรรมและเรียนปฏิบัติกรรมฐานจากพระอาจารย์ซิวและพระธรรมจริยาพฤติ เจ้าคณะ จังหวัดพระตะบอง ซึ่งใช้เวลาศึกษาอยู่ ๑ พรรษา พอออกพรรษาจึงขอลาพระอาจารย์ออก รุกขมูล ถือธุดงค์วัตร ตามรอยพระอาจารย์โดยไปปฏิบัติตามป่าเขา เช่น พนมสาเภา พนม กระเปอ (จระเข้) จนถึงปี ๒๔๘๖ เดินธุดงค์กับวัดลาดวน แล้วขออนุญาตพระอาจารย์ซิว เดิน ธุ ด งค์ วั ต ร เข้า สู่ ป ระเทศไทยในเดื อนเมษายน ๒๔๘๗ เข้า พั กที่ วั ด เกาะเข็ด อาเภอเมื อง จังหวัดปราจีนบุรีเป็นที่แรก ต่อมาเดินธุดงค์มาถึงวัดสาลวันราว ปี ๒๔๙๒ ได้เป็นเจ้าอาวาส วัดสาลวัน ตาบลศาลายา (ปัจจุบัน อาเภอพุทธมณฑล) อาเภอนครชัยศรี ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีสวรรค์สังฆาราม (วัดถือน้า) จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๔๗ พระอธิการสมควรมีตาแหน่งการปกครองดังนี้ ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ อายุ ๓๓ ปี พรรษาที่ ๑๓ ดารงตาแหน่งเจ้าอาวาส วัดสาลวัน ตาบล ศาลายา อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม มีตาแหน่งเป็นพระอธิการสมควร ปี พ.ศ. ๒๔๙๙ ได้รับ สมณะศักดิ์แต่งตั้งเป็นพระครูใบฎีกาสมควรฐานานุกรม ของ พระธรรมดิลก เจ้าคณะภาค ๗ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (ปุ่น ปุณณสิริ) ซึ่งต่อมาคือ สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๑๗ ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ลาออกจากตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดสาลวัน ตาบลศาลายา อาเภอ นครชัยศรี จังหวัดนครปฐม


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๒๗

พระอธิการสมควร (วิชชา วิสาโล) อดีตเจ้าอาวาสวัดสาลวัน (อนุเคราะห์ภาพโดยคุณเอกชัย ลุนดาพร)


๑๒๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ เดินธุดงค์ มาที่นครสวรรค์ และแวะพักจาพรรษาที่ วัดศรีสวรรค์ สังฆาราม (วัดถือน้า) โดยขออนุญาตจากเจ้าอาวาสคือพระสมุห์บุญชู อปมาทะ (สังวรโยธิน) ซึ่งพักอยู่ได้ ๔ วัน เจ้าอาวาสมรณภาพลงซึ่งไม่มีใครเหมาะสมที่จะเป็นเจ้าอาวาส ญาติโยมจึง นิมนต์ให้หลวงพ่อเป็นเจ้าอาวาสซึ่งหลวงพ่อยอมรับเป็นเพียงรักษาการเจ้าอาวาสเท่านั้น ปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ได้รับตราตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดถือน้า จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ปี พ.ศ.๒๕๔๐ ได้รับโล่การพัฒนาสังคมจากกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้รับพระราชทานเสมาธรรมจักรจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระอธิการสมควรนี้เมื่อเดินธุดงค์เข้าสู่ประเทศไทยในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ ท่านได้ เดินทาง ไปยังสถานที่ต่างๆ อีกมากมายหลายแห่ง จนได้มาจาพรรษาอยู่ที่วัดสาลวั น ตาบล ศาลายา อาเภอนครชัยศรี (ปัจจุบันขึ้นอยู่กับอาเภอพุทธมณฑล) จังหวัดนครปฐม หลวงพ่อก็ ได้เริ่มสร้างโบสถ์และถาวรวัตถุต่างๆ อีกมากมายซึ่งมิใช่ก่อสร้างเสนาสนะทางศาสนาเท่านั้น หลวงพ่อยังมองการณ์ไกลเห็นความสาคัญของการศึกษาด้วย จึงมักสร้างโรงเรียนประชาบาล ควบคู่ ไ ปด้ วยทาให้ วัด กลายเป็น ศูน ย์กลางของชุม ชนอย่ างแท้จ ริงไม่ เพี ย งแต่ที่ วัดสาลวัน วัดอื่นๆ ที่ท่านได้สร้างไว้ เช่น ที่วัดศรีสวรรค์สังฆาราม (วัดถือน้า) นครสวรรค์ วัดเขาพระยา พายเรือ อาเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี วัดเขาหินเทิน อาเภอสว่างอารมณ์ จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งปัจจุบันนี้โรงเรียนต่างๆเหล่านี้ปรากฏ นามของหลวงพ่อ ซึ่งการพัฒนาและการก่อสร้าง วัดสาลวันของหลวงพ่อตั้งแต่ท่านดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสมีดังนี้ ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ – ๒๔๙๕ สร้างพระอุโบสถวัดสาลวัน ตาบลศาลายา อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม กว้าง ๗ เมตร ยาว ๑๘ เมตร ลักษณะหลังคาทรงไทยเป็นโบสถ์มหาอุตย์ ด้านหน้ามีลายปูนปั้นเป็นรูปราหูอมจันทร์ด้านหน้า มีพระปรางค์ ๒ องค์ สูง วาเศษรื้อมาจาก ริมคลองมาสร้างใหม่เป็นที่บรรจุอัฐิขุนวิศาลกันโอภาสและภรรยา (เปลี่ยน กันโอภาส) และได้ หล่อพระประธานประจาพระอุโบสถ (หลวงพ่อปฐม เขมราจารย์) สร้างหอสวดมนต์ไม้หลังคา ทรงไทยกว้าง ๔ วา ๒ ศอก ยาว ๒ วา สร้างกุฏิสมควรทวีวัฒน์ ปี พ.ศ. ๒๕๐๐ สร้างสะพานข้ามคลองขุดมหาสวัสดิ์ระหว่างวัดสาลวันกับตลาด ศาลายา กว้าง ๓ เมตร ยาว ๓๐ เมตร ทาด้วยไม้เป็นสะพานสาธารณประโยชน์ หลังจากที่ท่านลาออกจากตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดสาลวันในปี ๒๕๐๒ แล้ว เดินทาง ธุดงค์มาที่นครสวรรค์และแวะพักจาพรรษาที่วัดศรีสวรรค์สังฆาราม (วัดถือน้า) ในปี พ.ศ.


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๒๙

๒๕๐๕ รับตาแหน่งรักษาการเจ้าอาวาสและเป็นเจ้าอาวาสสืบมาที่สมณะศักดิ์พระครูนิมิต นวกรรมท่านได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดศรีสวรรค์สังฆาราม(วัดถือน้า) สร้างความเจริญให้กั บวัด และชุมชนตลอดมาจนถึงปี ๒๕๔๖ เนื่องจากอายุที่มากขึ้นและมีกิจนิมนต์มากท่านเริ่มอาพาธ เรื่อยมา ในช่วงเดือน สิงหาคม ๒๕๔๗ ท่านก็ได้เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลค่ายจิรประวัติ สุดท้าย หลวงพ่อก็ได้มรณภาพลงในวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ ๒๕๔๗ เวลา ๑๓.๑๐ นาฬิกา ณ โรงพยาบาลค่ายจิรประวัติ อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ด้วยอาการสงบ วัดปุรณาวาส๔๔ วัดปุรณาวาส หรือวัดราชบุญธรรม ตั้งอยู่เลขที่ ๒๑ หมู่ ๓ แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินทั้งหวัด ๑๒ ไร่ ๕๔ ตารางวา พื้ น ที่ ตั้ ง ของวั ด เป็ น ที่ ร าบลุ่ ม อยู่ ริ ม คลองมหาสวั ส ดิ์ ใกล้ ถ นนบรมราชชนนี เลี ย บคลอง ทวีวัฒนา ห่างจากถนนพุทธมณฑลสาย ๔ และสถานีรถไฟศาลายา ประมาณ ๑ กิโลเมตร วั ด ปุ รณาวาส เริ่ม สร้า งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๗ ครั้ง แรกสร้า งเป็นสานั กสงฆ์ก่อน ต่อมา ราว พ.ศ. ๒๔๐๓ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ทรงมีรับสั่งให้ ขุดคลองมหาสวัสดิ์ เพื่อเชื่อมโยงกับคลองดาเนินสะดวกในมณฑลราชบุรี ขุดตั้งแต่ คลองหน้า วัดชัยพฤกษ์มาลาจนถึงแม่น้านครชัยศรี เพื่อประโยชน์ในการคมนาคมการสัญจร และการ ค้าขาย ครั้งนั้นนายทองดา (ยงใจยุธ) นายกองนาที่ดูแลที่นาของพระราชโอรสพระราชธิดาใน รัชกาลที่ ๔ อาทิ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้า จาตุรนต์รัศมี สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ ฯลฯ ได้ยกที่ดินริมของ มหาสวัสดิ์ซึ่งได้รับประทานมาจาก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาศ เพื่อสร้าง วัด

พระครูสุธ รรมานุศาสก์ (ทรงธรรม). ประวั ติ วั ด ปุร ณาวาส (วั ด ราชบุญ ธรรม). พิมพ์ครั้งที่ ๓. เชียงใหม่: ห้างหุ้นส่วนจากัดช้างเผือก, ๒๕๕๒. ๔๔


๑๓๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระอุโบสถวัดปุรณาวาส ริมคลองมหาสวัสดิ์


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๓๑

นอกจากนี้ภรรยาของนายทองดา ยังได้ซื้อที่ให้วัดเพิ่มอีก ๔ ไร่ด้วย ภายหลังมีคหบดี คนหนึ่งชื่อ นายบุญ ได้รับเป็นธุระในการสร้างสานักสงฆ์ ต่ อ มารั ช กาลที่ ๔ เสด็ จ ตรวจคลองขุ ด มหาสวั ส ดิ์ เมื่ อ ผ่ า นหน้ า วั ด ปุ ร ณาวาส พระองค์ได้ถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์ พร้อมทั้งมีรับสั่งถึงความเป็นมาของวัด ครั้งนั้น นายบุญได้เข้าเฝ้าด้วย รัชกาลที่ ๔ ทรงมีพระราชกุศลศรัทธา พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ มอบให้กับนายบุญ ผู้ริเริ่มสร้างวัด (แต่ยังเป็นสานักสงฆ์อยู่) ให้นายบุญสร้างพระอุโบสถขึ้น ๑ หลัง เพื่อจะได้เป็นวัดที่สมบูรณ์ และได้พระราชทานนามวัดนี้ว่า “วัดราชบุญธรรม” แต่ก็ไม่มี ใครเรียกขานกัน เมื่อนายบุญได้ทาการสร้างพระอุโบสถขึ้นแล้วเสร็จ ทางการก็ได้ให้เกียรติแก่ นายบุญ ผู้สืบสานพระราชประสงค์ทาการสร้างพระอุโบสถขึ้น จึงได้ขนานนามวัดนี้ว่า “วัด บุญญาวาสราชศรัทธาธรรม” เพื่อเป็นเกียรติแก่นายบุญ จนในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ สมัยที่พระอธิการพร้อม ฐานิสสโร เป็นเจ้าอาวาส ท่านได้ มอบหมายให้พระมหาโชติ ทาการเปลี่ยนชื่อวัดเสียใหม่ว่า “วัดปุรณาวาส” และก็ใช้เรียก ติดต่อกันจนถึงปัจจุบันนี้ ซึ่งแต่เดิมวัดปุรณาวาสแห่งนี้ ชาวบ้านส่วนใหญ่ในละแวกวัดเรียกกัน ว่า “วัดนก” เนื่องจากมีต้นไม้ใหญ่เป็นจานวนมาก และมีนกอาศัยอยู่มากมาย มองดูแล้ว ร่มรื่นและบางทีก็มีคนเรียกว่า “วัดกลางคลอง” เพราะวัดนี้ตั้งอยู่กึ่งกลางระหว่างคลองวัด ชัยพฤกษมาลากับแม่น้านครชัยศรี เมื่อวัดระยะแล้ววัดนี้ตั้งอยู่กึ่งกลางพอดี ส่วนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัดปุรณาวาส ที่ชาวบ้านศรัทธาเลื่อมใส และมักจะมากราบ ไหว้เสมอได้แก่พระพุทธรูป ๒ องค์ที่เรียกว่า “หลวงพ่ออินทร์ หลวงพ่อจันทร์ ” เพราะเป็น แหล่งยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวชุมชนวัดปุรณาวาส หากมีเรื่องทุกข์ร้อนใดๆ ชาวบ้านมักจะไป กราบไหว้เพื่อทาจิตใจให้ดีขึ้น บางครั้งก็มีการบนบานศาลกล่าวเมื่อได้ในสิ่งที่ต้องการก็มีการ แก้บนกัน


๑๓๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

หลวงพ่ออินทร์ หลวงพ่อจันทร์ พระพุทธรูปสาคัญของวัดปุรณาวาส

วัดปุรณาวาส ริมคลองมหาสวัสดิ์


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๓๓

พระบรมราชโองการพระราชทานที่วิสุงคามสีมาแก่วัดราชบุญธรรม (ปุรณาวาส)


๑๓๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

วัดศรีประวัตยาราม๔๕ วัดศรีประวัตยาราม ตั้งอยู่ริมคลองมหาสวัสดิ์ แขวงบางคูเวียง จังหวัดนนทบุรี เดิม ประชาชนในถิ่นนี้ เรียกชื่อวัดว่า “วัดช่องลม” และบ้างเรียกว่า “วัดกลางทุ่ง ” ต่อมาใน รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว วั ด นี้ ไ ด้ รั บ พระราชทานนามใหม่ ว่ า “วัดศรีประวัตยาราม” หรือเรียกสั้นๆ ว่าวัด “ศรีประวัติ” ทั้งนี้ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงบันทึกว่าเพื่อ “อนุโลมตามชื่อเดิมของผู้บูรณะ”๔๖ ผู้บูรณะดังกล่าวคือ คุณท้าวทรงกันดาร (ศรี)๔๗ ขรัวยายของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า พระองค์นั้นนั่นเอง วัดจึงมีประวัติน่าสนใจเกี่ยวข้องกับราชตระกูลเป็นลาดับมา

กิ่ ง แก้ ว อั ต ถากร. วั ด ศรี ป ระวั ติ พิ ม พ์ เ นื่ อ งในโอกาสที่ ส มเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยาม มกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดาเนินทรงประกอบพิธีตัดลูกนิมิตเอกบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ฯลฯ ณ วัดศรีประวัติ นนทบุรี ๔ มีนาคม ๒๕๒๑ ๔๖ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ลิขิตถึงพระสาสนโสภณ (อ่อน อหึสโก) ครั้งยัง เป็นพระธรรมไตรโลกาจารย์ วัดราชประดิษฐ์ ลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ร.ศ. ๑๑๙ (พ.ศ. ๒๔๔๓) ๔๗ คุณท้าวทรงกันดาร (ศรี) เป็นกุลสตรีเกิดในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เดิมมิได้ มีบรรดาศักดิ์อย่างใด มีชื่อว่า ศรี เป็นบุตรีของพระยารัตนโกษา (บุญเกิด) และพระยารัตนโกษานี้เป็นหลานตาของ คุณตากุ๋ย บ้านคลองโรงช้าง นัยว่าคุณตากุ๋ยมีบุตรธิดารวม ๘ คน ธิดาคนที่ ๘ นั้น มามีบุตรเป็นพระยารัตนโกษา ดังกล่าว ธิดาของพระยารัตนโกษา ผู้มีชื่อว่า ศรี ต่อมาได้สมรสกับคุณพระสาราญ บุตรชายเจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี พานักอยู่ ณ เรือนแพ ริมแม่น้าเจ้าพระยา หน้าสวนบางจาก ตรงข้ามกับวัดราชาธิวาส มีธิดาคนหนึ่งชื่อ แพ ใน ระยะนั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังไม่ได้เสวยราชย์ ทรงผนวชและประทับอยู่ที่วัดราชาธิวาส เวลาเช้า เสด็จมาบิณฑบาตที่เรือนแพนี้บ่อยๆ และเมื่อมีกิจพิธีก็รับนิมนต์มาในการนั้นด้วย ดังเช่น เมื่องานโกนจุกท่านแพ ก็ได้ เสด็จมาสวดประทานพรในงานพิธี เป็นต้น ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง สืบราชสมบัติต่อ ก็ทรงลาผนวชเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ ระหว่างที่ทรงรอพิธีบรมราชาภิเษกนั้น เสด็จประทับ พลับพลานอกพระบรมมหาราชวัง ได้โปรดให้คุณเฒ่าแก่แต่งเรือกัลยามารับท่านแพไปเป็นพระสนมเอก เวลานั้นท่าน แพมีอายุ ๑๕ ปี ก่อนที่จะมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าดังนั้น เล่ากันว่าได้มีนิมิตเกิดขึ้นที่เรือนแพ คือมีแร้งสองตัวบิน มาเกาะที่หลังคา ท่านศรีเห็นดังนั้นก็ทาพิธีต้อนรับตามคติโบราณ โดยนาเนื้อใส่พานเงินพานทองมาตั้ง แล้วร้องเชิญ ว่า “เชิญพญาหงส์ลงมารับประทานอาหารเถิด ” พญาแร้งทั้งสองก็ลงมารับประทาน เสร็จแล้วก็บินขึ้นไปบนอากาศ บ่ายโฉมหน้าข้ามแม่น้าไปทางพระบรมมหาราชวัง เล่าว่ามีคนเห็นแสงสว่างเป็นสายรุ้ งตามพญาแร้งทั้งสองไป และ หลังจากนิมิตนี้ไม่นานนักก็มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้มารับท่านแพไปเป็นพระสนมเอก ๔๕


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๓๕

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดาริให้สร้างพระราชวัง บนเขาที่จังหวัดเพชรบุรี กับทั้งให้ซ่อมแซมองค์พระปฐมเจดีย์ ในการนี้จึงโปรดเกล้าฯ ให้ขุด คลองมหาสวัสดิ์จากคลองบางกอกน้อยไปทะลุแม่น้านครชัยศรี และได้ทรงใช้คลองมหาสวัสดิ์ เป็นทางลาเลียงสิ่งของจากพระนครไปยังที่ก่อสร้าง ครั้นพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงกระทาพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ได้มีพ ระบรมราช โองการโปรดเกล้าฯ ให้ท่านศรีเข้าไปรับราชการในพระบรมมหาราชวัง ฝ่ายใน ในหน้าที่พระคลังใน เป็นที่ไว้วาง พระราชหฤทัยมาก จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นท้าวทรงกันดาร


๑๓๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ตามบันทึกของ ม.ร.ว.จรูญเนตร เกษมสันต์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๕ มีข้อสันนิษฐานว่า คุณท้าวทรงกันดาร (ศรี) คงมีภาระหน้าที่คุมสิ่งของที่สาคัญจากพระนครไปยังพระราชวังที่เขา เมืองเพชรบุรี เพราะท่านเป็นพระคลังใน เมื่อเป็นดังนี้ท่านจึงได้ผ่านมาเห็นวัดซึ่งสมัยนั้นเรียก กันว่า “วัดช่องลม” สันนิษฐวานว่าในตอนนั้น วัดนี้จะยังเป็นวัดที่ไม่สมบูรณ์และท่านคงเห็นว่าอยู่ติดกับ ที่ ดิ น ซึ่ ง พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ กรมหลวงพรหมวรานุ รั ก ษ์ ได้ รั บ พระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านมีความเลื่อมใสที่จะสร้างให้เป็นวัดที่สมบูรณ์ด้วย โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ และกุฎิพระ จึงได้มาปฎิสังขรณ์และก่อสร้างเพิ่มเติมขึ้นอีก ใน การนี้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ ได้ประทานที่ดินส่วนหนึ่งให้แก่วัดด้วย เพื่อให้มีเนื้อที่กว้างขวางออกไปอีก เมื่ อ สร้ า งเสร็ จ แล้ ว คุ ณ ท้ า วทรงกั น ดาร (ศรี ) ได้ ข อพระราชทานนามวั ด พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ โ ปรดเกล้ า ฯ พระราชทานนามว่ า “วัดศรีประวัตยาราม” ท่านได้จัดงานฉลองวัดเป็นการใหญ่โต มีพระราชโอรสและพระราช ธิดาในรัชกาลที่ ๔ เสด็จไปในงานนี้ด้วย เวลาต่อมา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ ยังได้ประทานที่ดินฝั่ง ธนบุรีใกล้สะพานเจริญพาศน์แปลงหนึ่ง ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ ๑ ไร่ ๑ งาน ๗ ตารางวา ให้แก่ วัด เพื่อทาผลประโยชน์เก็บรายได้บารุงวัดต่อไป พระราชโอรสประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ คือ ๑. พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ รับพระราชทานสถาปนาเป็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ ต้นตระกูลเกษมสันต์เดี๋ยวนี้ ๒. พระองค์ เ จ้ า มนุ ษ ยนาคมานพ ทรงผนวชและรั บ พระราชทานสถาปนาเป็ น สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ส่วนพระราชธิดามี ๓ พระองค์ คือ ๑. พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้ายิ่งเยาวลักษณ์ อรรคราชสุดา ๒. พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าภักตร์พิมลพรรณ ๓. พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าบัญจบเบญจมา


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๓๗

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์


๑๓๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

คุณท้าวทรงกันดาร (ศรี) ได้อุปถัมภ์บารุงวัดนี้ตลอดมาทั้งในสมัยรัชกาลที่ ๔ และ รัชกาลที่ ๕ ดังสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ผู้เป็นหลานยายของท่าน ได้ทรงบันทึกไว้ว่า ... วัดนี้เดิมชื่อวัดช่องลม ภายหลังท่านท้าวทรงกันดาร (ศรี) ยายตัว ของฉันบูรณะขึ้น ได้ชื่อพระราชทานในแผ่นดินปั จจุบันว่าวัด “ศรีประวัตยา ราม” หรือเรียกสั้นๆ ว่าวัด “ศรีประวัติ” อนุโลมตามชื่อเดิมของผู้บูรณะ... ๔๘ ในกรณีนี้ สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ได้ทรงกาชับให้พระสาสนโสภณ (อ่อน อหึสโก) ครั้งยังเป็นพระธรรมไตรโลกาจารย์ วัดราชประดิษฐ์ แก้บัญชีชื่อวัดให้ถูกต้อง ชื่ออื่นที่เรียกกัน เช่น “ศรีสวัสดิ์” นั้นให้เป็นที่เข้าใจว่า เรียกกันผิด ... วัดศรีสวัสดิ์ หมวดขึ้นแขวงคูเวียง เมืองนนทบุรี เรียกชื่อผิด... ขอ เจ้าคุณสั่งให้แก้บาญชีให้ถูกต้อง ...๔๙ ในปี พ.ศ. ๒๔๔๘ (ร.ศ.๑๒๔) กรมหลวงวรเสรฐสุดา (พระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ ๓) และสมเด็ จ พระมหาสมณเจ้ า ฯ พร้ อ มด้ ว ยผู้ โ ดยเสด็ จ พระกุ ศ ล ได้ โ ปรดให้ ป ฏิ สั ง ขรณ์ พระเจดีย์ที่วัดศรีประวัติ โดยมีพระวิชิตสงคราม (เบี้ยว) เป็นนายงาน ๕๐ พระเจดีย์องค์นี้ คุณท้าวทรงกันดาร (ศรี) ได้ริเริ่มสร้างไว้ก่อน แต่ไม่แล้วเสร็จ สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ จึง โปรดให้สร้างต่อจนสาเร็จ ดังทรงเล่าถึงพระดาริว่า

ดู พระมหาสมณศาสน์ เล่ม ๑ หน้า ๒๙๕ ๔๙ เรื่องเดียวกัน ๕๐ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ลิขิตถึงพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสมมตอมรพันธุ์ ลงวันที่ ๔ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๔ (พ.ศ. ๒๔๔๘) ๔๘


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๓๙

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุตรี กรมหลวงวรเสรฐสุดา


๑๔๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

... บัดนี้มีประสงค์จะปฏิสังขรณ์พระเจดีย์วัดศรีประวัติ ที่ยายสร้าง ค้างไว้...๕๑ เจดีย์นี้เป็นเจดีย์สี่เหลี่ยม ฐานกว้างด้านละ ๕ วา สูง ๑๔ วา ภายในกลวงมีบันไดขึ้น ไปเกือบถึงคอระฆัง สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ พร้อมทั้งเจ้านายหลายพระองค์ทรงสนพระทัยประทาน ความอุปถัมภ์บารุงวัดศรีประวัติอยู่เสมอเป็นระยะ แม้ในด้านกุฎิที่ พักอาศัย เช่น ในปี พ.ศ. ๒๔๕๓ โปรดให้รื้อเรือนที่เคยเป็นที่อยู่ของพระญาติ ไปปลูกเป็นกุฏิพระที่วัดศรีประวัติ ทรง เป็ น ธุ ระในด้ านการเงิ นอย่ างละเอี ย ดรอบคอบ ดั ง ทรงไว้ ในลิ ขิตถึง พระเจ้ า บรมวงศ์เธอ กรมขุนสมมตอมรพันธุ์ ว่า ... ฉันให้รื้อเรือนที่ท้าไว้เป็นที่อยู่ของญาติข้างวัดนี้ ไปปลูกเป็นกุฎิ ที่วัดศรีประวัติ จ่ายในการปลูกกุฏิ ๒๑๘ บาท ๕๐ สตางค์ จ่ายในการฉลอง ๓๔ บาท ๖๒ สตางค์ รวม ๒๕๓ บาท ๑๒ สตางค์ (สองร้อยห้าสิบสามบาท สิบสองสตางค์) ...๕๒ เมื่อคุณท้าวทรงกันดาร (ศรี) สิ้นชีพแล้ว หลานของท่านได้นาอัฐิมาบรรจุไว้ในฐาน ชุกชีขององค์พระประธานในพระอุโบสถ ส่ วนพระเจดีย์ใหญ่ ณ บริเวณคอระฆัง เป็นที่บรรจุ พระอัฐิของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ถัดต่าลงมาบรรจุอัฐิของ หม่อมเจ้าลม้าย เกษมสันต์

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ลิขิตถึงพระธรรมลังการ ลงวันที่ ๑๑ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๔ (พ.ศ. ๒๔๔๘) ในลิขิตฉบับนี้ ทรงสั่งให้พระศรีธรรมลังการนากัปปิยภัณฑ์ที่ได้รับจากวังสมเด็จกรมพระยา ดารงราชานุภาพ สมทบทุนการก่อสร้างพระเจดีย์ ๕๒ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ลิขิตถึงพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนสมมตอมรพันธุ์ ลงวันที่ ๔ มิถุนายน ร.ศ. ๑๒๙ (พ.ศ. ๒๔๕๓) ๕๑


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๔๑

อัฐิท้าวทรงกันดาร (ศรี) รักษาราชการพระคลังใน รัชกาลที่ ๔- รัชกาลที่ ๕ บรรจุไว้ ณ วัดศรีประวัตยาราม

พระอัฐิเจ้านายราชสกุลเกษมสันต์ ได้แก่ ม.จ.ทัศโนภาส เกษมสันต์ และ ม.จ.วรรณวิจิตร เกษม สันต์ บรรจุ ณ วัดศรีประวัตยาราม


๑๔๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระอุโบสถเก่าด้านข้าง

พระอุโบสถเก่าด้านหลัง


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๔๓

กุฏิเก่าภายในวัดศรีประวัตยาราม

ปัจจุบันนี้เจ้านายและลูกหลานในตระกูลเกษมสันต์ ยังคงมีความผูกพันอยู่กับวัดนี้ อาทิ ม.จ.ทั ศ โนภาส เกษมสั น ต์ (สิ้ น ชี พิ ตั ก ษั ย แล้ ว ) ม.จ.หญิ ง จรั ศ โฉม เกษมสั น ต์ (สิ้น ชีพิตักษัยแล้ว) ม.จ.หญิงสลักษณา เกษมสันต์ ม.จ.หญิงประไพพิมพ์ เกษมสันต์ และ ม.ร.ว. พรรณเรือง (เกษมสันต์ ) อัตถากร ได้ติดตามอุปถัมภ์การก่อสร้างพระอุโบสถใหม่ ตลอดจนซ่ อ มแซมพระเจดี ย์ เ พื่ อ เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ซึ่ ง พระมหาแสวง (โชติปาโล) เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันได้อัญเชิญมาจากประเทศพม่า สาหรับตาแหน่งที่จะประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุนั้น จะอยู่ ณ บริเวณปล้อง เหนือคอระฆังขึ้นไป


๑๔๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระอุโบสถและพระเจดีย์วัดศรีประวัตยาราม

วัดใหม่ผดุงเขต วัดใหม่ผดุงเขต ตั้งอยู่ที่ ต.ศาลากลาง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๔ อยู่สุดเขตจังหวัดนนทบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับกรุงเทพมหานคร และจังหวัดนครปฐม เริ่มสร้างมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๗๐ โดย ขุนผดุงเขต (เข้ม มีสกุล) ร่วมกับผู้มีจิตศรัทธาบริจาคทีด่ นิ ลักษณะพื้นที่วัดเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองล้อมรอบถึง ๓ ด้าน ปัจจุบันมี "หลวงพ่อทรงโปรด" พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประดิษฐานอยู่ ภายในวัดมีสิ่ง ปลู ก สร้ า งเสนาสนะต่ า งๆ อาทิ อุ โ บสถ พระมหาเจดี ย์ วิ ห าร มณฑปเก็ บ พระไตรปิ ฎก ฌาปนสถาน เป็นต้น ปัจจุบันมี พระครูนิมิตกิจโสภณ หรือ หลวงพ่อเก๊า พระเกจิอาจารย์ ชื่อดัง ดารงตาแหน่งเจ้าอาวาส และพระมหาพรนรายสุวรรณรังสี พระนักเทศน์ชื่อดัง ดารง ตาแหน่งรองเจ้าอาวาส เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ทางวัดได้ดาเนินการก่อสร้างมหาเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และอัญมณีของพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา ๕๓ พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จ

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา หรือพระนามเดิม หม่อมเจ้าสุทธสิริโสภา จุฑาธุช พระธิดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย ที่ประสูติแต่หม่อมละออ จุฑาธุช ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๔ ทรงมีพระอนุชาต่างมารดา ๑ พระองค์ คือ พระวรวงศ์เธอ ๕๓


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๔๕

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมทั้งศาลาทักษิณานุสรณ์ และวิหารหลวงพ่อทรงโปรด ซึ่งเป็น พระพุทธรูปเก่าแก่ศักดิ์สิทธิ์คู่วัด เป็นที่ศรัทธาจากพุทธศาสนิกชนทั่วไป

พระประธานภายในพระอุโบสถเดิม และพระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ

พระอุโบสถวัดใหม่ผดุงเขต ริมคลองมหาสวัสดิ์

พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช ทั้งสองพระองค์ได้รับการเฉลิมพระยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ในรัชกาลของ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐


๑๔๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา

สถานีรถไฟ ทางรถไฟสายใต้ได้เริ่มก่อสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๔๐ เป็นต้นมา คนเฒ่าคนแก่ในพื้นที่ อาเภอพุทธมณฑลเล่าว่า “ วัสดุส่วนหนึ่งที่น้ามาถมเป็นทางรถไฟได้มาจากวัดพระงาม ซึ่งเป็น อิฐแดงเหมือนกับส่วนที่เป็นฐานพระเจดีย์ วัดพระงามปัจจุบัน ” ทางรถไฟสายใต้เปิดเดินรถ ระหว่างสถานีบางกอกน้อยกับเพชรบุรีเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๖ เป็นเหตุการณ์สาคัญที่ทาให้เกิด การเปลี่ยนแปลงขึ้นในพื้นที่ที่เป็นชาวศาลายาอีกครั้ง กล่าวคือมีการตั้งสถานีรถไฟขึ้นในช่วง พื้นที่ดังกล่าว ๓ สถานี คือ สถานีศาลายา สถานีวัดสุวรรณและสถานีคลองมหาสวัสดิ์เป็นการ ตอกย้ าความมั่ น คงของชุ ม ชนที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม ให้ เ ป็ น ปึ ก แผ่ น มั่ น คงมากขึ้ น และท าให้ บ ทบาท ความสาคัญของแม่น้าลาคลองลดลงไปบ้ าง เพราะชุมชนมีเส้นทางการคมนาคมที่สะดวก เพิ่มขึ้นกว่าเดิม แต่ไม่มากนักเนื่องจากการเดินรถไฟยังมีข้อจากัดหลายอย่าง เช่น มีรถเพียง เที่ยวเดียว ค่ารถแพง๕๔

๕๔

เอี่ยม ทองดี และคณะ. เรื่องเดิม. หน้า ๖๐.


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๔๗

"สถานีรถไฟบางกอกน้อย"หรือ "สถานีรถไฟสายใต้" ในหนังสือที่ "รฤกแห่งการเปิดเส้นทางรถไฟสายใต้ ๒๔๕๙"๕๕

ในราวปี พ.ศ. ๒๔๕๙ ศาลายาถือเป็นถิ่นที่น่ากลัว เพราะเป็นที่รวมของนักเลงและ พวกเสือที่ปล้นทรัพย์ ๕๖ ที่ใช้เป็นทางเสือผ่านเนื่องจากเป็นรอยต่อของ ๓ จังหวัดที่ยากแก่ ตารวจในการตามจับ เพราะเพียงแค่ลุยข้ามคลองที่มักจะตื้นเขินก็ข้ามจังหวัดแล้ว จึงทาให้ ตารวจไม่สามารถติดตามต่อไปได้

การตัดเส้นทางรถไฟสายใต้เริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ ในปี ๒๔๔๔ โดยทางราชการได้เริ่มสร้ างทาง รถไฟไปยังจังหวัดเพชรบุรี และได้เริ่มเดินรถไฟถึงเพชรบุรีอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๔๔๖ จากนั้นจึง ได้มีการตัดทางลงไปทางใต้ต่อไป เมื่อมีการตัดเส้นทางรถไฟสายใต้จากธนบุรีไปยังเพชรบุรีในคราวนั้น จึงจาเป็นที่ จะต้องสร้าง "สถานีรถไฟธนบุรี" เพื่อเป็นสถานีต้นทาง สาหรับรองรับผู้โดยสาร และการขนถ่ายส่งสิ นค้า ดังนั้นในปี ๒๔๔๓ - ๒๔๔๔ จึงได้มีการเวนคืนที่ดินริมคลองบางกอกน้อยเพื่อการก่อสร้างสถานีรถไฟ และเส้นทางรถไฟ โดยกิน เนื้อที่บางส่วนของวังหลัง, วัดอมรินทราราม และบ้านเรือนราษฎร์ รวมทั้งมัสยิด และสุสานของชาวมุสลิมที่ริมคลอง บางกอกน้อย เป็นเนื้อที่รวมทั้งสิ้นประมาณ ๗ ไร่ ๕๖ ชาวบ้านรุ่นเก่าๆ เล่าว่าในจานวนเสือเหล่านั้น คือ เสือฝ้าย ๕๕


๑๔๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ทางรถไฟหน้าสถานีรถไฟศาลายา ในสมัยรัชกาลที่ ๖ ราว พ.ศ.๒๔๖๐ คราวเกิดน้าท่วมใหญ่ ไร่นาเสียหาย จนชาวบ้านต้องนาควายมาเลี้ยงบนทางรถไฟ

สถานีรถไฟศาลายาในปัจจุบันเส้นทางคมนาคมที่ใช้ประโยชน์มากว่า ๑๐๐ ปี


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๔๙

โรงเรียน ต่อมาเกิด โรงเรียนวัดสุวรรณราราม (ดีราษฎร์-รังสฤษดิ์) เดิมเรียกว่าโรงเรียน ศาลายา ๑ (โรงเรียนศาลายา ๒ อยู่ที่วัดสาลวัน) จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๗ โดยอาศัยศาลา การเปรียญเป็นสถานที่ศึกษา มี พระอธิการเนียม โชติกาโร เจ้าอาวาสวัดสุวรรณารามเป็น ผู้สอน เปิดสอนถึงชั้นประถม ๔ มี นายสวง จงสวัสดิ์ เป็นครูใหญ่ ต่อมาหลวงพ่อดี สุวณฺโณ (พระครูวิชัยวุฒิคุณ) เจ้าอาวาสในขณะนั้นได้ก่อสร้างอาคารขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๙ สร้างเสร็จ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๑ และขอเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนวัดสุวรรณาราม เป็นโรงเรียนของชุมชนที่ทา ให้คนในท้องถิ่นได้มีโอกาสศึกษาอย่างทั่วถึง โรงเรียนวัดสาลวัน เดิมชื่อโรงเรียนศาลายา ๒ จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๗ สอนถึงชั้นประถมปีที่ ๔ มีพระอธิการอยู่ เป็นอุปการะ มีนาย ธงชัย มีท่อธาร เป็นครูใหญ่ พระภิกษุชุด ภิษดี เป็นครูสอน อาศัยศาลาวัดสาลวันเป็นสถานที่ เรียนจนกระทั้งปี พ.ศ. ๒๔๙๖ จึงสร้างอาคารชั่วคราวขึ้นหนึ่งหลัง ต่อมากานันจุ่น เซ็งมณี ร่วมกับกรรมการศึกษาและครูใหญ่ขอประทานที่ดินจากกรมพระยานริศรานุวัติวงศ์จานวน ๓ ไร่เศษ และขอที่ดินจากนายเงิน (งึ้น) สุขสมัย จานวน ๓ ไร่ แล้วของบประมาณจากสานักงาน สลากกินแบ่งรัฐบาล มาสร้างอาคารเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๑ สร้างเสร็จเรียบร้อยในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ จัดเป็นโรงเรียน ที่สาคัญยิ่งของชุมชนศาลายาสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน โรงเรียนบ้านคลอง มหาสวั ส ดิ์ นายอ าเภอนครชั ย ศรี ร่ ว มกั บ ชาวบ้ า นได้ ข อเช่ า ที่ ดิ น จากทรั พ ย์ สิ น ส่ ว น พระมหากษัตริย์ จานวน ๖ งาน และได้จัดตั้งเป็นโรงเรียนขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๑ เรียกว่า โรงเรียนบ้านคลองมหาสวัสดิ์ มีนายธงชัย มีท่อธาร เป็นครูใหญ่ นายสุภาพ จันทร์ประสูตร เป็นครูประจาชั้น เปิดเรียนครั้งแรกมีเด็ก ๘๑ คน ต่อมามีนายเลียบ บุญญานิจ บริจาคที่ดิน ๒ ไร่ นายชัยฤทธิ์ ไทยนิยม บริจาคที่ดิน ๓ ไร่ รวมเป็น ๕ ไร่ จึงได้สร้างอาคารเรียนและขยาย โรงเรียนเป็นโรงเรียนประจาชุมชนสืบมาถึงปัจจุบัน โรงเรียนคลองสว่างอารมณ์ บริเวณ ชุมชนบ้านชัยขันธ์ ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๙๒ โดยขุนพรมสมรรคเดช (กานันต๋อย พรหมสุรินทร์) กับชาวบ้านร่วมกันสร้างขึ้น ซึ่งเป็นโรงเรียนประจาหมู่บ้านสืบมา ในปีพุทธศักราช ๒๔๘๕ เกิดเหตุการณ์น้าท่วมใหญ่ทั่วประเทศไทย พื้นที่ในอาเภอ พุทธมณฑลปัจจุบัน ซึ่งสมัยนั้นขึ้นอยู่กับอาเภอนครชัยศรี เกิดผลกระทบด้วยเช่นกันคือ น้า ท่วมถนนรถไฟ ท่วมทุ่งนาบ้านเรือน ชาวบ้านแถบวัดสุวรรณารามส่วนหนึ่งต้องอพยพไปอยู่ นครปฐม สัตว์เลี้ยงต่างๆ ล้มตายเป็นจานวนมาก การดารงชีพลาบากยิ่ง เหตุการณ์ดังกล่าวนี้ นาไปสู่การขุดคลองซอยในสมัยต่อมา


๑๕๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ภายหลังจากน้าท่วมใหญ่ ภาครัฐและเอกชนได้ร่วมกันขุดคลองเพื่อเป็นเส้นทาง สัญจรไปมาและเป็นเส้นทางส่งน้าระบายน้าเพื่อการทานาเพิ่มขึ้น ทาให้เกิดคลองซอยขึ้น หลายสาย เช่น คลองบางเตย คลองซอย คลองเจ๊ก (คลองชัยขันธ์) คลองสามบาท คลองตาหลี คลองสุคต คลองหม่อมเจ้าเฉลิมศรี คลองนายเปล่ง คลองตาพริ้ง ตลองตาบาง คลองสาม วา ฯลฯ ซึ่งคลองเหล่านี้ได้ช่วยให้การทานาได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น ทั้งยังสามารถเข้าถึงพื้นที่ได้ อย่ า งทั่ วถึงด้ วย จึ ง ท าให้ เกิด ชุมชนย่ อยๆ ขึ้น ในพื้ นที่ม ากขึ้น เช่ น ชุ ม ชนบ้านคลองสว่าง อารมณ์ เป็นต้น ต่ อ มาประมาณปี พ.ศ. ๒๔๙๐ มี โ จรกลุ่ ม หนึ่ ง บุ ก เข้ า ปล้ น สถานี ร ถไฟศาลายา กลางคืน ทาร้ายนายสถานีและจับภรรยานายสถานีเป็นตัวประกัน ขณะนั้นกานันจุ่น เซ็งมณี เป็นผู้ใหญ่บ้าน ได้ชักชวนลูกบ้านยิงต่อสู้กับโจรนับเป็นร้อยนัด โจรล่าถอยโดยจับภรรยานาย สถานีเป็นตัวประกันไปปล่อยไว้ระหว่างทางกวาดทรัพย์สินไปจานวนมากสาเหตุการปล้น เนื่องจากภรรยา นายสถานีชอบแต่งตัวอวดร่ารวย ใส่สร้อยคอทองคา คาดเข็มขัดทองคา ใส่ สร้อยข้อมือทองคา ซึ่งต่อมาทางราชการสืบได้ว่าเป็นสายให้โจรจึงจับไปให้ผู้ว่าราชการจังหวัด สอบถาม เมื่อได้ความแล้วจึงกันตัวไว้เป็นพยาน ตารวจจับโจรได้ ๒ คน เหลืออีก ๑ คนหนีไป ต่างจังหวัด โจรที่จับได้คนหนึ่งอยู่ วัดมะเกลือขอต่อสู้คดีและชนะคดีในที่สุด ส่วนอีกคนหนึ่ง เมื่อจับครั้งแรกขณะนาตัวส่งโรงพักได้กระโดดหนีไปได้ แต่ต่อมาจับได้อีกจึงนาตัวมาทาแผน แล้วนาส่งตารวจโดยทางเรือ ปรากฏว่าผู้ร้ายกระโดดเรือหนีอีก แต่รุ่งเช้ามีคนพบเป็นศพลอย อยู่ในน้า กุญแจยังติดมืออยู่๕๗ พุทธมณฑล ในสมั ย รัฐ บาลจอมพล ป.พิ บู ล สงครามด าริ จ ะจั ดสร้างพุท ธมณฑลขึ้น ณ ต าบล ศาลายา เพื่อฉลองพระพุทธศาสนาครบ ๒๕ ศตวรรษ คณะรัฐมนตรีจึงมีมติอนุมัติเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๗ ให้จัดสร้างพุทธมณฑลขึ้น โดยเลือกเอาพื้นที่ส่วนหนึ่งของอาเภอนครชัยศรีและอาเภอ สามพรานในขณะนั้น รวมจานวน ๒,๕๐๐ ไร่ เป็นที่ตั้ง พร้อมทั้งเตรียมปรับพื้นที่ต่อเนื่องมา เป็ น ล าดั บ จนกระทั่ ง วั น ที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จฯประกอบรัฐพิธีก่อพระฤกษ์ ณ ตาแหน่งฐานพระพุทธรูป

๕๗

เอี่ยม ทองดี และคณะ. เรื่องเดิม. หน้า ๖๑.


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๕๑

พระประธานพุทธมณฑล จากนั้นการก่อสร้างพุ ทธมณฑลก็ดาเนินการสืบเนื่องต่อมา มีการ สร้างวิหารประดิษฐานพระพุทธรูปขึ้นก่อนและดาเนินการปลูกสร้างสิ่งอื่นๆ ตามมา ตามแต่ งบประมาณจะมี ขณะเดียวกันก็เปิดให้ผู้คนเข้าเยี่ยมชมได้ด้วย การดาเนินการสร้างเป็นไป อย่างรวดเร็วมากขึ้นในสมัยรัฐบาล ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ พุทธมณฑลเริ่มมีความ เป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามมากขึ้น มีอาคารสถานที่ต่างๆ พร้อมเพรียงสืบมาจนปัจจุบัน๕๘ เมื่อคณะรัฐมนตรีอนุมัติให้จัดสร้างพุ ทธมณฑล ณ ตาบลศาลายา จังหวัดนครปฐม แล้ ว เป็ น เหตุ ให้ ในปี ต่ อมาจึ ง มี การตั ด ถนนพุ ท ธมณฑลสาย ๔ ขึ้น โดยตั ด แยกจากถนน เพชรเกษมเข้ามา ถือเป็นถนนรถยนต์สายแรกที่เกิดขึ้นเข้าถึงพื้นที่ที่เป็นอาเภอพุทธมณฑลใน ปั จ จุ บั น ถนนพุ ท ธมณฑลสาย ๔ สร้ า งอยู่ ห ลายปี ก ว่ า จะเสร็ จ ในสมั ย ที่ จั ด ตั้ ง สถานี วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๘ นั้น ถนนพอใช้การได้แค่พุทธมณฑล เท่านั้นต่อจากนั้นมีเพียงแนวถนน ทั้งนี้เพราะการสร้างอาศัยเกณฑ์แรงงานคนจากหมู่บ้าน ต่างๆ ในย่านที่ถนนตัดผ่านมาขุดดินพูนถนน

๕๘

เอี่ยม ทองดี และคณะ. เรื่องเดิม. หน้า ๖๒.


๑๕๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

จอมพล ป. พิบูลสงคราม อ่านคากราบบังคมทูลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในคราวเสด็จวางศิลาฤกษ์พุทธมณฑล เมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๘


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๕๓

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางศิลาฤกษ์พุทธมณฑล เมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๘


๑๕๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จาก พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว พระราชทานพระบรมราชานุ ญ าตให้ ส านั ก งานทรัพ ย์ สิ น ส่วนพระมหากษัตริย์ ดาเนินการขายโอนโฉนดที่ ดินที่ตาบลศาลายา จังหวัดนครปฐม เนื้อที่ ๑.๒๔๒ ไร่ ๒๐ ตารางวา ให้แก่มหาวิทยาลัยมหิดลและได้เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ โดย ได้ย้ายที่ทาการบางหน่วยงานมาอยู่ที่นี้ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๒๕ คณะแรกๆ ที่มา ได้แก่ สานัก สั ต ว์ ท ดลองแห่ ง ชาติ คณะวิ ท ยาศาสตร์ (บางส่ว น) คณะสั ง คมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท เป็นต้น โดยมีนโยบายให้นักศึกษาชั้นปีที่ ๑ คณะวิทยาศาสตร์มาเรี ยนที่นี่ ต่อมาก็มีคณะ สถาบัน ศูนย์ สานักงานต่างๆ ย้ายตามมาเป็น ลาดับ ซึ่งในยุคแรกๆ เป็นการเดินทางจากกรุงเทพฯ (ซึ่งเป็นปีที่น้าท่วมใหญ่ในกรุงเทพฯ) มา ทางถนนสายปิ่นเกล้า – นครชัยศรี ซึ่งกาลังก่อสร้าง มีรถสองแถวเล็กวิ่งรับผู้โดยสารจาก บางขุนนนท์มาศาลายาซึ่งช่ วยทาให้เกิดความสะดวกขึ้นบ้าง ต่อเมื่อเปิดใช้ถนนราวปี พ.ศ. ๒๕๒๗ จึ ง มี ร ถเมล์ ส าย ๑๒๔, ๑๒๕ วิ่ ง บริ ก ารท าให้ เ กิ ด ความสะดวกมากขึ้ น ปั จ จุ บั น มหาวิทยาลัยมหิดล มีคณะ สถาบันต่างๆ หลายคณะมาตั้งอยู่ที่นี่ รวมทั้งสานักงานอธิการบดี ซึ่งย้ายมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ต่อมาได้มีการประกาศจัดตั้งกิ่งอาเภอพุทธมณฑลขึ้น โดยก่อนหน้าที่จะจัดตั้งกิ่ง อาเภอพุทธมณฑลขึ้นนั้น พื้นที่ในเขตของอาเภอปัจจุบันส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับอาเภอนครชัยศรี ยกเว้นบางส่วนในบริเวณที่เป็นพุทธมณฑลขึ้นอยู่กับอาเภอสามพรานซึ่งขณะที่พุทธมณฑล และมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลกาลั ง สร้า งอยู่ นั้ น ประมาณ พ.ศ. ๒๕๑๙ พ่ อค้า ประชาชนและ ข้าราชการอาเภอนครชัยศรีได้พิจารณาเป็นพ้องต้องกันว่าสมควรยกฐานะพื้นที่ตาบลศาลายา ตาบลคลองโยงและตาบลมหาสวัสดิ์ ขึ้นเป็น กิ่งอาเภอศาลายาและได้ทารายงานเสนอต่อ จังหวัดเพื่อเสนอต่อกระทรวงมหาดไทยต่อไป พร้อมทั้งเตรียมหาพื้นที่เป็นที่ตั้งอาเภอไว้ โดย ร่วมกันบริจาคเงินมากกว่า ๕ แสนบาท ซื้อพื้นที่ ๑๒ ไร่ ๓ งาน ๖๙ ตารางวา จากสานักงาน ทรัพย์สินส่วนมหากษัตริย์ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ได้ขอเปลี่ยนชื่อเป็นกิ่งอาเภอพุทธมณฑล กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดตั้ งเป็น กิ่ ง อาเภอพุท ธมณฑล เมื่ อวั น ที่ ๒๗ ธั นวาคม ๒๕๓๓ โดยใช้อาคารเรียนของโรงเรียนวัดสาลวันเป็นที่ว่าการกิ่งอาเภอชั่วคราว จนกระทั่ง สร้างอาคารที่ว่าการเสร็จในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ จึงย้ายมาอยู่และได้มีพระราชกฤษฎีกา ยกฐานะกิ่งอาเภอพุทธมณฑลขึ้นเป็น อาเภอพุทธมณฑล เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๕๕

เมื่อมีอาเภอพุทธมณฑล จึงมีหน่วยงานราชการอื่นๆ ที่ต้องบริการประชาชนในระดับ อาเภอเกิดขึ้นด้วย เช่น สถานีตารวจภูธร ไปรษณีย์ สาธารณสุข สานักงานการประถมศึกษา พัฒนาชุมชน โรงพยาบาล ซึ่งบางแห่งมีอาคารสานักงานเป็นของตนเอง แต่บางแห่งก็ยังอาศัย ที่ว่าการอาเภออยู่ “ศาลายา” อยู่หนใดใน “มหาสวัสดี” ในการด าเนิ น การขุด คลองมหาสวั ส ดิ์ เมื่ อครั้ง รัช กาลที่ ๔ นั้ น มี การสร้า งศาลา รายทางเป็นระยะๆ ทุก ๑๐๐ เส้น หรือ ประมาณ ๔ กิโลเมตรต่อหลังหนึ่ง มีจานวนทั้งสิ้น ๗ หลัง ความปรากฏในนิราศพระปฐม ของหลวงจักรปาณี (ฤกษ์) ดังนี้ ศาลาหลังที่ ๑ ลุถึงศาลากระทรวงในหลวงสร้าง ถึงร้อยเส้นแล้วจึงมีที่ศาลา ทั้งไปมาล้าเลื่อยเมื่อเหนื่อยนัก โอ้ตัวเราเศร้าอุราให้อาวรณ์

ระยะทางทาไว้ไกลนักหนา ให้ประชาจามั่นสาคัญจร ได้หยุดพักภิญโญสโมสร ถึงหยุดนอนก็ไม่หายวายราคาญ

ศาลาหลังที่ ๒ จนเลยศาลาสองยิ่งหมองไหม้ กับบ่าวไพร่ศิษย์หาสี่หา้ คน ที่สองฝั่งข้างคลองล้วนท้องทุ่ง เห็นทิวไผ่ไม่พุ่มเป็นซุ่มเซิง เห็นเมฆหมอกออกรอบตามขอบป่า ................................................. ดูคลองตรงโล่งลิ่วเห็นทิวบ้าน ไม่มีเรือนโอ่โถงล้วนโรงนา บ้างปลูกผักดักแร้วแพ้วจังหัน ครั้นลมหวนทวนทับก็กลับไป พวกรุกรุยรุงรังที่บางกอก

ระกาใจอ้างว้างมากกลางหน มักซุกซนสารพัตรจะขัดเชิง แลเป็นวุ้งดูเวิ้งละเลิงเหลิง ที่สูงเทิงลมโยนโกร๋นกริงกริ่ว เหมือนขอบฟ้าตกไกลใจหวิวๆ ............................................... ระยะย่านห่างไกลกระไรหนา มุงแฝกคาเขียวขาดูราไร ลมพัดผันหมุนติ้วหวิวๆไหว เปรียบเหมือนใจคนเราเท่าทุกวัน พูดกลับกลอกดังดังเหมือนจังหัน


๑๕๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ลมพัดหนักทางไหนไปทางนั้น

พูดไม่ทันเข้าพร้อมต้องยอมกลัว

ศาลาหลังที่ ๓ ที่จอดพักหน้าท่าศาลาสาม เห็นแต่ของเขาอื่นไม่ชื่นตา เห็นเรือโกลนลาหนึ่งดูขึงขัง เจ้าของเข็นขึ้นคานอยู่นานนม ถ้าลงทุนทาใหม่ไว้ใช้เล่า เปรียบเหมือนคนยาจกยกขึ้นคาน

ล้วนงามงามดีดีห่มสีจ้า พอนาวาเลยไปยิ่งใจตรมฯ ทั้งเนื้อหนังก็ดีอยู่มีถม เจียนจะจมดินเปล่าไม่เข้าการ ไม่เปลืองเปล่าคงจะจ่ายให้หลายสถาน นึกสงสารวาสนาผู้อาภัพ

ศาลาหลังที่ ๔ จนถึงศาลากลางไม่สร่างร้อน ให้จอดพักหยุดร่มพอลมชาย พวกเรือจอดทอดอยู่แลดูถม ที่พึ่งจอดทอดเสือกผู้เชือกโยง นางสาวมอญหนึ่งนั้นดูขนั เหลือ แต่ผ้านุง่ น่องถกขึ้นปกท้อง น้าก็ใสไม่ระวังบ้างเลยหนา ชาติใจดีมิใช่ไก่ใจบึกบึน พวกเด็กเรารุ่นหนุ่มได้ชุ่มชืน่ ว่ามอญขวางอย่างเขาที่เล่ามา เด็กอาบน้าสาเร็จก็เสร็จโศก เสร็จแล้วออกนาวารีบคลาไคล

เด็กๆอ่อนหน้านิ่วหิวกระหาย ตะวันบ่ายคล้อยงามสักสามโมง บ้างหุงต้มพร้อมกันควันโขมง โดดน้าโพล่งดาว่ายเป็นก่ายกอง ยุดแคมเรือนอนหงายว่ายตุบป่อง เด็กมันร้องนั่นแน่แลทมึน เขาเฮฮาสักเท่าไรก็ไม่ขึ้น ถึงติดครืนก็ไม่ดิ้นสิ้นตารา ก็แตกตื่นพูดกันด้วยหรรษา เห็นกับตามันขวางไม่อย่างไร บริโภคโภชนาอัชฌาศัย แจวไม่ไหวไม่ตงิ นิ่งเนือยๆ

ศาลาหลังที่ ๕ จนลงเลยศาลาทีห่ ้าแล้ว ดูสาวๆชาวนาไม่นา่ ชม ตะเบ็งมานขัดเขมนจนเห็นทั่ว ไม่สู้สาวชาวกรุงจรุงตา

ให้เร่งแจวรีบไปยังไกลถม ตราแดดลมเหลือดาด้วยทานา ไม่แต่งตัวสารพัตรไม่ผดั หน้า แต่ชั้นว่าเพื่อนสนุกพวกรุกรุย


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๕๗

เมื่ออยู่ในท่านก็ใช้เหมือนเช่นครอก ล้วนห่มสีนงุ่ ลายเที่ยวกรายกรุย

เมื่อออกนอกราวกับหม่อมดูหอมฉุย ดูปุกปุยไว้วางเหมือนนางระบา

ศาลาหลังที่ ๖ จนถึงศาลาหกวิตกนัก หวลสอื้นฝืนใจไม่สเบย ............................................ เห็นเรือจอดทอดท่าโรงนาหนึ่ง บ้างถนอมกล่อมลูกทีผ่ ูกเปล

ไม่ยลพักตร์จขวัญตานิจจาเอ๋ย ลมลาเพยพอเวลาลงสายัณห์ .............................................. เขาอื้ออึงชักชวนกันสรวลเส ฟังเขาเห่โหยกระแสงไม่แห้งเครือฯ

ศาลาหลังที่ ๗ มาถึงศาลาเจ็ดไม่เสร็จโศก ถึงโรงเจ้าภาษีฆ้องตีดงั ไว้หางเปียเมียสาวขาวสล้าง ที่ความรู้สิ่งไรก็ไม่เรียน

ยิ่งวิโยคโหยไห้อาลัยหลัง ตั้วโผนัง่ แจ่มแจ้งด้วยแสงเทียน เป็นจีนต่างเมืองมาแต่พาเหียร ยังพากเพียรมาได้ถึงใหญ่โต

ศาลาทั้ง ๗ หลังที่หลวงจักปาณีกล่าวถึงในนิราศนี้ มีหลังหนึ่งที่อยู่กลางย่าน มีก าร เขียนตารายารักษาโรคไว้ ดังที่สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรง บันทึกไว้ว่า๕๙ ... เมื่อ (เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ -ผู้เขียน) ขุดคลองแล้วสร้างศาลาอาศัย ที่ริมคลอง ๑๐๐ เส้นหลัง ๑ เป็นระยะไป ที่ศาลาหลังกลางย่าน เจ้าพระยา ทิพากรวงศ์ให้เขียนตารายารักษาโรคต่างๆ ใส่แผ่นกระดานติดไว้เปนการ กุศล คนจึงได้เรียกศาลาหลังนั้นว่า “ศาลายา”เลยเปนชื่อสถานีรถไฟอยู่บัดนี้ ศาลาอีกหลัง ๑ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์สร้างในการกุศลปลงศพคนของท่าน คน ๑ จึงเรียกว่า “ศาลาทาศพ” เลยเปนชื่อสถานีรถไฟเหมือนกัน... ดารงราชานุภาพ,สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา.”สถานที่ต่างๆ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าฯ ทรงสร้าง”.ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๕. กรุงเทพฯ: สานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร,๒๕๓๙. หน้า ๒๘๔. ๕๙


๑๕๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

หากเมื่อพิจารณาจากข้อความข้างต้น คาว่า “ศาลากลางย่าน” ตีความได้ ๒ แนวทาง คือแนวทางแรก เป็นศาลาที่อยู่ตรงกลางระหว่างศาลาทั้ง ๗ หลัง ซึ่งก็คือศาลาหลังที่ ๔ อีก แนวทางหนึ่งคือ เป็นศาลาที่อยู่กลางย่านชุมชนพักอาศัย เนื่องจากอาจเป็นเพราะศาลาอื่นๆ ยังไม่มีการตั้งถิ่นฐานเป็นชุมชนชัดเจนนัก คงมีแต่ป่ารกร้างทั่วไป ดังนั้นจึงเกิดคาถามขึ้นกับ คนศาลายาปัจจุบันว่าตาแหน่งที่ตั้งของศาลาหลังที่เรียกว่า “ศาลายา” นั้นอยู่ที่ไหน เป็น ศาลาที่เท่าไหร่ ในบรรดาศาลาทั้ง ๗ คาถามนี้เป็นคาถามที่น่าสนใจสาหรับผู้ที่ศึกษาเรื่อง “พุทธมณฑล” หรือเรื่อง “ศาลายา” เป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ดีนายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม ได้ ศึกษาค้นคว้าและกล่าวไว้ในหนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ นายถาวร เทียมปฐม ความว่า ... เคยมีคนบอกว่าอยู่แถวสถานีรถไฟศาลายา จากข้อมูลของนายถาวร เทียมปฐมประกอบกับต้าแหน่งของศาลาท้าศพในอดีต และพงศาวดารของสมเด็จ กรมพระยาด้ารงราชานุภาพที่ได้ เขีย นเรื่องศาลาคลองมหาสวัสดิ์ที่ มีทุกระยะ ๑๐๐ เส้น คุณยายอายุ ๘๑ ปี เล่าว่าเมื่อคุณยายยังสาวได้พายเรือไปกับแม่เพื่อไป เยี่ยมพี่ชายซึ่งอาศัยอยู่ที่สะพานเสาวภา ตลาดต้นสน อ้าเภอนครชัยศรี จังหวัด นครปฐมยังเคยเห็นศาลาดังกล่าวเป็นศาลาคู่ แต่ปัจจุบันไม่เหลือแล้ว และบ้านพัก คนงานก็รื้อไปหมดแล้วเหลือเพียงแต่ตอเสาอยู่ และได้เล่าต่อไปว่าเคยท้าสวน แปลงที่ตั้งศาลาท้าศพ และได้น้าผมไปดูต้าแหน่งของบ้านพักคนงานหรือโรงกุลี เก่าซึ่งอยู่ตรงกับเสาโทรเลขรถไฟต้นที่ ๑๕/๑ ซึ่งตรงกับหลักกิโลเมตรที่ ๑๕ พอดี และได้เข้าสวนไปดูบริเวณริมคลองที่เป็นที่ตั้งของศาลาดังกล่าวซึ่งไปดูบริเวณริม คลองที่ เป็ น ที่ ตั้ ง ของศาลาดั ง กล่ า วซึ่ ง ไม่ ส ามารถเห็ น ร่อ งรอยหรื อ หลั ก ฐานที่ เหลืออยู่ เนื่องจากคลองมหาสวัสดิ์ในระยะแรกขุดกว้างเพียง ๗ วา หรือ ๑๔ เมตร แต่คลองในปัจจุบันกว้างไม่ต่้ากว่า ๔๐ เมตร จากผลของการขุดลอกคลองโดยเรือ ขุด (เรือกระบวย) เมื่อราว พ.ศ. ๒๔๙๐ ท้าให้ไม่เหลือศาลาประวัติศาสตร์อีก จากข้อมูลที่ได้จึงยืนยันต้าแหน่งของศาลายาว่า น่าจะอยู่ตรงต้าแหน่ง เสาโทรเลขรถไฟที่ ๑๙/๑ ตรงกับ กิโ ลเมตรที่ ๑๙ ซึ่ ง ตรงกับ ป้ า ยสถานี รถไฟ ศาลายาด้านตะวันออกพอดี และเมื่อมองตรงออกไปทางคลองจะเห็นอยู่ตรงหน้า วัดสาลวันพอดี อันเป็นที่ตั้งของ “ศาลายา” เดิม ส่วนที่หน้าสถานีรถไฟศาลายา


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๕๙

เป็นศาลายาใหม่นั้น ก้านันชัยรัตน์ เลาหสุวรรณพานิช เป็นผู้น้าในการสร้างจ้าลอง ขึ้นมาเพื่อเป็นอนุสรณ์ขึ้นภายหลัง...

ส่วนที่ว่า “ศาลายา” เป็นศาลาหลังที่เท่าใดในจานวนศาลาทั้ง ๗ นี้ ปรากฏคาบอก เล่าในชุมชนที่เล่าสืบต่อกันมาว่า ศาลาที่ ๔ อยู่ที่ตาบล ศาลากลาง อ.บางกรวย จังหวัด นนทบุรี ศาลา ที่ ๕ ซึ่งสมัยนั้นกล่าวกันว่าเป็นศาลาคู่สาหรับทาศพคนในบังคับของเจ้าพระยา ทิพากรวงศ์ อยู่ตรงหลักกิโลเมตรที่ ๑๕ ริมทางรถไฟสายใต้ ปัจจุบันเรียกศาลาธรรมสพน์ อยู่ ในเขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ส่วนศาลาที่ ๖ คือ ศาลายา อยู่บริเวณหมู่ที่ ๓ ตาบล ศาลายา อาเภอพุทธมณฑล และศาลาสุดท้ายคือศาลา ๗ ศาลาดิน๖๐ อยู่บริเวณหมู่ที่ ๓ บ้าน ศาลาดิน ตาบลมหาสวัสดิ์ อาเภอพุทธมณฑล กล่าวกันว่าเป็นสถานที่ฝังศพในสมัยนั้น

ชื่อ “ศาลาดิน ” นี้ มีที่มาจากที่ในชุมชนมีศาลาที่มีพื้นเป็ นดิน ใช้เป็ นที่เก็บ ศพของราษฎรภายใน หมู่บ้านเพื่อรอเผา ปัจจุบันไม่มีซากของศาลาเหลืออยู่ เลย ส่วนบริเวณที่เป็นที่ตั้งของศาลาดินในอดีตนั้น อยู่ในที่ดิน ของนายเจือ อรุณสุขไข ๖๐


๑๖๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๖๑

“มหาสวัสดี” ในนิราศ๖๑ อภิลักษณ์ เกษมผลกูล๖๒ ในวรรณคดีไทยปรากฏว่ามีกวีคนสาคัญที่กล่าวถึงชุมชนบริเวณคลองมหาสวัสดิ์ พรรณนาบรรยากาศในชุมชน ธรรมชาติ ผู้คน และวิถีชีวิตซึ่งนับเป็น คลังข้อมูลที่สาคัญ เป็น หลั ก ฐานทางความรู้ สึ ก นึ ก คิ ด ที่ น อกเหนื อ ไปจากในพระราชพงศาวดารหรื อ เอกสาร ประวัติศาสตร์ใดๆ กวีคนแรกคือ หลวงจักรปาณี (มหาฤกษ์) เดินทางผ่านคลองมหาสวัสดิ์และบ้ า น ศาลายา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๕ โดยได้แต่ง นิราศพระปฐม และกล่าวถึงศาลาทั้ง ๗ หลังริมคลอง มหาสวัสดิ์ไว้อย่างละเอียด ดังนี้ ลุถึงศาลากระทรวงในหลวงสร้าง ถึงร้อยเส้นแล้วจึงมีที่ศาลา ทั้งไปมาล้าเลื่อยเมื่อเหนื่อยนัก โอ้ตัวเราเศร้าอุราให้อาวรณ์ ถึงวัดร้างร้างชีร้างทีไ่ ว้ ทั้งเจดีย์ที่ปรกก็รกราน ถึงศรัทธาสารพัดจะขัดขวาง โอ้อารามยามยับยังอับจน ไม่แจ้งนามถามดูจึงรูช้ ัด เห็นแต่ไผ่ไม่เห็นจันทน์เป็นขวัญตา จะหาจันทน์กฤษณานั้นหายาก จะประสงค์องปราชญ์ก็ขาดแคลน แต่จันทน์แดงเดี๋ยวนีไ้ ม่มีขวัญ ด้วยมีถมทั่วเมืองตามเครื่องยา ลักจั่นปลอมได้ไม่เฉลียว

ระยะทางทาไว้ไกลนักหนา ให้ประชาจามั่นสาคัญจร ได้หยุดพักภิญโญสโมสร ถึงหยุดนอนก็ไม่หายวายราคาญ ไม่มีใครสร้างสถิตประดิษฐาน นึกสงสารจริงจริงต้องนิ่งทน สุดจะสร้างเสริมต่อก่อกุศล เราก็คนยามขัดเหมือนวัดวา เขาเรียกวัดไผ่จันทน์นา่ หรรษา โอ้พฤกษามีสิ้นทัง้ ดินแดน เหมือนคนมากมีดื่นนับหมื่นแสน เสมอแม้นจันทน์แดงแรงราคา จะอัศจรรย์อะไรที่ไหนหนา เขาซื้อหาใช้กันสนั่นฦๅ แต่ปากเดียวจะสู้ปากมากได้ฤๅ

อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. (๒๕๕๓). มหาสวัสดี ๑๕๐ ปี มหานทีพระราชทาน. หน้า ๑๑๓ – ๑๒๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจาสาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ และคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๖๑ ๖๒


๑๖๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ร้องเพลงเรือในคลองมหาสวัสดิ์ หน้าวัดสุวรรณาราม


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๖๓

จนจันทน์แท้แพ้กลิน่ สิน้ ระบือ ดูทองคาน้าเม็ดเพ็ชรรัตน์ อันปัญญานี้ไม่แน่ด้วยแลดู แต่เดี๋ยวนี้มิได้มีอุไรรอง ถึงคลองมหาสวัสดีนี้มีใหม่ ไม่มีใครร้องเรียกสาเหนียกนาม จนเลยศาลาสองยิ่งหมองไหม้ กับบ่าวไพร่ศิษย์หาสี่หา้ คน ที่สองฝั่งข้างคลองล้วนท้องทุ่ง เห็นทิวไผ่ไม่พุ่มเป็นซุ่มเซิง เห็นเมฆหมอกออกรอบตามขอบป่า ลมพระพายชายพาพฤกษาปลิว ดูทุ่งกว้างทางเปลี่ยวให้เสียวจิตต์ เห็นวิหคนกเอี้ยงมันเลี้ยงควาย ฝูงกระจาบถาบบินลงกินข้าว ที่ซุ้มรกนกกระเต็นเต้นยั้วเยี้ย ฝูงวิหคนกกาเที่ยวว้าว่อน นกกระสามาเป็นหมู่พิศดูเพลิน ดูคลองตรงโล่งลิ่วเห็นทิวบ้าน ไม่มีเรือนโอ่โถงล้วนโรงนา บ้างปลูกผักดักแร้วแพ้วจังหัน ครั้นลมหวนทวนทับก็กลับไป พวกรุกรุยรุงรังที่บางกอก ลมพัดหนักทางไหนไปทางนั้น พอสายแสงสุริยันตวันแผ้ว เห็นอ้อยขายรายวางตามข้างรั้ว จึงจอดเข้าซื้อให้สองไพกึ่ง เรือก็หนักราวกับหินสิ้นฝีมือ เรือกับคนสมกันขยันเหลือ

เป็นสิ้นชื่อสูญไปใครไม่รู้ พอรู้ชัดไม่ลาบากยากตาหู แม้จะรู้ปรากฏเพราะทดลอง มัวหมองหมดวิชาพยายาม แต่ตามในลาคลองได้ร้องถาม จะหาความทีป่ ระกอบไม่ชอบกล ระกาใจอ้างว้างมากกลางหน มักซุกซนสารพัตรจะขัดเชิง แลเป็นวุ้งดูเวิ้งละเลิงเหลิง ที่สูงเทิงลมโยนโกร๋นกริงกริ่ว เหมือนขอบฟ้าตกไกลใจหวิวๆ เห็นแต่ทิวเขาไม้ราไรราย ทั้งจากมิตร์มาไกลยิ่งใจหาย จับสบายบนคอดูคลอเคลีย เจ้าของเขาคอยไล่ให้ไปเสีย ทั้งผัวเมียตัวผู้ดูเจริญ ระเร่ร่อนหากินแล้วบินเหิน นกยางเดินซ่องๆเที่ยวมองปลา ระยะย่านห่างไกลกระไรหนา มุงแฝกคาเขียวขาดูราไร ลมพัดผันหมุนติ้วหวิวๆไหว เปรียบเหมือนใจคนเราเท่าทุกวัน พูดกลับกลอกดังๆ เหมือนจังหัน พูดไม่ทันเข้าพร้อมต้องยอมกลัว พวกคนแจวหิวกระหายทั้งท้ายหัว เหมือนกับวัวเห็นหญ้าทาตาปรือ พอยื่นถึงกัดพลางไม่วางถือ คนก็ดื้อคร้านใจมิใคร่แจว จนเพื่อนเรือเลยไหลไปเป็นแถว


๑๖๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ทั้งไทยมอญหนุ่มสาวแลลาวแกว ที่จอดพักหน้าท่าศาลาสาม เห็นแต่ของเขาอื่นไม่ชื่นตา เห็นเรือโกลนลาหนึ่งดูขึงขัง เจ้าของเข็นขึ้นคานอยู่นานนม ถ้าลงทุนทาใหม่ไว้ใช้เล่า เปรียบเหมือนคนยาจกยกขึ้นคาน ที่ดีชั่วกลัวเกลือกไม่เลือกสรร ที่ผู้ทาของดีนั้นลีล้ ับ ฝีประจบเดี๋ยวนี้ดอกดีมาก การหนังสือลือกระฉ่อนเหมือนก่อนมา แต่เดี๋ยวนี้เป็นไฉนมิได้ผล รู้ก็ชามไม่รู้ดูก็ชาม สารพัตรที่จะใส่ลงในหัว โอ้เสียแรงพากเพียรเล่าเรียนมา จนถึงศาลากลางไม่สร่างร้อน ให้จอดพักหยุดร่มพอลมชาย พวกเรือจอดทอดอยู่แลดูถม ที่พึ่งจอดทอดเสือกผู้เชือกโยง นางสาวมอญหนึ่งนั้นดูขนั เหลือ แต่ผ้านุง่ น่องถกขึ้นปกท้อง น้าก็ใสไม่ระวังบ้างเลยหนา ชาติใจดีมิใช่ไก่ใจบึกบึน พวกเด็กเรารุ่นหนุ่มได้ชุ่มชืน่ ว่ามอญขวางอย่างเขาที่เล่ามา เด็กอาบน้าสาเร็จก็เสร็จโศก เสร็จแล้วออกนาวารีบคลาไคล

ที่ไปแล้วอยู่หลังก็ยังมา ล้วนงามๆดีๆห่มสีจา้ พอนาวาเลยไปยิ่งใจตรมฯ ทั้งเนื้อหนังก็ดีอยู่มีถม เจียนจะจมดินเปล่าไม่เข้าการ ไม่เปลืองเปล่าคงจะจ่ายให้หลายสถาน นึกสงสารวาสนาผู้อาภัพ สาระพันพิษยาจึงพาดับ สิทธิศกยกสารับได้หน้าตา แต่ฝีปากนั้นมิได้มีใครหา ย่อมได้หน้าได้ยศปรากฏนาม มีแต่คนคอยเอ่ยมาเย้ยหยาม ก็เหมือนความว่าเล่นเห็นกับตา ยังเอาตัวมิใคร่รอดตลอดหนา เหมือนจะพายุบยับช่างกลับกลายฯ เด็กๆอ่อนหน้านิ่วหิวกระหาย ตะวันบ่ายคล้อยงามสักสามโมง บ้างหุงต้มพร้อมกันควันโขมง โดดน้าโพล่งดาว่ายเป็นก่ายกอง ยุดแคมเรือนอนหงายว่ายตุบป่อง เด็กมันร้องนั่นแน่แลทมึน เขาเฮฮาสักเท่าไรก็ไม่ขึ้น ถึงติดครืนก็ไม่ดิ้นสิ้นตารา ก็แตกตื่นพูดกันด้วยหรรษา เห็นกับตามันขวางไม่อย่างไร บริโภคโภชนาอัชฌาศัย แจวไม่ไหวไม่ตงิ นิ่งเนือยๆ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๖๕

ถึงลมหวนทวนซ้าน้าก็เชียว ดูอิเหละเปะปะสวะเฟื้อย ถึงตลิ่งเลี่ยนโล่งพอโยงได้ ผูกเชือกแล้วขึ้นตลิ่งวิ่งตะโพง

คนแจนเหนี่ยวสามเล่มจนเต็มเมื่อย น่าเหน็ดเหนื่อยหนักเหลือเรือโป้งโล้ง เด็กดีใจแลเห็นออกเต้นโหยง พอเชือกโยงตึงเรื่อยแล่นเฉื่อยไป

คลองมหาสวัสดิห์ น้าวัดสุวรรณาราม ในประเพณีตักบาตรท้องน้า


๑๖๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ถึงที่รกวกลัดฉวัดเฉวียน ประเดี๋ยวรกประเดี๋ยวบ้านราคาญใจ จนสุนัขเห่าโฮกกระโชกไล่ ขึ้นไม่ได้ป่ายปีนจนตีนบวม จนลงเลยศาลาทีห่ ้าแล้ว ดูสาวๆชาวนาไม่นา่ ชม ตะเบ็งมานขัดเขมนจนเห็นทั่ว ไม่สู้สาวชาวกรุงจรุงตา เมื่ออยู่ในท่านก็ใช้เหมือนเช่นครอก ล้วนห่มสีนงุ่ ลายเที่ยวกรายกรุย ขมิ้นแต่งแป้งปรุงจรุงเครื่อง แต่นอกใสใจมิตร์นั้นติดดา แต่ชาวนานั้นหรือเขาชื่อดอก ฉันอยากได้บา้ นนอกดอกสักคน แต่นักเลงเหล่านิยมข้างสมพาส ขาวจะขื่นหรือว่าดาจะฉ่าไป เขาว่าสาวขาวโศกโพรกปูนา เนื้อสองสีนั้นมีกาละเม็ด พอเรือแล่นเลยแลชะแง้ทั่ว เป็นดวงดอกออกเต่งเปล่งละออง แมลงภู่หมู่ภมรก็ร่อนร้อง เหมือนหญิงร้ายชายลวงได้ทว่ งที แต่เดี๋ยวนี้ดูใจเขาไม่ทุกข์ หนึ่งแล้วสองปองสามไม่ขามใคร ศาสนาก็ดูเรียวแล้วเดี๋ยวนี้ ดูคายคมหัวนมเท่าลูกบัว จนถึงศาลาหกวิตกนัก หวลสอื้นฝืนใจไม่สเบย สุริยาเย็นรอนดูอ่อนร่ม

ถึงที่เลี่ยนก็ชะโลงโงไปใหม่ มันพิไรบ่นร่าไม่สารวม ต่างตกใจจนถลาตกน้าป๋วม ดูเนื้อน่วมนั่งนวดปวดระบม ให้เร่งแจวรีบไปยังไกลถม ตราแดดลมเหลือดาด้วยทานา ไม่แต่งตัวสารพัตรไม่ผดั หน้า แต่ชั้นว่าเพื่อนสนุกพวกรุกรุย เมื่อออกนอกราวกับหม่อมดูหอมฉุย ดูปุกปุยไว้วางเหมือนนางระบา ล้วนขาวเหลืองแลไหนวิไลขา มักจะทาถ่ายเทด้วยเล่ห์กล ถึงดานอกน้ารักยังพักตร์ผล แต่ขัดสนสุดแสวงไปแห่งใด ที่รสชาดเขาจะเห็นว่าเป็นไฉน ที่ภายในท่วงทีเหมือนมีเคล็ด ดามะละกาเหลือแสนแน่นตัวเป็ด จริงหรือเท็จเป็นไฉนมิได้ลอง เห็นแต่ตัวหลวงงามที่ตามหนอง เหมือนบัวทองตูมตั้งอลั่งดีฯ อาบละอองเกสรแล้วจรหนี เป็นราคีอายเขานัน้ เท่าไร กลับสนุกเพลินจิตต์พสิ มัย จะหาไปกว่าจะจะเห็นว่าเป็นตัว กุมารีพอจะพรากจุกจากหัว พูดถึงผัวชอบใจกระไรเลยฯ ไม่ยลพักตร์ขวัญตานิจจาเอ๋ย ลมราเพยพอเวลาลงสายัณห์ พินิจชมหมู่นกบินผกผัน


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๖๗

ภาพการแข่งขันเรือยาวในคลองมหาสวัสดิ์ หน้าวัดสาลวัน


๑๖๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

โจรจิกจับจอแจแซ่เซ็งกัน กางเขนพลาดนกกรอดกะเรียนร้อง นกตัวผู้เคล้าเคลียตัวเมียเมียง น่าอายพักตร์ปักษานิจจาเอ๋ย แม้กกข้างอย่างนกที่กกนอน เห็นฟ้าแดงแสงอับพยับเผือด ไม่เห็นนวลหวนสอื้นกลืนน้าตา พอลับดวงดั่งหนึ่งทรวงจะโทรมหัก ขึ้นสิบสามค่าเดือนไม่เคลื่อนคล้อย แหงนชะแง้แลดูพระจันทร์แจ่ม ที่วงกลางหว่างดาดูราไร ดูดาราดาระดาษอนาถนัก โอ้ยามค่าน้าค้างลงพร่างพรม เห็นเรือจอดทอดท่าโรงนาหนึ่ง บ้างถนอมกล่อมลูกทีผ่ ูกเปล เป็นหลายบทจดจาได้คาหนึ่ง ทามิดีนงั่ ขี้ที่แคมเรือ น่าเสียใจไม่ฟังนัง่ ละห้อย เขาร้องเล่นเห็นความไม่งามงด มาถึงศาลาเจ็ดไม่เสร็จโศก ถึงโรงเจ้าภาษีฆ้องตีดงั ไว้หางเปียเมียสาวขาวสล้าง ที่ความรู้สิ่งไรก็ไม่เรียน เห็นดีแน่แต่วิชชาขาหมูใหญ่ มิได้ทาอากรแลบ่อนโป ด้วยเขียนวงจาที่มีจาเพาะ ดูหน้าชืน่ อกตรมระทมใจ ซึ่งอุตส่าห์คิดกลอนอักษรแถลง ที่จริงไซร้ไม่มีทสี่ บาย

บ้างแบ่งปันเหยื่อป้อนลูกอ่อนเอียง เหมือนเสียงน้องพลอดเพราะเสนาะเสียง จับสาเนียงร่วมรังประทังนอน มาขาดเคยคู่เคียงร่วมเรียงหมอน จะอุ่นอ่อนอิ่มกมลเมื่อสนธยา เหมือนแสงเลือดตาย้อยด้วยคอยหา พระสุริยายังระย่อเหมือนรอคอย เหมือนร้างรักแรมนิราสเด็ดขาดผอย บุหลันลอยเลื่อนมหานภาลัย เหมือนพวงแก้มนุชน้องอันผ่องใส เหมือนฝีใฝแต้มดายิ่งขาคม นึกถึงรักๆกันนั้นก็ถม ทั้งหนาวลมๆหวนให้รวนเร เขาอื้ออึงชักชวนกันสรวลเส ฟังเขาเห่โหยกระแสงไม่แห้งเครือฯ จะกล่าวถึงลูกสาวชาวเรือเหนือ อ้ายปลาเสือเจ้ากรรมพ่นน้ารด ให้แสนโศกโคกน้อยนั้นเปียกหมด แต่ต้องจดจาไว้เพราะได้ฟัง ยิ่งวิโยคโหยไห้อาลัยหลัง ตั้วโผนัง่ แจ่มแจ้งด้วยแสงเทียน เป็นจีนต่างเมืองมาแต่พาเหียร ยังพากเพียรมาได้ถึงใหญ่โต เราเป็นไทยนึกมาน่าโมโห มาอดโซสู้กรรมทากระไร มิรู้เสาะหากินที่ถิ่นไหน หามิใคร่ทันกินพูดสิน้ อาย ใครไม่แจ้งก็จะว่าผาสุกหลาย ซังกะตายคิดความไปตามแกน


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๖๙

ไม่มีดีฝีปากก็ผากเผิน ทั้งธุระกังวลก็ข้นแค้น

คิดพอเพลินน้าใจเพราะไส้แขวน เป็นสุดแสนอัปประมาณสงสารตน

นอกจากนิราศพระปฐมของหลวงจักรปาณี (มหาฤกษ์) แล้ว ยังมี นิราศนราธิ ป พระนิพนธ์ใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ เมื่อคราวประพาสหัวเมือง ปักษ์ใต้ เมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๔๗๗ ครั้งนั้นเสด็จประทับรถไฟผ่านคลองมหาสวัสดี ถึงศาลาธรรมะสพน์ใคร่พบขรัว เสียแรงหวังนั่งในรถไฟมา ศาลายาแจกยาหรือขาหมอ เห็นแต่นาแต่นามพูดตามตรง ถึงสุวรรณารามนั่นนามวัด วัดงิ้วรายฉายฉายาสถานี

ที่เป็นตัวยั่วเหตุเทศะนา หรือศาลาท้าศพจึ่งหลบองค์ ขอสักห่อเถิดพินิศพิศวง ถึงแค่นลงรถไฟยาไม่มี เหมือนนามคลองมหาสวัสดีวิถี เป็นท่าที่เรือยนตร์ดลสุพรรณ


๑๗๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ผู้นิพนธ์ “นิราศนราธิป”


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๗๑

ขุนมหาสวัสดิ์และผู้มีบรรดาศักดิ์ในคลองมหาสวัสดี๖๓ อภิลักษณ์ เกษมผลกูล๖๔ ชุมชนริม “คลองมหาสวัสดี” เป็นชุมชนเก่าแก่นับร้อยปี มีประวัติศาสตร์และความ เป็นมายาวนาน จนวิวัฒนาการเป็นความเจริญในยุคปัจจุบัน อย่างไรก็ตามในท่ามกลางการ พัฒนาของชุมชนศาลายานั้นก็ได้รับความสนับสนุนและช่วยเหลือของบุคคลหลายท่าน ที่เป็น กลไกหรือเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงสาคัญในการพัฒนาชุมชนริม “คลองมหาสวัสดี” สร้างคุณูปการ เกียรติยศชื่อเสียงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ จนเป็นความภาคภูมิใจของชุมชนริม “คลอง มหาสวัสดี” ดังจะขอยกตัวอย่างดังนี้๖๕ ขุนมหาสวัสดิ์ (แดง ไทยนิยม) ๖๖ ขุนมหาสวัสดิ์ (แดง ไทยนิยม) เป็นกานันตาบลมหาสวัสดิ์ แขวงเมืองนครชัยศรี มี อายุอยู่ในราวรัชกาลที่ ๔ ถึง รัชกาลที่ ๗ ไม่ทราบชื่อบิดามารดา ทราบแต่เพียงว่าเป็นชาว ไหหลาที่อพยพมาจากประเทศจีน เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารในแผ่นดินไทย ในราวสมัย รัชกาลที่ ๓ – ๔

อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. (๒๕๕๓). มหาสวัสดี ๑๕๐ ปี มหานทีพระราชทาน. หน้า ๑๓๙ – ๑๖๘. ผู้ช่ว ยศาสตราจารย์ป ระจ าสาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ และคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๖๕ วัฒนา เทีย มปฐม. อนุ ส รณ์ ง านพระราชทานเพลิง ศพ นายถาวร เที ย มปฐม เป็ น กรณีพิ เ ศษ ณ ฌาปนสถานวัดสุวรรณาราม ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๕ . ๖๖ วีณา ไทยนิยม (บุตรีกานันเขียว ไทยนิยม ทายาทขุนมหาสวัสดิ์), สัมภาษณ์เมื่อ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ ผู้สัมภาษณ์ อภิลักษณ์ เกษมผลกูล, วลี สวดมาลัย, วรรณพร พงษ์เพ็ง ๖๓ ๖๔


๑๗๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ขุนมหาสวัสดิ์ (แดง ไทยนิยม)

เมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ เจ้าพระยารวิวงษ์มหาโกษาธิบดี ๖๗ (ขา บุนนาค) เป็นแม่กองขุดคลองมหาสวัส ดีเพื่อให้ไป บรรจบกับแม่น้านครชัยศรี ต่อเข้าไปถึงคลองเจดีย์บูชา เพื่อเป็นเส้นทางเสด็จฯ ไปนมัสการ ภายหลั ง พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้า เจ้ า อยู่หั ว ทรงพระกรุ ณ าแปลงราชทิ นนามเสี ย ใหม่เป็ น เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขา บุนนาค) ๖๗


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๗๓

พระปฐมเจดีย์ และเปิดเส้นทางคมนาคมและพื้นที่เกษตรโดยรอบ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๓ นั้น เล่า กันว่าขุนมหาสวัสดิ์ผู้นี้ได้เป็นบุคคลหนึ่งที่มีส่วนช่วยเหลือในการขุดคลองครั้งนั้นด้วย ขุนมหาสวัสดิ์ สมรสกับคุณนายแช่ม ไทยนิยม มีบุตรธิดารวม ๔ คน ได้แก่ ๑. กานันขาว ไทยนิยม ๒. นายดา ไทยนิยม ๓. นางเชื้อ อิ๊วสวัสดิ์ ๔. นายบุญมี ไทยนิยม ในฐานะกานันตาบลมหาสวัสดิ์ ขุนมหาสวัสดิ์ได้ทาหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และโอบอ้อมอารี จนเป็นที่รักและนับถือของชาวบ้านเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งยังได้รับ ความไว้ ว างพระราชหฤทั ย จากเจ้ า นายหลายพระองค์ ให้ เป็ น นายกองนา ดู แลที่ น าส่ ว น พระองค์ ที่ ไ ด้ รับ พระราชทานเป็ น พระราชมรดกจากรัช กาลที่ ๔ ในบริเวณสองฝั่ ง คลอง มหาสวัสดิ์ โดยเฉพาะเจ้านายในราชสกุล “มหิดล” และ “เทวกุล” และยังได้รับมอบหมายให้ รับหน้าที่จัดสรรที่นาให้แก่ราษฎรชาวตาบลมหาสวัสดิ์ราว ๔๕ ครัวเรือนให้ได้มีที่ดินทากิน ตราบจนปั จ จุ บั น รวมทั้ ง ยั ง เล่ า กัน ว่ า ขุน มหาสวั ส ดิ์ มี ความสามารถอย่ า งยิ่ ง ในการยิงปืน ได้ช่วยเหลือลูกบ้านในการยิงผู้ร้ายหลายครั้ง และครั้งหนึ่งเคยได้รับ พระราชทานเหรียญแม่น ปืนด้วย ที่เรือนปั้นหยาริมคลองมหาสวัสดิ์ของขุนมหาสวัสดิ์ เคยเป็นที่รับเสด็จเจ้านายหลาย พระองค์ เมื่อครั้งประพาสหัวเมือง ทาให้ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๖ มีการตราพระราชบัญญัติ นามสกุล ขุนมหาสวัสดิ์จึงได้รับพระราชทานนามสกุลจากเจ้านายพระองค์หนึ่งว่า “ไทยนิยม” นอกจากนี้ ขุ น มหาสวั ส ดิ์ ยั ง ได้ บ ริ จ าคที่ ดิ น ถวายวั ด สุ ว รรณาราม และวั ด พุทธธรรมรังษี อีกด้วย โดยเฉพาะที่วัดสุวรรณารามนี้ขุนมหาสวัสดิ์และภรรยาได้สร้างรูป พระอัครสาวกเบื้องขวา และพระอัครสาวกเบื้องซ้าย (พระโมคคัลลาน์ พระสารีบุตร) ถวาย แด่พระประธานพระอุโบสถ คือพระพุทธสุวรรณบวรรังษี อีกด้วย ซึ่งประดิษฐานอยู่เบื้องหน้า ของพระประธานภายในพระอุ โ บสถวั ด สุ ว รรณาราม มี จ ารึกที่ ฐ านพระโมคคัล ลานเถระ ปรากฏข้อความว่า “ขุนมหาสวัสดิ์ (แดง ไทยนิยม) สร้าง พ.ศ.๒๔๗๔” และมีจารึกที่ฐานพระ สารีบุตรเถระ ปรากฏข้อความว่า “นางมหาสวัสดิ์ (แช่ม ไทยนิยม) สร้าง พ.ศ. ๒๔๗๔”


๑๗๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระโมคคัลลานะ (ซ้าย) สร้างโดยขุนมหาสวัสดิ์ (แดง ไทยนิยม) พระสารีบุตร (ขวา) สร้างโดยนางมหาสวัสดิ์ (แช่ม ไทยนิยม) ประดิษฐานในพระอุโบสถวัดสุวรรณาราม


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๗๕

จารึกที่ฐานพระโมคคัลลานะ มีขอ้ ความว่า “ขุนมหาสวัสดิ์ (แดง ไทยนิยม) ผู้สร้าง พ.ศ.๒๔๗๔”

จารึกที่ฐานพระสารีบุตร มีข้อความว่า “นางมหาสวัสดิ์ (แช่ม ไทยนิยม) ผู้สร้าง พ.ศ.๒๔๗๔”


๑๗๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ภายหลังเมื่อขุนมหาสวัสดิ์ ถึงแก่กรรมลงราว พ.ศ. ๒๔๗๕ ทายาทของขุนมหาสวัสดิ์ ได้รับหน้าที่เป็นกานันตาบลมหาสวัสดิ์คนต่อมา คือ กานั นขาว ไทยนิยม ซึ่งเป็นบุตรคนโต ของขุนมหาสวัสดิ์ (แดง ไทยนิยม) กับนางมหาสวัสดิ์ (แช่ม ไทยนิยม) และได้เคยช่วยงานของ บิดามาก่อน กานันขาวผู้นี้ต่อมาสมรสกับ นางป้อม ไทยนิยม มีบุตรรวมทั้งสิ้น ๔ คน ได้แก่ ๑. กานันเขียว ไทยนิยม ๒. นายสีนวล ไทยนิยม ๓. นายชัยนริศ ไทยนิยม ๔. นายชัยณรงค์ ไทยนิยม กานันขาว ไทยนิยม ได้สืบทอดเจตนารมณ์ของขุนมหาสวัสดิ์ในการบริหารปกครอง ชาวตาบลมหาสวัสดิ์ ผลงานสาคัญ เช่น การขุด “คลองกานันขาว” โดยขุดแยกออกมาจาก คลองมหาสวัสดิ์เพื่อใช้เป็นแหล่งน้าอุปโภคบริโภคของชาวตาบลมหาสวัสดิ์ การบริจาคที่ดิน ให้โรงเรียนคลองโยง (แต่การดาเนินการยังไม่ทันแล้วเสร็จ กานันขาวถึงแก่กรรมเสียก่อน ภายหลังได้กานันเขียว ไทยนิยม และนายสีนวล ไทยนิยมซึ่งเป็นบุตรชายได้ดาเนินการต่อจน สาเร็จ) ต่อมาเมื่อกานันขาว ไทยนิยม อายุได้ราว ๔๔ ปี ก็ถึงแก่กรรม บุตรชายคนโตจึงได้รับ ตาแหน่งกานันคนถัดมา คือ กานันเขียว ไทยนิยม กานันเขียว ไทยนิยม เกิดเมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๔๕๗ เป็นบุตรของกานันขาว และ นางป้อม ไทยนิยม ได้ดาเนินการบริจาคที่ดินสร้างโรงเรียนคลองโยงต่อจากบิดา ร่วมกับนายสี นวล ไทยนิยม ผู้เป็นน้องชายจนแล้วเสร็จ กานันเขียว ไทยนิยม ต่อมาสมรสกับนางสาวบุญส่ง (ตุ๊กตา) เนาวรัตนพันธ์ ผู้เป็นหลานลุงของพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) ๖๘ มีบุตร ธิดารวม ๖ คน ได้แก่ ๑. นางราตรี ไทยนิยม ๒. นางสาววีณา ไทยนิยม ๓. นายบุญช่วย ไทยนิยม ๔. นายชนะ ไทยนิยม ๕. นายพริษท์ ไทยนิยม ๖. พันโทหญิงอรอุษา ไทยนิยม

๖๘

มารดาของนางบุญส่ง ไทยนิยม คือ นางเชื้อ เนาวรัตนพันธ์ เป็นน้องสาวของพระยาอนุมาน-ราชธน


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๗๗

บ้านของขุนมหาสวัสดิ์ริมคลองมหาสวัสดิ์


๑๗๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

คลองกานันขาว ที่ริเริ่มขุดโดยกานันขาว ไทยนิยม โดยขุดแยกมาจากคลองมหาสวัสดิ์ เพื่อประโยชน์ในการทาเกษตรกรรม

กานันขาว ไทยนิยม บุตรชายของขุนมหาสวัสดิ์ ต่อมาเป็นผู้เก็บค่าเช่านาส่งพระคลัง ข้างที่แทนบิดา แต่มักเกิดปัญหาว่าผู้เช่าบางรายไม่มีเงินให้ กานันจึงออกเงิน ส่วนตัว จ่ายให้ ก่อนแล้วมาเก็บภายหลัง ต่อมาจึงกลายเป็นผู้ “ผูกนา” คือเป็นผู้จ่ายค่าเช่าให้พระคลังข้างที่ แล้วมาเก็บค่าเช่าจากผู้เช่าภายหลังโดยคิดค่าเช่าเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ถือเป็นค่าดอกเบี้ยที่ต้อง ออกไปก่อน ซึ่งการดาเนินกิจการในลักษณะนี้เรียกว่า “นาผูก” ผู้เช่าต้องทาสัญญากับผู้ผูกนา อีกทอดหนึ่ง ซึ่งสืบทอดมาถึง กานันเขียว ไทยนิยม ซึ่งเป็นบุตรชาย และสืบต่อไปถึงบุตรชาย ของกานันเขียวอีกชั้นหนึ่ง แต่ในปัจจุบันได้เลิกกิจการไปแล้ว ปัจจุบันผู้เช่าส่งเงินกับสานักงาน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์โดยตรง กานันเขียวเล่าว่า ... เป็นเรื่องที่ยากล้าบากมาก ผู้เช่าบางรายยากจนจริงๆ ไม่มีเงินจ่ายค่าเช่า ต้องท้าสัญญาใหม่ เงินค่าเช่าทบต้น ครั้นรุ่งปีก็ไม่มีเงินเหมือนเดิม เขียนสัญญาใหม่ อีก จะไล่เขาออกจากที่นาก็ไม่ได้ จะยึดทรัพย์สมบัติก็ไม่มี ขณะที่ต้องจ่ายค่าผูกนา ทุกปี สุดท้ายก็ต้องเอาสัญญามาฉีกเผาไฟ แล้วก็เริ่มต้นกันใหม่ ถือเสียว่าได้ท้าบุญ ... ๖๙

ศูนย์วัฒนธรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตศาลายา. ราชสักการะ : ภูมิปญ ั ญาชาวบ้าน นครปฐม. นครปฐม: สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล,๒๕๔๒.หน้า ๑๑๐. ๖๙


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๗๙

กานันขาว ไทยนิยม บุตรขุนมหาสวัสดิ์ (แดง ไทยนิยม)


๑๘๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ผู้เขียนและคณะทางานถ่ายภาพร่วมกับคุณวีณา ไทยนิยม เหลนทวดของขุนมหาสวัสดิ์ (แดง ไทยนิยม) ณ เรือนเก่าของขุนมหาสวัสดิ์

นายพันตรี หลวงพิทักษ์ภูเบนทร์ (แป้น ยงใจยุธ) นายพั น ตรี หลวงพิ ทั ก ษ์ ภู เ บนทร์ (แป้ น ยงใจยุ ธ ๗๐) เกิ ด ณ วั น อาทิ ต ย์ ที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๑ ตรงกับแรม ๔ ค่า เดือน ๖ ปีชวด ที่บ้านตาบลศาลายา อาเภอ นครไชยศรี จังหวัดนครปฐม เป็นบุตรนายดา และนางอิน ยงใจยุธ นายดา ยงใจยุธ นี้เป็น ข้าหลวงเดิมในรัชกาลที่ ๕ เป็นบุตรนายชานิบริบาล (สุดใจ) นายเวรกรมพระตารวจวัง กับ พระนมคล้าย ในสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระนมคล้ายนี้เป็น ธิดาของ พระยามหานิเวศนานุรักษ์ (ยัง) ๗๑ สืบตระกูลมาจากพระอาลักษณ์ (กลัด) บุตรพระยาธรรม ปุโรหิต (แก้ว) ส่วนนายชานิบริบาล (สุดใจ) ก็เป็นบุตรของพระมหาโยธานิกร (มิ่ง)

๗๐

นามสกุล “ยงใจยุธ” เป็นนามสกุลที่ได้รับพระราชทานนามมาจากสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุ-

๗๑

พระยามหานิเวศนานุรักษ์ (ยัง) นี้ คือผูส้ ร้างวัดพระยายัง ในกรุงเทพมหานคร

วงศ์วรเดช


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๘๑

นายพันตรี หลวงพิทักษ์ภูเบนทร์ (แป้น ยงใจยุธ)


๑๘๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

นายพันตรี หลวงพิทักษ์ภูเบนทร์มีพี่น้องร่วมบิดา ๑๒ คน คือ ๑. นายบุญรอด ยงใจยุธ ๒. นางสาวแจ่ม ยงใจยุธ ๓. หม่ อมเล็ ก ภาณุ พั น ธ์ ณ อยุ ธ ยา ๗๒ ในจอมพล สมเด็ จ พระราชปิ ต ุ ล าบรม พงศาภิ ม ุ ข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช มีพระโอรส และ พระธิดา ๔ พระองค์ คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสรวงศ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พี ร ะพงศ์ ภ าณุ เ ดช (เจ้ า ดาราทอง) พระวรวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า นรเศรษฐสุ ริ ยลั ก ษณ์ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต ๔. นางปราโมทย์กระยาณุกิจ (สัมฤทธิ์ กาญจนมุสิก) ๕. พันตรีหลวงพิทักษ์ภูเบนทร์ (แป้น ยงใจยุธ) ๖. ร.อ.อ.ขุนเจนจบทิศ (ชื้น ยงใจยุธ) ๗. นางสาวเมี้ยน ยงใจยุธ ๘. นางเป้า ๙. นางสอน ๑๐. ร.อ.ชั้น ยงใจยุธ (บิดา พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) ๑๑. น.อ.ต.วิเชียร ยงใจยุธ ๑๒. อภินพร รัตนวงศา หลวงพิ ทั ก ษ์ ภู เ บนทร์ ส อบไล่ วิ ช าในโรงเรี ย นมั ธ ยมสวนกุ ห ลาบได้ ชั้ น ๗ มั ธ ยม บริบูรณ์ของโรงเรียนเวลานั้น และสอบภาษาอังกฤษขั้น ๔ ในโรงเรียน อังโกลไซนีสสิงคโปร์ แรกเข้ารับราชการทหารเป็นเสมียนตรี กรมปลัดทหารบก เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๑ และในวันที่ ๑ สิงหาคมของปีนั้นเป็นเสมียนโท กรมปลัดทัพบก วั น ที่ ๑ กัน ยายน พ.ศ. ๒๔๕๒ ส ารองราชการในหน้ า ที่ ผู้ ช่ ว ยยกกระบั ต รกรม ยกกระบัตรและในวันที่ ๑ ตุลาคมของปีนั้นเป็นว่าที่ร้อยตรีสมุห์บาญชีกรมทหารราบที่ ๑๓ (กรุงเก่า) และต่อมาอีก ๔ ปีคือวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๖ เป็นนายร้อยโท สมุห์บาญชี กองพันที่ ๒ กรมทหารบก ราบที่ ๘ (นครลาปาง) และเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๙ ประจา หม่อมเล็ก ภาณุพันธ์ ณ อยุ ธยา ซึ่งเป็นพี่สาวของคุณหลวงพิทักษ์ภูเบนทร์ ได้เป็นหม่อมในจอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังสีสว่างวงศ์ เสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอภิรัฐมนตรี ซึ่งเป็นผู้ ที่มีอานาจมาก ทาให้ครอบครัวของหลวงพิทักษ์ภูเบนทร์เป็นครอบครัวที่เป็นที่ยาเกรงของข้าราชการและคนทั่วไป ๗๒


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๘๓

กรมเสมียนตราทหารบก และต่อมาเดือน มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๑ เป็นนายทหารคนสนิทของ นายพลเอก เจ้าพระยาบดินทร์เดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) เสนาบดีกระทรวงกลาโหม กับของ จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังสีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช จเรทหารทั่วไป วันที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๓ เป็นนายร้อยเอก และในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๗๐ ได้รับตาแหน่งเป็นเลขานุการประจาพระองค์ของสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุขฯ องค์ อภิรัฐมนตรี วันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๑ เป็นนายพันตรี ในปีต่อมา วันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๒ เข้าสารองราชการในกรมราชเลขาธิการ และวันที่ ๑ กรกฎาคม ในปีนั้นทาการใน ต าแหน่ ง ปลั ด กรมชั้ น ๑ กองสารบรรณ ต่ อ จากนั้ น มาในราวปี พ.ศ. ๒๔๗๔ ก็ อ อกรั บ พระราชทานเบี้ยบานาญ หลวงพิทักษ์ภูเบนทร์ สมรสกับนางสาวบุญนาค อินทรปาน แต่ก่อนสมรสได้มีธิดากับ นางแก้วคนหนึง่ จึงรวมมีบตุ รและธิดา ๑๐ คนคือ ๑. นางปุญยกัญจน์ เทียนวงศ์ ๒. ด.ช.ปุณยศิลป์ ยงใจยุธ (ถึงแก่กรรมเมื่อยังเยาว์) ๓. นายปุณยสาร ยงใจยุธ (ถึงแก่กรรม) ๔. นายปุณยสธน์ ยงใจยุธ (ถึงแก่กรรม) ๕. นายปุณยเสริฐ ยงใจยุธ ๖. นางปุณยเสริม ภิญโญ ๗. ด.ญ.แดง ยงใจยุธ (ถึงแก่กรรมเมื่อยังเยาว์) ๘. นายสุจิตต์ ยงใจยุธ ๙. นางสาวสุพชิ ญ์ ยงใจยุธ ๑๐. ร.ต.ต.ปณม ยงใจยุธ


๑๘๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (สมเด็จวังบูรพาฯ)


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๘๕

หม่อมเล็ก หม่อมในสมเด็จวังบูรพาฯ พี่สาวหลวงพิทักษ์ภูเบนทร์


๑๘๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ต่อมา เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ ได้เกิดป่วยเป็นโรคความดันโลหิต สูง จึงทาให้เส้นเลือดในสมองแตกเมื่อเวลาประมาณ ๑๘ นาฬิกาเศษ โดยปัจจุบันทันด่วน สุด ความสามารถที่จะแก้ไขได้ทันท่วงที จึงได้ถึงแก่มรณกรรมเมื่อเวลาประมาณ ๑๙ นาฬิกาเศษ ที่โรงพยาบาลศิริราช รวมอายุได้ประมาณ ๗๙ ปี ครอบครัวตระกูลยงใจยุธ เป็นครอบครัวที่เก่าแก่ที่มาอยู่ที่ศาลายาตั้งแต่เมื่อขุดคลอง มหาสวัสดิ์และรัชกาลที่ ๔ ได้จับจองที่ สองฝั่งคลองพระราชทานให้แก่พระราชโอรสและ พระราชธิดา พระนมคล้ายก็ได้ย้ายมาดูแลที่นาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้ าฟ้ากรม พระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช และในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จ ประพาสไทรโยคเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๐ ได้เสด็จผ่านคลองมหาสวัสดิ์และถึ งศาลายาเมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๔๒๐ พระนมคล้ายก็มายืนรับเสด็จอยู่ที่หัวตะพานด้วย

จอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาฯ ฉายพระรูปในคราวที่ไปส่งพระราชโอรส คือ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ ลงเรือเดินทะเลเพื่อทรงเดินทางไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๖ (หลวงพิทักษ์ฯ แถวยืนจากขวา ที่ ๕)


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๘๗

หลวงพิทักษ์ภูเบนทร์ กับครอบครัว “ยงใจยุธ”

มรดกชิ้นสาคัญชิ้นหนึ่งของตระกูล “ยงใจยุธ” ที่มีคุณค่ายิ่ง คือกระจับปี่ประดับ กระจกลายแก้วชิงดวง จารึกเรื่องราวของต้นตระกูลไว้อย่างละเอียดดังนี้ กระจับปี่ประดับกระจกลายแก้วชิงดวงอันนี้ ได้มาจากนายด้า บุตรพระ นมคล้าย ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระภาณุพันธุวงษ์วรเดช นายด้าให้ถ้อยค้าว่า กระจับปี่อันนี้ เมื่อนายด้าอายุได้ ๑๗ ปี (นายด้า เกิดปีเถาะ สัปตศก ๑๒๑๗ (๒๓๙๘) เดี๋ยวนี้อายุ ๕๔ ปี) ออกไปอยู่ที่บ้านนายหรุ่น (พี่ร่วมบิดามารดากับ พระยาสีหราชฤทธิไกร (ทองค้า) ซึ่งเดิมเปนนายเวรในสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ นายหรุ่นเวลานั้นเปนคนมุทะลุดุดัน โปรดให้ไปเปนนายกอง ดูแลท้านาของเจ้าฟ้า ๔ พระองค์ใน ราชกาลที่ ๔ นายหรุ่นผู้นั้นเปนสามีพระนม คล้ายของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระภาณุพันธุวงษ์วรเดช นายด้านั้นเปนบุตรนาย ช้านิภักดี (สุด) นายเวรกรมพระต้ารวจจึงเปนบุตรเลี้ยงนายหรุ่น นายหรุ่นบิดา


๑๘๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

เลี้ยงได้บอกนายด้าบุตรเลี้ยงว่า กระจับปี่อันนี้ว่าเปนของพระสัมพันธวงษ์เธอ พระองค์เจ้ามงคลเลิศ แต่เมื่อทรงเล่นมโหรีอยู่แต่ก่อน พระองค์เจ้ามงคลเลิศนัน้ คือ เปนพระพี่ของกรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ ซึ่งเปนตาของพระเจ้าบรม วงษ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ ครั้นนายหรุ่นตายไปแล้ว นายด้าผู้เปนบุตร เลี้ยง แลที่รับต้าแหน่งเปนนายกองนาแทนบิดาเลี้ยงนั้น ก็ได้เก็บรักษากระจับปี่ อันนี้ไว้จนถึงทุกวันนี้ ครั้นวันนี้ที่ ๒๕ สิงหาคม ร.ศก ๑๒๘ สมเด็จเจ้าฟ้ากรม พระภาณุพันธุวงษ์วรเดช ทรงเอามารักษาแลตกแต่งให้เปนกระจับปี่ดีดได้ตาม ที่ว่าควรแลเคยเปนอยู่แต่ก่อน

กระจับปีข่ องพระองค์เจ้ามงคลเลิศ สมบัติประจาตระกูล “ยงใจยุธ”


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๘๙

ขุนวิศาลกันโอภาส (พิณ กันโอภาส)๗๓ ขุนวิศาลกันโอภาส เดิมชื่อ พิน กันโอภาส เป็นชาวบ้านดงละคร เมืองนครนายกแต่ เดิม อพยพมาตั้งถิ่นฐานที่ศาลายาตั้งแต่เมื่อคราวที่มีการขุดคลองมหาสวัสดิ์ โดยอพยพมา พร้อมกับภรรยาคือ นางเปลี่ยน กันโอภาส และน้องสาว คือ นางเพิ่ม กันโอภาส) ขุนวิศาล กัน โอภาส มีบุตรธิดา ๒ คน ได้แก่ ๑. นายเถิ่ง กันโอภาส (ภายหลังเป็นกานัน) ๒. นางเพิ้ง กันโอภาส การอพยพของครอบครัวขุนวิศาลกันโอภาสนั้นไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าย้ายมา เมื่อใด อย่างไรก็ดี จากคาบอกเล่าของหลานของขุนวิศาลกันโอภาส เล่าว่าท่านขุนย้ายมาอยู่ ตั้งแต่เริ่มมีการขุดคลองมหาสวัสดิ์ โดยจับจองที่ดินแถวปากคลองมหาสวัสดิ์เยื้องกับบ้าน หลวงพิทักษ์ภูเบนทร์ เมื่อแรกมาอยู่ได้ทานาและค้าขายจนสามารถตั้งตัวได้เป็นหลักฐาน มั่นคง ขุน วิ ศาลกัน โอภาสเป็ น ผู้ มี อุป นิ สั ย ตรงไปตรงมา ทั้ ง ยั ง มี วิ ช าแพทย์ แผนโบราณ สามารถปรุงยารักษาโรคภัย จึงเป็นที่ยอมรับนับถือของคนทั่วไปในย่านนั้น ต่อมาเมื่อขุดคลอง มหาสวัสดิ์เสร็จได้มีการจัดสรรที่ดินพระราชมรดก นายพินได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น ขุนวิศาลกันโอภาส และเป็น “นายกอง” คอยดูแลเก็บผลประโยชน์จากที่นาของเจ้าฟ้ากรม พระยานริศรานุวัติวงศ์ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๐ ได้นาเงินที่เหลือจากค่ากองนา มาสร้างเป็น วัดขึ้นเรียกกันมาแต่เดิมว่า วัดตาพิน ต่อมามีการเปลี่ยนชื่อเป็น วัดสาลวัน และเป็นศูนย์รวม ชุมชนในสมัยต่อมา

เรี ย บเรี ย งโดยคุ ณ เอกชั ย ลุ น ดาพร นั ก วิ ช าการอิ ส ระ และอาจารย์ พิ เ ศษ คณะสั ง คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยอาศัยการสัมภาษณ์บุคคลสาคัญในตระกูล ได้แ ก่ นางทองก้อน ธิติมงคล (กันโอภาส) หลาน ขุนวิศาลกันโอภาส ปัจจุบันถึงแก่กรรม ที่อยู่ ๑๓๐ ม.๕ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม (นายเอกชัย ลุนดาพร ผู้บันทึก) นางดวง ชิตสุข (กันโอภาส) หลานขุนวิศาลกันโอภาส อายุ ๘๒ ปี ที่อยู่ ๘๘ ม.๕ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม และ นางพิม แมงทับ(กันโอภาส) เหลนขุนวิศาล กันโอภาส อายุ ๗๒ ปี ที่อยู่ ๕/๒ ม.๔ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓


๑๙๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ภาพเขียนขุนวิศาลกันโอภาส (พิณ กันโอภาส)


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๙๑

ในสมัยต่อมาครอบครัวขุนวิศาลกันโอภาสได้ย้ายจากปากคลองมหาสวัสดิ์ไปปลูก เรือนอยู่ที่บริเวณหมู่ ๔ และยังได้ซื้อที่นาไว้ให้ลูกหลาน จนมีเหลือแบ่งให้เช่า ต่อมาบริเวณนั้น ได้เกิดเป็นชุมชนเล็กๆ ขึ้นมาภายหลังเรียกกันว่า บ้านตาพิน ตามชื่อของ ขุนวิศาลกันโอภาส ตั้งแต่นั้นมา ภายหลังจากทางานมานานได้ให้บุตรชายทาหน้าที่เป็นนายกองต่อและได้เป็น กานันในสมัยถัดมาต่อจากท่าน ขุนวิศาลถึงแก่กรรมเมื่อราวกลางเดื อ น ๓ ซึ่งตรงกับงานทาบุญประจาปีข องวั ด สุวรรณ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๗ ด้วยโรคชรา ณ บ้านตาพิน ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ภายหลังงานฌาปณกิจ กานันเถิ่ง กันโอภาส ได้ก่อพระปรางค์ สูง ๒ วา หย่อน ไว้ ๒ องค์ ที่ริมคลองหน้าวัดสาลวัน เป็นที่บรรจุอัฐิของขุนวิศาลกันโอภาสและภรรยา ไว้เป็นอนุสรณ์ ส่วนกานันเถิ่ง กันโอภาส บุตรของขุนวิศาลกันโอภาสกับนางเพิ่ม กันโอภาส ที่รับ ตาแหน่งกานันสืบต่อจากบิดานั้น เกิดเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๘ แต่เดิมรับตาแหน่งเป็นผู้ใหญ่บ้าน ต่อมาได้รับตาแหน่งกานัน และยังทาหน้าที่เป็นนายกองเก็บค่าเช่านาต่อจากบิดา กานันเถิ่งมี อาชีพทานาและค้าไม้ที่ตลาดปากคลองมหาสวัสดิ์ ในสมัยนั้นศาลายายังเป็นหมู่บ้านเล็กๆ ตัว ชุมชนรวมตัวกันอยู่แถวปากคลองขวางได้อาศัยบารมีของคุณหลวงพิทักษ์ภูเบนทร์ เป็นที่คุ้ม ภัยเนื่องจากศาลายาสมัยก่อน เป็นป่ามะขามและดงสะแก ทั้งยังยังเป็นพื้นที่รอยต่อของ ๓ จังหวัด ได้แก่ เมืองนนทบุรี นครปฐม และธนบุรีจึงเป็นเส้นทางหนีของโจรผู้ร้ายในสมัยนั้น ต่อมาได้ย้ายมาสร้างบ้านที่ฝั่งตรงข้ามกับหน้าวัดสาลวันนับเป็นครัวเรือนแรกๆ ที่ย้ายมาทาให้ ชุ ม ชนค่ อ ยๆ ขยั บ ขยายจากปากคลองมหาสวั ส ดิ์ ม าที่ ฝั่ ง ตลาดเก่ า ศาลายาในปั จ จุ บั น กานันเถิ่ง กันโอภาสได้สมรสกับนางเที่ยง ทองสัมฤทธ์ มีบุตรธิดารวมกัน ๔ คน ดังนี้ ๑. นายเพิ่ง กันโอภาส ๒. นายรอด กันโอภาส ๓. นางเจ๊ก กันโอภาส ๔. นางทองก้อน ธิติมงคล (สมรสกับกานันเสรี ธิติมงคล) กานันเถิ่งปฏิบัติหน้าที่ด้วยดีเสมอมาและได้ช่วยทางการปราบปรามโจรผู้ร้ายหลาย ครั้ง จนกระทั่งในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ กานันเถิ่งได้มีโอกาสเข้าเฝ้าฯ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพย์อาภา ผู้สาเร็จราชการ เนื่องด้วยกานันปฏิบัติ หน้าที่ด้วยความวิริยะอุตสาหะ และช่วยทางการปราบปรามโจรผู้ร้าย พระองค์เจ้าอาทิตย์ฯ ได้ประทานเหรียญที่ระลึกและปืนพาราเบลลั่มให้กานันไว้


๑๙๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

กานันเถิ่ง กันโอภาส บุตรชายขุนวิศาลกันโอภาส


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๙๓

เหรียญที่ระลึกที่กานันเถิ่งได้รับประทาน จากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพย์อาภา

ปืนพาราเบลลั่มที่กานันเถิ่งได้รับประทาน จากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพย์อาภา


๑๙๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

เข็มพระนามย่อ “อาทิตย์” ที่กานันเถิ่งได้รับประทาน จากพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพย์อาภา

ขุนนิคมศาลาฌาปนะ (ฮวด เทียมปฐม) ขุนนิคมศาลาฌาปนะ เดิมชื่อฮวด เทียมปฐม เป็นบุตรคนที่ ๔ ของ นายเทียม นาง อุ้น เทียมปฐม เกิดเมื่อวันศุ กร์ เดือนยี่ แรม ๕ ค่า ปีมะเส็ง พ.ศ. ๒๔๑๑ ที่ตาบลบางเตย อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีพี่น้องรวมบิดามารดาเดียวกันรวม ๕ คน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๒ ได้อุปสมบท ณ วัดทรงคนอง อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม อุปสมบทอยู่ ๑ พรรษา ได้เล่าเรียนศึกษาในอักขรสมัยตามสมควร แล้วลาสิกขาบทเพื่อช่วย ผู้ปกครองประกอบอาชีพตลอดมาด้วยความอุตสาหะวิริยะมานะอดทน การประกอบอาชีพใน ระยะนี้ได้เป็นไปอย่างเรียบร้อยภายหลังเมื่อมีครอบครัวแล้วได้ย้ายไปอยู่คลองจินดาในอาเภอ เดียวกัน เพื่อประกอบอาชีพพยุงฐานะของครอบครัวตลอดมา


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๙๕

พ.ศ. ๒๔๓๕ ย้ายมาอยู่ที่ตาบลศาลายา อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยมี บ้านอยู่ติดกับบ้านหลวงพิทักษ์ และได้ประกอบอาชีพค้าขาย ต่อมาสมรสกับนางจันทร์ เทียมปฐม มีบุตรธิดา ๒ คน คือ ๑. นายถาวร เทียมปฐม ๒. นางสอิ้ง เทียมปฐม พ.ศ. ๒๔๕๙ ย้ายไปอยู่ตาบลศาลาธรรมสพน์ อาเภอตลิ่งชัน จังหวัดธนบุรี และได้ สร้า งตลาดที่ ริม คลองทวี วั ฒ นาใกล้ สี่ แยก คุณ ความดี ที่ ไ ด้ มี แก่ครอบครัว และเพื่ อนบ้ า น ใกล้เคียงจึงได้รับยกย่องเป็นกานันเจ้าตาบลศาลาธรรมสพน์ ด้วยอานาจการที่ท่านได้ปฏิบัติ กิจการงานในหน้าที่เพื่อสนองคุณของประเทศชาติโดยเรียบร้อยเป็นที่ไว้วางใจของประชาชน โดยทั่วไป ทั้งเป็นที่นิยมสรรเสริญของผู้ใหญ่เหนือตน ครั้น พ.ศ. ๒๔๖๒ ได้รับพระราชทาน บรรดาศักดิ์เป็น ขุนนิคมศาลาฌาปนะ เมื่อทางานในตาแหน่งนี้มานานจึงได้ลาออกจากเจ้า ตาบลศาลาธรรมสพน์ ในปี ๒๔๖๙ จึงย้ายกลับมาอยู่ตาบลศาลายาอีกตามเดิม นับว่าระยะนี้ ครอบครัวได้โยกย้ายยังไม่ปรกติไ ด้ก็เพราะเรื่องการประกอบอาชีพแต่อาศัยที่ท่านขุนเป็นผู้ รอบคอบในกิจการงานจึงสามารถตั้งตัวได้เป็นหลักฐาน ในทางศาสนา ท่านขุนเป็นผู้เอาใจฝักใฝ่ในกิจการของพระศาสนาเป็นอย่างดีตลอดมา นับว่าเป็นพุทธมามกะที่ดีผู้หนึ่ง ท่านขุนได้ดารงชีวิตมา ๗๔ ปี แล้วก็จากบุตรภรรยาญาติมิตร ไปตามปกติของสังขาร เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๔๘๕ ตรงกับวันอาทิตย์ขึ้น ๑๓ ค่า เดือนอ้าย ปีมะเมีย ด้วยโรคชรา ณ บ้านวัดสุวรรณ ตาบลศาลายา อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม


๑๙๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ขุนนิคมศาลาฌาปนะ (ฮวด เทียมปฐม) (อดีตกานันเจ้าตาบลศาลาธรรมสพน์)


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๙๗

อนึ ่ง บุต รคนโตของขุน นิ ค มศาลาฌาปนะ (ฮวด เที ย มปฐม) คื อ นายถาวร เทียมปฐม ได้ดาเนินรอยตามบิดาโดยการบาเพ็ญสาธารณประโยชน์นานัปการ นายถาวร ผู้นี้เดิมชื่อซุ่นหลี เทียมปฐม เป็นบุตรคนโตของขุน นิคมศาลาฌาปนะ (ฮวด เทียมปฐม) อดีต กานันตาบลศาลาธรรมสพน์ กับนางจันทร์ เที ยมปฐม เกิดเมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๗ ตรงกับวันจันทร์ ขึ้น ๑ ค่า เดือน ๑๒ ปีขาล ที่บ้านศาลายา เมื่ออายุได้ ๓ ขวบได้ย้ายติดตามบิดาไปอยู่ที่ตาบลศาลาธรรมสพน์ จนถึง พ.ศ. ๒๔๖๙ จึงได้ย้ายกลับมาอยู่ที่บ้านวัดสุวรรณ และได้อุปสมบทที่วัดสุวรรณาราม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๘ โดยมีพระครูสีลาภินันท์ (หลวงพ่อพิน) วัดศรีประวัติ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระสมุห์มี วัดทรงคะนองเป็นพระกรรมวาจาจารย์ และหลวงพ่อเนียม โชติกาโร อดีตเจ้าวัดสุวรรณาราม เป็นพระอนุสาวนาจารย์ เมื่อลาสิกขาบทแล้วได้สมรสกับนางงึ้น เทียมปฐม มีบุตรและธิดา รวม ๑๐ คน นายถาวร เที ย มปฐม เป็ น ผู้ ที่ มี วิ ริ ย ะอุ ต สาหะ ใช้ ค วามรู้ ค วามสามารถในการ ประกอบอาชีพโดยเฉพาะการทาสวนจนทาให้มีฐานะมั่นคง ต่อมาจึงกลายเป็นกาลังสาคัญใน การพั ฒ นาวั ด สุ ว รรณาราม โดยเป็ น กรรมการวั ด และไวยาวั จ กรติ ด ต่ อกัน มาหลายสิ บ ปี นอกจากนี้ ยั ง ได้ บ ริ จ าคทรั พ ย์ สิ น เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ในกิ จ การสาธารณประโยชน์ ม ากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ท่านได้ร่วมกับนายทองคา นางจาง นิ่มนวล (คุ ณลุงและคุณป้าของคุณ หมอจรัสพงษ์ ทังสุบุตร ผู้อานวยการโรงพยาบาลศาลายา) บริจาคที่ดินและเงินค่าใช้จ่ายใน การขุดคลองเชื่อมคลองมหาสวัสดิ์และคลองโยงระยะทาง ๓ กิโลเมตร เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๒ เพื่อใช้ในการเป็นแหล่งน้าทางการเกษตรและเพื่อการคมนาคมขนส่ง และปัจจุบันเป็น คลองหนึ่งในการป้องกันน้าท่วมของโครงการแก้มลิงฝั่งตะวันตก ปัจจุบันคลองนี้ใช้ชื่อว่า “คลองตาหลี” ตามชื่อเดิมของท่าน คลองนี้ยาว ๗๓ เส้น (๑ เส้น เท่ากับ ๔๐ เมตร) กว้าง ๖ ศอก ลึก ๓ ศอก ฐานกว้าง ๓ ศอก โดยใช้แรงงานคนขุด ราคาค่าจ้างเส้นละ ๑๐ บาท (ราคาทองขณะนั้นบาทละ ๒๐ บาท) ใช้เวลาขุด ๑ เดือนจึงแล้วเสร็จ ซึ่งในการขุดคลองมีการให้รางวัลผู้ที่ขุดได้งานเรียบร้อย และสวยงาม โดยมีรางวัลดังนี้ รางวัลที่ ๑ โอ่งปูนลูกใหญ่ ๑ รางวัล รางวัลที่ ๒ โอ่งปูนลูกกลาง ๒ รางวัล รางวัลที่ ๓ โอ่งปูนลูกเล็ก ๓ รางวัล


๑๙๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

หนังสือแจ้งความขอจดทะเบียนนามสกุล เมื่อวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๔๕๘ มีนามสกุล “เทียมปฐม” ของขุนนิคมศาลาฌาปนะ (ฮวด เทียมปฐม) รวมอยู่ด้วย


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๑๙๙

ทะเบียนนามสกุล เลขที่ ๑๓๒ นามสกุล “เทียมปฐม” ของขุนนิคมศาลาฌาปนะ (ฮวด เทียมปฐม)


๒๐๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

นายถาวร เทียมปฐม ผู้ริเริ่มขุดคลอง “ตาหลี”

คลองที่ขุดนี้ชาวบ้านจะเรียกชื่อว่า “คลองกานันฮวด” ตามชื่อขุนนิคมศาลาฌาปนะ แต่ต่อมาเมื่อขุนนิคมศาลาฌาปนะถึงแก่กรรม ชาวบ้านจึงเปลี่ยนชื่อเรียกเป็น “คลองตาหลี” แทน และกลายเป็นชื่อคลองอย่างเป็นทางการในปัจจุบัน นายถาวร เทียมปฐม เป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์มาตลอดจนถึงวัยชรา ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ได้เริ่มป่วยเป็นโรคหัวใจและได้รับการรักษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ ของโรงพยาบาลศิริราชอย่างต่อเนื่อง โดยพักรักษาตัวที่บ้าน จนกระทั่งสิ้นลมอย่างสงบเมื่อวัน พุธที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๔ ด้วยโรคชรา สิริรวมอายุได้ ๘๗ ปี


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๐๑

คุณูปกรของชุมชน พระครูวิชัยวุฒิคุณ (หลวงพ่อดี สุวณฺโณ)๗๔ นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม๗๕ พระครูวิชัยวุฒิคุณ มีนามเดิมว่า ดี นามสกุลพุทธสัยยาตร์ เป็นบุตรนายแก้ว นาง แปลก พุทธสัยยาตร์ เกิดเมื่อวันอังคาร ขึ้น ๘ ค่า เดือน ๘ ตรงกับเดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๗ ที่บ้านมหาสวัสดิ์ อาเภอนครชัย ศรี (ปัจจุบันเป็นอาเภอพุทธมณฑล) จังหวัดนครปฐม มีพี่ชาย ๑ คน คือ นายปุ แก้วประเสริฐ เมื่ออายุ ๑๔ ปี ได้มาอาศัยอยู่กับหลวงพ่อพุฒซึ่งเป็น ลุ ง ของท่ า นที่ วัด สุ วรรณาราม ต าบลศาลายา อาเภอนครชั ย ศรี จั ง หวั ด นครปฐม และได้ บรรพชาเป็นสามเณร อุปสมบท ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๖๗ ณ วัดงิ้วราย ตาบลงิ้วราย อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยมีพระครูปัจฉิมทิศบริห าร วัดงิ้วราย เป็น พระอุปัชฌาย์ พระปลัดบุญเป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับฉายาว่า สุวณฺโณ และได้จาพรรษา ที่วัดสุวรรณาราม หลังจากอุปสมบทแล้ว ได้ศึกษาธรรมและภาษาบาลีกับหลวงพ่อเนียม โชติกาโร ซึ่ง ท่านเป็นศิษย์ของท่านเจ้าพระคุณพระพุทธวิถีนายก (หลวงปู่บุญ) วัดกลางบางแก้ว อาเภอ นครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จนมีความรู้ภาษาบาลี และปริยัติธรรม สอบได้นักธรรมตรี เมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ สอบได้นักธรรมโท เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ พ.ศ. ๒๔๗๗ ได้ไปจาพรรษาที่วัดกกตาล อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จนถึง พ.ศ. ๒๔๘๑ จึงได้ย้ายกลับมาวัดสุวรรณารามอีกเพื่อได้อยู่ใกล้กับญาติ ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดสุวรรณารามและได้ ดาเนินการก่อสร้างพระอุโบสถซึ่งเริ่มก่อสร้างตั้งแต่สมัยหลวงพ่อเนียม โชติกาโร จนแล้วเสร็จ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ ท่านเป็นเจ้าอาวาสอยู่ประมาณ ๗ ปี ในระหว่างนั้นได้ไปจาพรรษาอยู่ที่วัด ขนอน อาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เป็นเวลา ๑ พรรษา หลังจากนั้นได้ลาออกจากตาแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม โดยมีพระมหาโชติ เรวโต เป็นเจ้าอาวาสต่อ อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. (๒๕๕๔). อนุสรณ์งานฌาปนกิจศพ นางสาวสมศรี เทียมปฐม. หน้า ๙ – ๑๑. ผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และประธานสภาวัฒนธรรมอาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๔ ๗๕


๒๐๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

๑๙ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๘ ได้รับแต่งตั้งเป็นพระคู่สวด ๒๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๘ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม ๒๓ มกราคม พ.ศ.๒๕๐๒ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตาบลสาโรง ๒๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๐๕ ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๐๘ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูวิชัยวุฒิคุณ พระครูวิชัยวุฒิคุณ หรือ หลวงพ่อดี นับว่าเป็นพระดีสมชื่อท่าน ตั้งแต่ท่านบรรพชา เป็นสามเณรจนกระทั่งอุปสมบทเป็น พระภิกษุแล้วท่านก็อยู่ในร่มกาสาวพัสตร์จนตลอดชีวิต ในระหว่างนั้นท่านมีวัตรปฏิบัติเป็นแบบอย่างยิ่ง ความสมถะและถือสันโดษ ท่านอยู่อย่าง ง่ายๆ ไม่ชอบสะสมสิ่งของที่มีผู้มาถวายท่าน ท่านมักจะมอบต่อให้กับพระภิกษุอื่นหรือมอบ ให้กับลูกศิษย์ ถ้าเป็นเงินท่านจะมอบให้เป็นสมบัติของวัดเพื่อใช้สร้างถาวรวัตถุต่อไป หลวง พ่อดีสุวณฺโณ เป็นผู้มีความเมตตากรุณากับประชาชนทั่วไป เมื่อท่านเป็นพระอุปัชฌาย์ มีผู้ให้ ท่านบวชเป็นจานวนมาก บางคนอาจถือเคล็ดว่าชื่อท่านเป็นมงคลเมื่อท่านรับแล้วท่านต้องไป ให้ได้ มีอยู่ครั้งหนึ่งท่านไปเป็นพระอุปัชฌาย์ที่วัดปุรณาวาสเสร็จเรียบร้อยแล้วจึงเดินทางกลับ โดยเรือหางยาวขณะนั้นมีฝนตกท่านนั่งอยู่กลางลาในลักษณะเข่าชันศอก เมื่อเรือผ่านสี่แยก ศาลายาปรากฏว่าว่ามีเรืออีกลาหนึ่งแล่นตัดมาชนเรือที่ท่านนั่งมาจนขาดตรงตาแหน่งหน้า แข้งท่าน ทาให้เรือจม แต่ท่านได้รับบาดเจ็บเป็นแผลถลอกเล็กน้อยและมีผู้นามาส่ง ที่ วั ด สุวรรณาราม วันรุ่งขึ้นคนขับเรือลาที่ชนท่านได้มาเยี่ยมท่านที่วัดสุวรรณารามด้วยความเป็น ห่วงแต่ปรากฏว่าท่านได้กลับเดินทางไปงานที่ท่านรับนิมนต์ไว้เสียแล้ว หลวงพ่อดี สุวณฺโณ ฉายาของท่านคู่กับวัดสุวรรณาราม อาจกล่าวได้ว่าชาวอาเภอ พุทธมณฑลและใกล้เคียงรู้จักท่านในนามของ “หลวงพ่อดีวัดสุวรรณ” คงเนื่องจากท่านเป็น เจ้าอาวาสวัดสุวรรณารามนานที่สุดในจานวนเจ้าอาวาสทั้งหมดท่านเป็นเจ้าอาวาสทั้งหมด ท่านเป็นเจ้าอาวาส ๒ ครั้ง รวมเป็นระยะเวลาถึง ๔๕ ปี มีผู้มาให้ท่านเป็นอุปัชฌาย์บวชให้ หรือมาขอลาสิกขาบทกับท่านหลายพันคน ซึ่งบุคคลเหล่านี้ก็ยังระลึกถึงท่านเสมอมา ท่าน เป็ น ผู้ มี ส่ ว นในการสร้ า งถาวรวั ต ถุ ต่ า งๆ ของวั ด สุ ว รรณารามเกื อ บทั้ ง สิ้ น ไม่ ว่ า จะเป็ น พระอุโบสถศาลาการเปรียญ หอปริยัติธรรมและหอฉัน ฌาปนสถาน หอระฆัง กุฏิสงฆ์ ศาลา ท่ า น้ าโรงเรี ย นวั ด สุ ว รรณาราม ซึ่ ง ทางราชการได้ น าชื่ อ ของท่ า นมาเป็ น ชื่ อ โรงเรี ย นว่ า “โรงเรียนวัดสุวรรณาราม (ดีราษฎร์รังสฤษดิ์)” โดยมีไวยาวัจกรคือ นายถาวร เทียมปฐม และ พระครูใบฎีกาจรูญ กิตฺติญาโณ ซึ่งท่านไว้วางใจเป็นผู้ช่วยดาเนินการ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๐๓

หลวงพ่อดี สุวณฺโณ เป็นพระที่ไม่ยึดติดกับลาภยศและตาแหน่ง ท่านแสดงความ ต้องการจะลาออกจากตาแหน่งเจ้าอาวาส เจ้าคณะตาบล และตาแหน่งอุปัชฌาย์ ซึ่งตาแหน่ง เหล่านี้เป็นที่ต้องการของพระภิกษุโดยทั่วไปในปัจจุบัน ท่านได้ยื่นใบลาออกหลายครั้งแต่ กรรมการวั ด และญาติ โ ยมได้ ข อร้อ งให้ ท่ า นอยู่ ใ นต าแหน่ ง เดิ ม ต่ อไป บางครั้ ง ต้ องขอให้ พระผู้ใหญ่ช่วยขอร้องจึงสาเร็จ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ ท่านได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระครูวิชัยวุฒิคุณ คณะศิษยานุศิษย์ได้จัดทาเหรียญที่ระลึกของท่านเป็นรุ่นแรกลักษณะเป็นรูปภาพอัดกระจก หลังจากนั้นก็ได้มีการจัดทาเหรียญที่ระลึกของท่านในโอกาสต่างๆ อีกหลายรุ่นหลายแบบ หลวงพ่อดี สุวณฺโณ ได้อาพาธด้วยโรคระบบทางเดินหายใจและได้เข้ารับการรักษาที่ โรงพยาบาลพญาไท ๑ และได้มรณภาพในวันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๖ โดยการหายใจล้มเหลว รวมอายุได้ ๘๙ ปี ๔ เดือน ๑๖ วัน พระครูใบฎีกาจรูญ ซึ่งภายหลังได้เป็นพระครูสังฆรักษ์จรูญ เจ้าอาวาสองค์ต่อมาได้ ดาเนินการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ และได้จัดสร้างเจดีย์เพื่อบรรจุอัฐิ รูปหล่อ และเครื่อง อัฐบริขารตลอดจนของใช้ต่างๆ ของหลวงพ่อดีในสมัยที่ท่านมีชีวิตเพื่อเป็นการแสดงกตัญญุตา ในฐานะที่เคยเลี้ยงดูมา หลวงพ่อดี ถือว่าเป็นสุดยอดเกจิแห่งคลองมหาสวั สดิ์ ด้วยวัตรปฏิบัติที่งดงามของ ท่านจนเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของประชาชนโดยทั่วไป วัดสุวรรณารามมีการสร้างเหรียญที่ ระลึกเนื่องในโอกาสต่างๆ เช่น เหรียญเสมา ซึ่งเป็นรุ่นแรก แจกให้กับผู้ บริจาคเงินสร้างศาลา การเปรียญ เหรียญรุ่นพัดยศ เนื่องในโอกาสที่ท่านได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครู วิชัยวุฒิคุณ เหรียญรุ่นคาดเชือก เนื่องในโอกาสสร้างหอปริยัติธรรม คุณชัยวัฒน์ เลาหสุวรรณพานิช ได้รวบรวมเหรียญหลวงพ่อดีรุ่นต่างๆ และรวบรวม เป็ น ภาพขนาดใหญ่ ผู้ ส นใจรายละเอี ย ดสามารถปรึ ก ษาได้ หมายเลขโทรศั พ ท์ ๐๓๔๓๓๓๔๒๐


๒๐๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระเครื่องหลวงพ่อดี

รุ่นเสมา

รุ่นพัดยศ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๐๕

รุ่นรัศมี

รุ่นหลังพระประธาน


๒๐๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๐๗

ประเพณีตักบาตรท้องน้า วัดสุวรรณาราม๗๖ นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม๗๗

ประเพณี นี้ จั ด ขึ้น ที่ วั ด สุ ว รรณาราม หมู่ ที่ ๑ ต าบลศาลายา อาเภอพุ ท ธมณฑล จังหวัดนครปฐม มากว่า ๕๐ ปี เริ่มจัดขึ้นครั้งแรกในสมัยพระครูวิชั ยวุฒิคุณ (หลวงพ่อดี สุวณฺโณ) เป็นเจ้าอาวาสโดยการริเริ่มของนายถาวร เทียมปฐม ไวยาวัจกรวัดในขณะนั้น โดย จั ด ขึ้น ในวั น เพ็ ญ ขึ้น ๑๕ ค่า เดื อน ๑๒ ซึ่ ง ตรงกั บ วั น ลอยกระทง ในช่ ว งเช้ า ประมาณ ๐๘.๐๐ น. ณ บริเวณคลองมหาสวัสดิ์ หน้าวัดสุวรรณาราม โดยเป็นการทาบุญอุทิศส่วนกุศล ให้ แ ม่ พ ระคงคาและอุ ทิ ศส่ ว นกุศลให้ กับ ผู้ ที่ เสี ย ชีวิ ต ในคลองมหาสวั ส ดิ์ เนื่ องจากในช่ วง ระยะเวลาดังกล่าวมีเหตุการณ์คนที่อาศัยอยู่ริมคลองมหาสวัสดิ์จมน้าตายกันหลายรายและ ชาวบ้านเชื่อว่าการที่มีคนจมน้าตายวิญญาณผู้ตายจะสิงสถิตอยู่ในบริเวณนั้นจนกระทั่งมีคน จมน้าตายบริเวณนั้นอีกวิญญาณเดิมจึงจะได้ไปเกิดใหม่ ดังนั้นการจัดพิธีตักบาตรท้องน้าจึง เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านในการทาให้ประชาชนที่อยู่ริมคลองมีความระมัดระวังบุตรหลาน ไม่ให้ ตกน้าตายหลังจากการจัดประเพณีนี้ขึ้นมา ปรากฏว่ามีคนจมน้าตายน้อยลงมาก

อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. (๒๕๕๔). อนุสรณ์งานฌาปนกิจศพ นางสาวสมศรี เทียมปฐม. หน้า ๒๑ – ๒๔. ผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และประธานสภาวัฒนธรรมอาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๖ ๗๗


๒๐๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ในช่วงเวลานั้น พระวัดสุวรรณารามจะออกบิณฑบาต มีทั้งสายเดินและสายเรือ สาย เรือจะใช้เรือบดหรือเรือสาปั้นเพรียวซึ่งเป็นเรือขนาดเล็ก พระนั่งกลางลาเรือได้รูปเดียวมี บาตรและสารับวางไว้ข้างหน้า พระที่พายเรือต้องมีความชานาญมากเพราะเป็นเรือเล็กจมได้ ง่าย ในวันเพ็ญกลางเดือน ๑๒ ประชาชนที่มาทาบุญที่วัดสุวรรณารามส่วนใหญ่ จะนาเรือ ที่ใช้ในชีวิตประจาวันมีทั้งเรือขนาดใหญ่ เช่น เรือมาด เรือชะล่า หรือเรือขนาดเล็ก เช่น เรือ สาปั้น เรืออีแปะ หรือเรืออีป๊าบ (หรือเรือจู๊ ด) ชาวบ้านส่วนหนึ่งจะนาเรือรับพระพร้อมด้วย บาตรและสารับ เรือที่มีขนาดเล็กรับได้ ๑ รูป เรือลาใหญ่รับได้ ๒-๓ รูป ชาวบ้านจะเป็นผูพ้ าย เรือให้พระนั่ง สาหรับผู้ที่ใส่บาตรจะอยู่ในเรือ ซึ่งจะจอดเรียงรายอยู่ริมฝั่งหรือบนท่าเรือ เมื่อ เรือพระมาถึงก็จะนาอาหารคาวหวานตักใส่รวมทั้งถวายดอกไม้ ธูปเทียน และปัจจัย

ประเพณีตักบาตรท้องน้า บริเวณหน้าวัดสุวรรณาราม

เมื่อ ๔๐ - ๕๐ ปี ก่อน ประเพณีนี้มีผู้มาร่วมงานเป็นจานวนมากจะเห็นเรือเต็มคลอง มหาสวัสดิ์หลายร้อยลา ประกอบกับวัดสุวรรณาราม ในช่วงนั้นเป็นช่วงที่ประชาชนมีความ ศรัทธาต่อพระครูวิชัยวุฒิคุณ (หลวงพ่อดี สุวณฺโณ) มากมีคนศรัทธาบวชที่วัดสุวรรณาราม ในช่วงเข้าพรรษาจานวนมากกว่า ๑๐๐ รูป เป็นประจาและในช่วงวันเพ็ญกลางเดือน ๑๒ ซึ่ง เป็นช่วงออกพรรษาได้เพียง ๑ เดือน ยังมีพระภิกษุอยู่หลายสิบรูป จึงมีญาติพี่น้องมาร่วม ทาบุญเป็นจานวนมาก ปัจจุบันไม่มีพระบิณฑบาตทางน้าในอาเภอพุทธมณฑลแล้ว เนื่องจากพระที่เคยพาย เรือได้เริ่มมีอายุมากไม่สามารถบังคับ เรือได้ดีทาให้มีโอกาสล่มได้บ่อย ส่วนประเพณีตักบาตร ท้องน้าประชาชนก็เริ่มมาน้อยลง เนื่องจากปัจจุบันมีทางรถยนต์ที่ สะดวก จึงใช้เรือน้อยลง เรื่อยๆ ประกอบกับจานวนพระภิกษุของวัดสุ วรรณารามลดลงมากจึงมีญาติโยมมาทาบุญ น้อยลง


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๐๙

การจัดประเพณีดังกล่าวนอกจากจะเป็นการทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แม่พระคงคา และผู้ที่เสียชีวิตในคลองมหาสวัสดิ์แล้ว ยังเป็นการอนุรักษ์ประเพณีที่มีการจัดทากันมานาน มากกว่าครึ่งศตวรรษและเป็นการอนุรักษ์เรือและวิถีชีวิตริมคลองมหาสวัสดิ์ให้คงอยู่ตลอดไป องค์การบริหารส่วนตาบลศาลายาได้ร่วมกับวัด สุว รรณารามผู้มีส่ วนเกี่ย วข้อง ชมรมการ ท่องเที่ยวการเกษตร อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม และสภาวัฒนธรรมอาเภอพุทธมณฑล ได้เริ่ม อนุรักษ์ประเพณีดังกล่าว ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๒ ทาให้ประเพณีนี้มีผู้มาร่วมงานมากขึ้น ซึ่งต่อไป น่าจะกลายเป็นประเพณีในระดับจังหวัดต่อไป

ประเพณีตักบาตรท้องน้า บริเวณหน้าวัดสุวรรณาราม


๒๑๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงฉายพระรูปพร้อมด้วยพระราชโอรสและพระราชธิดา


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๑๑

เสด็จประพาสไทรโยค ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว๗๘ นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม๗๙ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดาเนินประพาสไทรโยค ถึง ๔ ครั้ง คือ ปี จุลศักราช ๑๒๓๕ (พ.ศ. ๒๔๑๖) จุลศักราช ๑๒๓๙ (พ.ศ. ๒๔๒๐) จุลศักราช ๑๒๕๐ (พ.ศ. ๒๔๓๑) และจุลศักราช ๑๒๗๑ (พ.ศ. ๒๔๕๒) ในการเสด็ จ ประพาสไทรโยค ครั้ง ที่ ๒ ของพระองค์ไ ด้ เสด็ จพระราชด าเนินจาก กรุงเทพมหานคร ในวันพฤหัสบดี ที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๐ แล้วเสด็จไปประทับแรมอยู่ เมืองราชบุรี จนถึงวันที่ ๒๑ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๒๐ จึงเสด็จกลับกรุงเทพมหานคร รวม ประทับแรม ๓๕ ราตรี และทรงได้พระราชนิพนธ์ เรื่อง “เสด็จประพาสไทรโยค” ที่ได้รับ ยกย่องว่าเป็นวรรณกรรมสาคัญเล่มหนึ่ง ทาให้ผู้อ่านได้รับความรู้ ความเพลิดเพลินซึ่งทรง พรรณนาถึง สภาพภูมิ ป ระเทศ ความเป็ น อยู่ การท ามาหากิน ของราษฎร์ในหั ว เมื องภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ในเส้นทางที่เสด็จผ่านคลองมหาสวัสดิ์ ซึ่งเป็นคลองประวัติศาสตร์ ของ อาเภอพุ ท ธมณฑลพระองค์ท่านได้บรรยายสภาพที่ ได้พ บเห็ นทาให้ ได้ เห็ นสภาพของพื้นที่ อาเภอพุทธมณฑล ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๒๐ ได้เป็นอย่างดี พระบาทสมเด็ จ พระจุล จอมเกล้ าเจ้ า อยู่ หัว หรือพระปิ ย มหาราช เสด็ จ ประพาส ไทรโยค ครั้งที่ ๒ ในปี พ.ศ. ๒๔๒๐ เริ่มเสด็จพระราชดาเนินจากกรุงเทพมหานคร ในวัน พฤหัสบดี ที่ ๑๗ มกราคม ๒๔๒๐ เวลา ๒ โมงเศษ ผ่านคลองบางกอกน้อย ถึงปากคลอง มหาสวัสดิ์ด้านตะวันออกตรงวัดชัยพฤกษมาลา เวลา ๒ โมง ๕๕ นาที พระองค์ท่านได้บรรยาย ไว้ในพระราชนิพนธ์ดังกล่าวว่า “เวลาโมงเศษ เราได้ท้าการตามเคยที่จะไป และพบเจ้ านายผู้หญิง พร้อมกัน มีลูกขุนมากกว่าทุกคราว ที่ต้าหนักแพมีขุนนางมา มาส่งประมาณสัก ๓๐ ทั้งผู้ใหญ่ผู้น้อยสั่งเสียการเล็กน้อยตามเคยแล้วลงเรือได้ออกเวลา ๒ โมง เศษนิดหน่อย มาเข้าคลองบางกอกน้อย เรือที่เรามาเหมือนเรือบีกนิกส้าหรับ เรือไฟลากสบายเท่ากันในคลองบางกอกน้อ ย จะไม่ต้องพูดถึงมาก เพราะใคร อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. (๒๕๕๔). อนุสรณ์งานฌาปนกิจศพ นางสาวสมศรี เทียมปฐม. หน้า ๒๕ – ๒๘. ผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และประธานสภาวัฒนธรรมอาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๘ ๗๙


๒๑๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

อยากเห็นก็ดูได้ง่าย มีวัดที่เรารู้จักคือวัดสุวรรณ วัดศรีสุดาราม เปนต้น มาถึง ปากคลองมหาสวัสดิ์ วัดชัยพฤกษมาลา เวลา ๒ โมง ๕๕ นาที คลองมหาสวัสดิ์ ตะวันออก ไปตะวันตกตรง ถัดปากคลองเข้ามาหน่อยหนึ่ง น้​้าลึกสามศอกคืบ เวลาน้​้าขึ้นเต็มที่ คลองคงกว้างประมาณ ๖-๗ วา ในตอนปากคลองนั้น แลดู สองข้างทางมีต้นตาลเปนหมู่นับด้วยร้อยด้วยพันทั้งสองฟาก ต่อมามีทุ่งนาแล ไกลๆ เห็นต้นตาลห่างๆ น้​้าในคลองข้างตอนปากคลองริมวัดชัยพฤกษ์ หยั่งน้​้า ได้ลึกสามศอกคืบ ตั้งแต่หลัก ๒๐๐ มาแลเห็นคราบน้​้าลดลงสามนิ้ว แต่น้าใน ท้องคลองลึกถึง ๔ ศอก ตั้งแต่หลัก ๓๐๐ มา คราบน้​้าลดห้านิ้วหกนิ้วเศษ น้​้า ในท้องคลองลึกเพียง ๒ ศอก ๑๘ นิ้ว ตั้งแต่ก่อนหน้าจะถึงนากรมหมื่นมเหศวร หน่อยหนึ่ง เป็นที่ตื้นมากตลอดไปจนหลัก ๔๐๐ เกือบถึงหลัก ๕๐๐ คราบน้​้ามี อยู่ ๔ นิ้ว ๕ นิ้ว น้​้าลึกอยู่เพียง ๒ ศอก ๒ ศอกคืบหย่อนบ้าง ในระยะนี้เป็นน้า้ ตื้นที่สุดเพราะเป็นที่น้าชน ได้ปรึกษาพร้อมกับคุณสุรวงศ์ คิดจะแก้ไม่ให้คลอง นี้เสีย คุณสุรวงศ์ได้ให้ออกมาท้าแผนที่ในระหว่างกลางคลองมหาสวัสดิ์และ คลองภาษีเจริญต่อกัน ได้เป็นระยะทาง ๓๐๐ เส้นเศษจึงคิดขุดคลองตั้งแต่พ้น หลัก ๓๐๐ มา เส้น ในคลองมหาสวัสดิ์ไปทลุออกที่คลองภาษีเจริญตั้งแต่หลัก เส้น คลองนั้นได้ขุดในปีนี้ กว้าง ลึก ราคาเส้นละชั่ง เมื่อเรามาถึงปากคลอง เวลา ๕ โมงเกือบจะครึ่ง เห็นคลองนั้นได้เปิดมีน้าเต็ม ขุดเหนือไปใต้ เพราะ เห็นว่าถ้าเวลาน้​้าขึ้นน้​้าคลองภาษีเจริญขึ้นก่อน คงจะไหลมาตามคลองนี้ถึง คลองมหาสวัสดิ์ ถ้าเวลาน้​้าลงหรือน้​้าเหนือมาน้​้าในคลองมหาสวัสดิ์คงไหลลง ทางคลองที่ขุดตัดนี้แรง เลนในกลางคลองที่ตื้นก็จะค่อยบางลงจะแก้ให้หายตื้น ได้ทั้ง ๒ คลอง แต่การที่หมายนี้จะได้สมคิดแน่หรือไม่ได้ ยังรับประกันไม่ได้ ใน ที่นี้แขวงเมืองนนท์และเมืองนครไชยศรีต่อกัน เรือแจวล้าบากจึงให้กระบือลาก มาจนจวบถึงหลัก ๕๐๐ น้​้าลึก ๓ ศอกคืบ แต่ยังเห็นคราบน้​้าอยู่ประมาณสัก ๔ นิ้ว จึงได้ลงมือแจวเรือต่อมา เมื่อเกือบจะถึงปากคลองยังสัก ๕๐ เส้นเศษ น้​้า ลึก ๔ ศอก เมื่อใกล้ปากคลองลึกถึง ๕ ศอก วัดน้​้าในคลองที่มาวันนี้เป็นเวลา ก้าลังน้​้าขึ้นมากตลอดจนกระทั่งถึงแม่น้าท่าจีน เมื่อออกมาถึงแม่น้าแล้วยังต้อง แจวเรือมา ตลอดถึงเรือบีกนิกจอดที่ปากคลองเจดียบูชา ตามหนทางที่มาใน คลองสองฝั่งพ้นจากต้นตาลหมู่ใหญ่ที่ได้ว่าแล้วข้างต้นมา มีแต่ทุ่งนากับต้นไม้ริม คลองบ้าง ต้นไม้ในกลางทุ่งมีบ้างน้อยๆ ไม่หนา ไม่มีต้นใหญ่ ต้นมะม่วงมีอยู่แห่ง


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๑๓

เดียวที่ได้แลเห็น ในระหว่างทางนั้นมีโรงนาแห่งละโรงบ้างสองโรงบ้าง ห่างกัน ๙ เส้น ๑๐ เส้น ๒๐ เส้น เป็นแต่โรงเล็กๆ โดยมาก ที่มีโรงนา ดังนั้นมีต้นกล้วย และต้นนุ่นกับต้นไม้อื่นๆ บ้างเล็กน้อย ที่ต้นมะม่วงว่าเมื่อกี้นั้นคือ นาท่านเล็ก๘๐ นมคล้ายมายืนอยู่ที่หัวตะพาน มีต้นไม้มากทุกแห่ง ในท้องนามีแต่หญ้าแห้ง หรือตอข้าวแลดูไม่งามเลย มีกลิ่นอายดินที่ถูกร้อนเข้าจมูกบ้างเป็นบางคราว เมื่อเรือเกือบจะถึงปากคลองแลเห็นต้นตาลอีกบ้าง แต่ไม่มากเหมือนปากคลอง ข้างโน้นข้างขวามือริมปากคลองที เดียว มีหนองบัวอยู่ข้างจะใหญ่แต่ไม่แลเห็น ขอบหนองข้างริมน้​้าด้วยเปนน้​้าลบฝั่ง มีเรือนอยู่สัก ๒ เรือน ๓ เรือน ปาก คลองข้างใต้เป็นด่าน มีเรือนต่อกันไปตามล้าน้​้าประมาณ ๑๔ หลัง ๑๕ หลัง เรือน เรือออกจากปากคลองแล้วล่องลงไปข้างใต้ตามระยะทาง พบแพไม้ไผ่ปา่ ๒ แห่งๆ แรกสัก ๑๖ แพ แห่งที่ ๒ สัก ๒๔ แพ ๒๕ แพ ตรงปากคลองข้ามฝั่ง ตะวันตกมีสวนกล้วยเปลือกบางเป็นส่วนใหญ่ ที่ต้นโตแล้วก็มี ที่เพิ่งปลูกใหม่มี มากเป็นแต่ฟันดินไว้แล้วก็มี สวนนี้ตามทางมาเป็นใหญ่กว่ าทุกแห่ง ต่อมาก็มี บ้างเป็นคราวๆ ที่ฟันดินท้าเป็นที่ปลูกอ้อยบ้างก็มี แต่ไร่อ้อยข้างบนดูเหมือน จะมีน้อยทีเดียว เราได้เห็นแต่แ ห่งหนึ่งสองแห่ง ดูเป็นอ้อยเซีย ๆ ไม่งาม ด้วย ในปีนี้ฝนต้นมือน้อย ผู้ที่ท้าไร่อ้อยเห็นจะไม่ได้ดีเป็นแน่ จะเป็นการช่วยให้โรง หีบของเราร่วงโรยลง ได้ถามพระยานครไชยศรี ๘๑ ก็ว่าเสียมาก เมื่อมาตาม ทางมีบ้านจีน ๒ แห่ง ๓ แห่ง แต่เห็นจะไม่ใช่โรงหีบ เปนแต่ที่ท้าหวดท้าไหกอง อยู่ ตามระยะทางที่เป็นที่สวนที่ไร่มีล้ากระโดงราษฎรขุดกว้างประมาณ ๖ ศอก ๖ ศอกเศษหลายล้าพบบ่อยๆ มีวัดใต้ปากคลองมาหน่อยวัดหนึ่ง ต่อมาตาม ระยะทางอีก ๒ วัด มีที่เลี้ยงกระบือแห่งหนึ่ง มีกระบือประมาณ ๗๐-๘๐ อนึ่ง ไม้ไผ่นั้นมาแต่เมืองสุพรรณโดยมาก ที่ในเมืองนครไชยศรี มีมากอยู่ในที่บาง หลวง ถ้าหน้าน้​้าเข้าทางคลองมหาสวัสดิ์ไปกรุงเทพฯ ถ้าหน้าแล้งต้องไปทาง คลองท่าจีน ด้วยคลองภาษีเจริญห้ามไม่ให้แพไม้ล่องทางนั้น เพราะเป็นเหตุ ชวนให้ตื้นเร็ว และกีดทางเรือเดินไปมาด้วย”

๘๐ ๘๑

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระยาสุนทรบุรีศรีพไิ ชยสงคราม (สว่าง)


๒๑๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

จากพระราชนิพนธ์ดังกล่าวทาให้ทราบว่า ในปี พ.ศ. ๒๔๒๐ ซึ่งเป็นช่วงหลังขุดคลอง มหาสวัสดิ์เสร็จ ๑๗ ปี เริ่มมีผู้คนอพยพมาทาไร่นาในบริเวณสองฝั่งคลองมหาสวัสดิ์ซึ่งพระองค์ ท่านเรียกว่า “คลองมหาสวัสดี” ไม่มาก มีต้นไม้ใหญ่เป็นต้นตาลที่บริเวณปากคลองมหาสวัสดิ์ ด้ า นตะวั น ออกจ านวนมาก และปากคลองด้ า นตะวั น ตกมี น้ อ ยกว่ า และมี ต้ น มะม่ ว งอยู่ แห่งเดียวที่นาท่านเล็ก คือที่นาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธวงศ์ วรเดช และมีบุคคลที่พระองค์ท่านกล่าวว่า คือ “นมคล้าย” หรือ พระนมคล้ายมารดา นายดา ยงใจยุธ นายกองเก็บค่าเช่านาในที่ดินพระราชทานของเจ้าฟ้าในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ซึ่งน่าจะเป็นกลุ่มคนที่เริ่มเข้ามาอยู่ในศาลายาเป็นกลุ่มแรก ในพระราชนิพนธ์นี้ ไม่ได้กล่าวถึงเรื่องศาลาที่อยู่ริมคลองมหาสวัสดิ์ ซึ่งเป็นศาลาที่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวโปรดให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นการบอกระยะทางและเป็นที่ พักของผู้เดินทางผ่านคลองนี้ แต่พระองค์ท่านได้กล่าวถึงหลักของของมหาสวัสดิ์ ได้แก่ หลัก ๒๐๐ หลัก ๓๐๐ หลัก ๔๐๐ หลัก ๕๐๐ และได้บันทึกระดับน้าในคลองซึ่งมีระดับแตกต่างกัน จนถึงหลักที่ ๔๐๐ ถึงหลัก ๕๐๐ น้าตื้นเรือแจวลาบากต้องใช้ควายลาก พระองค์จึงได้ปรึกษา กับเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) แก้ปัญหาตื้นเขินของคลองมหาสวัสดิ์ โดยการขุด คลองทวีวัฒนาเชื่อมกึ่งกลางคลองมหาสวัสดิ์และคลองภาษีเจริญ ขุดเสร็จและทาพิธีเปิดในปี ๒๔๒๑ นอกจากนี้ ยั ง โปรดให้ ขุด คลองนราภิรมย์ ในปี พ.ศ. ๒๔๒๓ เพื่ อน าน้ าจากแม่น้า นครชัยศรีมาสู่คลองมหาสวัสดิ์และคลองทวีวัฒนา ในการเสด็จประพาสไทรโยคในครั้งนี้ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ได้ ร่วมเสด็จด้วยและได้ทรงพระนิพนธ์บทร้องราพันถึงไทรโยคที่เคยตามเสด็จ โดยทรงปรับปรุง ทานองเพลง “เขมรกล่อมลูก” เดิมขึ้นใหม่ให้เหมาะสมกับบท จนกลายเป็นเพลงที่ติดใจของ ผู้ฟังในชื่อว่า “เขมรไทรโยค” จนมาถึงทุกวันนี้ อาจารย์ ดร.อภิ ลั ก ษณ์ เกษมผลกู ล ได้ ศึ ก ษาที่ ม าของนาม “ทวี วั ฒ นา” และ “นราภิรมย์” และบันทึกไว้ในหนังสือมหาสวัสดี ๑๕๐ปี มหานทีพระราชทาน คลองทวีวัฒนาเป็นคลองที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒ น์ (วร บุนนาค) เป็นแม่กองจ้างชาวจีนขุดเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๒๐ เพื่อ แก้ปัญหาการตื้นเขินของคลองมหาสวัสดิ์และคลองภาษีเจริญเนื่องจากคลองทั้งสองสายนี่เชื่อม แม่น้าท่าจีนและแม่น้าเจ้าพระยาเข้าด้วยกัน เวลาน้าขึ้นกระแสน้าจากแม่น้าทั้งสองสายจึงไหล เข้าคลองทั้งสองทั้งทางต้นคลองและปลายคลองเป็นที่ชนกันบริเวณกลางๆจึงเป็นเหตุให้คลอง ตื้นเขินทุกปี เป็นอุปสรรคในการสัญจร จึงแก้ปัญหาโดยการขุดคลองทวีวัฒนาบริเวณกิโลเมตร


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๑๕

ที่ ๒ ของคลองภาษีเจริญฝั่งเหนือไปยังคลองมหาสวัสดิ์ ขนาดคลองกว้าง ๔ วา ลึก ๔ ศอก ยาว ๓๔๐ เส้น (๑๓.๖ กิโลเมตร) ขุดเสร็จในปี พ.ศ. ๒๔๒๑ สิ้นเงินค่าจ้างขุด ๒๗,๒๐๐ บาท และโปรดเกล้าฯพระราชทานฤกษ์ให้ เจ้าพระยาสุรวงษไวยวัฒน์ไปเปิด ณ วันศุกร์ แรม ๑ ค่า เดือน ๖ ปีขาล สัมฤทธิศก ตรงกับวันที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๒๑ พระราชทานชื่อคลองว่า “คลองทวีวัฒนา” มีความหมายในเชิงความเจริญรุ่งเรื องอย่างยิ่ง พ้องกับคาว่า “วัฒนา” ใน พระนาม “โสมนัสวัฒนาวดี” ซึ่งเป็นพระนามของสมเด็จพระราชินีพระองค์แรกในรัชกาลที่ ๔ คือ สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี คลองนราภิรมย์เป็นคลองที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์เ ป็นแม่กองจ้างชาวจีนขุดขึ้น โดยขุดจากฝั่งเหนือคลองมหาสวัสดิ์ ตรงปากคลองทวีวัฒนาไปออกแม่น้านครชัยศรีที่ตาบลลาพญา อาเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม เพื่อเป็นการนาน้าจืดเข้าสู่คลองมหาสวัสดิ์ คลองทวีวัฒนาและคลองภาษีเจริญและเป็นการเปิด ที่นาสองฝั่งคลองถึง ๒๘,๐๐๐ ไร่ คลองนี้ยาว ๕๔๐ เส้น( ๒๑.๖ กิโลเมตร) กว้าง๔ วา ลึก ๔ ศอก สิ้นเงินค่าจ้าง ๔๕,๘๔๐ บาท พระราชทานนาม “คลองนราภิรมย์” ซึ่งหมายถึงความ ผาสุกของราษฎร พ้องกับคาว่า “ภิรมย์” ในพระนาม “ราเพยภมราภิรมย์” ซึ่งเป็นพระนาม เดิมของกรมสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ สมเด็จพระราชินีพระองค์ที่ ๒ ในรัชกาลที่ ๔ และ เป็นสมเด็จพระราชมารดาในรัชกาลที่ ๕ ด้วย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรด เกล้าฯ ให้เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ไปเปิดคลองเมื่อ วันขึ้น ๙ ค่า เดือน ๑๐ ปีมะโรง โทศก (พ.ศ. ๒๔๒๓)


๒๑๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๑๗

มรดกธรรมชาติของอาเภอพุทธมณฑล นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม๘๒ อาเภอพุ ท ธมณฑล เป็ น อาเภอที่ มี ความอุ ด มสมบู รณ์ ข องแผ่ น ดิ น ซึ่ ง เป็ น ดิ น ดอน สามเหลี่ยมปากแม่น้าเจ้าพระยา ในอดีตเป็นพื้นที่ป่า ต่อมาในตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ จึงเริ่มมี การบุกเบิกพื้นที่ นับแต่เริ่มมีคลองโยง จากนิราศพระประธม พระประโทณ ของสุนทรภู่ซึ่งแต่ง เมื่อปี ๒๓๘๕ บรรยายลักษณะพื้นที่ของคลองโยงที่เพิ่งเริ่มมีการอพยพของผู้คนเข้ามาไม่นาน ด้วยสภาพความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ มีหนองน้าที่มีปลาชุกชุ ม ทาให้เป็นแหล่งอาหารของนก ต่างๆ ในนิราศดังกล่าว จะกล่าวถึงนกในคลองโยงซึ่งอยู่ในเขตอาเภอพุทธมณฑล เช่น นกตระ กรุม นกคุ่ม นกช้อนหอย นกอีโก้ง นกกระทุงทอง นกยางกรอก นกดอกบัว นกกระจาบ ขาบ (ตะขาบทุ่ง) นกอีลุ้ม นกยาง และ นกกระสา

นกตีทอง

นกบั้งรอกใหญ่

นกแซงแซวหางปลา

นกแซงแซวหางปลา

ผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และประธานสภาวัฒนธรรมอาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๘๒


๒๑๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

นกกินเปรี้ยว

นกกระจาบทอง

นกกระจาบอกลาย

นกยาง

นกปากห่าง

นกเอี้ยง

นกกระจาบธรรมดา

นกยางเปีย


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๑๙

ในนิราศพระปฐม ของหลวงจักรปราณี (ฤกษ์) เมื่อผ่านคลองมหาสวัสดิ์ ภายหลังขุด คลองเสร็จ พ.ศ. ๒๔๐๓ พบนกเอี้ยง นกกระจาบ นกกระเต็น นกกระสา นกยาง นกกางเขน นกปรอด และนกกระเรียน เมื่อมหาวิทยาลัยมหิดลเริ่มเปิดวิทยาเขตศาลายา เมื่อปี ๒๕๒๕ ได้มีผู้สารวจนกใน อาเภอพุทธมณฑล พบมากกว่า ๑๐๐ ชนิด ในปัจจุบัน แม้พื้นที่อาเภอพุทธมณฑลจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก แต่ยังพบนก ได้อยู่ทั่วไป โดยเฉพาะนกปากห่างมีจานวนเพิ่มมากกว่าสมัยก่อนมากและพบได้ตลอดปี นก เอี้ยงสาริกา นกเอี้ยงหงอน นกเอี้ยงด่าง กระจาบธรรมดา กระจาบทอง กระจาบอกลาย นก กระเต็น นกกินเปี้ยว นกตะขาบทุ่ง นกอีโก้ง นกอีลุ้ม นกพริก นกกวัก นกกระติ๊ ดขี้หมู นกกระ ติดท้องขาว นกกางเขน นกอีแพรด นกปรอด นกเขาชวา นกเขาใหญ่ นกเขาไฟ นกแซงแซวหาง บ่วง นกแซงแซวหางปลา นกแซงแซวสีเทา นกหัวขวาน นกตีทอง นกจาบคา นกกะปูด นกแอ่น นกเค้า นกพิราบ นกอีแจว นกตีนเทียน นกกระแตแต้แว้ด นกเป็ดผี นกกาน้า นกยางเปีย นก ยางโทนใหญ่ นกยางโทนน้อย นกยางควาย นกยางกรอก นกยางเขียว นกแขวก นกยางไฟ นก อีเสือ อีกา นกขมิ้น นกกระจิบ นกกาฝาก นกกินปลี นกกระจอก นกบั้งรอกใหญ่ ฯลฯ จ านวนและชนิ ด นก เป็ น ตั ว ชี้ วั ด ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องธรรมชาติ เป็ น สิ่ ง ที่ ส ร้า ง ความสุขและสามารถมาพัฒนากิจกรรมดูนกสาหรับนักท่องเที่ยวต่ อไปได้ สถานที่ที่พบนกมาก ได้แก่ พุทธมณฑล สวนสมุนไพรในมหาวิทยาลัยมหิดล ริมคลองมหาสวัสดิ์ และคลองสาคัญอื่นๆ ทุ่งนาและหนองน้าและโรงพยาบาลพุทธมณฑล ที่ในโรงพยาบาลพุทธมณฑล จะมีนกกระจาบ ทองอพยพมาอยู่อาศัยทารังในช่วงเดือน มีนาคม ถึง กันยายน เริ่มตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ ถึงปัจจุบัน และมีนกกระจาบธรรมดาและกระจาบอกลาย เข้ามาอยู่ตั้งแต่ปี ๒๕๕๕ จึงเป็นสถานที่เหมาะ สาหรับการศึกษาธรรมชาติของนกกระจาบที่ดีแห่งหนึ่ง นอกจากนี้ยังมีนกอีโก้ง และนกอื่นๆ อีก หลายชนิดในโรงพยาบาล ปลา อาเภอพุทธมณฑลเป็นอาเภอที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยปลาในอดีต เนื่องจากมีแม่น้า คู คลอง หนองบึง เป็นจานวนมาก ปลาในหนองน้าในอดีต ได้แก่ ปลาช่อน ปลาหมอ ปลาดุก ปลาตะเพียน ปลาฉลาด ปลากราย ปลาหลด ปลาไหล ปลาชะโด หรือปลาแมลงภู่ ปลากระสง ปลาในแม่น้าลาคลอง ได้แก่ ปลาตะเพียน ปลาตะเพียนทอง ปลานวลจันทร์ ปลาสร้อย ปลากระสูบ ปลาสวาย ปลาแขยง ปลากด ปลาเค้า ปลาเนื้ออ่อน ปลากา ปลาหมอ ปลาหมอ ช้างเหยียบ ปลาบู่ ปลาซิว ปลาหมู ปลาแป้น ปลาเสือพ่นน้า ปลาเข็ม ปลากระดี่ ปลาสลิด


๒๒๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ปลาถือเป็นแหล่งอาหารและรายได้ที่สาคัญ ทั้งในยามปกติและในยามที่มีอุท กภัย ปั จ จุ บั น ตามวัด ต่า งๆ ได้ มี การจั ด ท าเขตอภัยทาน เพื่ อเป็ น การรักษาพั นธุ์ ปลา แต่ มี ผ ลทาง กฎหมายน้อย ยังมีผู้คนต่างถิ่นมาตกปลาหน้าวัดในเขตอภัยทานกันเนืองๆ ซึ่งต่อไปจาเป็นต้อง ประกาศเป็นเขตรักษาพืชพันธุ์ ซึ่งมีผลทางกฎหมายชัดเจนกว่ามาก รวมทั้งกวดขันไม่ให้มีการจับ ปลาในฤดูวางไข่เพื่อเป็นการอนุรักษ์พันธ์ปลา การจัดทากล่าเพื่อเป็นที่อาศัยของปลา งู ถือเป็นมรดกทางธรรมชาติที่สาคัญอีกชนิดหนึ่ง เดิมอาเภอพุทธมณฑลมีชื่อเสียงใน เรื่องมีงูเห่าชุกชุม และมี ผู้เสียชีวิตจากงูเห่ากัดหลายราย เนื่องจากไม่มีโรงพยาบาล และการ คมนาคมไม่สะดวก ทาให้เวลามีอาการพิษของงูเห่าแล้วไม่สามารถช่วยเหลือได้ทันท่วงที นอกเหนือจากงูเห่าแล้ว ในอดีตอาเภอพุทธมณฑล ยังมีงูพิษชนิดอื่นคือ งูสามเหลี่ยม และงูแมวเซา สาหรับงูเขียวหางไหม้จะเป็นชนิดท้องเขียว ซึ่งมีพิษน้อยกว่าชนิดท้องเหลืองที่พบ ในเขตจังหวัดนนทบุรี ส าหรั บ งู ช นิ ด อื่ น ที่ พ บ ได้ แ ก่ งู แ สงอาทิ ต ย์ งู ก้ น ขบ งู เ หลื อ ม งู ห ลาม งู ง วงช้ า ง งู ทางมะพร้าว งูสิง งูตะลาน งูงอด งูสายม่าน งูสายสอ งูลายสาบ งูเขียว งูปลิง งูหัวกะโหลก งู กระด้าง งู ถือเป็นตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ และเป็นการรักษาสมดุลของสัตว์ที่ เป็นศัตรูพืช โดยเฉพาะหนู ถ้าเรามีความเข้าใจในธรรมชาติของงูแล้ว สามารถนามาใช้ให้เป็น ประโยชน์ ในการกาจัดหนูได้ สาหรับการรักษาผู้ป่วยที่งูกัด ควรรีบมารักษาที่โรงพยาบาล สาหรับผู้ที่ถูกงูเห่ากัด พิษ งูเห่าจะทาลายระบบประสาท ทาให้ตาลาย หนังตาตก กลืนลาบาก หายใจลาบาก หยุดหายใจ และเสียชีวิต ถ้าเรารู้หลักการปฐมพยาบาลในการช่วยหายใจ และนามาโรงพยาบาลทันแล้วไม่ น่ามีการเสียชีวิต ในกรณีฉุกเฉิน สามารถเรียกรถฉุกเฉิน หมายเลข ๑๖๖๙ ได้ทั่วประเทศและ ตลอดเวลาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๒๑

“นก” มรดกธรรมชาติ: ตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมของอาเภอพุทธมณฑล๘๓ นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม๘๔ เมื่อสุนทรภู่ เดินทางไปนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ ปี พ.ศ. ๒๓๘๕ และแต่งนิราศ พระประธม บรรยายการเดินทางในช่วงผ่านคลองโยง นอกจากบรรยายความยากลาบาก เนื่ องจากคลองโยงตื้ น เขิน ต้ องใช้ ควายโยงลากอั น เป็ น ที่ม าของคาว่ า คลองโยงแล้ ว ยั ง บรรยายอีกว่าพื้นที่บริเวณนี้มีนกอยู่หลายชนิด ได้แก่ นกอีลุ้ม นกคุ่ม นกตะขาบทุ่ง นกกระจิบ นกกระจาบ นกเปล้า นกเค้า นกกระลุมพู นกโพระดก นกกา นกตะกรุม นกช้อนหอย นก อีโก้ง นกกระทุง นกยางกรอก นกดอกบัว นกยางและนกกระสา ในนิราศพระปฐม ของหลวงจักรปาณี (ฤกษ์) เมื่อผ่านคลองมหาสวัสดิ์ ภายหลังขุ ด คลองเสร็จในปี พ.ศ. ๒๔๐๓ พบนกเอี้ยง นกกระจาบ นกกระเต็น นกกระสา นกยาง นก กางเขน นกปรอดและนกกระเรียน การที่บริเวณทุ่งแถบอาเภอพุทธมณฑลมีนกมาก เนื่องจากเป็นบริเวณอุดมสมบูรณ์ที่ ปลาชุกชุมทุกฤดูกาล จากการมีหนองน้าตามธรรมชาติหลายแห่ง เมื่อมหาวิทยาลัยมหิดลเริ่มเปิดวิทยาเขตศาลายา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้มีผู้สารวจ นกในอาเภอพุทธมณฑล พบว่ามีมากกว่า ๑๐๐ ชนิด ในปัจจุบันถึงแม้พื้นที่อาเภอพุทธมณฑล จะมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก แต่ยัง สามารถพบนกอยู่ได้ทั่วไป โดยเฉพาะนกปากห่างที่มีจานวนเพิ่มมากกว่าสมัยก่อนมากและพบ ได้ตลอดปี นกยางชนิดต่างๆ นกเอี้ยง นกกระจาบ ครบทั้ง ๓ สายพันธุ์ คือกระจาบธรรมดา กระจาบอกลายและกระจาบทอง ที่โรงพยาบาลพุทธมณฑลจะพบนกกระจาบทองซึ่งเป็นนก กระจาบที่สวยที่สุด โดยเฉพาะตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์บริเวณหัวตะโพกและลาตัวด้านล่างสุดจะ เป็นสีเหลืองสดตัดกั บแถบหน้า และคอสีดา พบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ และในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้ลงรายการสะเก็ดข่าว รายการแซบซ่าสัญจรในโทรทัศน์ และลงสารคดีหนังสือพิมพ์ ไทยรัฐวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ จนเป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย นกกระจาบทองจะมาอาศัย ในบ่อน้าของโรงพยาบาลพุทธมณฑล ช่วงปลายเดือนมีนาคม ถึงต้นเดือนกันยายนทุกปี อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. (๒๕๕๔). อนุสรณ์งานฌาปนกิจศพ นางสาวสมศรี เทียมปฐม. หน้า ๗๔ – ๗๖. ผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และประธานสภาวัฒนธรรมอาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๘๓ ๘๔


๒๒๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

นกกระจาบทองโรงพยาบาลพุทธมณฑล


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๒๓

โรงพยาบาลพุทธมณฑลวัฒนา นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม๘๕ ในปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ ได้มีประกาศจัดตั้งกิ่งอาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม กระทรวงสาธารณสุขได้อนุมัติงบประมาณประจาปี ๒๕๓๗ จานวน ๑๓,๕๓๓,๐๐๐ บาท เพื่อก่อสร้างโรงพยาบาลพุทธมณฑล ตามนโยบายหนึ่งอาเภอหนึ่งโรงพยาบาลชุมชน เป็น โรงพยาบาลชุมชนขนาด ๑๐ เตียง โดยได้รับความอนุเคราะห์จากพระครูวิชัยวุฒิคุณ (หลวง พ่อดี) อดีตเจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ใน การอนุ ญ าตให้ ใช้ที่ดิ นธรณีสงฆ์ ข องวั ด จ านวน ๒๕ ไร่ ในการก่อสร้างโรงพยาบาล ด้ ว ย วิสัยทัศน์ของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดในขณะนั้นคือ นายแพทย์ชาญชัย หลิมประเสริฐ ศิริ ได้ปรับงบประมาณการก่อสร้างอาคารผู้ป่วยนอกจากแบบ ๑๐ เตียงเป็น ๓๐ เตียง เพื่อ รองรับการขยายตัวของโรงพยาบาลในอนาคต ตามลักษณะของชุมชนที่มีการขยายตัวอย่าง รวดเร็ว เนื่องจากเป็นพื้นที่ปริมณฑล มีสถานศึกษาและหน่วยราชการขนาดใหญ่หลายแห่ง ตลอดจนเป็นพื้นที่ มีพุทธมณฑลเป็นศู นย์กลางของพุทธศาสนาโลกตั้งอยู่ อาคารผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลพุทธมณฑลก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยในปลายปี ๒๕๓๘ แต่ประสบปัญหาน้าท่วม ใหญ่ มีบุคลากรไม่เพียงพอ สาธารณูปโภคยังไม่พร้อ มใช้ ไม่มีประปา โทรศัพท์ จึงมาเปิด บริการประชาชนเต็มรูปแบบได้ในปี ๒๕๓๙

นายแพทย์ชาญชัย หลิมประเสริฐศิริ ตรวจงานก่อสร้างโรงพยาบาลพุทธมณฑล ผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และประธานสภาวัฒนธรรมอาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๘๕


๒๒๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

นายแพทย์ชาญชัย หลิมประเสริฐศิริ มาตรวจงานก่อสร้างโรงพยาบาลพุทธมณฑล เมื่อ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๓๘

วั น ที่ ๔ มิ ถุน ายน ๒๕๓๙ นายแพทย์ วั ฒ นา เที ย มปฐม เดิ น ทางมารับ ต าแหน่ ง ผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธมณฑล ด้วยความร่วมมือจากชุมชนหลายๆ ฝ่าย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งพระครูสังฆรักษ์จรูญกิตติญาโณ เจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม ตาบลศาลายา ในขณะนั้น และนายถาวร เทียมปฐม ไวยาวัจกร ได้รวบรวมเงินบริจาคจากผู้จิตศรัทธา ดาเนินการพัฒนา ภายใน ๑ สัปดาห์ ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง ถนนทางเข้าโรงพยาบาลใช้งานจนถึงปัจจุบัน และ จัดหาอุปกรณ์การแพทย์ที่ขาดแคลนอีกหลายรายการ ท่านสนับสนุนการทางานอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งสามารถเปิดบริการโรงพยาบาลเต็มรูปแบบ ๒๔ ชั่วโมง รับผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน คลอด ทาฟัน และอื่นๆ ในเดือน กรกฎาคม ๒๕๓๙ ผู้ป่วยที่จาเป็นต้องรับไว้นอนโรงพยาบาล ได้ จั ด ห้ อ งพั ก ไว้ ที่ ก ลางตึ ก จ านวน ๕ เตี ย ง ผู้ ป่ ว ยที่ อ าการหนั ก ส่ ง ต่ อ ไปรั บ การรั ก ษาที่ โรงพยาบาลนครปฐม ทาให้ประชาชนในพื้นที่เริ่มมารับการรักษาพยาบาลดูแลด้านสุขภาพ อนามัย


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๒๕

เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลพุทธมณฑล เมื่อ มิถุนายน ๒๕๓๙

เริ่มปลูกต้นไม้หน้าอาคารอานวยการ เมื่อ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๓๙


๒๒๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

พระครูสังฆรักษ์จรูญ เจ้าอาวาสวัดสุวรรณารามพร้อมญาติโยม บริจาคเครื่องมือให้โรงพยาบาล เมื่อ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๓๙

แฟชั่นรองเท้าหน้าฝนคนโรงพยาบาลพุทธมณฑล เมื่อ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๓๙


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๒๗

นายสังเวียน ไทรไกรกระ พร้อมญาติมิตร บริจาคศาลพระภูมิประจาโรงพยาบาลพุทธมณฑล เมื่อ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๐

ในปี ๒๕๕๐ ได้มีการก่อสร้างอาคารผู้ป่วยในขนาด ๓๐ เตียง สาเร็จด้วยเงินบริจาค จ านวน ๖,๒๙๐,๐๐๐ บาท จากการทอดผ้ า ป่ า สามั ค คี ติ ด ต่ อ กั น ในวั น มหิ ด ล วั น ที่ ๒๔ กันยายนทุกปี มีการจัดหาและรับบริจาคเตียง วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือแพทย์ เพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง งบประมาณรวมทั้งสิ้น ๑๐,๐๓๐,๕๖๑.๕๐ บาท โรงพยาบาลมีการพัฒนาก้าวหน้า ประชาชนได้รับความสะดวกมากยิ่งขึ้น

คุณสัมพันธ์ ถาวรธนสาร พร้อมครอบครัว และนายหัสนัย จิตอารีย์ นายอาเภอพุทธมณฑล ถ่ายภาพร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลพุทธมณฑล ในพิธีเปิดอาคารผู้ป่วยใน ๒๔ กันยายน ๒๕๕๐


๒๒๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ในปี ๒๕๕๑ คุณสัมพันธ์ ถาวรธนสาร พร้อมครอบครัว ได้บริจาคเงินก่อสร้างอาคาร โรงครัว จ านวน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท พร้อมจั ด ซื้ ออุ ป กรณ์ กายภาพบ าบั ด อี ก ๑ ล้ า นบาท จัดบริการงานกายภาพบาบัด เพื่อบริการฟื้นฟูสุขภาพประชาชนอย่างครบวงจรการดู แล สุขภาพประชาชนครบสี่มิติ คือการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย สอดรับกับความต้องการของชุมชน เนื่องจากมีผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ผู้สูงอายุที่มีการเสื่อมของกระดูกกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ เพิ่มมากขึ้น

อาคารโรงครัว

ต่อมาปี ๒๕๕๒ ได้ก่อสร้างอาคารคลังยา ขนาดสองชั้น ด้วยเงินงบประมาณบางส่วน และสมทบด้วยเงินบริจาค เพื่อเป็นแม่ข่ายและศูนย์สารองยาให้สถานบริการทุกแห่งในอาเภอ พุทธมณฑล ขยายบริการเชิงรุกสู่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ปัจจุบัน จัดแพทย์ไปตรวจ รักษาให้ประชาชนได้รับบริการจากสถานบริการใกล้บ้านใกล้ใจมีคุณภาพมาตรฐานทัดเทียม กันอย่างทั่วถึงทั้งอาเภอพุทธมณฑล


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๒๙

พิธีเปิดอาคารคลังยา ๒๔ กันยายน ๒๕๕๒

ในปี ๒๕๕๔ มีการขยายอาคารผู้ป่วยนอกเพื่ อรองรับบริการผู้ ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ มี ปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เนื่องจากที่ผู้ สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ออกมาอาศัยอยู่ใน หมู่บ้านจัดสรรที่มีการขยายตัวเข้ามาในเขตอาเภอพุทธมณฑลอย่างต่อเนื่อง ปี ๒๕๕๔ เกิดมหาอุทกภัยครั้งใหญ่ในประเทศไทย โรงพยาบาลพุทธมณฑลได้รับ ผลกระทบ น้าท่วมสูง ๘๕ เซนติเมตร นาน ๓ เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงธันวาคม ๒๕๕๔ ภายหลังน้าลดได้รับงบประมาณซ่อมแซมอาคาร และสร้างอาคารห้องสุขา ให้พอเพียงกับ ปริมาณผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะผู้รับบริการสูงอายุ

ภาพน้าท่วมปี ๒๕๕๔


๒๓๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

จ.อ.สมัย ลบล้าเลิศ ประธานคณะกรรมการพัฒนาโรงพยาบาลพุทธมณฑล เป็นประธานเปิดห้องสุขา เมื่อ มกราคม ๒๕๕๖

การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ระบบการควบคุมและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล ได้เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๓๙ เน้นการเฝ้าระวังในบุคลากร มีการตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่ประจาปีอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนการใช้น้ายาฆ่าเชื้ออุปกรณ์การแพทย์ตามผลการวิจัยที่ทันสมัย การตรวจคุณภาพ น้าอุปโภคบริโภคอย่างต่อเนื่อง วางระบบการกาจัดขยะ พัฒนาระบบการบาบัดน้าเสีย ฯลฯ จนในปัจจุบันโรงพยาบาลพุทธมณฑลสามารถเป็นสถานที่ศึกษาดูงาน ระบบการควบคุม ป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลระดับประเทศแห่งหนึ่ง การพั ฒ นาองค์ ก ร โดยความร่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงานต่ า งๆ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา มีการนานักศึกษาหลากหลายสาขาวิชาทั้งในและ ต่างประเทศมาศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์เป็นประจา ส่งผลให้เจ้าหน้าที่ ตื่นตัวและนาความรู้ที่ได้เป็นตัวอย่างในการพัฒนางานในความรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ได้ดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มดาเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๓ ประกาศเป็นนโยบายของโรงพยาบาลในปี ๒๕๔๔ ส่ง บุคลากรเข้ารับการอบรม การเข้าเยี่ยมสารวจของทีมที่ปรึกษา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การ พั ฒ นาคุ ณ ภาพของหน่ ว ยบริการภายในจั ง หวั ด โดย QRT (Quality Realization Team)


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๓๑

การบริหารความเสี่ยงและทบทวน ๑๒ กิจกรรมหลักตามบันไดขั้นที่ ๑ สู่การรับรองคุณภาพ โรงพยาบาล HA ( Hospital Accreditation) การเรียนรู้จากการร่วมสังเกตการณ์ ศึกษาดู งานนาเสนอผลการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลต่างๆ ทั้งในและนอกจังหวัดที่ผ่า นเกณฑ์ การประเมินการรับรองคุณภาพ ทาให้ทีมงานของโรงพยาบาลมีกาลังใจในการบริการและ ร่วมกันพัฒนาโรงพยาบาล จนกระทั่งผ่านเกณฑ์การประเมินการรับรองคุณภาพ บันไดขั้นที่ ๑ ในวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ ขั้นที่ ๒ ในวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ และได้รับการรับรอง เป็นโรงพยาบาลคุณภาพในปี ๒๕๕๕ จนถึงปัจจุบัน

ภาพหน้าโรงพยาบาลพุทธมณฑล เมื่อ กันยายน ๒๕๕๗


๒๓๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

บ่อบาบัดน้าเสียหลังโรงพยาบาลพุทธมณฑล เมื่อ กันยายน ๒๕๕๗

การพั ฒ นาเป็ นโรงพยาบาลส่ งเสริม สุขภาพ มี การประกาศเจตนารมณ์ กาหนด นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ในเรื่องของเขตปลอดบุหรี่ สุรา ยาเสพติด การร่วมสร้างความ เข้ม แข็ง ให้ ชุ ม ชน การสร้า งสรรค์สิ่ ง แวดล้ อม จากปั ญ หาอุ ป สรรคในด้ า นการขาดแคลน งบประมาณจากส่วนกลาง ได้สร้างจุดเด่นในการปรับปรุงสิ่งแวดล้ อมตามสภาพที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติ ทาคันดินล้อมพื้นที่โรงพยาบาล ปลูกไม้ยืนต้น ไม้ผลให้ร่มเงาเกิดความร่มเย็นร่มรื่น ทาบ่อเลี้ยงปลา จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะแก่การอยู่อาศัยของนกนานาพันธุ์ ผู้ป่วย ญาติ และเจ้ า หน้ า ที่ อยู่ ใ นสิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ ป็ น ธรรมชาติ สั ม ผั ส ความสงบสุ ข ผ่ อ นคลาย และ เพลิดเพลิน เรียนรู้การดารงชีพโดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ในการปลูกพืชผั กปลอดสารพิษ ไม้ผลที่เก็บกินได้ การจัดการสภาพบ่อบาบัดน้าเสีย ด้วยการเลี้ยงปลา ปลูกบัวสวยงาม เกิด ประโยชน์ จนเป็นสถานที่น่าชื่นชมเป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงาน โรงพยาบาลพุ ท ธมณฑลนอกจากเป็ น หน่ ว ยให้ บ ริ ก ารด้ า นสุ ข ภาพอนามั ย แก่ ประชาชน โดยทีมสหวิชาชีพหลากหลายสาขา ให้บริการทั้งในและนอกโรงพยาบาลแล้ว ยัง เป็นหน่วยงานที่สร้างการมีส่วนร่วม เชื่อมสัมพันธภาพ ของชุมชนในด้านต่างๆ เช่น สุขภาพ ภาวะ การศึกษา ศิลปวัฒนธรรม การเกษตรอุตสาหกรรม ฯลฯ ในปัจจุบันเป็นโรงพยาบาล ชุมชนขนาด ๓๐ เตียง มีผู้มารับบริการจานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการขยายตัวอย่าง รวดเร็ ว ของชุ ม ชนโดยรอบอ าเภอพุ ท ธมณฑล คาดว่ า จะเป็ น ทศวรรษแห่ ง การพั ฒ นา โรงพยาบาลที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเช่นเดียวกัน


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๓๓

ดูงานโรงพยาบาลท่าวังผา จังหวัดน่าน เมื่อ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๗

คุณพิศณุ นิลกลัด มาดูนกกระจาบทอง เมื่อปี ๒๕๕๐


๒๓๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

บรรณานุกรม อภิลักษณ์ เกษมผลกูล (บรรณาธิการ). มหาสวัสดี ๑๕๐ ปี มหานทีพระราชทาน. กรุงเทพฯ: โครงการศิลปศาสตร์อาสา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๕๓. อภิลักษณ์ เกษมผลกูล (บรรณาธิการ). อนุสรณ์งานฌาปนกิจศพ นางสาวสมศรี เทียมปฐม. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก, ๒๕๕๔. เอี่ยม ทองดี (บรรณาธิการ). อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิง ศพ นายถาวร เทียมปฐม. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก, ๒๕๔๕.


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๓๕

ภาคผนวก


๒๓๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๓๗

ภาพความทรงจา นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม


๒๓๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

รับปริญญาบัตรแพทยศาสตรบัณฑิต ๒๕๒๒

รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประถมาภรณ์ช้างเผือก ๑๔ เมษายน ๒๕๕๖


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๓๙

นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม และครอบครัว

นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม และเครือญาติ ในงานอุปสมบทนายสุขพัฒน์ เทียมปฐม เมื่อ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๔


๒๔๐

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

รับรางวัลโรงพยาบาลต้นแบบสุขภาพดีระดับจังหวัด ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖

รับรางวัลสุดยอดส้วม ระดับเขต ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๔๑

นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม บริจาคโลหิต

นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐม ออกหน่วยเคลื่อนที่


๒๔๒

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

รับบริจาคผ้าห่ม

พิธีทาบุญวันมหิดล


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๔๓

ออกหน่วยแทพย์เคลื่อนที่ ณ พุทธมณฑล

เริ่มทางานโรงพยาบาลไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี เมื่อ เมษายน ๒๕๒๓


๒๔๔

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

คณะเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๒๓

พักผ่อน ณ คว้านพะเยา หลังจากออกหน่วยแพทย์เคลื่อนทีส่ โมสรไลออนส์แห่งกรุงเทพ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่อาเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย พฤษภาคม ๒๕๒๕


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๔๕

ออกหน่วยแพทย์พิเศษตามพระราชประสงค์ จังหวัดนราธิวาส ปีพุทธศักราช ๒๕๒๕

ภาพเหตุการณ์น้าท่วม ปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ บริเวณหน้าโรงพยาบาลพุทธมณฑล


๒๔๖

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ภาพเหตุการณ์น้าท่วม ปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ บริเวณพุทธมณฑล

ภาพเหตุการณ์น้าท่วม ปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยมหิดล


หน่วยวิชาการเชิงสร้างสรรค์และชุมชนสัมพันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  ๒๔๗

ภาพเหตุการณ์น้าท่วม ปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ บริเวณสถานีรถไฟศาลายา

ภาพเหตุการณ์น้าท่วม ปีพุทธศักราช ๒๕๕๔ บริเวณวัดสุวรรณาราม


๒๔๘

 พุทธมณฑลวัฒนา: ๖๐ ปี นายแพทย์วัฒนา เทียมปฐมฯ

ผู้สนใจเอกสารวิชาการของ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สามารถติดต่อได้ที่ ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยมหิดล ร้านหนังสือ The Harmony มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และร้านริมขอบฟ้า หรือติดต่อโดยตรงได้ที่ ร้านศิลปาธิป อาคารสิริวิทยา ที่ทาการคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โทรศัพท์ ๐ ๒๔๔๑ ๔๔๐๑ – ๘ ต่อ ๑๑๐๗


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.