จุลสารโขงสาละวิน ฉบับที่ 24

Page 1

1


ทักทาย... โดยบรรณาธิการ

·Ñ¡·ÒÂ... â´ÂºÃóҸԡÒÃ

เรียนรู้เรื่องชาติพันธุ์

“การศึกษา รวบรวม เผยแพร่เรื่องราวเกี่ยวกับ เรียนรูเรื่องชาติพันธุ ชาติพันธุ์” คือภารกิจส�ำคัญของสถานอารยธรรมศึกษา “การศึ กษา รวบรวม เผยแพร รื่องราวเกีตามนโยบายของ ่ยวกับชาติพันธุ” โขง-สาละวิ น มหาวิ ทยาลัยเนเรศวร คื อ ภารกิ จศาสตราจารย์ สํ า คั ญ ของสถานอารยธรรมศึ ษา โขง-สาละวิ ดร.สุจินต์ จินายน อธิกการบดี มหาวิทยาลัย น มหาวิทยาลันเรศวร ยนเรศวร ตามนโยบายของศาสตราจารย ดร.สุจินต จิ ด้วยทุ กชุมชน ทุกสังคม ล้วนมีความหลากหลาย นายน อธิกทางด้ ารบดีามนชาติ หาวิทพยาลั ชน ทุกประเพณี สังคม ลวน ันธุ์ ยซึนเรศวร ่งหมายถึดงววิยทุ ถี กวัฒชุมนธรรม มีค วามหลากหลายทางด านชาติพั น ธุ ซึ่ งวหมายถึ ง วิถี วั ฒ นธรรม ย่อมมีความหลากหลายตามไปด้ ย ประเพณียอมมีคการอนุ วามหลากหลายตามไปด วย รักษ์ ประยุกต์ ผสมผสาน อาจท�ำให้บางสิ่ง ก ษ ประยุ ก ต ผสมผสาน อาจทํ า บ างสิ่งสูญหาย การอนุ ร ั สูญหาย บางเรื่องราวอาจกลับกลาย ด้ให วยกระบวนการ บางเรื่องราวอาจกลั กลายำรงอยู ดวยกระบวนการ รงอยู กลวิธีเพื่อบการด� ่ของเผ่าพันธุกลวิ ์ จึงธจ�ีเำพืเป็่อการดํ นอย่าางยิ ่ง  ของเผ า พั นทีจ่ธุะต้  จึอง จํงมีากเปารศึ น อย จ ะต องงมี ก ารศึสร้กาษา ย และ กษาา งยิวิจ่ งยั ที่และสั เคราะห์ งองค์วิ จคัวามรู ้ สั ง เคราะห ส ร า งองค ค วามรู เ พื่ อ ส ง เสริ ม และสร า งเครื อ ข า ยงาน เพื่อส่งเสริมและสร้างเครือข่ายงานวิชาการ งานวิจัย วิชาการ งานวิจัยดานชาติพันธุในภูมิภาคเอเชีย ด้านชาติพันธุ์ในภูมิภาคเอเชีย โครงการประชุมวิชาการนานาชาติดานชาติพันธุในเอเชีย ้านชาติ พันธุ์ ครั้งที่ ๑ “ชีวิตโครงการประชุ อํานาจ ชาติพมันวิชธุ”าการนานาชาติ เปนความรวดมมื อของสถาน ในเอเชี ครั้งที่ ๑ น“ชีคณะสั วิต อ�งำคมศาสตร นาจ ชาติพมหาวิ ันธุ์” ทเป็ นย อารยธรรมศึ กษา ยโขง-สาละวิ ยาลั อของสถานอารยธรรมศึ นเรศวร ความร่ และหนวมมื ว ยงานร ว มภาคี ใ นเอเชี ยกษาวั นโขง-สาละวิ ที่ ๒๐ – น๒๐ มหาวิทยาลัยนเรศวร ยงาน สิง หาคม คณะสั ๒๕๕๘งคมศาสตร์ ณ อาคารเอกาทศรถ มหาวิ ทและหน่ ยาลั ยวนเรศวร วมภาคีนในเอเชี ่ ๒๐ – ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ รายละเอียร่ดงานเป อยางไรย วัผูนอําทีนวยการสถานอารยธรรมศึ กษา ณ อาคารเอกาทศรถ มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร รายละเอี ย ด โขง-สาละวินพรอมขานไขในหนาถัดไป งานเป็้อนารยธรรมศึ อย่างไร ผูก้อษา �ำนวยการสถานอารยธรรมศึ นอกจากนี โขง-สาละวินยังมีการดําเนิกนษางาน พร้อมขานไขในหน้ ดา นทํ า นุบโขง-สาละวิ ํารุงศิลปวันฒนธรรมอี กมากมายาถัซึด่งไปจุลสารโขงสาละวิน ฉบับนี้ไดเก็บเกี่ยวบางส วนมาร อยเรียง เพียงเพืก่อษา ใหทโขง-สาละวิ ุกทานไมลืมนใน นอกจากนี ้สถานอารยธรรมศึ รากเหงาของตนเอง ยังมีการด�ำเนินงานด้านท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรมอีกมากมาย ซึ่ ง จุ ล สารโขงสาละวิ น ฉบั บ นี้ ไ ด้ เ ก็ บ เกีพรปวี ่ ย วบางส่ นมาวง ณ วทองด ร้อยเรียง เพียงเพือ่ ให้ทกุ ท่านไม่ลมื ในรากเหง้าของตนเอง

พรปวีณ์ ทองด้วง

เอกลักษณ เปนศูนยกลางดานศิลปวัฒนธรรม (Center of Arts) ในระดับชาติ ปรัชญา สรางปญญา แสวงหาและสรางสรรค มุงสูสังคมแหงสันติสุข วิสัยทัศน ภายใน ๔ ป เปนองคกรดานวิจัย และพัฒนานวัตกรรมดานศิลปวัฒนธรรม

2

นวยการรั กียÂรติ ศผู้ท³รงคุ ¼ÙผูÍŒ ้อÒí �ำ¹Ç¡ÒÃÃÑ ºâÅ‹บàโล่ ¡ÕÂเÃµÔ È¼Ùย·Œ ç¤Ø ÇØ²Ô ณวุฒิ §ËÇÑงหวั ´¾ÔÉดพิ ³Øษ âÅ¡Í‹ Ò§µ‹Íà¹×างต่ Íè § อเนื่อง ท�·íำÒ§Ò¹¾Ñ งานพั²ฒ¹Ò¨Ñ นาจั ณุโลกอย่ ¼ÙผูŒª้ช‹ÇÂÈÒʵÃÒ¨Òà´Ã.ÇÈÔ ¹ »˜ÞนÞÒÇØ ¼ÙŒÍíҹǡÒà ่วยศาสตราจารย์ ดร.วศิ ปัญ¸µÃС٠ญาวุÅธตระกู ล ผู้อ�ำนวยการ ʶҹÍÒøÃÃÁÈÖ¡ÉÒ⢧-ÊÒÅÐÇÔ ¹ ÁËÒÇÔ·นÂÒÅÑมหาวิ ¹àÃÈÇà ࢌÒยนเรศวร สถานอารยธรรมศึ กษา โขง-สาละวิ ทยาลั ÃѺâÅ‹à¡ÕÂõÔÂÈ㹰ҹмٌ·Ã§¤Ø³ÇØ²Ô à»š¹¼ÙŒ·Õ·íҧҹ㹡Òà เข้ารับโล่เกียรติยศในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นผู้ที่ท�ำงานในการ ¾Ñ²¹Ò¨Ñ§ËÇÑ´¾ÔɳØâÅ¡Í‹ҧµ‹Íà¹×Íè §¨Ò¡ÊÁÒ¤ÁÊ×èÍ·ŒÍ§¶Ôè¹ ã¹ พั§Ò¹©Åͧ¤ÃºÃͺ ฒนาจังหวัดพิษòณุ»‚โÊลกอย่ างต่อเนื่องจากสมาคมสื่อท้องถิ่น ÁÒ¤ÁÊ×Íè ·ŒÍ§¶Ôè¹ àÁ×èÍÇѹ·Õè òõ ในงาน ๒ ปีÁÈÃÕ สมาคมสื ท้องถิ·ÂÒÅÑ ่น เมื ่อวันที่ ๒๕ ¡Ã¡®Ò¤Áฉลองครบรอบ òõõø ³ ËÍ»ÃÐªØ ÇªÔÃ⪵Ô่อÁËÒÇÔ ÂÃÒª กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ หอประชุมศรีวชิรโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ Àѯ¾ÔºÙÅʧ¤ÃÒÁ พิบูลสงคราม

สารจากผอ. หน้า ๓ สานศิลป์ หน้า ๔ เลาะรั้วงานวิจัย หน้า ๕ ลมปราณ หน้า ๖ ข.ขีด ข.เขียน หน้า ๘ เป็นเรื่องเป็นราวหน้า ๙ เล่นเกม หน้า ๑๑ ติดตาม...ร้อยเรื่องราว หลากวิถี µÔ´µÒÁ...ÃŒ ÂàÃ×èͧÃÒÇ ËÅÒ¡ÇÔ¶Õ ่อนบ้าน ที่เมือÍงไทยและประเทศเพื ·ÕèàÁ×ͧä·ÂáÅлÃÐà·Èà¾× ¹ºŒÒ¹ ในรายการคุณค่èÍาอารยธรรม ã¹ÃÒ¡Òäسทุ¤‹กÒวัÍÒøÃÃÁ นพฤหัสบดี ๑๓.๐๐ ·Øเวลา ¡Çѹ¾ÄËÑ Êº´Õ– ๑๓.๓๐ น. ทางสถานี วิทยุกระจายเสี ยงมหาวิ àÇÅÒ ñó.ðð – ñó.óð ¹. ทยาลัยนเรศวร เอฟเอ็ม ๑๐๗.๒๕ เมกกะเฮิรทซ์ ·Ò§Ê¶Ò¹ÕÇÔ·ÂØ¡ÃШÒÂàÊÕ§ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà และทาง www.nufmradio.com àÍ¿àÍç Á ñð÷.òõ àÁ¡¡ÐàÎÔ÷« หรือฟังย้อนหลั งได้ทาง http://www.mscs.nu.ac.th áÅзҧ www nufmradio com


สารจากผอ. ผศ.ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล

“ชีวิต อ�ำนาจ ชาติพันธุ์” องค์ความรู้สู่การพัฒนา สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร มีเป้าหมายส�ำคัญทีจ่ ะเป็น ศูนย์กลางขององค์ความรูท้ างด้านลุม่ แม่นำ�้ โขงและลุม่ น�ำ้ สาละวิน จึงได้เกิดการค้นคว้า รวบรวม สร้างเครือข่ายนักวิจัย นักวิชาการทางด้านชาติพันธ์ุในประเทศไทยและอาเซียน ตลอดจน นักวิชาการที่ศึกษาเรื่องราวดังกล่าวในประเทศต่าง ๆ ในเอเชีย ในวาระครบรอบ ๒๕ ปีแห่งการสถาปนา มหาวิทยาลัยนเรศวร ในปี ๒๕๕๘ สถานอารยธรรม ศึกษา โขง-สาละวินจึงจัดประชุมวิชาการนานาชาติ ด้านชาติพนั ธุใ์ นเอเชีย ครัง้ ที่ ๑ ชีวติ อ�ำนาจ ชาติพนั ธุ์ ขึน้ ในวันที่ ๒๐ – ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘ ณ อาคารเอกาทศรถ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยเป็นการศึกษาเรื่องราวของวิถีชีวิต ผู้คน การต่อรอง และการด�ำเนินวิถีชีวิต ของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในเอเชีย ประกอบด้วย การปาฐกถาพิเศษ ในหัวข้อ “การศึกษาชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้” โดย Prof. Dr. Volker Grabowsky จาก University of Hamburg การเสวนาวิชาการ เรื่อง “เลงดอน แถน ผี: อ�ำนาจของชาติพันธุ์ ในชาติพันธุ์ของอ�ำนาจ” โดย Prof. Dr. Puspa Gogoi Centre for Tai, Tribal & NE India Studies ผู้เชี่ยวชาญด้านไทอาหม, Prof. Dr. Dao Cheng Hua จาก Yunnan Nationalities University และศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อรรถ นันทจักร์ อุปนายก สภามหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ผู้เชี่ยวชาญเรื่องชนชาติไทในเวียดนาม การน�ำเสนอผลงานทางวิชาการ โดยนักวิจยั นักวิชาการ ในหัวข้อ ชาติพนั ธุ์ กับศิลปะการแสดง, ชาติพนั ธุก์ บั การท่องเทีย่ วนานาชาติ, ชาติพนั ธุก์ บั ภาษาและวรรณกรรม, ดนตรีชาติพนั ธุ,์ สังคมวิทยาชาติพนั ธุ,์ ชาติพนั ธุใ์ นสังคมนานาชาติและภาคกลางของสยาม, อ�ำนาจ ชีวิต และกลุ่มชาติพันธุ์ในลุ่มน�้ำปิง วัง ยม และน่าน, ลาวศึกษา องค์ความรูเ้ หล่านีจ้ ะเป็นการเปิดพรมแดนเรือ่ งชาติพนั ธุ์ ให้เห็นความหลากหลาย ของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและทิศทางในอนาคตว่ากลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียจะมีการต่อรอง แสดงอ�ำนาจ มีการแย่งชิงอ�ำนาจ มีการด�ำรงอยู่และมีการเคลื่อนไหวอย่างไร ขอเชิญนักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ นิสิต นักศึกษา และผู้สนใจเข้าร่วม โครงการได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น สอบถามรายละเอียดและส�ำรองที่นั่งได้ที่ งานวิจัยและสารสนเทศ สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร โทร. ๐ ๕๕๙๖ ๑๒๐๔ – ๕ และทาง www.nuks.nu.ac.th

3


สานศิลป์ โดย...พรปวีณ์ ทองด้วง

ทดลองตลาด...กระเป๋าต้นแบบจากโครงการพัฒนาผ้าทอร่วมสมัย ฝีมือกลุ่มทอผ้า ส�ำรวจความคิดเห็น ก่อนเข้าสู่กระบวนการผลิต ช่วงเดือนมิถนุ ายนทีผ่ า่ นมา บุคลากรสถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร น�ำโดย นางสาววรรณชลี กุลศรีไชย หัวหน้าโครงการ “พัฒนาผ้าทอร่วมสมัย ระยะที่ ๒ : แปรรูปผ้าทอ เป็นกระเป๋า” ลงพื้นที่ติดตามผลและน�ำผลิตภัณฑ์ตัวอย่างฝีมือ กลุ่ มทอผ้ า ในเขตภาคเหนือตอนล่างที่ได้จ ากการฝึ ก อบรมเชิ ง ปฏิบัติการ เมื่อวันที่ ๒๕ – ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๘ ได้แก่กระเป๋าจาก ผ้าทอ จ�ำนวน ๙ แบบ ออกทดลองตลาด ณ วัดพระศรีรตั นมหาธาตุ วรมหาวิหาร, ท่าอากาศยานพิษณุโลก และรูท ๑๒ ต�ำบลเข็กน้อย อ�ำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการทดลองตลาด พบว่า ผู้ที่สนใจผลิตภัณฑ์กระเป๋าผ้าทอเป็นผู้หญิง อายุ ๔๐ – ๕๐ ปี ส่วนใหญ่ศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพข้าราชการ มีรายได้ตั้งแต่ ๑๕,๐๐๐ บาทขึ้นไป ส่วนใหญ่เคยซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าทอที่แปรรูปเป็น กระเป๋าเพื่อใช้เอง และรองลงมาก็คือเป็นของฝาก โดยระยะเวลาในการซื้อไม่แน่นอน แล้วแต่ความพึงพอใจ ส�ำหรับความคิดเห็นในด้านราคา แบ่งออกเป็นกระเป๋าที่แปรรูปจากผ้าฝ้าย ควรจะมีราคา ๕๐๐ – ๑,๐๐๐ บาท ผ้าไหมควรจะมีราคา ๑,๐๐๐ – ๒,๕๐๐ บาท และถ้าย้อมด้วยสีธรรมชาติ ควรจะมีราคา ๑,๐๐๐ – ๑,๕๐๐ บาท ส่วนสีเคมี ควรจะมีราคา ๕๐๐ – ๑,๐๐๐ บาท ด้านเหตุผลประกอบการตัดสินใจซือ้ กระเป๋าจากผ้าทอนัน้ อันดับแรกเลือกจาก รูปแบบกระเป๋า รองลงมาคือราคา สีสันของกระเป๋า และปัจจัยอื่นๆ ประกอบ ได้แก่ สายกระเป๋าควรใช้สายหนังเป็นอันแรก รองลงมาคือสายหนังเทียมและผ้า ตามล�ำดับ ผลที่ได้จากการทดลองตลาดในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการก�ำหนดทิศทางการพัฒนา สร้างสรรค์ผ้าทอ เป็น กระเป๋า ตลอดจนผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ให้ตรงตามความต้องการของตลาด อันเป็นวัตถุประสงค์ของโครงการ “พัฒนาผ้าทอ ร่วมสมัย ระยะที่ ๒ : แปรรูปผ้าทอเป็นกระเป๋า” ในการพัฒนาผ้าทอต้นแบบสู่การแปรรูปเป็นกระเป๋าแบบต่างๆ และ ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางด้านการออกแบบ เทคนิคการตัดเย็บ และเทคนิคการตกแต่งกระเป๋า พร้อมทั้งเพิ่มขีดความสามารถ ทางด้านแข่งขันทางการตลาดให้กับผลิตภัณฑ์ผ้าทอ

4


เลาะรั้วงานวิจัย

โดย... สุเพ็ญ ทาเกิด

แข่งขันสาวไหม สายใยภูมิปัญญาท้องถิ่น นับเป็นความโชคดีอย่างยิ่งของผู้ศึกษาโครงการ “สืบสานภูมิปัญญาผ้าทอไทย” ที่มีโอกาสได้เข้าร่วม กิจกรรมการประกวดเส้นไหมไทยพื้นบ้าน ซึ่งเป็นการ แข่งขันสาวไหมระดับจังหวัด ครั้งที่ ๔ ของชาวบ้าน หนองหญ้าปล้อง หมู่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๖ ต�ำบลชมพู อ�ำเภอ เนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก เมือ่ วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๘ จั ด โดยส� ำ นั ก งานหม่ อ นไหมเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เขต ๑ จังหวัดแพร่ กรมหม่อนไหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด้วยพระมหากรุณาธิคณ ุ ในสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงให้การสนับสนุนส่งเสริมการใช้ผ้าไทย ของแต่ละภาคได้ฟน้ื ชีวติ งานหัตถกรรมผ้าทอไทยมรดกวัฒนธรรมภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่นของชาติให้กลับคืนมาอีกครั้ง ก่อนที่จะถูกลืมเลือนและสูญหายไป ชาวบ้านหนองหญ้าปล้องส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมีวถิ ชี วี ติ ความเป็นอยู่ที่เรียบง่ายแบบวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้ยังมีการ ปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเพื่อน�ำไว้ใช้ทอผ้าส�ำหรับใช้ในครัวเรือน การทอผ้า มี บทบาทเกี่ ยวข้ อ งกั บชาวบ้า นหนองหญ้ าปล้อ งมายาวนานถื อได้ ว ่า เป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตของท้องถิ่นบ้านหนองหญ้าปล้อง ผลิตภัณฑ์ “ผ้าทอชมภู” จึงเป็นอีกหนึง่ ความภาคภูมใิ จของมรดกภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ จังหวัดพิษณุโลก สายใยภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ของชาวบ้านหนองหญ้าปล้อง ทีต่ ระหนักเห็นถึงคุณค่า ยังคงหวงแหนรักษาและสืบสานมรดกวัฒนธรรม ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ การทอผ้าเอาไว้ใช้เป็นประโยชน์แก่ตวั เอง ท้องถิน่ และ ประเทศชาติ ตลอดจนการถ่ายทอดให้คนรุ่นใหม่ได้เรียนรู้ตลอดมา

5


ลมปราณ โดย... สุเพ็ญ ทาเกิด

ท่องเที่ยว เก็บเกี่ยววิถีไทย

สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ สนับสนุนการศึกษาวิจัย และ การท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมเกี่ยวกับการพัฒนาองค์ความรู้ด้านอารยธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และชาติพันธุ์ โดยท�ำหน้าที่ ประสานสัมพันธ์สร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และเชื่อมโยงองค์ความรู้ ในมิติต่าง ๆ ผ่านพิพิธภัณฑ์ผ้า พิพิธภัณฑ์ชีวิต และหอศิลป์ ไปสู่กลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่เขตภาคเหนือตอนล่าง ลุ่มน�้ำโขง และลุ่มน�้ำสาละวิน ในการศึกษาแนวทางการพัฒนารูปแบบการจัดการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม นับเป็นหนึ่งในนโยบายที่ส�ำคัญของ สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน เนื่องจากอารยธรรม ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และกลุม่ ชาติพนั ธุเ์ ป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ของชาติทมี่ คี ณ ุ ค่า มีความส�ำคัญ และความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวที่ได้มีการอนุรักษ์ถ่ายทอดสืบเนื่องมาเป็นเวลานาน ประกอบกับในปี ๒๕๕๘ นี้ เป็น “ปีท่องเที่ยว วิถีไทย ๒๕๕๘” ทีร่ ฐั บาลได้รณรงค์สง่ เสริมให้ประชาชนท่องเทีย่ วอยูใ่ นประเทศไทย สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน จึงได้รว่ มกับการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) จัดท�ำโครงการท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม “เส้นทางรัก(ษ์)” อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน เพื่อเป็นการน�ำร่องศึกษาส�ำรวจความต้องการของนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไว้เป็นเบื้องต้น เพราะว่าแต่ละพื้นที่ของจังหวัดต่าง ๆ ในประเทศไทย ทุกพื้นที่ล้วนมีคุณค่าเชิงวัฒนธรรมที่นักท่องเที่ยว จะได้รับความรู้ ได้ประสบการณ์น่าประทับใจจากการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สามารถสะท้อนให้เห็นได้เป็นอย่างดีถึงสภาพ ภูมิทัศน์ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสภาพทางเศรษฐกิจ สภาพทางสังคม หรือขนบธรรมเนียม ประเพณี เทศกาล งานฉลอง รวมถึงสินค้าพืน้ เมืองในแต่ละเขตพืน้ ทีอ่ นั เป็นประโยชน์ ทัง้ ด้านองค์ความรู้ คุณค่าแก่สงั คม และ ประเทศชาติ ซึ่งจะน�ำไปสู่ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ สร้างรายได้ให้แก่ชุมชนและท้องถิ่น ตลอดจนยังเป็นการกระตุ้น ปลุกจิตส�ำนึกให้ประชาชนรักและหวงแหน มีความภาคภูมใิ จในแผ่นดินเกิดจะได้ชว่ ยกันอนุรกั ษ์สบื ทอด และธ�ำรงรักษามรดก วัฒนธรรมของชาติไว้ให้คงอยูย่ าวนาน นอกจากนีย้ งั เป็นประโยชน์ตอ่ การน�ำไปวางแผนพัฒนาสร้างสรรค์บริหารจัดการรูปแบบ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของเขตพื้นที่ต่าง ๆ ให้คงอยู่ได้อย่างเหมาะสมและยั่งยืน ตลอดไป

6


อิ่มบุญ อุ่นใจ “เส้นทางรักษ์” อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ “เหล็กน�้ำพี้ลือเลื่อง เมืองลางสาดหวาน บ้านพระยาพิชัยดาบหัก ถิ่นสักใหญ่ของโลก”

ภาพจากเว็บไซต์

แพร่ “หม้อห้อมไม้สัก ถิ่นรักพระลอ ช่อแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพะเมืองผี คนแพร่นี้ใจงาม”

บ้านอนุรักษ์พัฒนาภูมิปัญญาหม้อห้อม ชุมชนชาวไทยพวน บ้านทุ่งโฮ้ง

วัดสะแล่ง (วัดป่าสุคันธรรมาราม)

ขันโตกบ้านวงศ์บุรี

น่าน “แข่งเรือลือเลื่อง เมืองงาช้างด�ำ จิตรกรรมวัดภูมินทร์ แดนดินส้มสีทอง เรืองรองพระธาตุแช่แห้ง”

7


ข.ขีด ข.เขียน สีน�้ำมัน

ร่วมมัดลายใส่ผืนผ้า ศึกษาศิลปะ ภูมิปัญญาไทย ในเส้นทางการเรียนรู้มหาวิทยาลัยนเรศวร “น้อง ๆ คะ หยิบผ้าคนละ ๑ ผืน แล้วน�ำหนังยาง กิ๊ปหนีบผ้าหรือวัสดุอื่น ๆ มามัด หนีบบนผ้าได้เลยนะคะ พอเสร็จแล้วน�ำไปย้อมสีก็จะออกมาเป็นลวดลายตามที่เรา มัดไว้ค่ะ” สิ้นเสียงของพี่เปีย เด็กน้อยจากโรงเรียนอนุบาล ประชาราษฎร์กก็ รูกนั เข้ามาหยิบ จับ มัด ย้อมกันอย่างสนุกสนาน ระหว่างรอให้ผ้าแห้ง ก็เป็นหน้าที่ของพี่เอ๊ะ พี่น้อง พี่เม่นที่พาน้อง ๆ ศึกษากระบวนการทอผ้าฝ้าย ผ้าไหม ตั้งแต่การปลูกฝ้าย เก็บฝ้าย ตากฝ้าย เลีย้ งไหม สาวไหม การท�ำเส้นฝ้าย เส้นไหม การย้อมสี ไปจนถึง การทอเป็นผืนผ้าด้วยเทคนิคต่าง ๆ ซึง่ เรือ่ งนีต้ อ้ งยกให้พเี่ อ๊ะผูม้ วี ทิ ยายุทธ์ ด้วยคลุกคลีอยูก่ บั การทอผ้าตัง้ แต่เด็ก “การทอแบบนี้เรียกว่าการขิดนะคะ คือการสะกิดเส้นฝ้าย เส้นไหม ให้เกิดเป็นลวดลายต่าง ๆ และลายทีเ่ ห็นนีค้ อื ลายดอกปีบ เป็นพันธุไ์ ม้ประจ�ำจังหวัดพิษณุโลกค่ะ” เด็ก ๆ เกิดนึกสนุก ขอนัง่ กีท่ อผ้า สะกิดเส้นฝ้ายดูบา้ ง แน่นอนว่าไม่เกิดเป็นลวดลายบนผืนผ้า แต่พวกเรามองเห็นความงดงามในหัวใจของน้อง ๆ เรียนรู้กระบวนการทอผ้าแล้ว มาชื่นชมผืนผ้า ผลิตภัณฑ์ผ้า เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ณ ห้อง พิพิธภัณฑ์ผ้าต่าง ๆ ของแต่ละชาติพันธุ์ เช่น ไทครั่ง ไทด�ำ ไทพวน ที่ยังคงวัฒนธรรมการทอผ้าและการ แต่งกายอันเป็นเอกลักษณ์ “ทีน่ คี่ อื ห้องพิพธิ ภัณฑ์ผา้ จิตรลดา ซึง่ เป็นโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริในสมเด็จพระนางเจ้า สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ มีผา้ ฝ้าย ผ้าไหม และผลิตภัณฑ์ในโครงการของพระองค์ นีค่ อื ผ้ายกลวดลายโบราณ และลายประยุกต์ที่ต้องใช้ฝีมือและเวลาในการทอเป็นเดือน พิเศษสุดก็คือชุดฉลองพระองค์ที่พระราชทาน ให้แก่มหาวิทยาลัยนเรศวร ฉลองพระองค์เหล่านี้ล้วนเป็นต้นแบบของชุดไทยอันหลากหลาย เป็นต้นก�ำเนิด ของการฟื้นฟู อนุรักษ์และสืบสานผ้าทอไทยให้ดังกระฉ่อนไปทั่วโลก” จากอาคารอเนกประสงค์เดินต่อมา ณ อาคารวิสุทธิกษัตริย์ ภิรมย์ผลงานศิลปะนานาประเภท ทั้งจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย และสื่อผสม ฝีมือของศิลปินจากทั่วสารทิศที่สลับ สับเปลี่ยนหมุนเวียนมาให้ชื่นชม จะศึกษาเป็นแนวทางในการสร้างสรรค์ผลงาน หรือทัศนาเพื่อความ เพลิดเพลิน เสริมจินตนาการก็ได้ตามสะดวก “รู้มั้ยว่า ชิ้นไหนเป็นผลงานของอาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์” เสียงของพี่สิงห์แว่วมา พาให้น้อง ๆ มองหาผลงานกันยกใหญ่ “ตอนนั้นอาจารย์เฉลิมชัยถามว่าต้องการผลงานราคากี่ล้าน ก็บอกไปว่า ไม่เน้นที่ราคา ขอให้เป็นผลงาน ที่จะเป็นประโยชน์แก่เยาวชน อาจารย์ก็หอบผลงานชิ้นนี้มาให้ด้วยตัวเอง” พี่สิงห์เดินมาหยุดอยู่ที่ผลงานวาดเส้นชื่อโคลัมโบ “นี่คือผลงานชิ้นแรก ๆ ของอาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ตั้งแต่สมัยยังเรียนอยู่ นับเป็นจุดเริ่มต้นก่อนก้าวสู่การเป็นศิลปิน ที่สร้างสรรค์ผลงานสุดอลังการในปัจจุบัน” ดื่มด�่ำกับผลงานศิลปะของศิลปินแล้ว ก็ถึงเวลาชื่นชมงานศิลปะของตัวเองกันบ้าง เสียงพีเ่ ปียเรียกชือ่ น้อง ๆ ทีละคนให้ไปรับผ้ามัดย้อมทีท่ ำ� ไว้ ก็เกิดเสียงเซ็งแซ่เป็นนกกระจอกแตกรัง เสียงเรียกหาผ้าของตัวเอง เสียงอธิบาย เสียงหัวเราะ ชวนดูลวดลายที่มีเพียงผืนเดียวในโลก ปิดท้ายด้วยการถ่ายภาพร่วมกัน เป็นสัญลักษณ์ว่า น้อง ๆ เป็นหนึ่งในผู้ศึกษา อนุรักษ์ และสืบสาน ศิลปะ ภูมิปัญญาไทย ณ เส้นทางการเรียนรู้มหาวิทยาลัยนเรศวร คุณก็สามารถชืน่ ชม ด�ำรงความเป็นไทยได้ทงี่ านส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร โทรศัพท์ ๐ ๕๕๙๖ ๑๒๐๗ และ ๑๒๑๘

8


เป็นเรื่องเป็นราว

เป็นวิทยากรบรรยาย “ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน” โดย ก�ำปั่น ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจให้ก�ำลังพลรักษาความมั่นคงภายใน ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเมย์ฟลาวเวอร์ แกรนด์ พิษณุโลก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล ผู้อ�ำนวยการสถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อ “ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN SOCIO – CULTURAL COMMUNITY : ASCC)” ในการประชุมเชิงปฏิบัติการ การบูรณาการบริหารจัดการชายแดนเพื่อเข้าสู่ประชาคม อาเซียน กองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ภาค ๓ ประจ�ำปี ๒๕๕๘ โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ ให้กำ� ลังพลทีบ่ รรจุในสายงานรักษาความมัน่ คงภายใน และปฏิบตั หิ น้าที่ ในพืน้ ที่ ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ ได้มคี วามรูค้ วามเข้าใจในการทีป่ ระเทศไทยและประเทศสมาชิกอาเซียนอีก ๙ ประเทศ มีการรวมตัวกัน เป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๘ ซึ่งประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องปฏิบัติตามแผนการจัดตั้งประชาคมอาเซียนทั้ง ๓ เสาหลัก ได้สมบูรณ์ตามที่ผู้น�ำอาเซียนตกลงกันไว้ เป็นวิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ บุคลากรสถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นวิทยากรในการอบรม เชิงปฏิบัติการ “การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าพื้นเมือง” จัดโดยมหาวิทยาลัยพะเยา เมื่อวันที่ ๓ – ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ต�ำบลจ�ำป่าหวาย อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ประกอบด้วยการบรรยายเรื่อง พื้นฐาน การออกแบบผลิตภัณฑ์แปรรูปผ้าพื้นเมือง และฝึกปฏิบัติการประดิษฐ์ ตกแต่งกระเป๋าจากผ้าทอและ ผ้าชนิดต่าง ๆ จ�ำนวน ๕ รูปแบบให้แก่กลุ่มแม่บ้าน เพื่อให้สามารถน�ำไปพัฒนาต่อยอด เพิม่ คุณค่าและ มูลค่าของผลิตภัณฑ์ในชุมชนต่อไป โครงการ “เสริมสร้างสายใยรักในครอบครัวผ่านการอบรมทักษะด้านวิชาชีพ” จัดโดยศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลกร่วมกับคณะผู้พิพากษาสมทบ เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุม ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก เป็นการ บรรยายและฝึกปฏิบัติการตกแต่งข้าวของเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น หมวก กระเป๋า กล่อง ตะกร้า กล่องทิชชู ด้วยเทคนิคเดคูพาจ ให้กับผู้ปกครอง เด็กและเยาวชนที่อยู่ระหว่างกระบวนการ พิจารณาพิพากษาคดีของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดพิษณุโลก เพือ่ เป็นหนึง่ ทางเลือก ในการพัฒนา สร้างสรรค์เป็นงานอดิเรกหรือประกอบอาชีพต่อไป จัดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและวัฒนธรรมชุมชนลุ่มน�้ำยม ณ หมู่บ้านนาต้นจั่น จังหวัดสุโขทัย เมือ่ วันที่ ๒๘ – ๒๙ มิถนุ ายน ๒๕๕๘ สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัย นเรศวร จัดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและวัฒนธรรมชุมชนลุ่มน�้ำยม ตามโครงการอนุรกั ษ์ สืบสานและพัฒนางานท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม โดยผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล ผู้อ�ำนวยการ พร้อมด้วยบุคลากร น�ำนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาล บรมราชนนี พุทธชินราช ในรายวิชาอารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ลงพื้นที่ ณ หมู่บ้าน นาต้นจั่น ต�ำบลบ้านตึก อ�ำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย หมู่บ้านอุตสาหกรรมชนบท เพื่อการท่องเที่ยว ที่ยังด�ำรงวิถีแห่งอารยธรรมและภูมิปัญญาดั้งเดิม โดยนักศึกษาเข้าร่วม ฐานกิจกรรมกับทีมนักวิจัยชาวบ้านและมัคคุเทศก์ท้องถิ่น ประกอบด้วยการทอผ้าหมักโคลน การตัดเย็บแปรรูปเป็นเสื้อผ้าและข้าวของเครื่องใช้ อาหารพื้นถิ่น เรือนพื้นถิ่น ภูมิปัญญา กับการอยูก่ บั ธรรมชาติ เครือ่ งเล่นบาร์โหน ดนตรีพนื้ บ้าน การจัดการชุมชนในรูปแบบโฮมสเตย์ หัตถกรรมเฟอร์นเิ จอร์จากรากไม้ การแปรรูปไม้ไผ่สงู่ านจักสาน อุปกรณ์เครือ่ งใช้ตา่ ง ๆ ท�ำให้ เกิดการศึกษา ซึมซับ เรียนรู้ และตระหนักในคุณค่าของอารยธรรม ก่อกระบวนการคิดวิเคราะห์ เป็นองค์ความรู้ร่วมสมัยจากรากเหง้าแห่งภูมิปัญญา

9


จัดโครงการท่องเที่ยว “เส้นทางรัก(ษ์)” ณ จังหวัดแพร่ น่าน อุตรดิตถ์ สืบค้นองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมลุ่มน�้ำน่าน สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน จัดโครงการท่องเทีย่ ว “เส้นทางรัก(ษ์)” ขึน้ เมือ่ วันที่ ๒ – ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ จังหวัดแพร่ น่าน อุตรดิตถ์ โดยมีผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล ผูอ้ ำ� นวยการสถานอารยธรรมศึกษา โขง- สาละวิน พร้อมด้วย บุคลากร และคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดพิษณุโลก ร่วมศึกษา สืบค้น เก็บรวบรวมข้อมูล องค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนเสริมสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมลุ่มน�้ำน่าน ณ พิพิธภัณฑ์โกมลผ้าโบราณ คุ้มเจ้าหลวงเมืองแพร่ บ้านวงศ์บุรี ศูนย์การเรียนรู้การย้อมผ้าหม้อห้อมบ้านทุ่งโฮ้ง วัดสะแล่ง วัดพระธาตุช่อแฮ วัดพระบาทมิ่งเมือง วัดพระธาตุแช่แห้ง วัดภูมินทร์ วัดช้างค�้ำวรวิหาร โฮงเจ้าฟองค�ำ “เส้นทางรัก(ษ์)” เป็นกิจกรรมจากผลงานการวิจยั ในโครงการจัดการท่องเทีย่ ว เชิงศิลปวัฒนธรรมอย่างยัง่ ยืนในจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ และน่าน โดยผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล ผู้อ�ำนวยการสถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน ร่วมกับ คณะวิจยั จากมหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบลู สงคราม และการท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทย (ททท.) ส�ำนักงานแพร่ มีเป้าหมายสร้างสรรค์การท่องเที่ยวเชิงศิลป วัฒนธรรม เพือ่ พัฒนาศักยภาพให้กบั องค์ความรูด้ า้ นศิลปวัฒนธรรม ได้รบั การสนับสนุน จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมประชุมก�ำหนดแนวทางการจัดโครงการประชุมนานาชาติ “ภูดู่” ประตูแห่งมิตรภาพและโอกาส เมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมคณะรัฐมนตรี มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุตรดิตถ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล ผู้อ�ำนวยการสถาน อารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร และบุคลากรเข้าร่วมประชุม ก�ำหนดแนวทางการจัดงาน “การประชุมนานาชาติ ระเบียงเศรษฐกิจ หลวงพระบาง อินโดจีน เมาะล�ำไย เรื่อง ภูดู่ ประตูแห่งมิตรภาพและโอกาส LuangprabangIndochina-Mawlamyine Economic Corridor (LIMEC) International Conference PhuDoo Gate of Companionship and Opportunities” ในวันที่ ๑๖ – ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน (กกร.) กลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนล่าง ๑ อันประกอบด้วยจังหวัดอุตรดิตถ์ พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ และตาก ทั้งนี้วิทยาลัยโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยนเรศวร ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการจัดโครงการ เพื่อใช้เป็นเวทีในการศึกษาถึงความต้องการ ปัญหา อุปสรรคและแนวทาง ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ พร้อมทั้งเปิดโอกาสในการสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างภาครัฐและ ภาคเอกชนในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ๑ ประเทศไทย กับแขวงไชยะบุรีและแขวงหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว และรัฐมอญ รัฐกะเหรี่ยง สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ งานนี้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล ผู้อ�ำนวยการสถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน และดร.จารุวรรณ แดงบุปผา ผู้อ�ำนวยการสถานวิจัยเพื่อความเป็นเลิศด้านวิชาการ ด้านการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นผู้ด�ำเนินการ ประชุมย่อยในประเด็นการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวและส่งเสริมตลาดไมซ์ สามแผ่นดิน จากนั้นจะมีการรวบรวมข้อมูลในทุกประเด็น เพื่อเป็นแนวทางการจัดประชุมนานาชาติต่อไป “คชายุทธ์-พุทธ์ชาติ” สะท้อนประวัตศิ าสตร์ชาติไทยผ่านต�ำนานยุทธหัตถีของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช "คชายุทธ์-พุทธ์ชาติ : ยุทธหัตถีและสงครามบนหลังช้าง/พุทธศาสนา กับความเป็นชาติใน ประวัติศาสตร์ศรีลังกา อุษาคเนย์ และสยาม" ผลงานของอาจารย์ก�ำพล จ�ำปาพันธุ์ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เป็นหนึง่ ในหนังสือชุดสายธารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน จัดพิมพ์โดยสถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร “หนังสือเล่มนี้ตอบทุกข้อค�ำถามและปริศนาข้อขัดแย้งต่างๆ เกี่ยวกับยุทธหัตถีและสมเด็จ พระนเรศวร ตามแนวทางและระเบียบวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์โบราณคดี” อาจารย์กำ� พล จ�ำปาพันธุ์ ผูเ้ ขียน ติดต่อขอรับหนังสือได้ทสี่ ถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร โทร. ๐ ๕๕๙๖ ๑๒๐๔ และ ๑๒๐๘ ในวันและเวลาราชการ

10


เล่นเกม โดย...เจ้าโก๊ะ

เฉลยเกมจุลสารโขงสาละวินฉบับที่ ๒๒ ๑. ทอด ๒. ทอดตา ๓. ทอดทิ้ง ๔. ทอดมัน ๕. ทอดตัว

๖. ทอดน่อง ๗. ทอดสมอ ๘. ทอดยอด ๙. ทอดสะพาน ๑๐. ทอดพระเนตร

เฉลยเกมเติมค�ำต่อค�ำ จากจุลสารโขงสาละวิน ฉบับที่ ๒๒ รายชื่อผู้โชคดีได้รับของรางวัล คุณสิริลักษณ์

รุ่งธนวาณิชย์

เฉลยเกมจุลสารโขงสาละวินฉบับที่ ๒๓ ๑. เครื่อง ๒. เครื่องใน ๓. เครื่องบิน ๔. เครื่องเทศ ๕. เครื่องราง

๖. เครื่องแบบ ๗. เครื่องครัว ๘. เครื่องแกง ๙. เครื่องเคียง ๑๐. เครื่องส�ำอาง

เฉลยเกมเติมค�ำต่อค�ำ จากจุลสารโขงสาละวิน ฉบับที่ ๒๓ รายชื่อผู้โชคดีได้รับของรางวัล

๑. คุณสิริลักษณ์ ๒. คุณปราณี ๓. คุณสุดารัตน์ ๔. คุณวาสนา

รุ่งธนวาณิชย์ ประทุมทอง สิงหเดช นุชท่าโพ

รอรับรางวัลได้เลย หรือติดต่อกลับมาที่ โทร. ๐ ๕๕๙๖ ๑๓๑๔ คณะผู้จัดท�ำ

ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูพงษ์ พงษ์เจริญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล บรรณาธิการ พรปวีณ์ ทองด้วง กองบรรณาธิการ สุเพ็ญ ทาเกิด จรินทร เสโตบล เอกชัย โกมล อนงค์ วงศ์สุวรรณ์ ออกแบบปก วชิรพงษ์ วงศ์ประสิทธิ์ พิสูจน์อักษร ทัตทริยา เรือนค�ำ ส่งข่าวสารและข้อเสนอแนะได้ที่ หน่วยประชาสัมพันธ์ สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร ต.ท่าโพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก ๖๕๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๕๕๙๖ ๑๑๔๓ E- mail : phornpaweet@nu.ac.th พิมพ์ที่ ดาวเงินการพิมพ์ ๒๒๕/๑๖ ถ.บรมไตรโลกนารถ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พิษณุโลก ๖๕๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๕๕๒๑ ๙๗๘๗ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๙๖๔๖

11


ปฏิทินกิจกรรม นิทรรศการ “นิทรรศการจิตรกรรมร่วมสมัย พาราโซนิค ครั้งที่ ๑๗” ๗ – ๒๘ ส.ค.๕๘ ณ หอศิลป์ฯ อาคารวิสุทธิกษัตริย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร นิทรรศการ “ผลงานลายเส้น โดยคุณชวน หลีกภัย” ๕ – ๓๐ ก.ย. ๕๘ ณ หอศิลป์ฯ อาคารวิสุทธิกษัตริย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ช�ำระค่าฝากส่งรายเดือน ใบอนุญาตเลขที่ ๘๕/๒๕๒๑ พิษณุโลก สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร อาคารวิสุทธิกษัตริย์ ต�ำบลท่าโพธิ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ๖๕๐๐๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.