Born to be a Pharmacist 2013

Page 1

ถอดรหัส ไขชีวิต “หมอยา” “สร างการยอมรับ เข าถึงป ญหา” หลักชัยของเภสัชสาธารณสุข

โดย ภก. ภาณุโชติ ทองยัง เภสัชกรดีเดนเพื่อสังคมประจำป 2554

รู จักพ�่ๆ สหพันธ นิสิตนักศึกษาเภสัชฯ (สนภท.) ทีมผู สร างน�ำหนึ่งใจเดียวกันของชาวเภสัชทุกสถาบัน โดย เพียร เพลินบรรณกิจ เลขาธิการ สนภท.’55

ภารกิจแจ งเกิดใน "คณะเภสัชศาสตร " สู อาชีพ "เภสัชกร"

ครบจริง! ตรงใจ! ชัดเจน!

เรียนผานประสบการณจริงโดยพี่รหัส

NEW! รุนพี่จัดเต็ม! แนะเทคนิคสอบเขาคณะเภสัชฯ Update! ขอมูลตองรู! การสอบตรง/โควตา/แอดมิชชั่น Update! แนะกอนเรียน 6 ป ทั้งสาขาบริบาลและเภสัชศาสตร

(ครบทุกวิชา ชัดกวาดวยเรื่องเลาพรอมภาพและการตูน) NEW! เปดแงคิดเปลี่ยนมุมมองกับเภสัชกรดีเดนเพื่อสังคม NEW! How to เปดรานยา สู รานยาคุณภาพ NEW! รูไวไมตกเทรน "วาที่เภสัชกรสายพันธุ AEC"


ถอดรหัส ไขชีวิต “หมอยา” “สร างการยอมรับ เข าถึงป ญหา” หลักชัยของเภสัชสาธารณสุข

โดย ภก. ภาณุโชติ ทองยัง เภสัชกรดีเดนเพื่อสังคมประจำป 2554

รู จักพ�่ๆ สหพันธ นิสิตนักศึกษาเภสัชฯ (สนภท.) ทีมผู สร างน�ำหนึ่งใจเดียวกันของชาวเภสัชทุกสถาบัน โดย เพียร เพลินบรรณกิจ เลขาธิการ สนภท.’55

ภารกิจแจ งเกิดใน "คณะเภสัชศาสตร " สู อาชีพ "เภสัชกร"

ครบจริง! ตรงใจ! ชัดเจน!

เรียนผานประสบการณจริงโดยพี่รหัส

NEW! รุนพี่จัดเต็ม! แนะเทคนิคสอบเขาคณะเภสัชฯ Update! ขอมูลตองรู! การสอบตรง/โควตา/แอดมิชชั่น Update! แนะกอนเรียน 6 ป ทั้งสาขาบริบาลและเภสัชศาสตร

(ครบทุกวิชา ชัดกวาดวยเรื่องเลาพรอมภาพและการตูน) NEW! เปดแงคิดเปลี่ยนมุมมองกับเภสัชกรดีเดนเพื่อสังคม NEW! How to เปดรานยา สู รานยาคุณภาพ NEW! รูไวไมตกเทรน "วาที่เภสัชกรสายพันธุ AEC"


Trust me, I’m a Pharmacist ม.ต้น ม.ปลาย นักศึกษา ครูแนะแนว ผู้ปกครอง

ค้นหาตัวเองเจอเร็ว ก็เตรียมตัวก่อน อาชีพในอนาคตขึ้นอยู่กับตอนนี้ พี่รหัสส่วนตัวที่ดูแลกันจนลูกบวช ใช้อ้างอิงเพื่อแนะน�ำลูกศิษย์ เกาะติดอนาคตของลูก


Born to be เภสัชกร 2013 - 2014

Born to be

หนังสือ Born to be เภสัชกร 2013 - 2014 เขียนโดย กิ่งก้านต้นมะกอก นักเขียนรับเชิญ ภก.ภาณุโชติ ทองยัง, วรุตม์ เก่งกิตติภัทร, กวินธิดา รอดมณี, ณัฐปรีชา หมอกมีชัย, เพียร เพลินบรรณกิจ พิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2011 พิมพ์ครั้งที่ 4 กรกฎาคม 2013 (ปรับปรุงเนื้อหา) ISBN 978-616-7720-05-0 จ�ำนวนหน้า 384 หน้า ราคา 235 บาท ที่ปรึกษาอาวุโส ดร.สุกิต เอื้อมหเจริญ ที่ปรึกษากฎหมาย INTEGRATE QUALITY LAW AND ACCOUNTING บรรณาธิการอ�ำนวยการ ภีรพล คชาเจริญ บรรณาธิการ สุรัสวดี วงศ์จันทร์สุข ผู้จัดการทั่วไป ลัดดา คชาเจริญ ภาพถ่าย พี่ โตงเตง น้องทรัสต์ น้องวินดี้ น้องบอส รูปเล่ม [Nui] ชไมพร ดีปานวงศ์ จัดพิมพ์ โดย สนพ.บายยัวร์เซลฟ์ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด บายเนเจอร์ พับลิชชิ่ง 119/272 หมู่ 8 ซ.รัตนาธิเบศร์ 18 ถ.รัตนาธิเบศร์ ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร. 02 525 5033, 39 แฟกซ์ 02 580 4654 facebook : Born to be พิมพ์ที่ บริษัท โรงพิมพ์ ตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) โทรศัพท์ 025510531, 025510533-44 แยกสี NEO Film Prepress Solution โทรศัพท์ 0-2422-0072 จัดจ�ำหน่าย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) SE-EDUCATION PUBLIC COMPANY LIMITED อาคารเนชั่นทาวเวอร์ ชั้น 19 เลขที่ 1858/87-90 ถ.บางนา-ตราด บางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0-2739-8222, 0-2739-8000 Fax. 0-2739-8356-9 http://www.se-ed.com

สงวนลิขสิทธิ์

เนื้อหาและภาพประกอบในเล่ม ห้ามลอกเลียน ไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใด หรือทั้งหมดของหนังสือเล่มนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็น ลายลักษณ์อักษรจากส�ำนักพิมพ์บายยัวร์เซลฟ์


บทบรรณาธิการ เภสัชกร หนึ่งในอาชีพที่หลายคนให้ความสนใจ ด้วยเพราะเมื่อเราไปหา หมอตามคลินิก สถานพยาบาล เราก็จะคุ้นชินกับเภสัชกรที่จะจัดยา จ่ายยา แนะน�ำการใช้ยาให้กบั เรา ไม่เว้นแม้แต่การไปซือ้ ยาตามร้ายขายยาทัว่ ไป ดังนัน้ เภสัชกรจึงเป็นอาชีพทีค่ นทัว่ ไปรูจ้ กั มักคุน้ กันดีอยูแ่ ล้ว เพราะเมือ่ เจ็บไข้กต็ อ้ งไป พบหมอ พบเภสัชกร เพื่อหายามากิน แต่...รูม้ ยั้ ครับว่า สิง่ ทีเ่ รารับรูม้ านัน้ มันเป็นเพียงแค่เสีย้ วเล็กๆ เท่านัน้ เอง ยังมีข้อมูลอีกมากเกี่ยวกับความเป็น “เภสัชกร” หรือที่เมื่อก่อนถูกขนานนามว่า “หมอยา” เพราะเป็นผูท้ มี่ คี วามรูเ้ รือ่ งยาดีทสี่ ดุ เพราะกว่าจะมาท�ำหน้าทีต่ รงนี้ได้ ต้องผ่านการเรียนนานถึง 6 ปี ด้วยเพราะงานมันเกี่ยวกับชีวิตคน ไม่ว่าจะไป ท�ำงานในโรงพยาบาล ร้านยา โรงงาน จึงต้องผ่านการเรียนทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ตลอดจนการฝึกงาน และเมื่อเรียนครบตามหลักสูตรแล้วยังต้อง สอบวัดความรู้กันอีก ใครสอบผ่านและได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ เภสัชกรรมแล้วนั่นแหละ ถึงจะถือว่าเป็นเภสัชกรแบบเต็มตัว นอกจากหนังสือเล่มนี้ จะมีภารกิจในการช่วยให้นอ้ งๆ ได้แจ้งเกิดใน “คณะ เภสัชศาสตร์” สู่อาชีพ “เภสัชกร” ให้จงได้แล้ว ผู้เขียนที่ ใช้นามแฝงว่า “กิ่งก้าน ต้นมะกอก” ยังได้ถ่ายทอดประสบการณ์การท�ำงานไว้อย่างมากมาย หลาก หลาย ละเอียดครอบคลุมเกือบทุกสายงาน เพื่อที่น้องๆ จะได้นึกภาพออกว่า เมือ่ เรียนจบแล้วมีทางเลือกในการท�ำงาน อะไร ยังไงบ้าง ต�ำแหน่งงาน/ลักษณะ งาน/ความรับผิดชอบ มีรายละเอียดเป็นอย่างไร เส้นทางการเติบโตในสายงาน โอกาสและความก้าวหน้าในอาชีพหลังจากเพิ่มดีกรีปริญญาโท-เอก How to การท�ำงานในองค์กรหรือเปิดร้านยาเอง ทั้งหมดนี้ก็เพื่อที่เราจะได้เลือกเรียน ในสาขากันได้ตรงกับความต้องการ Born to be เภสัชกร 2013-2014 เล่มนี้ “ครบจริง! ตรงใจ! ชัดเจน!” peeByNature บรรณาธิการ


ค�ำน�ำ หลายคนมีความฝัน หลายคนมีความหวัง แต่มีเพียงบางคนที่สามารถ ท�ำได้ดงั่ ทีต่ นเองใฝ่ฝนั ทุกประการ ไม่ ใช่วา่ “เขา” คนนัน้ มีความพิเศษเลอเลิศ เหนือใคร หากแต่เขามีความพยายามบากบั่นไปให้ถึงจุดมุ่งหมาย คนจ�ำนวน ไม่นอ้ ยมักมองภาพความส�ำเร็จของคนๆ หนึง่ ว่า “ช่างโชคดี” โดยไม่คดิ อย่าง ไตร่ตรองว่า อะไรท�ำให้เขาได้สิ่งนั้นตามที่ ใจปรารถนา เพื่อนคนนั้นช่างโชคดี ได้เรียนในคณะที่น่าสนใจ เรียนในคณะที่ชอบ มีความสุขในการเรียน จบไป ก็ท�ำงานอย่างมีความสุข แต่บางคนได้เรียนในคณะที่ ใครๆ ต่างอิจฉา ทว่า อนิจจา “มันไม่ ใช่” ต้องอดทนอดกลัน้ เรียนไป ด้วยความทีเ่ ล่าเรือ่ งนี้ ให้ ใครฟัง เขาก็พากันบอกว่า “ท�ำไมล่ะคณะนีด้ อี อก เงินดี ไม่ตกงาน งานสบาย” สุดท้าย ก็ทนไปเรื่อยๆ บางคนทนไม่ ไหวก็ลาออกไปกลางคัน บางคนก็ทนไปจนเกือบ ทัง้ ชีวติ ด้วยความไม่กล้าพอในการตัดสินใจ บางคนก็คดิ ว่าไม่ ใช่แต่ดว้ ยความ ยึดติดกับบางสิง่ ยึดติดกับค�ำพูดบางอย่างก็ลาออกไปสอบคณะใหม่ พร้อมกับ เจอปัญหาเดิมๆ ท�ำไปเพราะลมปากคนอื่น แต่ ไม่เคยถามใจตัวเองว่า “ชอบ อะไรกันแน่” การค้นหาว่าเราต้องการจะเป็นอะไร มันไม่ ใช่เรื่องง่าย แต่ก็ ไม่ ยากเกิน สละเวลาเล็กน้อย ก็อาจจะท�ำให้เราไม่ต้องมานั่งเสียเวลาและเสียใจ ในภายหลัง อย่าพูดว่า “ชอบคณะนี้จัง อยากเรียน” แต่ความจริงแทบไม่ ได้รู้ อะไรเกี่ยวกับคณะนี้เลยแม้แต่น้อย หลังจากที่หนังสือ Born to be เภสัชกร เวอร์ชั่นแรกได้ท�ำการพิมพ์ ออกไปเมื่อปี พ.ศ. 2554 ก็มีเสียงตอบรับที่ถือว่าดี ผู้เขียนขอขอบคุณน้องๆ เพื่อนๆ พี่ๆ ทุกคนที่ ให้ค�ำแนะน�ำติชม ผู้เขียนมีความตั้งใจที่จะปรับปรุงและ พัฒนาหนังสือเล่มน้อยๆ เล่มนี้ ให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ มีแง่คิดให้แก่ น้องๆ สิ่งที่ต้องการจะสื่อออกไปอยากให้เข้าใจว่า “เภสัชกรคือใคร” บทบาท


หน้าทีเ่ ป็นอย่างไร มิใช่รเู้ พียงว่าจบมาหาเงินง่าย จบมาท�ำงานร้านยา โรงงาน หรือโรงพยาบาล แต่ ไม่รวู้ า่ เขาท�ำอะไรกันบ้าง ท�ำไมร้านยาถึงต้องมีเภสัชกร ประจ�ำตลอดเวลา รวมถึงเรื่องราวสารพัดที่อยากจะให้เข้าใจ หากว่าข้อมูลในหนังสือเล่มนีม้ ขี อ้ ผิดพลาดประการใด ไม่วา่ จะเป็นข้อมูล ตกหล่น ไม่ครบถ้วน รวมถึงตีความคลาดเคลื่อน ผู้เขียนขออภัยอย่างสูง พร้อมขอชี้แจงว่ามิ ได้มีเจตนาคิดร้ายใดๆ ทั้งสิ้น และขอน้อมรับความผิด พลาดแต่เพียงผู้เดียว

Special Thanks

กิ่งก้านต้นมะกอก มิถุนายน 2556

คุณพ่อ คุณแม่ และอาจารย์ที่เป็นก�ำลังใจให้ น้องหนิง Rx42 (MUPY) ส�ำหรับข้อมูลแนวข้อสอบ วิชาที่เรียน รวมถึงเป็นนางแบบ น้องเพียร Rx41 (MUPY) ส�ำหรับข้อมูลเกี่ยวกับ สนภท. กิจกรรมต่างๆ รวมถึงรูปภาพประกอบ น้องลูกน�้ำ Rx41 (MUPY) ส�ำหรับข้อมูลวิชาที่เรียน น้องทรัสต์ Rx44 (MUPY) น้องวินดี้ Rx73 (CU) ส�ำหรับรูปภาพประกอบ font 4711_AtNoon จาก www.f0nt.com เจ้าของบทความทุกท่านที่ผู้เขียนน�ำมาใช้อ้างอิง เพื่อนๆ ส�ำหรับค�ำแนะน�ำและข้อมูลในการท�ำงาน อีกหลายๆ ท่าน ที่อาจจะไม่ ได้กล่าวถึง แต่ ไม่ ได้ลืมนะคะ


CONTENTS Part 1 เมือ่ ฝันอยากเป็นเภสัชกร 11 แรกรู้จัก “เภสัชกร” และ “คณะเภสัชศาสตร์” 17 ค�ำถามโดนใจเด็กวัยแอดฯ 33 เจาะสายงานหลังจบเภสัชฯ 34 วิจัยพัฒนา & ผลิตยา – โรงงานยา 39 น�ำเสนอยาเข้าโรงพยาบาล - ร้านยา 44 ตรวจสอบ-ติดตามปัญหาของยา และอาหารเสริม 45 รุ่นพี่จัดเต็ม! เผยเทคนิคเตรียมสอบเข้าเภสัช 46 พี่บอส เฟรซชี่จากรั้วจามจุรี 51 พี่วินดี้ จูเนียร์จากรั้วจามจุรี 57 พี่ โดนัท ซีเนียร์ จาก ม.มหาสารคาม 62 เตรียมตัวดี มีชัยไปกว่าครึ่ง 70 ระบบแอดมิชชั่นเข้าคณะเภสัชฯ 72 สถิติคะแนนสอบเข้า 75 คุณสมบัติแบบไหนถึงได้เรียน 77 ระบบรับตรง 80 เลือกมหาวิทยาลัยไหนให้ โดน 87 คณะเภสัชศาสตร์น้องใหม่ ม.ธรรมศาสตร์ 88 ค่ายเภสัช! ค่ายหมอยา! สัมผัสก่อนตัดสินใจ 89 รวม camp ค่ายหมอยา/เภสัช 92 ตอบค�ำถามให้ติดค่ายชัวร์ๆ 93 เรื่องเล่าเมื่อเป็นพี่ค่าย 95 เรื่องเล่าเมื่อหนูเป็นเด็กค่าย 97 เจาะลึกแนวข้อสอบรับตรง 102 โดนแน่ค�ำถามสอบสัมภาษณ์ 103 ค�ำถามที่พบบ่อยตอนสอบสัมภาษณ์ 107 เรียนเภสัชต้องใช้ทุนหรือไม่


Part 2 เกาะติดชีวติ นศ.เภสัชฯ 110 แรกพบ สนภท. 111 แรกรู้จัก สนภท. โดย พี่เพียร 113 การสมัครเป็นสมาชิก สนภท. 114 การท�ำงานของ สนภท. 116 กิจกรรม สนภท. เชือ่ มสัมพันธ์เขียวมะกอก 116 แรกพบ สนภท. (PSUT FIRST DATE) 118 เภสัชสัมพันธ์ 120 ค่ายหมอยาส่งเสริมสุขภาพและเรียนรู้ชุมชน 121 การประชุมระดับอินเตอร์ 125 ปี 1 โลกใบใหม่มหา’ลัยเจ้าค่ะ! 125 ภารกิจชีวิตเฟรชชี่ 126 งานแรกพบ สนภท. 127 รับน้องใหม่ 127 จับฉลากหาคู่ (ร่วมห้องร่วมหอ) 128 เรื่องสยองขวัญประจ�ำหอ... 130 “บัดดี้กลุ่มรับน้อง” 132 อย่าคิดว่ากิจกรรมมันไร้สาระ (ไปซะทั้งหมด) 134 เคล็ดลับการเอาตัวรอดของเฟรชชี่ 136 เทอมไหนเรียนอะไร 148 วิธีรับมือกับฤดูการสอบ 151 ค่ายอาสาพัฒนาชนบท 153 ปี 2 ฤดูเริ่มเปลี่ยน กลิ่นคณะเริ่มโชย 154 ระวังข้อสอบลวงสติปัญญา! 155 เคล็ดลับการสอบข้อเขียน 155 เทอมไหน เรียนอะไร 179 แค่ปี 2 ก็ต้องฝึกงานซะแล้ว (เหรอ) 181 ตระกร้าคู่ชีพ ล็อกเกอร์คู่ ใจชาวแล็บ 183 ปี 3 วิชาคณะเต็มตัว...อะไรก็เภสัช 184 เรียนหนักเข้มข้นเท่าทวีคูณ 219 ฝึกงานครั้งที่ 2 สัมผัสก่อนเลือกสาย 220 ปี 4 เภสัชครึ่งหลัง…ก่อนแยกสาย 220 เทอมไหนเรียนอะไร 239 ฝึกงานครั้งที่ 3 ครั้งนี้มีหน่วยกิต


240 ปี 5 ถึงทางแยก…เภสัชเฉพาะด้าน 241 เทอมไหนเรียนอะไร 241 ด้านผู้ป่วย (บริบาลเภสัชกรรม) 241 ด้านผลิตภัณฑ์ (เภสัชศาสตร์) 242 วิชาที่เรียนทั้งสายบริบาลและเภสัชศาสตร์ 247 วิชาของสายด้านผู้ป่วย (บริบาลเภสัชกรรม) 251 วิชาของสายด้านผลิตภัณฑ์ (เภสัชศาสตร์) 261 วิชาเลือกวิชาชีพ 262 โครงการพิเศษ 264 ปี 6 ฝึกงาน...เภสัชฯ ภาคสนาม 265 เทอมไหนฝึกอะไร 265 ด้านผู้ป่วย (บริบาลเภสัชกรรม) 265 ด้านผลิตภัณฑ์ (เภสัชศาสตร์) 266 ฝึกงานภาคสนาม 267 แนวทางการเลือกแหล่งฝึกงาน 267 วิธีปฏิบัติตัวเพื่อเป็นสุดยอดเด็กฝึกงาน 268 เจออะไรบ้าง เมื่อต้องฝึกงาน (ภาคนอกเรื่อง) 268 โดดเดี่ยวผู้น่ารัก 269 สงครามประสาท 269 หวานนักรักนอกสถานที่ 270 ซับไตเติ้ลด่วน! 270 ท�ำอะไรบ้าง เมื่อต้องฝึกงาน (ภาคเข้าเรื่อง) 271 ฝึกงานในโรงพยาบาล 273 ฝึกงานในโรงงาน 276 ฝึกงานในร้านยา

Part 3 ภารกิจชีวติ เภสัชฯ หลังจบ! 279 สู่ โลกกว้างแล้ว (จริงเหรอ?) 279 ภารกิจด้านเอกสาร 284 ภารกิจสงครามสอบ 287 เจาะข้อสอบใบอนุญาตฯ 287 MCQ (Multiple Choice Question) 288 OSPE (Objective Structured Pharmaceutical Examination) 290 แนวข้อสอบ MCQ 292 เตรียมพร้อมสู้ศึก OSPE


298 ใช้ทุนอย่างไร ที่ ไหน ท�ำไม อย่างไร? 302 เลือกเรียนต่อหรือท�ำงาน? 302 “เรียนต่อ” VS “ท�ำงาน” 305 ถ้าพร้อมเรียนต่อ? 309 วุฒิ ป.โท จะช่วยให้ชีวิตเปลี่ยนไปอย่างไร 315 บรรยากาศในการเรียน ป.โท VS ป.ตรี เรียนต่างกันอย่างไร? 316 เรียนหลักสูตรนานาชาติมันเป็นยังไง? 318 เรียนจนหมดแรงแล้ว ขอท�ำงานก่อนดีกว่า 321 การเขียน Resume (หรือ Curriculum Vitae; CV) 324 การเตรียมสอบข้อเขียนหรือการทดสอบต่างๆ 327 สัมภาษณ์งานอย่างไรให้ ได้งาน 329 แจก (อม) ยิ้ม…เมื่อท�ำงานวันแรก 331 การท�ำงานในฐานะเภสัชกร 332 “สร้างการยอมรับ เข้าถึงปัญหา” หลักชัยของเภสัชสาธารณสุข 342 หน้าที่ของเภสัชกรที่ดี 342 การเก็บหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง 344 การใช้สิทธิ์เลือกคนดีเข้าสภา 345 อย่าเป็น “เภสัชแขวนป้าย” 351 อยากเปิดร้านยาท�ำอย่างไรดีค้า 354 โครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพร้านยา 357 ว่าที่เภสัชกรสายพันธ์ AEC 360 สุดท้ายขอบคุณจากใจ ขออภัยหากผิดพลาด

Part 4 รวมข้อมูลส�ำคัญทีต่ อ้ งรู้ 363 เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับแวดวงเภสัชกรรม 365 ตารางปฏิทิน Admissions ประจ�ำปีการศึกษา 2557 366 สรุปการสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย 369 ประกาศสภาเภสัชกรรม เรื่องเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพ สาขาเภสัชอุตสาหการ 370 มหาวิทยาลัยที่เปิดรับนักศึกษา คณะเภสัชศาสตร์ 384 แหล่งข้อมูลอ้างอิง


Part 1

เมื่อฝัน อยากเป็น

เภสัชกร


แรกรู ้ จั ก “เภสั ช กร” และ

“คณะเภสัชศาสตร์” หลังจากหนังสือ Born to be เภสัชกร เวอร์ชั่นแรก ออกวางหน่ายในปี พ.ศ. 2554 ก็ ได้รับการตอบรับที่ดี มากๆ ขนาดที่ว่าติดอันดับหนังสือขายดีของร้านหนังสือ ชัน้ น�ำ จนต้องพิมพ์ซำ้� กันหลายรอบ เป็นสิง่ สะท้อนให้เห็น ว่า “เภสัชกร” เป็นหนึง่ ในอาชีพทีน่ อ้ งๆ ให้ความสนใจกัน เป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้ “คณะเภสัชศาสตร์” กลายเป็น คณะในฝันที่ต้องแข่งขันกันอย่างเข้มข้น และในเมื่อ น้องหยิบหนังสือเล่มนี้ขึ้นมาพลิกๆ ดู นั่นก็แสดงว่า “น้องสนใจ” วิชาชีพนี้กันบ้างแล้ว ดังนั้นอย่ารอช้า เรา มาท�ำความรู้จักกันเลยดีกว่าว่าเส้นทาง “กว่าจะได้เป็น เภสัชกร” นัน้ เป็นอย่างไร ต้องล้มลุกคลุกคลานผ่านเรือ่ ง ราวหวาน ขม อมเปรี้ยว ฮากระจายกันแค่ ไหน


เจาะสายงานหลังจบเภสัชฯ มาถึงตรงนี้น้องๆ หลายคนอาจจะเริ่ม “รู้จัก” คณะเภสัชมากขึ้นอีกนิด เพราะเมฆหมอกแห่งความสงสัยได้เริม่ คลีค่ ลายสลายตัว พร้อมๆ กับที่ ได้เริม่ ตาสว่าง เอ้ย...เข้าใจ แต่กย็ งั มีบางค�ำถามทีอ่ าจจะตอบไม่ละเอียด ด้วยเนือ้ หา ที่มีมากจึงขอยกมาตอบตรงนี้เลย “จบเภสัชแล้วสามารถท�ำงานอะไรได้บ้าง” หรือถ้าจะถามแบบเจาะลึกลงไปอีกว่า เภสัชทั้ง 2 สาขา จบมาท�ำงาน อะไรได้บ้าง งานไหนที่สาขาหนึ่งท�ำได้แต่อีกสาขาท�ำไม่ ได้ ส�ำหรับสาขาบริบาลนั้น มุ่งเน้นด้านผู้ป่วยแบบเจาะลึก งานที่ตรงที่สุด คือ งานทางด้านโรงพยาบาลหรือจะท�ำงานร้านยา บริษัทยา ก็ ได้เช่นกัน ส่วนโรงงานจะไปท�ำก็ ได้เพราะพื้นฐานหลักๆ ก็เรียนเหมือนกัน เพียงแต่ ไม่ ได้เรียนเน้นมากเท่าอีกสายและไม่ ได้ฝึกงานทางด้านนี้ โอกาสที่จะได้รับ คัดเลือกเข้าท�ำงานย่อมน้อยกว่า พี่บางคนไม่ ได้จบสายโรงงาน แถมท�ำงาน โรงพยาบาลมาหลายปี โรงงานบางที่ก็ยังรับ แต่ก็ต้องดูว่าต�ำแหน่งอะไร เพราะบางต�ำแหน่งถ้าไม่ ได้จบมาโดยตรงเขาก็ ไม่รับนะ หรือกรณีเขาขาดคน จริงๆ หาคนไม่ ได้ ถึงจะรับเรา


46 B o r n t o b e

พี่บอส เฟรชชี่จากรั้วจามจุรี แนะน�ำตัวเองหน่อยนะคะ ชือ่ วรุตม์ เก่งกิตติภทั ร ชือ่ เล่นชือ่ บอส ปัจจุบันก�ำลังศึกษาอยู่คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้นปีที่ 1 ครับ ท�ำไมถึงสนใจเลือกเรียนคณะเภสัชศาสตร์ มีแรงบันดาลใจอะไรไหมคะ ที่อยากเรียนคณะเภสัชศาสตร์เนี่ย เพราะส่วนตัวชอบท�ำงานช่วยเหลือ เพื่อนมนุษย์ด้วยกันอยู่แล้ว ไม่ ได้ตอบแบบพระเอกละครนะครับ ท�ำแล้วมี ความสุขไง จริงๆ แล้วทุกสาขาอาชีพก็ล้วนช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกันทั้งนั้น แหละครับ แต่บอสเองชอบช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ในด้านสุขภาพมากที่สุด ทุกชีวิตย่อมรักตัวกลัวตายกันทั้งนั้น ถ้าสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ก็ถือว่าเป็นลาภ อันประเสริฐที่สุดแล้ว ส่วนแรงบันดาลใจของบอสเนีย่ ได้มาจากพ่อแม่ครับ พ่อแม่บอสประกอบ อาชีพเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เมือ่ เราได้เห็นพ่อแม่ทำ� งานกับผูป้ ว่ ย ซึง่ เป็น ผู้มารับบริการ เราเองสัมผัสได้ถึงความสุขของพ่อแม่ที่ ได้ท�ำงานเหล่านั้นอยู่ เสมอๆ ดังนัน้ จึงไม่แปลกใจว่า ท�ำไมเราจึงเลือกเรียนในคณะนี้ คณะทีส่ ามารถ ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์อย่างที่เราต้องการได้ ตอนนี้คณะเภสัชศาสตร์ แบ่งเป็น 2 สาขาหลัก มีทั้งรับแยกสาขาและรับรวม สาขา น้องบอสมีค�ำแนะน�ำในการเลือกสาขายังไงคะ ใช่ครับ คณะเภสัชศาสตร์ของบางมหาวิทยาลัยจะแบ่งออกเป็น 2 สาขา หลัก ได้แก่ สาขาเภสัชศาสตร์ และสาขาบริบาลเภสัชกรรม ตัง้ แต่ตอนสอบเข้า เลย เช่น ของจุฬาฯ ม.สงขลาฯ ม.ศรีนครินทร์วิ โรฒ เป็นต้น ในขณะเดียวกัน ก็มีบางมหาวิทยาลัยยังไม่แบ่งสาขาเช่นกัน เช่น ม.มหิดล โดยส่วนตัวผมเอง นัน้ เลือกสอบเข้าเรียนในสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ เนือ่ งจากสาขานีจ้ ะเน้นศึกษา


เ ภ สั ช ก ร 2 0 1 3 51

โรงพยาบาลเท่านั้น เภสัชกรเป็นวิชาชีพที่มีความรู้เรื่องยาดีที่สุด ไม่มีวิชาชีพ ไหนจะรู้เรื่องยาดีเท่าเรา ยาเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่คนเราจ�ำเป็นต้องบริ โภคอยู่ เสมอๆ ไม่มี ใครเลี่ยงการเจ็บไข้ ได้ป่วยไปได้ตลอด และการรักษาส่วนมากก็ จ�ำเป็นต้องใช้ยาเป็นตัวบรรเทาอาการเจ็บป่วยเหล่านั้น ซึ่งเกี่ยวข้องกับความ ปลอดภัยของผู้ป่วยโดยตรง ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องมีเภสัชกรคอยควบคุมทุกๆ การด�ำเนินกิจกรรมของยา ตั้งแต่การวิจัย การผลิต การประกันคุณภาพ การ ขึ้นทะเบียนยา การล�ำเลียงขนส่งยา การบริหารยาตามชุมชนต่างๆ และใน ท้ายที่สุดคือ การจ่ายยาให้กับผู้ป่วย

พี่วินดี้ จูเนียร์จากรั้วจามจุรี แนะน�ำตัวเองหน่อยนะคะ สวัสดีค่ะ ชื่อ กวินธิดา รอดมณี ชื่อเล่นชื่อ วินดี้ ปัจจุบันเป็นนิสิตเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ชั้นปีที่สองค่ะ ท�ำไมวินดีถ้ งึ สนใจทีเ่ ลือกเรียนคณะเภสัชศาสตร์ มีแรงบันดาลใจอะไรไหมคะ แรงบันดาลใจในการเรียนเภสัชศาสตร์มาตั้งแต่เด็กๆ เลยค่ะ เนื่องจาก ว่ามีคณ ุ แม่เป็นพยาบาล เวลาที่ไม่สบายคุณแม่จะคอยหยิบยาให้เสมอๆ พร้อม กับคอยก�ำชับว่า ยาตัวนี้กินก่อนอาหาร หลังอาหาร ด้วยความที่เราเป็นเด็ก ก็ ไม่ ได้สนใจ เพราะคิดว่า จะกินก่อนกินหลังยาก็เข้าไปอยู่ ในตัวเราเหมือนกัน ก็มียาตัวหนึ่งที่ต้องรับประทานหลังอาหาร เราก็กินไปเลยก่อนอาหารแล้วไป เล่น ฮ่าๆๆ ปรากฏว่าสองชัว่ โมงต่อมาแสบท้องมาก เราก็บน่ กับแม่ปวดท้องๆ จ�ำได้ว่าปวดมาก คุณแม่ถามไปถามมาก็ ได้ความว่าเรากินยาผิดเวลา ที่แสบ ท้องเพราะยามีฤทธิ์กัดกระเพาะ หลังจากนั้นคุณแม่ก็สอนเลยค่ะว่า ท�ำไมยา บางตัวต้องรับประทานก่อนอาหาร หลังอาหาร พอโตมาหน่อย มีน้องเล็ก เวลาเด็กเล็กกินยา เขาก็กินในปริมาณ dosage เท่าเราไม่ ได้ คุณแม่ก็หักยา เม็ดออกครึ่งหนึ่ง เราก็สงสัย ก็ถามอีก...


เตรียมตัวดี มีชัยไปกว่าครึ่ง หลังจากที่น้องๆ ได้รู้เทคนิคการเตรียมตัวสอบเข้าของเหล่าพี่ๆ นิสิต นักศึกษาเภสัชศาสตร์กนั ไปแล้ว คราวนีก้ ม็ าถึงวิธกี ารเตรียมตัวที่ ได้เรียบเรียง จากประสบการณ์ส่วนตัวที่ ได้เจอได้ลอง (มาแล้ว) กับตัวเอง รวมถึงจากการ สอบถามกับเพื่อนที่สนิทชิดเชื้อ กลั่นกรองอย่างพิถีพิถันจนได้เป็นขั้นตอน อย่างง่ายที่อาจจะเป็นแนวทางให้น้องๆ เดินตามได้อย่างไม่หลงทิศ ดังนั้น เมือ่ เราตัดสินใจแล้วว่า “จะลุย!” เราจะต้องมีการเตรียมตัว เตรียมใจให้พร้อม “เตรียมตัวดีมีชัยไปกว่าครึ่ง”

ขั้นตอนแรกคือ “ท�ำใจ”

อันนี้ ไม่ ได้ล้อเล่น มันต้องท�ำใจก่อน เพราะคณะนี้มีเสียงเล่าลือว่าเป็น คณะทีเ่ รียนหนักคณะหนึง่ เลยทีเดียว ถ้าจะคิดเรียนๆ เล่นๆ อย่าได้ลองเชียว เดี๋ยวจะได้เกรดแบบเล่นๆ บ้าง

ขั้นตอนที่สองคือ “ส�ำรวจ”

ส�ำรวจว่าตัวเราชอบวิชาอะไร เพราะการที่น้องได้เหยียบย่างเข้าคณะ เภสัชฯ วิชาหลักๆ ที่จะตามหลอกหลอนน้องไปตลอดเวลาการเรียน รวมถึง ต้องงัดออกมาใช้ ในการท�ำงาน คงหนี ไม่พ้น “วิชาเคมี” โดยเภสัชจะพบเคมี


82 B o r n t o b e

5. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 6. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 7. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 8. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 9. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 10. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ 11. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ (เอกชน) 12. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (เอกชน) 13. ส�ำนักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 14. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ (เอกชน) 15. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม (เอกชน) 16. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย (เอกชน) 17. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา 18. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 19. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (สรุปข้อมูล ณ มิถุนายน 2556) ส�ำหรับรายชื่อล�ำดับที่ 12 – 19 เป็นการรับรองอย่างมีเงื่อนไข 1 ปี ก็ต้องปรับปรุงในส่วนต่างๆ ตามที่ทางสภาเภสัชกรรมแนะน�ำ แล้วต้องได้รับ การประเมินอีกครั้งหนึ่ง

ไขข้อสงสัย การรับรองปริญญา?

ตามหน้าเว็บบอร์ดมักจะมีค�ำถามเกี่ยวกับการรับรองปริญญาเสมอๆ ตัวอย่าง สมมติว่าคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย Z ผ่านการรับรองปริญญา ปีการศึกษา 2598 แล้ว น้องเข้าเรียนเป็นนักศึกษาประจ�ำปีการศึกษา 2598 ต่อมาเขามาตรวจประเมินใหม่ แล้วเกิดปีการศึกษาถัดมาผลตรวจไม่ผ่าน ไม่ ได้รับการรับรองปริญญา จะเกิดอะไรขึ้น จะยังคงสามารถมีสิทธิ์เข้าสอบใบ ประกอบวิชาชีพได้หรือไม่


Part 2 เกาะติ ด ชี วิ ต นศ.เภสั ช ฯ


แรกพบ สนภท. สหพันธ์นิสิตนักศึกษาเภสัชศาสตร์แห่งประเทศไทย (สนภท.) The Pharmacy Students’ Union of Thailand (PSUT) ถ้าหากน้องเป็นคนที่ชอบท่องเที่ยวอยู่ ในในโลกไซเบอร์ แถมเป็นแฟน คลับ “เภสัช” หรืออะไรก็ตามที่เกี่ยวกับคณะเภสัช แน่นอนว่าน้องย่อมต้อง เคยได้ยินค�ำว่า “แรกพบ สนภท.”, “ค่ายหมอยา” และ ”งานเภสัชสัมพันธ์” ซึง่ ทีย่ กตัวอย่างมานัน้ เป็นงานทีม่ กี ารพูดถึงบ่อย แต่อนั ทีจ่ ริงมีอกี เยอะกว่านี้ แถมแต่ละงานที่ยกตัวอย่างไป ก็ ไม่ ใช่งานเล็กๆ กระจิ๊บกระจ้อย มันงานช้าง งานยักษ์ทั้งนั้น การที่งานใหญ่จะด�ำเนินไปได้ด้วยดี มันต้องอาศัยทีมงาน สนับสนุนอยู่เบื้องหลัง คอยดูแลประคับประคอง แต่งานเยอะมากมายขนาด นี้ น้องๆ คงจะจินตนาการว่าต้องมีคนท�ำงานกันเป็นกองทัพแน่ๆ อย่าเพิ่ง ตกใจหากน้องรูว้ า่ บุคคลผูเ้ ป็นแกนหลักในการขับเคลือ่ นนัน้ มีอยูเ่ พียงหยิบมือ เดียวเท่านัน้ ! และการทีม่ คี นจ�ำนวนน้อยแต่สามารถท�ำงานใหญ่ ได้ พวกเขาจะ ต้องเป็นบุคคลที่เปี่ยมไปด้วย “ใจ” และ “ศักยภาพ” ในการท�ำงาน


ปี 1 โลกใบใหม่มหา’ลัยเจ้าค่ะ! ก่อนที่จะไปท�ำความรู้จักกับเหล่าต�ำราและวิชาในปี 1 ที่สุดแสนถึกผนึก หฤหรรษ์เราขอคัน่ ด้วยบรรยากาศ และกลิน่ อายความสนุกสุดหรรษาเสียก่อน หลังจากสอบสัมภาษณ์และประกาศผลอย่างเป็นทางการ เราต้องเตรียมใจเจอ เรื่องราวต่างๆ มากมายที่จะเฮละโลเข้ามา ช่วงหลังสอบติดแล้ว จะเป็นช่วงที่น้องๆ จะวุ่นวายอย่างมหาศาล ไหน จะต้องจัดการเรื่องส่วนตัว เดินสายหาหอพัก และกิจกรรมที่เหล่าผองพี่น�ำ เสนอชวนเชื่อให้ต้องไป อีกทั้งงานของมหา’ลัยบ้าง งานคณะบ้าง มากมาย จริงๆ ก็ลองไปดูละกัน ถ้าเหนื่อยมาก ก็ลองพิจารณาดูว่าจะไปดี ไหม แต่ก็ อยากแนะน�ำว่า “ครั้งเดียวในชีวิตนะที่ ได้เป็นเฟรชชี่” ยกเว้นบางคนที่ ได้เป็น เฟรชชี่หลายรอบอาจจะเบื่อ อันนี้เราไม่ว่ากัน....

ภารกิจชีวิตเฟรชชี่ กิจกรรม กิจกรรม และก็กจิ กรรม ค�ำนีอ้ ธิบายแก่นหลักของชีวติ ในช่วงปี 1 ได้ดีที่สุด ไม่รู้ท�ำม้ายย...ท�ำไม มันถึงได้มีกิจกรรมเยอะขนาดนี้ โดยเฉพาะ เทอมแรกกับการเริ่มต้นชีวิตในรั้วมหา’ลัย ยิ่งคนที่อยู่หอในมหา’ลัยด้วยแล้ว ไม่ต้องบรรยายเลย คุณจะได้สัมผัสกับกิจกรรมสารพัดชนิดอย่างเต็มอิ่มจน จุกอกเลยล่ะค่ะ


เ ภ สั ช ก ร 2 0 1 3 145

ปฏิบัติการหลักชีววิทยา 2 ส่วนปฏิบตั กิ ารหลักชีววิทยา 2 จะเป็นแล็บแห้งเสียมาก ส่องกล้องดูสไลด์ สารพัด ตัวอย่างของดองโชว์ก็มี คนที่มีความสามารถในการวาดรูปก็จะได้แสดงฝีมือกัน สเก็ตซ์ภาพกัน อย่างเพลิดเพลิน ส�ำหรับคนที่วาดรูปไม่เก่งแบบว่า “วาดช้างแล้วเหมือนหมู” หรือ “วาดงูเหมือนไส้เดือน” ก็อาศัยอุปกรณ์เสริมทั้งหลาย กล้องถ่ายรูป กล้องมือถือ เพื่อช่วยให้ชีวิตสบายขึ้น รวดเร็ว แถมเหมือนเป๊ะๆ อีกตะหาก

บรรยากาศการเรียนของตัวอย่างเยอะแยะเลย เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) สมัยทีพ่ เี่ รียนเมือ่ สักประมาณสิบกว่าปีทแี่ ล้ว วิชานี้ ใช้เวลาเรียนมากมาย ถึง 2 เทอม แต่ตอนนี้ยุบเหลือเพียงเทอมเดียว เนื้อหาจะมากแค่ ไหนไม่อาจ บอกได้ แต่พี่อยากบอกแค่ว่า “วิชานี้ส�ำคัญมากค่ะ” เพราะเป็นพื้นฐานทาง เคมีที่ส�ำคัญ ซึ่งจะต้องใช้ต่อไปในชั้นปีสูงๆ (เดี๋ยวเข้าคณะจะมีเรียนเคมีพื้น ฐานอีกครั้ง เน้นส�ำหรับพวกเราเลยล่ะ) เนือ้ หาการเรียนก็ประมาณว่า เมือ่ เราเติมสาร A ลงไปเจอกับสาร B ท�ำไม มันถึงได้ผลิตภัณฑ์เป็นสาร C ได้อิเล็กตรอนวิ่งเข้าทางใด เกิดพันธะตรงไหน


เ ภ สั ช ก ร 2 0 1 3 151

ถ้าท�ำทุกอย่างเท่าที่จะท�ำได้แล้ว แต่ผลสอบออกมาไม่ ได้ดั่งใจ ลอง ทบทวนตัวเองดูว่าสาเหตุคืออะไร ถ้าเราท�ำดีแล้ว ผลสอบออกมาดีก็พยายาม ท�ำให้ดียิ่งขึ้น ถ้าผลสอบมันแย่ เราควรจะมาตรวจสอบว่า เพราะอะไรคะแนน หรือเกรดถึงได้น้อยเท่านี้ เช่น ไม่ตั้งใจเรียน เล่นมากเกินไป ฟุ้งซ่านมากไป ขี้เกียจ หรืออื่นๆ จากนั้น ก็วางแผนปรับปรุงตารางการอ่านหนังสือ การท�ำ กิจกรรมให้สมดุล จะได้ ใช้ชีวิตได้คุ้ม เมื่อผ่านเวลาช่วงนี้จะได้ ไม่ต้องมานึก เสียดายว่า “ตอนนัน้ เราน่าจะเข้าร่วมกิจกรรมมากกว่านี”้ หรือ “รูอ้ ย่างนีต้ งั้ ใจ เรียนให้มากหน่อยดีกว่า”

ค่ายอาสาพัฒนาชนบท อย่างที่เคยเล่าให้ฟังว่า ชีวิตในปี 1 มักจะมีกิจกรรมมากมายที่ ให้ทั้ง ประโยชน์และสร้างสรรค์ แต่ก็ ไม่ ไร้ความสนุกสนาน แถมยังได้เรียนรู้วิถีชีวิต ของคนในชุมชน ได้ออกไปบ�ำเพ็ญประโยชน์ ให้กับสังคม เพื่อเป็นการจูงใจ ให้น้องๆ อยากท�ำอะไรดีๆ มีสาระกันบ้าง เรามาดูกันสิว่า มีกิจกรรมอะไร ที่น่าสนใจ เช่น ค่ายอาสาพัฒนาชนบท ซึ่งอาสาสมชื่อ ด้วยอาสาไปสร้างสารพัดสิ่งให้ กับชุมชนที่ขาดแคลนห่างไกล เช่น สร้างห้องสมุดชุมชน สร้างโรงเรียน สร้าง ห้องน�้ำ สารพัดจะสร้าง เป็นต้น เนื่องจากเป็นค่ายสร้างและต้องไปที่ ไกลๆ แถมต้องไปหลายๆ วัน มักจะเป็นค่ายช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน เพราะระยะ เวลาที่ ใช้ ในการก่อสร้าง คงไม่สามารถท�ำเสร็จภายในสองสามวัน ดังนั้น คนที่ ไปต้องมีความมุ่งมั่นที่จะไป เพราะไม่ ใช่ว่าไปแล้วจะสะดวก สะอาดแบบอยู่บ้าน แต่รับรองความสนุกความมัน บางคนอาจจะได้แสดง ความสามารถในการเป็นช่างตอกตะปู ฉาบปูน ใครท�ำงานช่างไม่ค่อยเก่งก็ ไปอยู่แผนกหุงหาอาหารหรืออื่นๆ แบ่งหน้าที่กันท�ำ ถ้าใครไม่ชอบแนวค่ายอาสา ไม่ชอบค่ายที่ออกแนวใช้พลังงานกาย มี กลิ่นเหงื่อ เราก็มีค่ายสอนหนังสือ โดยไปสอนหนังสือให้แก่น้องๆ ที่อยู่ห่าง ไกล ไปให้ความรู้ สร้างความสนุกสนาน เป็นค่ายที่ ไม่เหนื่อยแรงกาย แต่ทาง ที่ดีควรรักเด็กหน่อยก็ดีนะจ๊ะ


152 B o r n t o b e

อันทีจ่ ริงมีมากกว่านีน้ ะ เมือ่ เข้ามหาวิทยาลัยแล้วลองสมัครดู สนุกสนาน สร้างสรรค์ แถมได้เพื่อนใหม่ๆ อีกตะหาก ไม่แน่ว่าเราจะเจอใครสักคนที่นั่น ก็ ได้ (ฝันไปแล้ว) ชีวิตเด็กเภสัช


เ ภ สั ช ก ร 2 0 1 3 161

ขอแสดงความเสียใจว่า ถ้าคุณอยากจะเรียนแบบเห็นเลือดสดๆ หรือ มือจับมีดกรีดช�ำแหละเปิดดูเส้นสายลายประสาท ขอตอบว่า “น้องๆ คงผิด หวัง” เราเรียนกับอาจารย์ ใหญ่ก็จริง แต่ ไม่ ได้ทำ� การผ่าแบบนักศึกษาแพทย์ เราเรียนกันคนละแบบ เภสัชน่ะไม่ตอ้ งเรียนผ่าอาจารย์ ใหญ่นะ! เราจะท�ำการ ศึกษาเฉพาะส่วนๆ ดูเป็นชิ้นๆ แยกออกเป็นระบบๆ ไม่ต้องจดจ�ำทุกเส้น ประสาท แค่ดูเฉยๆ (เน้นว่า “ดู” ค่ะ) อาจารย์ก็จะให้ดู + จ�ำเฉพาะส่วนที่ ส�ำคัญๆ ที่ต้องน�ำมาใช้เป็นหลัก อันนี้ ไม่ยากนะคะ เรามี ให้ดูทั้งที่เป็นโมเดล คอมพิวเตอร์จ�ำลองและของจริง ส่วนคุณหมอๆ นักศึกษาแพทย์เขาจะเรียนแบบลงลึกมากๆ จดจ�ำกันทุก เส้นสายเซลล์ประสาท จ�ำกันมันส์ จ�ำกันเข้าไป ยิบย่อยฝอยละเอียด อันนีเ้ รียน “ผ่า” อาจารย์ ใหญ่คะ่ ทีเ่ ขาเรียกว่า Gross Anatomy (มหกายวิภาคศาสตร์) คณะพยาบาล กายภาพบ�ำบัด ก็เรียนวิชากายวิภาคฯ เหมือนกันค่ะ และก็เขา เรียนเน้นท่องๆ จ�ำๆ มากกว่าคณะเราเสียอีก ใครไม่ชอบท่องก็ต้องท�ำใจนะ เพราะต้องท่องๆๆ แต่ก็ ไม่ ใช่วา่ จะท่องเป็นนกแก้วนกขุนทองอย่างเดียว ต้อง บวกความเข้าใจด้วยล่ะ เดี๋ยวจบออกมาจะกลายเป็นสารานุกรมเคลื่อนที่ ไป ซะงั้น สรุป เน้นแค่จ�ำเฉพาะที่ส�ำคัญ เน้นในเรื่องหน้าที่การท�ำงานมากกว่า เวลาสอบ ไม่มีอะไรมาก ตัวอย่างที่อาจารย์น�ำมาให้ดูตอนเรียน บาง ชิ้นจะกลายมาเป็นค�ำถามในการสอบ การสอบก็เป็นแลบกริ๊งเหมือนเดิมค่ะ บรรยากาศโดยรวม ภายในห้องเรียนแล็บ (ปล.แอบถ่ายก่อน เด็กๆ มาถึง) ในห้อง จะมี โถแก้วใส่ชิ้นส่วน อวัยวะอาจารย์ ใหญ่ โครงกระดูกทั้งร่าง และแบบที่เป็นชิ้นส่วน


162 B o r n t o b e

อันนี้เป็นแล็บส่อง กล้องดูสไลด์ต่างๆ มีหนังสือวางไว้ ข้างๆ ด้วย

เคมีของยาพืน้ ฐาน (Basis of Medicinal chemistry) วิชานี้ชื่อว่า “เคมีของยาพื้นฐาน” ทุกอย่างที่เป็นเรื่องพื้นๆ จะกลาย มาเป็นหัวข้อในการเรียนของเรา ตั้งแต่ โครงสร้างโมเลกุลของสารประกอบ อินทรีย์ คุณสมบัติทางฟิสิกส์เคมี ความแรงของกรดและด่างอินทรีย์ การ ละลาย การท�ำปฏิกิริยาต่อกันของแรงทางเคมี เรียนหมดทุกสาร ได้แก่ พวก คาร์ โบแคทไออน คาร์แบนไออน คาร์บีน ไนตรีน ฟรีเรดิคอล สารประกอบ เชิงซ้อน และมาท�ำความเข้าใจให้ลึกซึ้งกับปฏิกิริยาเคมีที่ ใช้ ในการเปลี่ยนรูป สารอินทรีย์ ในร่างกาย (เริม่ ต่อยอดจากตอนแรกทีเ่ รียน) อิเล็กตรอนวิง่ พล่าน ไปทั่วไปตรงนั้น ตรงนี้ เกิดปฏิกิริยาต่างๆ ให้วุ่นวาย แต่ต้องมาเรียนรู้ เรียน หัวข้อน่าสนุก อย่างเรื่องการค้นพบยาใหม่ การปรับปรุงโครงสร้างทางเคมี และความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างทางเคมีกับการออกฤทธิ์ของยา (SARs = Structure-Activity Relationship) มันจะมีเนื้อหาที่จะไปโยงกับวิชา ที่ออกแนวโครงสร้างเคมีอีกตัว ที่มีชื่อว่าเคมีของยา พื้นๆ เบสิกๆ แต่เวลาเรียนไม่ค่อยจะพื้นเลยสักนิด อย่างที่บอก “ริจะ เรียนคณะเภสัชอย่าได้กลัวเคมี” เพราะได้เจอกันตลอด วิชานีม้ ปี ระโยชน์อย่าง มากต่อคนที่จะเรียนสายผลิตภัณฑ์ ส่วนคนที่เรียนสายผู้ป่วยอย่าคิดว่าไม่ ส�ำคัญ เวลาเจอยาใหม่ๆ โครงสร้างแปลกๆ จะได้เก๊กหน้าสวย ก่อนจะตอบ


เ ภ สั ช ก ร 2 0 1 3 173

ด้วยยา แบบนี้ ไม่ผ่านมาตรฐาน ถ้าเป็นโรงงานก็ระวังจะ…. ถ้าเรากินเข้าไป ก็อาจจะ.... ที่บอกมาทุกอย่างมันมีเทคนิคค่ะ เราจะได้เรียนกันทั้งหมดนี่ล่ะ การสอบไม่ยากเย็นอะไร เพราะอ่านไปก็ ใช่ว่าจะท�ำได้ดี เอ้ย ไม่ ใช่แล้ว ล่ะ ข้อสอบแนวเขียน ตั้งใจเรียนในห้องให้ดี จะได้ ไม่ต้องไปนั่งจิตตกเวลาใกล้ สอบ แนวข้อสอบเก่าจะเยียวยาจิตใจได้บ้าง ปฏิบัติการเภสัชการ 1 (Pharmaceutics Laboratory I) แล็บก็สนุกสนานง่ายๆ (มั้ง?) หัดท�ำยาเม็ด ฝึกหัดเทคนิคต่างๆ ในการ ผสม ควรผสมอะไรก่อนหลัง การท�ำให้เป็นเม็ด การชั่ง การตวง การวัด การ เลือกเครื่องชั่งให้เหมาะสมกับปริมาณสารที่เราจะชั่ง เพราะต่อไปเราจะรู้ว่า เครือ่ งชัง่ มีหลากหลาย ทัง้ สองต�ำแหน่ง สามต�ำแหน่ง สีต่ ำ� แหน่ง ห้าต�ำแหน่ง (อันนี้ปกติเขาไม่ ใช้ ในการท�ำยาเท่าไร มักเจอในห้องแล็บวิเคราะห์ยา ตรวจ สอบคุณภาพยามากกว่า) ซึ่งเทคนิคการชั่ง ตวง วัด ในแล็บนี้ หากเทียบกับ แล็บวิชาเภสัชวิเคราะห์แล้วถือว่าไม่ละเอียดเท่านะ นอกจากนีจ้ ะได้มีโอกาสใช้และยลโฉมเครือ่ งตอกยาสุดเริด่ เก่าแก่ลายคราม ซึง่ เป็นรุน่ มอเตอร์แรงควาย ไม่ใช่ๆ แรงคน สรุปก็คอื แรงของน้องๆ เองนัน่ ล่ะ ตอกกันมันหยดต้องอาศัยพละก�ำลัง ยิง่ ถ้าเป็นกรณีสากของเครือ่ งตอกติด แบบว่าหมุนแล้วไม่ไปนะ น้องเอ้ยต้องอาศัยแรงถึกๆ มาแก้ ไขปัญหาถึงจะลุลว่ ง

โฉมหน้าเครื่องตอก พลังแรงคนรุ่นเก๋ากึ๊ก


176 B o r n t o b e

เครื่องวัดความแข็ง

เครื่องวัดความหนา

เครื่องวัดการแตกตัว

เครื่องวัดความกร่อน


เ ภ สั ช ก ร 2 0 1 3 177 พี่ยังคิดอยู่เลยนะว่า เฮ้ย!! เรียนเภสัชนะ! ม่ายช่ายเรียนช่างเครื่อง จะให้มา ประกอบเครื่องเองท�ำไมว้า....

เวลาเรียนท�ำแล็บก็แบบนี้ล่ะ ทุกคนช่วยกันมุง ช่วยกันท�ำ ส�ำหรับวิชานี้ ในช่วงแรกต้องเรียนทฤษฎีเกีย่ วกับพวกผงยา พวกอนุภาค ต่างๆ พอเรียนเสร็จไปสักระยะ อาจารย์จะมีการจัดสอบดูเทคนิค การใช้ เครือ่ งมือ พวกกระบอกตวงสาร การปรับปริมาตรสารพัดทีเ่ ป็นเทคนิคทีต่ อ้ งใช้ ทัง้ หมด ซึง่ อันนีเ้ ป็นเรือ่ งใหม่เพราะสมัยทีพ่ เี่ รียนนัน้ ไม่มกี ารจัดสอบดูเทคนิค เนื่องจากการจะถูกหัดมาจากในแล็บเภสัชวิเคราะห์มาแล้ว แต่แน่นอนว่าของ ใหม่ก็ต้องมีอะไรใหม่ๆ เข้มข้นกว่าของเก่าล่ะนะ เภสัชวิเคราะห์ 1 (Pharmaceutical Analysis I) หลังจากเราเรียนรู้และท�ำความเข้าใจในการท�ำปฏิกิรยิ าเคมีหลากหลาย รูปแบบของสารกลุม่ ต่างๆ มากมาย มาถึงวิชานีท้ เี่ ป็นการเรียนในด้านเทคนิค วิธีการวิเคราะห์ โดยวิธีทางเคมี ความรู้ทางเคมี พวกปฏิกิริยาต่างๆ จะถูกมา ประยุกต์ ใช้แล้วล่ะ หากวิชาพื้นฐานที่ผ่านมาเรียนอย่างเข้าใจ การเชื่อมโยง จะง่ายไม่ยากเย็น เพราะเทคนิควิเคราะห์ที่สอนนี้ก็อาศัยความรู้ทางเคมีนี่ล่ะ ยกตัวอย่างวิธีการวิเคราะห์ที่จะต้องได้สัมผัส เทคนิคการวิเคราะห์ โดยมวล วิธีวิเคราะห์ โดยการวัดปริมาณของปฏิกิริยา Oxidation รวมถึง สอนความรูพ้ นื้ ฐาน วิธกี ารใช้เครือ่ งชัง่ ละเอียดส�ำหรับงานวิเคราะห์ เครือ่ งชัง่ ที่ ใช้จะมีความละเอียดกว่าเครื่องชั่งที่ ใช้ ในแล็บเภสัชการ เพราะบางครั้ง


เ ภ สั ช ก ร 2 0 1 3 187

แค่นี้ยังไม่จบพิธีการนะ เพราะ เวลาจะถ่ายเชื้อลงที่อยู่ ใหม่ก็มีขั้น ตอนอีกสารพัด แต่เราจะพูดถึงแค่นี้ แล้วกัน รู้หมดเดี๋ยวไม่ตื่นเต้นเวลา มาเรียน มันดูเหมือนง่าย แต่บางคน อาจไม่ถนัดจะท�ำแต่ละทีก็เก้ๆ กังๆ มือไม้แทบจะพันเป็นเลขแปด นอกจากนี้ เราจะเรียนรูส้ ารพัดวิธี ในการวิเคราะห์ศกึ ษาพวกเชือ้ ทดสอบ ยาปฏิชีวนะ (ยาที่ชาวบ้านเรียกว่า “ยาแก้อักเสบ” ปวดกล้ามเนื้อ ปวดนู่นนี่ ก็ขอยาแก้อักเสบ “เอาเม็ดด�ำแดงนะ กินแล้วหายปวดเมื่อย” เป็นหวัดเจ็บ คอก็กินตัวนี้ ตกลง ampicillin คงเป็นยาครอบจักรวาล เฮ้อ...คนละเรื่อง ampicillin ฆ่าเชื้อ ไม่เกี่ยวกะแก้ปวดเมื่อยนะ) ยาปฏิชวี นะเป็นยาฆ่าเชือ้ ยานีฆ้ า่ เชือ้ อะไรได้ เชือ้ ตัวไหนดือ้ ด้านต่อยาตัว นัน้ การสอบมีทงั้ แล็บกริง๊ และแล็บข้อเขียน เป็นวิชาทีข่ อ้ สอบเก่าจะมีอทิ ธิพล ต่อเกรดของท่านอย่างมากถึงมากที่สุด (พวกหมวดวิชาจุลชีวะ มักมีข้อสอบ เก่าและมักจะ…หุหุ หวานคอ) เคมีของยา 1 และ 2 (Medicinal Chemistry I & II) วิชานี้จะจับเอาความรู้ทางเคมีเกี่ยวกับโครงสร้างทางเคมี ตรงไหนของ โครงสร้างของสารนั้นๆ ที่เป็นส่วนที่มีฤทธิ์ ในการรักษา (ไม่ ใช่ว่าโครงสร้าง ทัง้ หมดของยาจะเป็นส่วนออกฤทธิ)์ สารเคมีทเี่ ราจะมาศึกษามีทงั้ ที่ ได้มาจาก การสังเคราะห์ (ปฏิกริ ยิ าทางเคมีลว้ นๆ อาศัยความรูท้ างเคมีทลี่ กึ ล�ำ้ สารพัด) และมาจากธรรมชาติ (ทัง้ สัตว์ทงั้ พืชสมุนไพร) เราจะน�ำมันมาจัดเป็นหมวดหมู่ ตามการออกฤทธิท์ างเภสัชวิทยา สรุปคือโยงรูปร่างโครงสร้างทางเคมีกบั ฤทธิ์ ของยา คุณสมบัติทางเคมี ฟิสิกส์ ของยาที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ ซึ่งจะมอง ลงไปถึงระดับโมเลกุล เรียนรูค้ วามเป็นพิษและฤทธิแ์ ทรกซ้อน ศึกษาเกีย่ วกับ เภสัชจลนศาสตร์ของยา


เ ภ สั ช ก ร 2 0 1 3 193

เทียวไปเทียวมาเพื่อไปสวนสมุนไพรที่วิทยาเขตศาลายานั้นคงจะไม่ ไหว จึง มีการเนรมิตรสร้างสวนสมุนไพรขนาดกระทัดรัด แต่เพียบพร้อมไปด้วยต้น สมุนไพรหลากหลายขึ้นที่บริเวณส่วนด้านหน้าของคณะ

สวนสมุนไพรอยู่บริเวณด้านหน้าของคณะ โปรดอย่าเข้าใจผิดคิดว่ามันคือ สวนหย่อม! ปกติถ้าใกล้สอบวิชานี้จะมีคนนับล้านมารุมกลุ้มอยู่มากมาย

ข้อมูลที่เห็นในป้าย เราต้องท่องจ�ำนะ (ยกเว้นชื่อวิทยาศาสตร์)


เ ภ สั ช ก ร 2 0 1 3 195

แต่ว่าหลายคนก็ลืมไปว่า บางสถานีมีพืชพิษด้วย มันมีเรื่องเล่าว่า (ไม่รู้ จริงไหม) เกือบมีเหตุเศร้าสลด เพราะมีหนุ่มหล่อคนหนึ่งของชั้นปี คิดไม่ตก นึกไม่ออก ก็เลยจะใช้วธิ สี ดุ ท้ายกับต้นไม้ตรงหน้า คือ “กิน” ถ้าเป็นต้นผักนูน่ นี่ ก็ดี ไป แต่มันดันเป็น “หมามุ่ย” อาจารย์เกือบเข้าไป “หยุด” เขาไม่ทัน ถ้า ไม่ทันจะเกิดอะไรขึ้นเนี่ย หมามุ่ย แค่คิดก็คันไปทั้งตัว บรื๋อ! นอกจากจะได้เรียนเกี่ยวกับสารพัดพืช ส่องกล้องดูเซลล์ปากใบ รังไข่ เราก็จะได้เรียนรูก้ ารท�ำยาสมุนไพรในรูปแบบยาลูกกลอน แต่ขออธิบายนิดนึง ส�ำหรับมหา’ลัยพี่เท่าที่ ไปสอบถาม เด็กๆ บอกว่าแล็บท�ำยาลูกกลอนจะอยู่ ใน แล็บเภสัชวินจิ ฉัย แต่จากการสอบถามพีท่ ดี่ แู ลแล็บบอกว่า ปัจจุบนั ได้มกี ารจัด เรียงการเรียนแล็บวิชาเภสัชพฤกษศาสตร์กบั เภสัชวินจิ ฉัยใหม่ (หลายมหา’ลัย เรียกเภสัชเวท) ให้มีลักษณะช่วงต้นของแล็บเภสัชพฤกษศาสตร์จะเป็นดูเซลล์ พืช ดูต้นไม้ ส่วนตอนท้ายจะน�ำแล็บช่วงต้นของเภสัชวินิจฉัยมาเรียน ที่เป็น แล็บส่องดูผงยาต่างๆ ส่วนช่วงต้นของแล็บเภสัชวินิจฉัยจะเปลี่ยนเป็นเรียน การท�ำยาลูกกลอนแทน ส�ำหรับที่มหา’ลัยอื่นคาดว่าน่าจะเป็นแบบที่พี่บอกใน ตอนแรก ส่วนแบบที่ว่ามีการปรับเปลี่ยน บอกไว้เฉพาะของมหา’ลัยพี่ล่ะนะ ถ้าไม่เขียนเดี๋ยวรุ่นน้องมหา’ลัยพี่จะท�ำหน้างงๆได้ ดังนั้นส�ำหรับรูปท�ำยาลูก กลอนก็ขอเอามาใส่ ในแล็บนี้ล่ะกันนะคะ ^^

บรรยากาศในการท�ำแล็บวันนี้เสนอตอน มาท�ำยาลูกกลอนกันเถอะ!!


196 B o r n t o b e


216 B o r n t o b e

พอใกล้จะปลายเทอม ฤดูกาลของการสอบก็มาเยือนกันอีกแล้ว ในการ สอบคล้ายกับการสอบท�ำยาน�ำ้ ในแต่ละโต๊ะก็จะมีเพื่อนๆ อยู่อีก 3-4 คน แต่ ห้ามคุยกัน!! ใครคุย ใครถาม อาจารย์ประจ�ำโต๊ะ จะเข้าไป กา กา กา และกา หัวกระดาษ จากนั้นก็อัญเชิญออกนอกห้องสอบ ดังนั้นใครคิดไม่ดี ระวังหมด อนาคต!! พอได้กระดาษสูตรต�ำรับยามา เราก็อา่ นค�ำสัง่ ว่าต้องการปริมาณยา สุทธิเท่าไร? เราก็มานั่งค�ำนวณว่า จะต้องใช้สารต่างๆ ที่มีอยู่ ในต�ำรับอย่าง ละเท่าไร แสดงวิธีการค�ำนวณ ใส่อะไรก่อนหลัง เวลาตวงใช้อะไรตวง เสร็จก็ ให้อาจารย์เซ็นชื่อ จากนั้นถึงลงมือเตรียมยา ไปตักสาร ตรงนี้สำ� คัญต้องดูให้ ดีๆ อาจารย์จะมีการวางยา เอ้ย วางสารที่ชื่อคล้ายกัน (จงใจ) วางไว้ ใกล้ๆ อีกตะหาก ใครเหม่อลอยน�้ำลายยืดระวังจะหยิบผิด! อาจารย์จะหักคะแนน แบบไม่ยั้ง ยิ่งสารที่หยิบผิดเป็นตัวยาส�ำคัญในต�ำรับแล้วล่ะก็...ไม่หักคะแนน ค่ะ แต่ ได้ศูนย์ ไปเลย ตัวยาผิด เตรียมต่อไปมันก็ ไม่ ใช่แล้ว เป็นการเตือนเราว่า หากน้องจบไปท�ำงานแล้วซี้ซั้วหยิบมั่วๆ ผู้ป่วยไม่ ตายหรอกหรือ? จงตระหนักไว้ว่า “เภสัชกรเป็นวิชาชีพสาขาหนึ่งที่เกี่ยวข้อง กับชีวิตคน ความรับผิดชอบย่อมหนักหนาเช่นเดียวกัน”


ปี 5 ถึงทางแยก…เภสัชเฉพาะด้าน ช่วงสุดท้ายของการคร�ำ่ เคร่ง สนุกสนานกับวิชามากมายที่แยกออกเป็น สองสายตามที่แต่ละคนสนใจ โปรดอย่าเลือกตามเพื่อน จงเลือกตามที่ตน สนใจและชอบจะดีกว่า เพราะชีวิตนี้บางคนก็ติดเพื่อนมากเกิน ปีนี้เรายังได้มี โอกาสเรียนร่วมกันกับเพื่อนอีกสาย ก่อนจะแยกย้ายอย่างถาวรในปี 6 อาจ ได้เจอกันอีกครั้งก็แต่เฉพาะพวกฝึกงานที่เดียวกัน นอกจากจะต้องเรียนกับวิชาหลากหลายในสายของตนแล้ว เรายังต้อง ท�ำ “โครงการพิเศษ” หรือ Special Project อีกด้วย มันก็คล้ายๆ กับการ ท�ำโครงงานวิทยาศาสตร์ แต่แน่นอนมันยากกว่า หาข้อมูลซับซ้อนกว่า การ เลือกหัวข้อเรื่องที่จะท�ำต้องเลือกให้ตรงกับสายของเรา ตั้งใจท�ำให้ดี เพราะ เรื่องโครงการพิเศษที่เลือกท�ำอาจมีประโยชน์ตอนสมัครงาน บางแห่งเขาจะ ถามว่า ท�ำเรื่องอะไร เกี่ยวกับอะไรด้วยนะ เลือกหัวข้อดีๆ ท�ำให้ดีๆ ละกัน


เ ภ สั ช ก ร 2 0 1 3 263

เครื่อง HPLC (High performance liquid chromatography) เป็นเครื่องวิเคราะห์ปริมาณสาร มีบ้างเหมือนกันที่ทำ� ไปท�ำมาน�้ำหนักขึ้น อันนี้ส่วนใหญ่ท�ำเกี่ยวกับพวก อาหารเคมี เช่น ไอศกรีมผสมสารแอนติออกซิแดนซ์ ชิมไปปรับปรุงไปจนอ้วนพี บางทีกท็ ำ� ผลิตภัณฑ์ทดี่ แู ล้ว...แต่ตอ้ งการคนไปทดสอบ ซึง่ บางครัง้ ต้อง ลากเพื่อน เอาของเข้าล่อ ข่มขู่เข้าใส่ ให้ ไปช่วยชิมช่วยติ บางคนหัวข้อโดด เด้งเอาโล่ แถมได้ออกไปท�ำแล็บนอกคณะ ในขณะที่บางคนออกแนวแบ็คทู เบสิค หรือเว้ากันซื่อๆ คือ “บ้าน” แต่ ไม่ว่าจะอย่างไร จุดประสงค์หลักของ การท�ำโครงการพิเศษก็เพือ่ ให้รจู้ ักการค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ วางแผนวิจยั การด�ำเนินการวิจยั รวบรวมข้อมูล แปลผล วิเคราะห์และสรุปผล วิธีการจัดเตรียมการน�ำเสนอ ซึ่งในวันน�ำเสนอต้องเตรียมตัวให้พร้อม รับมือ สารพัดค�ำถาม ถ้าเตรียมตัวไม่ดี อาจถูก (อาจารย์) ยิงจนพรุนได้


296 B o r n t o b e ข้อสอบเกี่ยวกับค�ำนวณปริมาณยาที่ใช้ในผู้ป่วย

จะยกกรณีขนึ้ มาว่า ผูป้ ว่ ยอายุเท่านีๆ้ น�ำ้ หนักเท่านี้ จะจ่ายยา A ต้องจ่าย อย่างไร และต้องจ่ายจ�ำนวนทั้งหมดเท่าไร ตัวอย่าง ผู้ป่วยเป็นเด็กอายุ 8 ปี น�้ำหนัก 30 กิ โลกรัม จะจ่ายยาอะม็อกซีซิลลิน X มิลลิกรัม อย่างไรและกี่ขวด การตอบ ก็ตอ้ งรูก้ อ่ นว่าขนาดยาทีจ่ ะให้มหี ลักเกณฑ์ กีม่ ลิ ลิกรัม/กิ โลกรัม (น�้ำหนักตัว)/วัน จากนั้นค�ำนวณว่า เด็กหนัก 30 กิ โลกรัม จะต้องจ่ายยาต่อ วันกีม่ ลิ ลิกรัม จากนัน้ ก็มาพิจารณาดูตอ่ ว่า จะบริหารยาอย่างไร จะแบ่งจ่ายยา กีค่ รัง้ ต่อวัน ครัง้ ละเท่าไร จะจ่ายกีว่ นั เพือ่ จะได้คำ� นวณว่า สุดท้ายจะจ่ายกีข่ วด ข้อสอบเกี่ยวกับการเขียนฉลากยา

จะมีทั้งที่เป็นข้อสอบที่จัดต่อเนื่อง กับการค�ำนวณปริมาณยาที่จ่ายใน ผูป้ ว่ ย (ก็ขอ้ เดียวกันนัน่ ล่ะ) หรืออาจจะแยกออกมาเฉพาะก็ ได้ เช่น อาจบอกชือ่ ยา ความแรงมาให้ แล้วเราก็ตอ้ งเขียนฉลากยา ต้องกินอย่างไร เช้า กลางวัน เย็น ก่อนนอน ก่อนอาหารหรือหลังอาหาร ต้องมีแนะน�ำอะไรเพิ่มหรือไม่ ซึ่ง หากมีค�ำแนะน�ำเพิ่มเติมก็ต้องเขียนฉลากช่วย ตัวอย่าง ถ้ายากินแล้วง่วง ก็ ต้องระบุเพิม่ ว่ายานีก้ นิ แล้วง่วง ต้องติก๊ ให้ครบถ้วน (เขาจะเป็นฉลากส�ำเร็จรูป มาให้เราแค่ติ๊ก กรอกข้อมูล) ข้อควรระวัง ควรฝึกค�ำนวณปริมาณยาให้คล่องแคล่วว่องไว เพราะจะมีขอ้ สอบ ที่ ให้คำ� นวณเสร็จ ก็เขียนฉลากยาด้วยภายในสถานีเดียวกัน เราต้องเร็วมากๆ ไม่งั้นท�ำไม่ทัน อย่าลืมว่าเรามีเวลา 3 นาทีต่อสถานีเท่านั้น! ข้อสอบเกี่ยวกับการนับเม็ดยา

การนับเม็ดยา ถือว่าเป็นทักษะที่จ�ำเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับเภสัชกรร้านยา และโรงพยาบาล จะต้องรู้ว่าเราต้องนับเม็ดยาอย่างไรถึงจะรวดเร็ว ถูกต้อง ตามหลักวิธีการ (อึ้งล่ะสิ ว่าแค่นับเม็ดยาก็ต้องมีวิธีการด้วย) ก่อนอืน่ ให้อา่ นโจทย์ขอ้ สอบให้ดๆี ว่า เขาจะให้เรานับยาอะไรและจ�ำนวน เท่าไร มีหลายปีทขี่ อ้ สอบหัวข้อนีอ้ อกซ�ำ้ นับยาเดิม จ�ำนวนเท่าเดิม เช่น โจทย์ ระบุให้ทำ� การนับยาพาราเซตามอลจ�ำนวน 100 เม็ด พร้อมเลือกใส่ภาชนะ ที่เหมาะสม ท�ำให้หลายๆ คนที่อ่านข้อสอบเก่าจนขึ้นใจ พอมาเจอะสถานีนี้


การท�ำงานในฐานะเภสัชกร มาถึงตรงนี้ ชีวิตของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ ได้ปรับเปลี่ยนเป็นผู้ ใหญ่วัย ท�ำงานกันเรียบร้อยแล้ว ถึงจะมีบางคนทีเ่ ลือกเรียนต่อ แต่กถ็ อื ว่าเป็นผูซ้ งึ่ แบก ความรับผิดชอบต่อวิชาชีพและสังคม ในฐานะ เภสัชกร (ภก.) และ เภสัชกร หญิง (ภญ.) ซึง่ แน่นอน การท�ำงานต้องคงไว้ซงึ่ จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ที่ ได้ ซึมซับมาตลอด 6 ปีแห่งการเรียน (หรือมากกว่านัน้ ) หวังว่าน้องๆ จะยังไม่ลมื (หรือท�ำเป็นลืม) เนื่องจากวิชาชีพของเราเกี่ยวข้องกับชีวิตคน ดังนั้นเราจึง ต้องเคร่งครัดในการท�ำงาน อย่าลืมว่าสังคมเองก็คาดหวังและจับจ้อง วิชาชีพ ของเรา (รวมไปถึงสายวิทยาศาสตร์สุขภาพอื่นๆ ด้วย) ถึงแม้เราจะมี โอกาส น้อยที่จะถูกฟ้องร้อง กรณีมีข้อผิดพลาดในการดูแลรักษาผู้ป่วย แต่ก็ ใช่ว่าจะ เป็นไปไม่ ได้เลย ถ้าหากมีความผิดพลาดเกิดขึ้น นั่นหมายถึง ศรัทธาที่มีต่อ วิชาชีพ ที่จะหดหายไป เนื้อหาในส่วนนี้ จึงขอหยิบยกตัวอย่างที่ดี ที่ควรปฏิบัติตามในฐานะ เภสัชกร ซึ่งพี่ ได้มี โอกาสสัมภาษณ์เภสัชกรดีเด่น ที่อุทิศตัวเพื่อสังคมและ วิชาชีพ เพื่อเป็นข้อคิดให้น้องๆ ที่จะเข้าสู่วิชาชีพเภสัชกร โดยเฉพาะน้องๆ ที่อยากท�ำงานในสายคุ้มครองผู้บริ โภค ว่าถึงแม้เราจะเป็นเภสัชกรแต่เราก็ ท�ำงานเชิงรุกและสร้างความเปลี่ยนแปลงได้เหมือนกัน นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ของเภสัชกรที่ดี ที่พี่ ได้รวบรวมมาเพื่อน้องๆ ที่จะ เรียนจบเป็นเภสัชกรได้ ใช้เป็นแนวทางในการด�ำรงตนในฐานะ เภสัชกร (ภก.) และ เภสัชกรหญิง (ภญ.) ได้อย่างสง่างามตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และ เป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมให้วิชาชีพเภสัชกรของไทยเจริญก้าวหน้าต่อไป


332 B o r n t o b e

“สร้ า งการยอมรั บ เข้ า ถึ ง ปั ญ หา” ห ลั ก ชั ย ข อ ง เ ภ สั ช ส า ธ า ร ณ สุ ข “หากเราจะแยกงานของวิชาชีพออกจากชีวิต เราก็จะ มองว่างานมันหนักมาก แต่ความเป็นวิชาชีพมันอยู่ใน ตัวเราตลอดเวลา หากเรามองว่างานมันคือส่วนหนึ่ง ของชีวิต ให้มันกลมกลืนไปกับชีวิต เราจะมีความสุขที่ ได้ท�ำงาน”

ภาพจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) www.thaihealth.or.th


338 B o r n t o b e

สรุปคือท�ำอย่างไรให้เภสัชกร หลุดจากกรอบที่ตีว่า นี่ ไม่ ใช่งานฉัน ทัง้ ทีๆ่ งานคุม้ ครองผูบ้ ริ โภคมันเป็น งานที่เภสัชกรทุกสาขาต้องลงไปท�ำ เพียงแต่วา่ ถ้าคุณอยู่ ในระบบราชการ คุณก็จะมีบทบาทมีศักยภาพมากกว่า คนอื่นๆ ต้องท�ำเรื่องกฎหมาย เรื่อง การเฝ้าระวัง การตรวจ แต่สาขาอื่น สามารถท�ำได้ โดยใช้ศักยภาพของ ตัวเอง อีกเรื่องคือความเสี่ยง ถ้าเรา ท�ำแบบไม่มีเพื่อนลงไปในชุมชนมัน ก็เสีย่ ง แต่ถา้ ท�ำงานกับชุมชนคลุกคลี กับชุมชน คนในชุมชนจะเป็นคนลุก ขึ้นมาเชียร์ ให้คุณท�ำ ที่จังหวัดเรา ท�ำโครงการร้านยาไม่แขวนป้าย ถ้า เป็ น บางจั ง หวั ด จะใช้ วิ ธี วิ่ ง ตามจั บ และทะเลาะกัน ทั้งๆ ที่ชาวบ้านมอง ว่ามันเกี่ยวอะไรกับฉัน จังหวัดเรา

ภาคประชาสังคมเราเอาข้อมูลแพ้ ยาเอาไปให้เห็น พอเภสัชกรไม่อยู่ มันเกิดแบบนี้ บางคนเขาก็บอกว่า อยากให้เภสัชกรอยู่ร้านยา กฎหมาย ก็มีทำ� ไมเภสัชกรไม่อยู่ร้าน เรามีเสื้อ โครงการรณรงค์ ไปร้านยาถามหา เภสัชกร บางจังหวัดเขาก็ ให้เจ้าหน้าที่ ใส่ ได้ผลเหมือนเดิม แต่ที่จังหวัดพี่ ให้ชาวบ้านใส่ เวลาเขาใส่เสือ้ ไปร้านยา ถามหาเภสั ช กรเวลาที่ ไ ปร้ า นยา เราท� ำ งานร่ ว มกั บ มู ล นิ ธิ คุ ้ ม ครอง ผู้บริ โภค เรื่อง 5 ประเด็นก่อนรับยา ต้องกล้าถาม ชื่อยา สรรพคุณ และ อื่นๆ สุดท้ายคือถามว่า “เภสัชกรอยู่ ไหม” ผลคือชาวบ้านเป็นคนเรียกร้อง พอเขาเข้าร้านยาก็ถามเลยว่าเภสัชกร อยู่ ไหม พี่ว่ามันเป็นเสน่ห์ของการ ท� ำ งาน ถ้ า คุ ณ ท� ำ งานไม่ เ ป็ น มั น


พีเ่ ขียนประโยคหนึง่ เอาไว้ ในหนังสือ ถักทอเครือข่ายขยายพลังงานคุม้ ครอง ผูบ้ ริ โภค หากเราจะแยกงานของวิชาชีพออกจากชีวติ เราก็จะมองว่างานมันหนัก แต่ความเป็นวิชาชีพมันอยู่ในตัวเราตลอดเวลา หากเรามองว่างานมันคือส่วนหนึง่ ของชีวิต ให้มันกลมกลืนไปกับชีวิต เราจะมีความสุขที่ ได้ท�ำงาน ถ้าเรามองคนใน ชุมชนเป็นญาติของเรา เราจะรูส้ กึ อยากดูแลเขา อยากช่วยเขา เราจะปล่อยให้เขา แบบนี้ ได้อย่างไร เวลาที่คนอ่านข่าวดูรายการดราม่า ข่าวที่มันสะเทือนใจ เรา สงสารแต่ทกุ คนรูส้ กึ ไม่เข้าใจ ถ้าเราเอาความรูส้ กึ มาใช้ ในการท�ำงาน มันจะมีพลัง

ส� ำ หรั บ การสั ม ภาษณ์ ค รั้ ง นี้ ผู ้ เ ขี ย นถื อ ว่ า เป็ น เกี ย รติ อ ย่ า งยิ่ ง และขอ ขอบพระคุณเภสัชกรภาณุโชติหรือพี่ณุที่ ได้สละเวลาที่มีค่าทั้งๆ ที่หลังจากให้การ สัมภาษณ์เสร็จก็จะต้องเข้าประชุมต่อโดยมิ ได้พักเลย บทสัมภาษณ์นี้หากอ่านเพียงผิวเผินคงจะได้รับสารไปเพียงว่างานคุ้มครอง ผู้บริ โภคนั้นเป็นงานของเภสัชกรทุกคน แต่ถ้าเราค่อยๆ ซึมซับถ้อยค�ำของพี่ณุ เราจะได้อะไรดีๆ หลายอย่างมากมาย ทัง้ หลักการท�ำงานของตนและการท�ำงาน ร่วมกับบุคคลอืน่ การมองเรือ่ งราวต่างๆ ในมุมมองทีต่ า่ งไปจากของตนเอง การ เข้าใจผูอ้ นื่ (การมองที่ ไม่ ใช่มองว่าตนคือศูนย์กลาง) แต่สงิ่ หนึง่ ทีผ่ เู้ ขียนประทับใจ และเห็นว่าน้องๆ หลายคนมักจะเกิดปัญหานี้ จึงขอสรุปความจากบทสัมภาษณ์ ในส่วนเกี่ยวกับการท�ำงานว่า...... หากเราไม่มีความรักในงานที่ทำ� ไม่มีความภาคภูมิ ใจในงานนั้นๆ เราจะมี แต่ความท้อแท้ ความเบื่อหน่ายและต้องบ่นไปตลอดชีวิต ปราศจากความสุขใน การท�ำงานตลอดไป ดังนั้นขอให้น้องๆ จงมองเห็นคุณค่า และภาคภูมิ ใจในสิ่ง ที่ตนเองท�ำ อย่าไปมองแต่สิ่งภายนอกจนหลงลืมหลายสิ่งหลายอย่างไป


Part 4 รวมข้อมูล ส�ำคัญที่ต้องรู้ โดยทีมงาน Born to be


¤ÃÑé§à´ÕÂÇ ãªŒä´ŒµÅÍ´ä»

Êͺ¡Õè¤ÃÑé§

㪌¤Ðṹ䴌¡Õè¤ÃÑé§

0-40%

㪌䴌 2 »‚¹Ñº¨Ò¡ÇѹÊͺ

Êͺ䴌ËÅÒ¤ÃÑé§ (¨Ñ´Êͺ»‚ÅÐ 2 ¤ÃÑé§** )

7ÇÔªÒ ÊÒÁÑÞ

Á.6 ËÃ×Í à·Õº෋Ò

30%

¤ÇÒÁ¶¹Ñ´·Ò§ ÇԪҪվᾷÂ

ÇÔªÒ੾ÒÐ á¾·Â

¢Íº¤Ø³¿Í¹µ ¨Ò¡ www.f0nt.com/author/atnoon

»‚µ‹Í»‚

Êͺ䴌ËÅÒ¤ÃÑé§ (¨Ñ´Êͺ»‚ÅФÃÑé§** )

70%

Ãкº¡ÒÃÊͺ ÇÔªÒÊÒÁÑÞ 7 ÇÔªÒ à¾×èÍ¡ÒÃÃѺµÃ§Ã‹ÇÁ¡Ñ¹

໚¹¼ÙŒ·Õè¡ÓÅѧÈÖ¡ÉÒÍÂÙ‹ã¹ÃдѺªÑé¹ Á.6 ËÃ×Í à·ÕÂºà·‹Ò ËÃ×Í ÊÙ§¡Ç‹Ò Á.6 ¢Öé¹ä»

10-50%

*¡ÅØ‹ÁʶҺѹᾷÂÈÒʵà áË‹§»ÃÐà·Èä·Â **àÅ×Í¡Êͺ੾ÒÐÇÔªÒ·Õè㪌Â×蹤Ðá¹¹

Á.6 ËÃ×Í à·Õº෋Ò

30%

¤Ø³ÊÁºÑµÔ ¼ÙŒÊÁѤÃ

ÊѴʋǹ¤Ðá¹¹ ¡Ê¾·.*

20%

ÊѴʋǹ¤Ðá¹¹ Admission

¤ÇÒÁ¶¹Ñ´·Ò§ ÇÔªÒ¡ÒÃáÅÐÇÔªÒªÕ¾

Êͺ¤ÇÒÁ¶¹Ñ´ ·ÑèÇä»

¡Ò÷´Êͺ·Ò§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÃдѺªÒµÔ ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹

à¡Ã´à©ÅÕèÂÊÐÊÁ

¤×ÍÍÐäÃ

Professional and Academic Aptitude Test

General Aptitude Test

Ordinary National Educational Test

Grade Point Average X

¤ÓàµçÁÍѧ¡ÄÉ

PAT

GAT

O-NET

GPAX

¤Ó¶ÒÁ/ ¡ÒÃÊͺ

ÊÃØ»¡ÒÃÊÁѤÃÊͺ¤Ñ´àÅ×Í¡ºØ¤¤ÅࢌÒÈÖ¡ÉÒã¹ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ ÃѺµÃ§ / áÍ´ÁÔªªÑè¹ / ÃѺµÃ§Ã‹ÇÁ¡Ñ¹

366 B o r n t o b e


อ าน อาชีพ

อ าน Born to be

Born to be เภสัชกร 2013-2014 ISBN: 978-616-7720-05-0, 384 หน้า 235 บาท update! ครบทุกเรื่องที่เด็กแอดฯ ต้องรู้ นิสิตต้องเรียน

Born to be เทคนิคการแพทย์ 2013-2014 ISBN: 978-616-7720-04-3, 240 หน้า 145 บาท จากประสบการณ์ตรงของ น.ศ. และนักเทคนิคการแพทย์มืออาชีพ

Born to be หมอ 2013

ISBN: 978-616-7720-02-9, 480 หน้า 360 บาท ภารกิจสอบหมอให้ติด เรียนหมอ ให้รอด... จากประสบการณ์ตรงของนักศึกษาแพทย์

Born to be สัตวแพทย์ 2013-2014 ISBN: 978-616-7720-03-6, 344 หน้า 230 บาท

หนังสือแนะแนวเส้นทางสู่อาชีพสัตวแพทย์ เพื่อภารกิจรักษาสัตว์ ที่พูดไม่ ได้ เต็มอิ่มชีวิตการเรียน-ทำ�งานจากทฤษฎีสู่ภาคปฏิบัติ

Born to be วิศวะคอมฯ 2013

ISBN: 978-616-7720-01-2, 336 หน้า 225 บาท ตามล่าหาฝันฉันจะเป็น...วิศวะคอมฯ/ซอฟต์แวร์ วิทย์คอมฯ/สารสนเทศ ครบทุกเรื่องที่ต้องรู้ก่อนตัดสินใจ

Born to be ทันตะ

ISBN: 978-616-90160-9-0, 416 หน้า 259 บาท หนังสือแนะแนวหมอฟันที่มีเนื้อหามากสุด สนุกสุด พร้อมภาพประกอบที่เห็นแล้วอินสุดๆ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.