Born to be เทคนิคการแพทย์

Page 1

พ��รหัส ศยามล จรรยาไพศาล พ��รหัสรุนกลาง ทนพ. อรรณพ สุภานันท

ถอดรหัส ไขชีวิต “หมอแล็บ”

โดย ทนพ.อรรณพ สุภานันท ผูบริหารเว็บไซต Medtechtoday

ป4

เทคนิคการแพทย

กะเทาะหมดเปลือกชีวิต “หมอแล็บ” หนึ่งใน HERO วิทย สุขภาพ ผู อยู เบื้องหลังความสำเร็จ ในการเสาะหาความผิดปกติ ในผู ป วย

เทคนิคการแพทย

ป 3

ป 1 เหมาะกับ? ผู ปกครอง

ครูแนะแนว

5 4 3 2 1 0

ม.ต น ม.ปลาย

นักศึกษา

born to be

หมวดแนะแนวการศึกษา

ราคา 145 บาท

9 786167 720043

พ��รหัส ศยามล จรรยาไพศาล

ป 2

ไม ใช แค การเลือก “คณะ” แต เป นการเลือก “อาชีพ”

เรียนผานประสบการณพี่รหัสและมืออาชีพ

• รูลึกรูจริงอาชีพเทคนิคการแพทย (หมอแล็บ...ไขรหัสโรค) • ขอมูลสำคัญเพื่อการเตรียมตัวพิชิต สอบตรง/แอดมิชชั่น • จัดเต็มชีวิตการเรียนเทคนิคการแพทยพรอมภาพประกอบ • เกาะติดอนาคต จบไปทำงานอะไร เรียนตอสาขาไหนไดบาง


Born to be เทคนิคการแพทย์ 2013-2014

Born to be

หนังสือ Born to be เทคนิคการแพทย์ 2013-2014 เขียนโดย ศยามล จรรยาไพศาล ทนพ.อรรณพ สุภานันท์ พิมพ์ครั้งที่ 1 มิถุนายน 2013 ISBN 978-616-7720-04-3 จ�ำนวนหน้า 240 หน้า ราคา 145 บาท ที่ปรึกษาอาวุโส ดร.สุกิต เอื้อมหเจริญ ที่ปรึกษากฎหมาย INTEGRATE QUALITY LAW AND ACCOUNTING บรรณาธิการอ�ำนวยการ ภีรพล คชาเจริญ บรรณาธิการ สุรัสวดี วงศ์จันทร์สุข ผู้จัดการทั่วไป ลัดดา คชาเจริญ ภาพถ่าย เจริญพร จุลชู, นาถชัย ตั้งศิริสกุล, นราวุฒิ สุวรรณัง, ณัฐพล อเนกธนทรัพย์ รูปเล่ม Nui จัดพิมพ์ โดย สนพ.บายยัวร์เซลฟ์ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด บายเนเจอร์ พับลิชชิ่ง 119/272 หมู่ 8 ซ.รัตนาธิเบศร์ 18 ถ.รัตนาธิเบศร์ ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร. 02 525 5033, 39 แฟกซ์ 02 580 4654 www.bynatureonline.com พิมพ์ที่ บริษัท โรงพิมพ์ ตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) โทรศัพท์ 025510531, 025510533-44 แยกสี NEO Film Prepress Solution โทรศัพท์ 0-2422-0072 จัดจ�ำหน่าย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) SE-EDUCATION PUBLIC COMPANY LIMITED อาคารเนชั่นทาวเวอร์ ชั้น 19 เลขที่ 1858/87-90 ถ.บางนา-ตราด บางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0-2739-8222, 0-2739-8000 Fax. 0-2739-8356-9 http://www.se-ed.com

สงวนลิขสิทธิ์

เนื้อหาและภาพประกอบในเล่ม ห้ามลอกเลียน ไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมดของหนังสือเล่มนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็น ลายลักษณ์อักษรจากส�ำนักพิมพ์บายยัวร์เซลฟ์


บทบรรณาธิการ ถ้าถามว่า รู้จัก “นักเทคนิคการแพทย์” มั้ย เท่าที่ลองสอบถามดูในกลุ่ม น้องๆ ที่อยากเรียนหมอ ซึ่งบอกอแอบคาดหวังลึกๆ ว่า น้องๆ เหล่านี้น่าจะ รู้จักกันเป็นอย่างดี แต่ความจริงก็คือ น้องๆ ส่วนใหญ่ยังรู้จักแบบงงๆ หลาย คนตอบพร้อมสารภาพว่า “เดา” บ้างก็ตอบแบบเกือบถูก ถูกครึ่งๆ กลางๆ ก็มี ถูกแบบไม่น่าให้อภัย (ก�ำปั้นทุบดิน) ก็เยอะ พี่บอกอคิดเล่นๆ ว่า แล้วถ้าน้องๆ ได้รู้จักหน้าที่การงานของนักเทคนิคการแพทย์จริงๆ มันจะช่วยให้หลายๆ คน เปลี่ยนใจมุ่งหน้าเข้าคณะนี้เป็นอันดับหนึ่งหรือไม่ หนังสือเล่มนี้ จึงได้เปิดเผยเรื่องราวทั้งหมดของนักเทคนิคการแพทย์ เริม่ ต้นตัง้ แต่ทำ� ความรูจ้ กั กับหมอแล็บ ว่าเค้าคือใคร ท�ำงานอะไร ความก้าวหน้า ในอาชีพ ต่อด้วยเส้นทางสูค่ ณะ/สาขาเทคนิคการแพทย์ บรรยากาศการเรียน 4 ปี เพื่อดูการ ก่อ-ร่าง-สร้าง “นักเทคนิคการแพทย์” หรือ “หมอแล็บ” กัน ต่อไป นอกจากนี้ยังมีบทความของเทคนิคการแพทย์มืออาชีพมาบอกเล่า แนวทาง การเริ่ ม ต้ น ท� ำ งานหลั ง จบการศึ ก ษาและการศึ ก ษาต่ อ ในสาขา เฉพาะทาง หวั ง ว่ า น้ อ งๆ ที่ ไ ด้ อ ่ า นแล้ ว จะได้ รั บ ค� ำ ตอบในใจว่ า “อาชีพหมอแล็บนี่แหละ มันเป๊ะที่สุดแล้ว!!!” บรรณาธิการ

peeByNature


ค�ำน�ำ พอขึ้นมัธยมปลายเราทุกคนต่างก็มีเป้าหมายที่แตกต่างกันไป ไม่ว่าจะอยากเป็นแพทย์ วิศวกร เภสัชกร ทันตะแพทย์ พยาบาล หรืออื่นๆ อีกมากมาย ทุกคนต่างเรียนเพื่อความฝัน และเมื่อใกล้ จบมัธยมปลายเราก็จะรู้ว่าเราสามารถท�ำความฝันให้กลายเป็นความ จริงได้หรือไม่ “นักเทคนิคการแพทย์” บางคนอาจจะ เรียกว่า “หมอแล็บ” คนส่วนใหญ่รู้จักเรา เพียงแค่ชอื่ เท่านัน้ แต่ ไม่ ได้รจู้ ริงๆ ว่านัก เทคนิคการแพทย์เขาท�ำอะไรกัน ซึ่งใน หนังสือเล่มนี้จะตอบทุกค�ำถาม และให้ ความกระจ่างในทุกข้อสงสัย ไม่ ใช่เพียง แค่นนั้ หนังสือเล่มนีย้ งั ประกอบไปด้วย เนื้อหาการเรียนในแต่ละปีอย่างครบ ถ้วน รวมไปถึงการฝึกงาน การท�ำงาน และแนวทางการเรียนต่ออีกด้วย ผู ้ เ ขี ย นหวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า หนังสือ Born to be เทคนิคการแพทย์เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่ผทู้ ่ี ต้องการจะตัดสินใจ และศึกษาต่อใน มหาวิทยาลัยต่อไป ในอนาคต ศยามล จรรยาไพศาล


กิตติกรรมประกาศ หนังสือ Born to be เทคนิคการแพทย์ เล่มนี้ส�ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ด้วยความอนุเคราะห์จาก peeByNature พี่บรรณาธิการที่คอยให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ ตรวจสอบและแก้ ไขข้อบกพร่องด้วยความเอาใจใส่ เพื่อให้หนังสือ Born to be เทคนิคการแพทย์ เล่มนี้ ออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ขอขอบพระคุณ ทนพ. กฤติน ชุมสวัสดิ์ ที่ ให้ข้อมูลด้านการศึกษาต่างๆ ในชั้นปีที่ 3 และ 4 รวมถึงประสบการณ์การฝึกงานในโรงพยาบาล ทั้งยัง คอยเป็นที่ปรึกษาและให้ก�ำลังใจเสมอมา ขอขอบพระคุณ คุณศิรินันท์ บัวงาม นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ที่ ให้ขอ้ มูลด้านการศึกษาในชัน้ ปีที่ 4 การท�ำเทอมและประสบการณ์การฝึกงาน ในโรงพยาบาล ขอขอบพระคุณ คุณวิศรุต นางาม ที่ ให้ข้อมูลและค�ำปรึกษา ด้านการศึกษาในชั้นปีที่ 4 ขอขอบพระคุณ ทนพ.อรรณพ สุภานันท์ ผู้บริหาร เว็บไซต์ Medtechtoday.org ที่ ได้ถา่ ยทอดความรูจ้ ากประสบการณ์อนั มีคา่ ทัง้ ในฐานะนักเทคนิคการแพทย์คนหนึง่ และในฐานะสือ่ ทีส่ ร้างประโยชน์ ให้แก่ วิชาชีพมานาน ขอขอบพระคุณบุคลากรทุกท่านทีม่ สี ว่ นช่วยในการท�ำงาน อ�ำนวยความ สะดวก และผลักดันให้หนังสือ Born to be เทคนิคการแพทย์ เล่มนี้เสร็จ สมบูรณ์ขึ้นมาได้ ขอขอบพระคุณบุพการีทั้ง 2 ท่านที่อยู่เบื้องหลังความส�ำเร็จ ทั้งยัง คอยให้ค�ำปรึกษา ให้ก�ำลังใจในยามที่พบเจอกับอุปสรรคและยามที่ท้อแท้ หมดก�ำลังใจ ศยามล จรรยาไพศาล และ PeeByNature (บรรณาธิการ)


CONTENTS Part 1 คณะเทคนิคการแพทย์ 9 34 34 39 42 44 45 47 47 52 53 57 64

ถอดรหัส ไขชีวิต “เทคนิคการแพทย์” โดย ทนพ.อรรณพ สุภานันท์ ‘หมอแล็บ’ ณ ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ เหตุเกิดที่ห้อง Born to be หมอ ท�ำไมต้องมีนักเทคนิคการแพทย์? ก่อ-ร่าง-สร้าง-หมอแล็บ จบแล้วท�ำงานที่ ไหน เรียนต่ออะไร เทคนิคการแพทย์คณะรอซิ่ว? เส้นทางสู่เทคนิคการแพทย์ (Road to MEDTECH) ก้าวที่ 1 MEDTECH เหมาะกับเรามั้ย? ก้าวที่ 2 ตรวจสอบคุณสมบัติ ก้าวที่ 3 เรียนที่ ไหนดี ก้าวที่ 4 ประตูสู่ MEDTECH ก้าวที่ 5 เตรียมตัวพิชิตการสอบ

Part 2 ห้องเรียนเทคนิคการแพทย์ 68 68 71 77 94 126 126 143 145

ปี 1 ปรับตัวจนหัวหมุน กิจกรรมรับน้อง…ว้ากกก!!! เรียนปี 1 ปูพื้นฐานแบบรวบยอด ปี 2 เหนื่อยๆ สบายๆ เอ๊ะ! ยังไงกัน ปี 3 เรียนเยอะ แล็บเพียบ! ปี 4 กระหน�่ำฝึกงาน และงานท�ำเทอมสุดโหด ค่ายเทคนิคการแพทย์ (พยาธิ) การฝึกงานก่อนเผชิญโลกกว้าง การสอบใบประกอบวิชาชีพ


Part 3 Admissions เทคนิคการแพทย์ 153 เจาะเน้นๆ รับตรง-แอดมิชชั่น 153 ศึกษาข้อมูลรับตรงปี 56 เตรียมรับศึกปี 57 155 มหาวิทยาลัยมหิดล 161 165 177 180 188 191 197 206 210

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยหัวเฉียวฯ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยรังสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

217 222 226 228 229

มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น วิทยาลัยนครราชสีมา

231 231 234 236 237

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

216 กลุ่มสถาบันที่อยู่ระหว่างการประเมินหลักสูตรรายปี

หลักสูตรเรียนต่อเฉพาะทางสาขาเทคนิคการแพทย์

229 มหาวิทยาลัยมหิดล


ถอดรหัส ไขชีวต ิ “เทคนิคการแพทย์” โดย ทนพ.อรรณพ สุภานันท์ ผูบ้ ริหารเว็บไซต์ MedTechToday.org การเลือกเรียนในคณะ/สาขาในระดับอุดมศึกษา ไม่ ใช่เรือ่ งง่ายๆ เลย คงจะ ดี ไม่นอ้ ยหากจะมี ใครสักคนทีร่ จู้ กั อาชีพนัน้ ๆ ดีพอ และด�ำรงตนอย่างเหมาะสม อยู่ในวิชาชีพ มาบอกเล่าเรือ่ งราวอย่างครบถ้วนรอบด้าน เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลในการ ตัดสินใจเลือกอาชีพ ซึ่งจะเป็นตัวก�ำหนดวิถีชีวิตในอนาคตของเรา และเรื่องราวต่อจากนี้ ไป คืออีกความภาคภูมิใจของทีมงาน Born to be ที่ ได้รับเกียรติจาก ทนพ.อรรณพ สุภานันท์ ผู้ที่ยึดอาชีพเทคนิคการแพทย์มา นานกว่า 25 ปี ท่านได้สละเวลามาบอกเล่าเส้นทางชีวติ ของนักเทคนิคการแพทย์ อย่างหมดเปลือก เพือ่ เป็นวิทยาทานให้แก่นอ้ งๆ เรือ่ งราวของท่านอาจสะท้อนให้ เห็นว่า อาชีพนี้เป็นอย่างไร เหมาะกับเราหรือไม่ และควรจะด�ำเนินชีวิตอย่างไร บนถนนเทคนิคการแพทย์


เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย ์ 2 0 1 3

Mission ไขปัญหาความเจ็บป่วย “โรคอยู่ตรงไหน เทคนิคการแพทย์เราก็อยู่ตรงนั้น พวกเราต้องท�ำงานกันแบบไม่กลัวโรค และจะต้องเอาชนะมันให้ ได้ด้วย” หน้าที่ประการส�ำคัญที่สุด ที่ถือเป็นหัวใจของเทคนิคการ แพทย์ก็คือ การค้นหาสาเหตุ การเกิดโรคหรือความผิดปกติ ในร่างกายคน เพื่อให้แพทย์น�ำ ข้ อ มู ล นี้ ไ ปบ� ำ บั ด รั ก ษาผู ้ ป ่ ว ย ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งแม่ น ย� ำ มี ประสิทธิภาพ ช่วยให้ผู้ป่วยพ้น จากความเจ็บไข้ ได้ป่วย หรือมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เหมือนเป็น กุ ญ แจดอกแรกที่ จ ะไขปั ญ หา ความเจ็บป่วยให้ผคู้ น เพราะเมือ่ ทราบว่าสาเหตุการเจ็บป่วยคือ อะไรแล้ว กระบวนการรักษาก็ จะเดินไปอย่างถูกทิศทาง การท�ำ หน้าที่ิตรงนี้ จ�ำเป็นต้องอาศัย ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ที่บ่มเพาะมาพอสมควร

13


14 B o r n t o b e

ในด้านการติดตามการบ�ำบัด รั ก ษาหรื อ พยากรณ์ โรค เทคนิ ค ก า ร แ พ ท ย ์ ก็ มี บ ท บ า ท ส� ำ คั ญ ทีเดียว เพราะข้อมูลที่ ได้จากการ ตรวจวิ เ คราะห์ ข องเทคนิ ค การ แพทย์ นี่ แ หละที่ จ ะเป็ น ตั ว บ่ ง ชี้ ว ่ า กระบวนการรั กษาได้ผลเป็น ที่น ่า พอใจหรื อ ไม่ การพยากรณ์ โรค ดีขึ้นหรือเลวลง หากไม่มีข้อมูลเหล่า นี้ก็ยากที่จะบอกได้ว่า การรักษาโรค นั้นๆ ได้ผลเป็นอย่างไร หน้ า ที่ ที่ ส� ำ คั ญ อี ก ประการ หนึ่งของเทคนิคการแพทย์ก็คือการ ประเมินภาวะสุขภาพ ซึ่งอาศัยการ ตรวจดู ก ารเปลี่ ย นแปลงของสาร ชีวเคมีต่างๆ ในร่างกาย ที่จะก่อให้ เกิดปัญหาสุขภาพในภายหลัง เพื่อที่ จะได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้ อ ย่ า งเหมาะสม ก่ อ นที่ จ ะเกิ ด ปัญหาสุขภาพที่ร้ายแรงขึ้น การท�ำ หน้าที่ตรงนี้ของเทคนิคการแพทย์ ช่วยผู้คนได้มากทีเดียว เพราะช่วย ให้มีการเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพได้ อย่างทันท่วงที ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด ก็คือ โรคหัวใจและหลอดเลือด ที่

เป็นสาเหตุการตายล�ำดับต้นๆ ของ ไทย เมือ่ ตรวจเลือดแล้วพบว่ามีไขมัน สูงร่วมกับมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ก็จะ ได้ปรับพฤติกรรมใหม่ เพื่อลดความ เสี่ยงของการเกิดโรคนี้ลง เป็นต้น นอกจากนี้ เทคนิคการแพทย์ ยังมีบทบาทส�ำคัญในด้านการคิดค้น วิจัยการตรวจวิเคราะห์ ใหม่ๆ เพื่อ ให้สามารถตรวจหาสาเหตุของโรคที่ เกิดขึ้นใหม่ ได้ ท�ำให้การวินิจฉัยเป็น ไปอย่างรวดเร็ว สกัดกั้นการแพร่ กระจายของโรคได้อย่างทันท่วงที ตลอดจนการคิ ด ค้ น วิ ธี ก ารตรวจ วิเคราะห์ที่มีความละเอียด ความไว เพิ่มขึ้น เพื่อช่วยตรวจจับความผิด ปกติต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทุกวันนี้เราจะเห็นได้ว่าเทคโนโลยี ทางการแพทย์มีความเจริญรุดหน้า ไปเร็วมาก ส่วนหนึ่งก็เป็นผลพวง มาจากการคิ ด ค้ น และพั ฒ นาของ เทคนิคการแพทย์นี่เอง เรียกว่าโรค อยู่ตรงไหน เทคนิคการแพทย์เราก็ อยู่ตรงนั้น พวกเราต้องท�ำงานกัน แบบไม่กลัวโรค และจะต้องเอาชนะ มันให้ ได้ด้วย


เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย ์ 2 0 1 3

ท�ำไมต้องมีนักเทคนิคการแพทย์? เนื่องจากการใช้ชีวิตของคนในโลกปัจจุบัน มีการกิน อยู่ หลับ นอน ที่ เป็นไปตามไลฟ์สไตล์ของคนยุคใหม่ กิน ดืม่ เทีย่ ว เสพติดเทคโนโลยี จนท�ำให้ เกิดปัญหาโรคภัยไข้เจ็บทีห่ ลายโรคไม่สามารถวินจิ ฉัยได้ ในทันที ต้องอาศัยผล การตรวจสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ เพื่อระบุสาเหตุที่แท้ จริง สิ่งส่งตรวจในที่นี้หมายถึง เลือด ปัสสาวะ อุจจาระ เสมหะ และสารคัด หลัง่ อืน่ ๆ ทีอ่ อกจากร่างกาย จากนัน้ ก็นำ� ผลที่ ได้มาประกอบการวินจิ ฉัย เพือ่ วางแผนการรักษา และการติดตามของแพทย์ นักเทคนิคการแพทย์ เค้าท�ำงานอะไรกันบ้าง?

รศ.อิสยา จันทร์วิทยานุชิต คณบดีคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ท่านได้ ให้สมั ภาษณ์ ไว้ ในรายการ HCU รูร้ อบโลกว่า “เทคนิคการแพทย์เป็นวิชาชีพที่ช่วยในการวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติ การ ถ้าเรามองทีมส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกคือ การป้องกัน ส่วนที่สองคือการรักษา และส่วนที่สามคือการฟื้นฟู เทคนิคการ แพทย์จะอยู่ ในสองส่วนแรกคือ การป้องกันและการรักษา เช่น ส่วนแรก การป้องกัน เช่น คนไข้เดินเข้ามาตรวจสุขภาพประจ�ำปี เราก็ จะมีหน้าทีว่ นิ จิ ฉัยว่า เค้าแข็งแรงดีรเึ ปล่า เป็นหน้าทีข่ องเทคนิคการแพทย์ ใน การตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ ที่จะบ่งบอกว่าเค้าสุขภาพดีจริงๆ ส่วนที่สอง ในแง่ของการรักษา ผู้ป่วยเดินเข้ามา ผู้ป่วยมีอาการของโรค แต่ว่าแพทย์บางครั้งไม่สามารถที่จะวินิจฉัยให้เด็ดขาดลงไปได้ว่า ผู้ป่วยเป็น อะไร อย่างเช่น ผู้ป่วยเป็นเบาหวานเท่าไหร่ ค่าเท่าไหร่ถึงจะได้รับการรักษา ไขมันดี ไขมันเลวมีเท่าไหร่ นอกจากนั้นยังมีการท�ำงานของอวัยวะต่างๆ เช่น การท�ำงานของตับ ของไต เราสามารถที่จะตรวจดูได้ว่าผู้ป่วยที่เดินเข้ามามี อาการติดเชื้อไหม

39


40 B o r n t o b e

นอกจากนั้น นักเทคนิคการแพทย์ยังมีการตรวจวินิจฉัยในระดับเชิงลึก ลงไปถึงระดับโมเลกุล อย่างเช่น การตรวจดีเอ็นเอเพื่อพิสูจน์ความสัมพันธ์ เป็นพ่อแม่ลูก หรือดูร่องรอยของคดีที่เกิดเหตุว่า อันนี้เป็นของฆาตกรคนนี้รึ เปล่า อีกประเด็นหนึง่ ก็คอื คลินกิ มีบตุ รยาก นักเทคนิคการแพทย์กจ็ ะอยูเ่ บือ้ ง หลังของการท�ำกิฟท์ (GIFT) และอิ๊กซี่ (ICSI- Intra Cytoplasmic Sperm Injection) ในการผสมตัวอ่อน การฟูมฟักเลีย้ งตัวอ่อน ก่อนน�ำไปฝังในมดลูก ของผู้หญิงต่อไป”

แล้วผลแล็บต่างๆ ใครเป็นคนวิเคราะห์ผล เป็นคุณหมอหรือ นักเทคนิคการแพทย์? “การออกผลแล็บ นักเทคนิคการแพทย์จะต้องเป็นคนเซ็น Approve

เพือ่ รับรองความถูกต้อง ผลแล็บทีอ่ อกมาโดยมีการรับรองจากนักเทคนิคการ แพทย์ จึงเชื่อได้ว่ามีความถูกต้อง ฉะนั้น การวินิจฉัยโรคของคุณหมอจะขึ้น อยู่กับค่าผลแล็บของเทคนิคการแพทย์เป็นส่วนหนึ่ง แต่แพทย์จะดูทั้งหมดใน องค์รวมว่า คนไข้มลี กั ษณะอาการทางคลินกิ อย่างไร เจาะเลือด ตรวจ ส่งแล็บ


เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย ์ 2 0 1 3

สาขาในคณะเทคนิคการแพทย์ ในคณะเทคนิคการแพทย์ก็ ไม่ ได้มีเพียงแค่สาขาเดียวนะคะ เพราะเรามี กันถึง 7 สาขาเลยเชียวล่ะ น้องชอบสาขาไหนก็เล็งๆ กันไว้ก่อนได้นะคะ แต่ บางมหาวิทยาลัยน้องอาจเลือกไม่ ได้ เพราะ...เขาจะบังคับให้เรียนหมดซึ่ง สาขาที่ว่าก็ ได้แก่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

สาขาเคมีคลินิก (Clinical chemistry) สาขาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก (Clinical Microscopy) สาขาเวชศาสตร์การธนาคารเลือด (Transfusion medicine) สาขาจุลชีววิทยาคลินิก (Clinical microbiology) สาขาปรสิตวิทยาทางการแพทย์ (Medical parasitology) สาขาภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก (Clinical immunology) สาขาโลหิตวิทยา (Hematology)

43


68 B o r n t o b e

ปี 1 ปรับตัวจนหัวหมุน เมื่อน้องๆ สามารถเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของคณะเทคนิคการแพทย์ ได้ แล้ว น้องๆ ก็จะกลายเป็นเฟรชชี่ โดยการเรียนในปีแรกนั้นจะไม่มีอะไรมาก เนื้อหาวิชาที่จะเรียนกันในปีนี้ก็คือความรู้ที่เรียนกันมาในสมัยมัธยมปลาย แต่ที่มันยากก็เพราะมันถูกอัดรวมกันให้เรียนจบเพียงปีเดียว และที่ส�ำคัญ กิจกรรมในปี 1 ก็มากมายเหลือเกิน ฉะนั้น น้องๆ จะต้องบริหารเวลาเพื่อ ความอยู่รอดให้ ได้ค่ะ

กิจกรรมรับน้อง…ว้ากกก!!! พอน้องเข้ามาได้แล้วสิ่งแรกที่จะได้ท�ำไม่ ใช่การเรียนหรอกค่ะ แต่เป็น กิจกรรมมากมาย โดยเฉพาะกิจกรรมการรับน้องทีข่ าดไม่ ได้ ส่วนจะจัดเมือ่ ไหร่ นัน้ ก็คงต้องแล้วแต่มหาวิทยาลัย อย่างของพีง่ านแรกจะเป็นงานทัวร์ศาลายา (แอบบอกเป็นนัยๆ ว่าเรียนที่ ไหน) โดยบรรดารุ่นพี่ของคณะจะนัดให้น้องๆ มารวมกันที่ตึกคณะ และท�ำกิจกรรมที่จะท�ำให้ทุกคนได้มี โอกาสท�ำความรู้จัก กันจุดประสงค์หลักจะเป็นการแนะน�ำสถานที่และเส้นทางในมหาวิทยาลัยค่ะ โดยพวกพี่จะจัดให้น้องๆ ได้ปั่นจักรยานตามพี่กลุ่มไปเข้าฐาน ที่จัดอยู่ตาม จุดต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย เรียกว่าได้ประโยชน์หลายด้านที่แม้แต่ตัวน้อง เองก็ยังคาดไม่ถึงเลยล่ะค่ะ^^ กิจกรรมต่อมาก็จะเป็นการปฐมนิเทศนักศึกษาและงานรับน้องของ มหาวิทยาลัยค่ะ โดยรวมก็เน้นความสนุกสนาน และได้ทำ� ความรูจ้ กั กับเพือ่ นๆ พี่ๆ ต่างคณะมากมาย พวกเราก็ยังวัยทีนกันอยู่ พลังชีวิตยังเยอะก็เลยเฮฮา


เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย ์ 2 0 1 3

ปาร์ตกี้ นั น่าดูทเี ดียว แต่ทตี่ อ้ งระวังส�ำหรับคนที่ไม่เคยใส่รองเท้าคัทชู พีแ่ นะน�ำ ให้หาพลาสเตอร์มาเตรียมไว้กด็ นี ะคะ ไม่งนั้ อาจได้แผลมาเชยชม เสียอารมณ์ ท�ำกิจกรรมซะเปล่าๆ เปิดเทอมวันแรกของมหาวิทยาลัยจะค่อนข้างแตกต่างจากการเปิดเทอม ของโรงเรียนมากเลยทีเดียว เพราะเราจะได้เรียนกันอย่างเข้มข้นตัง้ แต่วนั แรก เชียวล่ะ พอเรียนไปได้ ไม่นานแบบว่ายังไม่ทันจะได้ปรับตัวเราก็จะต้องเจอ กิจกรรมต่อไปแล้วล่ะค่ะ ซึ่งกิจกรรมที่ว่านี้ก็คือ ‘สแตน’ นั่นเอง เป็นกิจกรรม ที่สูบเอาพลังชีวิตไปเกือบหมด เพราะพอเลิกเรียนตอน 17.30 น. เราก็จะมี เวลาเตรียมตัวเพียงแค่ครึ่งชั่วโมงในการเปลี่ยนชุด หาของกินรองท้อง พวก อุปกรณ์ต่างๆ (สายพ่วง น�้ำดื่ม ยาทากันยุง และอื่นๆ ที่จ�ำเป็นตามแต่รุ่นพี่ จะสัง่ ) เตรียมพัดลม...อ่านไม่ผดิ หรอกค่ะเราต้องเตรียมพัดลมกันจริงๆ แถม ต้องเตรียมให้ ได้จำ� นวนด้วยนะคะไม่งนั้ อาจเสีย่ งต่อการไม่ ได้เปิดค่ะ และต้อง รีบไปให้ถงึ สถานทีน่ ดั หมายไว้กอ่ น 18.00 น. เพราะถ้าไปช้าอาจจะถูกลงโทษ กันทัง้ คณะได้งา่ ยๆ เลยทีเดียว เรียกได้วา่ เป็นช่วงเวลาทีป่ ระทับใจมิรลู้ มื กว่า จะซ้อมเสร็จก็ปาเข้าไป 2 ทุ่ม (โดยที่ต้องไปนั่งอยู่ตรงขั้นบันไดแทนสแตนจริง แล้วแทบจะต้องนั่งนิ่งๆ อยู่ตลอด 2 ชั่วโมง แถมยังโดนโขกสับปะปังกันไป ตามระเบียบ) ช่วงนัน้ กินเยอะมากค่ะจ�ำได้ แต่นำ�้ หนักไม่ขนึ้ นะ (แสดงว่าหนัก จริงอะไรจริง - -“ เอิ้กๆ)

ภาพวันประกวดแสตน

69


74 B o r n t o b e

วิชาที่ต้องเรียนในปี 1 เทอม 2 พี่ขอข้ามวิชา ENGLISH LEVEL II ไปเลย เนื่องจากได้อธิบายไปแล้วใน ตอนปี 1 เทอม 1 หลักเคมีอินทรีย์ 1 (Principles of Organic Chemistry I) ก่อนจะลงเรียนตัวนี้ ได้ จะต้องผ่านเคมีทั่วไปในเทอมแรกเสียก่อน และ ขอเตือนว่า ห้ามตกเด็ดขาด! เพราะเป็นวิชาต่อเนื่องที่ต้องไปเรียนต่อในตอน ปี 2 คือ ORGANIC CHEMISTRY II ถ้าน้องคนไหนตกตัวแรก ก็จะไม่สามารถ เรียนตัวต่อไปได้ค่ะ วิชานี้เป็นการเรียนเกี่ยวกับการท�ำปฏิกิริยาต่างๆ ของ สารอินทรีย์ซึ่งตอนปี 1 เราจะเรียนไม่เยอะเท่าไหร่ เพราะจะเน้นไปที่เรื่อง โครงสร้างของโมเลกุลเสียมากกว่า แต่เป็นวิชาที่บอกได้ค�ำเดียวว่าถ้าท�ำสรุป ของทุกปฏิกิริยาได้ (ไม่เยอะหรอกค่ะ แค่ 1-2 กระดาษ A4 เท่านั้น) A ก็ ไม่ ใช่ความฝันเลยล่ะค่ะ

สูตรเคมีต่างๆ ที่เรียน เคมีทั่วไป 2 (General Chemistry II) อย่างที่พี่เคยได้พูดไว้แล้วว่าปี 1 เราจะได้เรียน General Chemistry 2 ตัวซึ่ง General Chemistry II นี้จะเริ่มตั้งแต่เรื่อง Ionic Equilibria พวก กรด เบส การท�ำปฏิกริ ยิ าต่างๆ พันธะอิเล็กตรอน ไม่วา่ จะเป็นการท�ำมุมของ พันธะหรือการเรียงตัวของอิเล็กตรอนคู่ โดดเดี่ยว ซึ่งในจุดนี้เราจะได้เรียนลึก


เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย ์ 2 0 1 3

มากกว่าเมือ่ ตอนเรียนมัธยมปลายมากๆ ซึง่ จะเป็นการเรียนแบบอาศัยความ เข้าใจ โดยความรู้ ในจุดนี้จะท�ำให้เราสามารถบอกได้ว่าสูตรเคมีนั้นๆ จะถูก วาดออกมาหรือเรียงตัวออกมาเป็นรูปอะไร โดยไม่จำ� เป็นทีจ่ ะต้องไปจ�ำ จ�ำ จ�ำ ว่ามีอเิ ล็กตรอนคู่โดดเดีย่ วเท่านัน้ เท่านี้ มีพนั ธะคูเ่ ท่านัน้ เท่านีน้ นั่ เองค่ะ ทัง้ ยัง มีเรื่องการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนและการเรียกชื่อของสารเฉพาะหลายๆ ตัว รวมไปถึงเรื่อง ไฟฟ้าเคมี และ Stereoisomers เป็นต้น วิชานี้เรียนค่อน ข้างยากส�ำหรับคนที่ ไม่ชอบเรื่องปริมาณสารสัมพันธ์ และการใช้ความเข้าใจ แต่การฝึกท�ำข้อสอบเก่าๆ ก็จะช่วยได้เยอะส�ำหรับวิชานี้ General Physics Laboratory แล็บวิชานี้ก็สนุกดีค่ะ ไม่ซีเรียสเท่าไหร่ เพราะท�ำที่นั่นส่งที่นั่น (ไม่มี การบ้าน) แถมเรายังได้ทำ� การทดลองหลายๆ อย่างเพือ่ พิสจู น์ขอ้ เท็จจริงของ สูตรทีถ่ กู คิดค้นขึน้ ด้วย จ�ำได้วา่ ช่วงแรกเราจะเรียกแล็บนีก้ นั ว่า ‘แล็บเย็น’ ฟังดู เหมือนจะไปเรียนอนาโตมีเลยเนอะ นัน่ เป็นเพราะเทอมแรกเราจะได้เรียนพวก แล็บเคมีทมี่ นั เปิดแอร์ ไม่ ได้นนั่ แหละค่ะ เวลาเดินผ่านทีเราก็จะอิจฉาเด็กแพทย์ ที่ ได้เรียนอยู่ที่นี่ กว่าตัวเองจะได้เรียนก็ตอนปี 1 เทอม 2 แหนะ ฟิสิกส์ส�ำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ (Physics for Health Science) ในเมือ่ เราเรียนมาทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ แม้ฟสิ กิ ส์จะดูไม่เกีย่ ว กับการแพทย์ แต่จริงๆ แล้วไม่วา่ จะเป็นการเคลือ่ นไหวท่าใดๆ ก็ตาม มักจะมี เรือ่ งของฟิสกิ ส์เข้ามาเกีย่ วข้องด้วยเสมอ โดยตัวอย่างทีอ่ าจารย์มกั จะหยิบยก ขึน้ มาอธิบายให้ฟงั บ่อยๆ เลยก็คอื การเล่นไอซ์สเก็ตค่ะ เพราะการหมุนตัวของ ไอซ์สเก็ตนัน้ ใช้หลักการของฟิสกิ ส์เข้าช่วยด้วยได้ ดังนัน้ การเรียนในปีนจี้ ะเน้น การยกตัวอย่างจริงเข้าไปในโจทย์ต่างๆ ผสมผสานกับโจทย์ตัวอย่างให้เราได้ เรียนและศึกษาค่ะ และก็อย่างทีเ่ คยได้พดู เอาไว้สำ� หรับคนที่ ไม่ชอบฟิสกิ ส์ก็ ไม่ ต้องห่วงนะคะ เพราะเราจะเรียนวิชานี้กันก็แค่ปี 1 เท่านั้นรับรองว่าดึงเกรด ไม่เยอะหรอกค่ะ ^^ (เพราะเพื่อนพี่ที่เกลียดวิชานี้แต่ชีวะเป็นเลิศสามารถดึง เกรดกลับมาแซงหน้าพี่ ได้อย่างรวดเร็วในปีเดียวเท่านั้น!!!)

75


94 B o r n t o b e

ปี 3 เรียนเยอะ แล็บเพียบ! ปีนนี้ อ้ งๆ จะได้เข้าสูเ่ นือ้ หาของวิชาคณะอย่างเต็มตัวแล้วล่ะค่ะ น้องคน ไหนที่เคยใฝ่ฝันว่า อยากเรียนวันละวิชาก็จะได้สมหวังกันในปีนี้นี่แหละ! (หึหึ หัวเราะอย่างมีเลศนัย) โดยปีนนี้ อ้ งจะมีเสือ้ กาวน์สนั้ ทีเ่ ป็นของคณะตัวเองแล้ว แถมคณะของเรายังเปิดเทอมเร็วมากๆ นั่นก็คือ วันที่ 1 พ.ค. ปีพี่ก็ ได้ปิดแค่ 1 เดือนเท่านั้น ซึ่งเผลอแป็บๆ มันก็ผ่านไปแล้วค่ะ แถมปี 3 การบ้านของ น้องจะเยอะขึน้ แบบเป็นกอบเป็นก�ำเลยล่ะ เพราะมีทกุ แล็บทุกวิชา โดยเฉพาะ Self-Study กับงานกลุ่มที่ต้องท�ำกันอย่างอลังการงานสร้างและที่ส�ำคัญปีนี้ จะเป็นปีที่น้องๆ ได้รู้ ใจตัวเองกันว่าชอบหรือไม่ชอบคณะนี้ พอเปิดเทอมมากิจกรรมแรกที่น้องจะได้เจอก็คือ การเข้าค่ายยุวพุทธถึง 8 วัน 7 คืน (กะว่าออกมาแล้วบวชต่อได้เลย) ค่ายนี้จะท�ำให้น้องๆ ได้อยู่กับ ตัวเองมากขึ้น ได้ก�ำหนดสติให้อยู่กับตัวเองอยู่ตลอดเวลา ยิ่งถ้าใครงดพูดทั้ง 7 วันก็จะยิ่งได้ประโยชน์มากยิ่งขึ้น (แต่ก็ยากอยู่เพราะเราไปกับเพื่อนๆ การ ที่จะไม่พูดจึงท�ำได้ยาก) ไปวันแรกๆ หลายคนอาจจะนับวันกลับเลยเชียวล่ะ เพราะเราจะไม่มี โทรทัศน์และโทรศัพท์มอื ถือใช้ แต่หลังๆ น้องจะท�ำใจได้มาก ขึ้น (หรือบางคนอาจนับวันกลับจนวันสุดท้าย - -;)


เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย ์ 2 0 1 3

ปฏิบัติการเกี่ยวกับแบคทีเรียวิทยาทางการแพทย์ (Laboratory Practice in Medical Bacteriology) แล็บครั้งแรกของวิชานี้ เราจะได้ท�ำการรู้จักเชื้อโรคต่างๆ อย่างคร่าวๆ โดยจะเริ่มท�ำการเพาะเลี้ยงเชื้อจากสิ่งส่งตรวจที่มาจากตัวเราเอง (แต่ ไม่ต้อง ตกใจไป เพราะเป็นตัวอย่างจากอาสาสมัครในกลุ่ม ไม่ ใช่ของทุกคนหรอกค่ะ) ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 อย่างคือ Urine (ปัสสาวะ), Feces (อุจจาระ), Throat swab (การป้ายเชื้อจากต่อมทอนซิลที่คอ) และ Skin swab (การป้ายเชื้อจาก ผิวหนัง) หลังจากเพาะเชือ้ เป็นเวลา 1 วันแล้วเราก็จะต้องมาศึกษาโคโลนีของ เชื้อต่อไปค่ะ โดยวิชานี้จะท�ำให้น้องเหมือนได้มาเรียนทุกวันเลยล่ะ ^^ เพราะ น้องจะต้องมาดูเชือ้ ลงเชือ้ ดูผล ลงเพิม่ บลาๆๆๆ เล่นเอาเหมือนไม่ ได้หยุด เลยทีเดียว ซึ่งปีพี่เป็นปีแรกที่มีการปรับการเรียนการสอนใหม่จากการเรียน เชื้อทั้งหมดก่อน แล้วค่อยลงไบโอเคมจากสิ่งส่งตรวจมาเป็นการเรียนแบบลง ไบโอเคมก่อน แล้วค่อยรูว้ า่ มันเป็นเชือ้ อะไร เรียกได้วา่ ท�ำไปโดยไม่รอู้ ะไรเลยล่ะ

Born to be : ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์

ห้องปฏิบตั กิ ารทางการแพทย์ คือ ห้องปฏิบตั กิ ารส�ำหรับตรวจสิง่ ส่งตรวจ (Specimens) ของผูเ้ ข้ามารับบริการตรวจทางสุขภาพ เพือ่ ให้ ได้ขอ้ มูลต่าง ๆ เกี่ยวกับสุขภาพร่างกาย ส�ำหรับประเทศไทย ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ อาจจะมีชอื่ เรียกได้หลายแบบ ได้แก่ ห้องปฏิบตั กิ ารทางเทคนิคการแพทย์ ห้อง ปฏิบัติการพยาธิวิทยาคลินิก และห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร เป็นต้น

99


100 B o r n t o b e

อุปกรณ์ทั้งหมดที่มีและที่เราต้องใช้ ไปทั้งเทอม

ภาพนีเ้ ป็นภาพห้องแล็บทีพ่ ี่ ใช้เรียน กล้องจะถูกเก็บไว้ ในตูด้ า้ นล่าง ส่วนอุปกรณ์แล็บจะถูกเก็บไว้ ในตูด้ า้ นล่างเช่นกัน แต่เป็นแบบ 2 คน ใช้ 1 ชุด เป็นแบบพาทเนอร์แล็บค่ะ ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้เราจะใช้กันทั้งปี แล้วเมื่อสิ้นสุดปีก็จะต้องท�ำการเช็คเครื่องแก้วและส่งคืนค่ะ ถ้ามีอะไรเสียหายแตกไปก็ต้องจ่ายเงินคืนด้วยนะคะ


เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย ์ 2 0 1 3 101

เชื้อมีการแตกเม็ดเลือดแดง แบบสมบูรณ์ หรือที่เรียกว่า beta-hemolysis

แบคทีเรียที่ ไม่มีการ แตกเม็ดเลือดแดง หรือที่เรียกว่า

การทดสอบยา novobiocin ซึ่งจะใช้ ในการทดสอบแบคทีเรียแกรมบวกที่ specimen มาจาก urine

colony แบบ mucoid

gamma-hemolysis


142 B o r n t o b e

ภาคนิพนธ์ สาขาเทคนิคการแพทย์ (Term Paper in Medical Technology) ภาคนิพนธ์ หรือ การท�ำเทอมอย่างที่พี่ ได้บอกไว้ตั้งแต่ต้นแล้วว่า ในชั้น ปีนี้จะได้ท�ำงานชิ้นส�ำคัญ ซึ่งเป็นงานที่น้องๆ จะต้องท�ำให้เสร็จก่อนที่จะจบ ชัน้ ปีนอี้ กี ด้วย ส่วนงานทีว่ า่ นัน้ จะเป็นอะไรก็จะแตกต่างกันไปตามแต่ละหัวข้อ และอาจารย์ที่น้องเลือกนั่นเอง ยกตัวอย่าง อย่างพี่กลุ่มหนึ่งที่ท�ำเรื่องการทดสอบความคงทนของแผ่น คาร์บอนที่ ใช้ทดสอบเชือ้ B. pseudomallei โดยวิธี DNA Biosensors ซึง่ จาก การท�ำงานนี้ท�ำให้พี่กลุ่มนี้ ได้ความรู้มา 3 อย่างหลักๆ ด้วยกัน คือ 1. ได้ท�ำการทดลองโดยใช้แผ่นคาร์บอน ซึ่งเพื่อนๆ กลุ่มอื่นไม่ ได้ ใช้ 2. ได้รู้จักเชื้อและมีความคุ้นเคยกับเชื้อ B. pseudomallei ได้รู้ลักษณะ เด่น การเพาะเลีย้ ง การสกัด DNA ของเชือ้ ชนิดนี้ และยังมีการ Stock ต้นแบบของเชื้อนี้เป็นส่วนตัวด้วย (ขอบอกว่าหายากมาก) 3. ได้รู้วิธีการใช้เครื่อง DNA Biosensors ในขณะที่ตัวพี่เองได้หัวข้อในการท�ำเทอม คือ “การดัดแปลงวิตามินให้มี ฤทธิต์ า้ นอนุมลู อิสระ และ Antimicrobial” โดยพีก่ จ็ ะได้ความรู้ ในการทดสอบ สารว่ามีฤทธิต์ า้ นอนุมลู อิสระหรือไม่ (โดยใช้สารทีเ่ ป็นสารโลหะหนักเกือบครึง่ ร้อยเชียวล่ะ) และทดสอบฤทธิ์การห้ามการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Antimicrobial) อีกด้วยว่าสารแต่ละตัวนัน้ มีฤทธิแ์ ละความสามารถในการห้ามการ เจริญเติบโตของแบคทีเรียในชนิดที่แตกต่างกัน (ซึ่งมีการทดสอบเป็นสิบสิบ สายพันธุ์เลยทีเดียว) รวมไปถึงการได้ ใช้คอมพิวเตอร์ ในการสร้างแบบแปลน โครงสร้างต่างๆ ของสารแต่ละชนิดอีกด้วย การท�ำเทอมจึงเป็นอะไรที่ ได้รบั ประสบการณ์ทแี่ ตกต่างกันออกไปจากที่ เรียน และแตกต่างจากเพือ่ นคนอืน่ ๆ โดยสิน้ เชิง ซึง่ ก็จะกลายเป็นความรูต้ ดิ ตัว เป็นความได้เปรียบทีต่ า่ งจากคนอืน่ ๆ แต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ หลายๆ อย่างก็ขน้ึ อยูก่ บั คู่ ท�ำเทอมของน้องด้วย ทีจ่ ะท�ำให้นอ้ งได้ฝกึ การท�ำงานร่วมกับผูอ้ นื่ ไปในตัวและยัง ต้องรูจ้ กั แบ่งเวลา ต้องมีความรับผิดชอบมากขึน้ เพราะการท�ำเทอมนัน้ ต้องใช้ เวลาหลังจากการเรียน (ซึง่ ก็เย็นมากแล้ว T T)


เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย ์ 2 0 1 3 153

เจาะเน้นๆ

รั บ ตรง-แอดมิ ช ชั่ น ศึ ก ษาข้ อ มู ล รั บ ตรงปี 56 เตรี ย มรั บ ศึ ก ปี 57 ในการรับตรงแต่ละปี มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งจะเปิดรับนักศึกษา 2 ช่อง ทาง คือแบบปกติและแบบพิเศษ แบบปกติคอื รับนักเรียนชัน้ ม.6 ทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ทั่วไปเหมาะสม ไม่มี โรคที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียน ก็สามารถส่งตัวเอง เข้าแข่งขันได้เลย แต่ถา้ เป็นแบบพิเศษนัน้ จะเป็นลักษณะของโครงการ/โควตา ต่างๆ คือนอกจากจะดูคุณสมบัติทั่วไปแล้ว ยังมีการระบุคุณสมบัติเฉพาะอีก ด้วย เช่น เด็กเรียนดี, เด็กในพื้นที่ หรือแม้แต่คนที่ท�ำงานแล้วจากสาขาอื่น ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น

เนือ่ งจากช่วงทีท่ ำ� ต้นฉบับอยูน่ ี้ ระเบียบการรับตรงของปี 57 ยังไม่มอี อก มา เพราะฉะนั้น ข้อมูลใน Part นี้ เป็นข้อมูลของปีการศึกษา 2556 และ ทางทีมงาน Born to be ยังไม่มีการลงช่วงเวลาของการรับสมัครและสอบ ด้วยเหตุผลว่า ปีการศึกษา 2557 มีการเลื่อนปฏิทินการสอบ GAT/PAT ครั้ง ที่ 1 และ 2 ใหม่ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน โดยจะจัดสอบ เร็วขึ้นประมาณ 3 เดือน ซึ่งคาดว่า มหาวิทยาลัย/สถาบัน/วิทยาลัย อาจจะมี การปรับปฏิทินรับตรงตามไปด้วย เพราะฉะนั้น เพื่อป้องกันความสับสน ทาง ทีมงาน Born to be จึงขอตัดเรื่องของก�ำหนดการออกไปก่อน


206 B o r n t o b e

มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยนเรศวร ก�ำหนดให้ผสู้ มัครสอบทุกโครงการ สมัครออนไลน์ ด้วยตนเองที่เว็บไซต์ www.admission.nu.ac.th ตารางสรุปการรับนักศึกษา คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยนเรศวร

หลักเกณฑและคุณสมบัติ การรับสมัครนักศึกษา คณะสหเวชศาสตร

สาขาวิชา เทคนิค การแพทย

สาขาวิชา เทคโนโลยี หัวใจและ ทรวงอก

สาขาวิชา รังสี เทคนิค

รับตรง (โควตาภาคเหนือ) น้ําหนักคะแนน (%) GPA 5 ภาคเรียน (ม.4 – ม.5) 20 20 GAT 30 30 PAT2 (%คะแนนขั้นต่ํา ≥30) 50 50 16 จํานวนรับ 24 โครงการคัดเลือกนักเรียนทีม่ ีผลการเรียนเปนเลิศ (เฉพาะจังหวัด) GPA 4 ภาคเรียน (ม.4 – ม.5) ≥ 3.50 อันดับ 1-5 ของโรงเรียน GAT  สอบสัมภาษณ  1 จํานวนรับ 1 โครงการสงเสริมโอลิมปกวิชาการฯ GPA 4 ภาคเรียน ≥ 3.50 GAT  คะแนนเฉลี่ยวิชาเคมี หรือชีว วิทยา หรือฟสิกส หรือคณิต ศาสตร หรือดาราศาสตร ผานการคัดเลือกเขาคายฝก อบรมโครงการสงเสริมโอลิมปก วิชาการฯ (สอวน.) คาย 2

จํานวนรับ

สาขาวิชา กายภาพ บําบัด

20 30 50 24

20 30 50 24

1

1

≥ 3.00 

1

1

1

1


เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย ์ 2 0 1 3 207 ตารางสรุ ปการรั บนักบศึนักกศึษา ตารางสรุ ปการรั กษา คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัยนเรศวร (ต่อ) คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยนเรศวร(ต่ อ) สาขาวิชา เทคนิค การแพทย

สาขาวิชา เทคโนโลยี หัวใจและ ทรวงอก

สาขาวิชา รังสี เทคนิค

สาขาวิชา กายภาพ บําบัด

ระบบกลาง Admissions GPAX O-NET GAT PAT2 (%คะแนนขั้นต่ํา ≥30) จํานวนรับ % คะแนนขัน้ ต่าํ ป 55

20 30 20 30 51 58.53

20 30 20 30 40 59.96

20 30 20 30 43 58.24

20 30 20 30 41 55.49

WEBSITE

หลักเกณฑและคุณสมบัติ การรับสมัครนักศึกษา คณะสหเวชศาสตร

www.nu.ac.th www.acad.nu.ac.th www.ahs.nu.ac.th

มหาวิทยาลัยนเรศวร กองบริการการศึกษา ม.นเรศวร คณะสหเวชศาสตร ม.นเรศวร

ระบบรับตรง (โควตา) มหาวิทยาลัยนเรศวร เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนในระบบรับตรง (โควตา) ในลักษณะการจัดสรรจ�ำนวนรับให้แก่นักเรียนที่ก�ำลังเรียนอยู่ ใน โรงเรียนทีต่ งั้ อยู่ ในจังหวัดภาคเหนือ ประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ล�ำพูน ล�ำปาง พะเยา น่าน แพร่ ก�ำแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี โดยผู้สมัคร สามารถเลือกคณะ/สาขาวิชาได้ 2 อันดับ การแบ่งกลุ่มโรงเรียน (จ�ำนวนนักเรียนตามปีการศึกษาล่าสุด) • กลุ่มที่ 1 ประเภทโรงเรียนขนาดใหญ่ ได้แก่ โรงเรียน/สถานศึกษา ที่มีจ�ำนวนนักเรียนชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า จ�ำนวน 230 คนขึ้นไป • กลุ่มที่ 2 ประเภทโรงเรียนขนาดกลาง ได้แก่ โรงเรียน/สถานศึกษา ที่มีจ�ำนวนนักเรียนชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า ระหว่าง 100-229 คน • กลุ่มที่ 3 ประเภทโรงเรียนขนาดเล็ก ได้แก่ โรงเรียน/สถานศึกษา ที่มีจํานวนนักเรียนชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า ไม่เกิน 99 คน


พ��รหัส ศยามล จรรยาไพศาล พ��รหัสรุนกลาง ทนพ. อรรณพ สุภานันท

ถอดรหัส ไขชีวิต “หมอแล็บ”

โดย ทนพ.อรรณพ สุภานันท ผูบริหารเว็บไซต Medtechtoday

ป4

เทคนิคการแพทย

กะเทาะหมดเปลือกชีวิต “หมอแล็บ” หนึ่งใน HERO วิทย สุขภาพ ผู อยู เบื้องหลังความสำเร็จ ในการเสาะหาความผิดปกติ ในผู ป วย

เทคนิคการแพทย

ป 3

ป 1 เหมาะกับ? ผู ปกครอง

ครูแนะแนว

5 4 3 2 1 0

ม.ต น ม.ปลาย

นักศึกษา

born to be

หมวดแนะแนวการศึกษา

ราคา 145 บาท

9 786167 720043

พ��รหัส ศยามล จรรยาไพศาล

ป 2

ไม ใช แค การเลือก “คณะ” แต เป นการเลือก “อาชีพ”

เรียนผานประสบการณพี่รหัสและมืออาชีพ

• รูลึกรูจริงอาชีพเทคนิคการแพทย (หมอแล็บ...ไขรหัสโรค) • ขอมูลสำคัญเพื่อการเตรียมตัวพิชิต สอบตรง/แอดมิชชั่น • จัดเต็มชีวิตการเรียนเทคนิคการแพทยพรอมภาพประกอบ • เกาะติดอนาคต จบไปทำงานอะไร เรียนตอสาขาไหนไดบาง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.