การพลิกฟื้นพระราชวังจันทน์ ดินแดนประวัติศาสตร์ชาติไทย สู่แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้

Page 1

เรื่ องเล่าจากโขงสาละวิน การพลิกฟื้ นพระราชวังจันทน์ ดินแดนประวัติศาสตร์ชาติไทย สู่แหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้

ฉบับที่ ๒ /๒๕๕๙

เรื่องเล่าจากโขงสาละวิน การพลิ ก ฟื้ น พระราชวั ง จั น ทน์ ดิ น แดนประวั ติ ศ าสตร์ ช าติ ไ ทย สู่ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเรี ย นรู้

ฉบั บ ที่ ๒/๒๕๕๙ รู ปแบบสัณฐานพระที่นั่งพระราชวังจันทน์ ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดย ผศ.ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล ผู้อานวยการสถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร

เ มื่ อ วั น ที่ ๙ ตุ ล า ค ม พ . ศ . ๒ ๕ ๓ ๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร” นั บ เป็ น พระมหา กรุ ณ าธิ คุ ณ และความภาคภู มิ ใ จของชาว จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก ด้ ว ยสมเด็ จ พระนเรศวร มหาราชทรงมี ป ระสู ติก าลและจ าเริ ญ วั ย ที่ เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลก พระองค์ ท รงคุ ณู ป การอั น ใหญ่หลวงแก่แผ่นดินไทย ทรงกอบกูเอกราช คืนจากประเทศพม่า จึง มีเรื่องราวมากมาย ให้ค นรุ่น หลั ง ได้ ศึ ก ษา ค้ นคว้ า โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง พระราชวั ง จั น ทน์ อั น เป็ น สถานที่ พระราชสมภพของพระองค์

จากนโยบายของศาสตราจารย์ ดร. สุ จิ น ต์ จิ น ายน อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย นเรศวร จึ ง เป็ น ภารกิ จ ส าคั ญ ของสถานอารยธรรมศึ กษา โขง-สาละวิ น น าโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล ผู้อานวยการ

สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร

ในด้ า นต่ า ง ๆ จากการบรรยาย เสวนา สั ม มนา วิ จั ย อี ก ทั้ ง การออกแบบรู ป แบบ สัณฐานพระที่นั่งพระราชวังจันทน์ ตลอดจน การร่ ว มเป็ น กรรมการอ านวยการอนุ รัก ษ์ และพั ฒ นาพื้ น ที่ โ บราณสถานพระราชวั ง จันทน์ กระทั่งเมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระสุหร่ายพระอัฏฐารสศรีสุคตทศพล ญาณบพิตร (จาลอง) หรือพระอัฏฐารส และ ทรงเปิ ด ป้ า ยอาคารศู น ย์ ป ระวั ติ ศ าสตร์ พระราชวังจันทน์

วั น นี้ เ ราก้ า วไปอี ก ขั้ น ด้ ว ยการจั ด ท า สื่ อ มั ล ติ มี เดีย จ าลองพระราชวัง จั น ทน์ ด้ว ย กล้องมือถือ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทาง ๒๔ เมษายน ๒๕๕๖ คือก้าวแรกในการ ประวัติศาสตร์อย่างสมบูรณ์แบบ

“เมื่ อ มี ค นถามถึ ง พระราชวั ง จั น ทน์ ถ้าเราชาวมหาวิทยาลัยนเรศวร รวมทั้งชาว พิษณุโลกไม่มีองค์ความรู้ที่รวบรวมไว้เลยคง สารวจศูนย์ประวัติศาสตร์พระราชวังจันทน์ที่ ตอบไม่ ไ ด้ ทั้ ง ที่ เ ป็ น ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ มี สร้างแล้วเสร็จ แต่ยังไม่พร้อมเปิดให้บริการ ความสาคัญต่อประเทศชาติเป็นอย่างมาก” ตามมาด้วยการระดมความคิดจากผู้เชี่ยวชาญ

รวบรวมข้ อมูลโดย นายธีรวัฒน์ ศรี จันทร์ นิสิตฝึ กงาน ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

พรปวีณ์ ทองด้วง


เรื่ องเล่าจากโขงสาละวิน การพลิกฟื้ นพระราชวังจันทน์ ดินแดนประวัติศาสตร์ชาติไทย สู่แหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้ |ฉบับที่ ๒/๒๕๕๙

หนังสือ “พระราชวังจันทน์ สถานภาพ องค์ความรู้ รูปลักษณ์สณ ั ฐาน” จุดเริม่ ต้นของการฟืน้ ฟูพระราชวังจันทน์ ”...พ.ศ.๒๕๓๕ เป็นช่วงที่โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมได้ดาเนินการก่อสร้างอาคารใหม่ แล้วบังเอิญขุดพบอิฐเป็นจานวนมาก...” “...การบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ นอกจากจะเป็นแหล่งเรียนรู้ และแหล่งท่องเที่ยวแล้ว พระราชวังจันทน์น่าจะเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจได้ด้วย”... “...ผมจึงคัดค้านที่จะมีการก่อสร้างต่อเติม เรื่องนี้ทางโบราณคดีถือว่าไม่ใช่ข้อมูลลวง มันร้ายแรงกว่าข้อมูลลวง เป็นข้อมูลที่ถูกทาปลอมขึ้น”... “...ซากโบราณสถานจะมีความหมาย จะมีคุณค่า เพราะคนสร้างคุณค่าให้กับมัน ถ้าไม่มีคน ซากโบราณสถานก็ไม่มีความหมาย ฉะนั้นการบูรณาการที่จาเป็นต้องคานึงถึงคือ เรื่องการจะให้คนเข้ามาดูโบราณสถาน”... “...พระราชวังจันทน์จะเป็นมรดกโลกเหมือนกับกาแพงเพชร สุโขทัย ศรีสัชนาลัยได้หรือไม่ ขึ้นอยู่กับชาวพิษณุโลก…”...ฯลฯ ข้อความส่วนหนึง่ ในหนังสือ “พระราชวังจันทน์ : สถานภาพ องค์ความรู้ รูปลักษณ์สัณฐาน” จากการบรรยายและลงพื้นที่ปฏิบัติการ ณ สถานที่จริง ของผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี พิพิธภัณฑ์ และศิลปะไทย จาการจั ด เสวนาวิ ช าการ เมื่ อ วั น ที่ ๒๙ – ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร และพระราชวังจันทน์ ประกอบด้วยอาจารย์พิเศษ เจียจันทร์พงษ์, รองศาสตราจารย์ ดร.สมคิด ศรีสิงห์, นางนาตยา กรณีกิจ , นายพีรพน พิสณุพงศ์ และศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สันติ เล็กสุขุม กับ ทุกข้ อ มู ล หลักฐาน การวิ เ คราะห์ ข้ อ ค้ น พบ มุ ม มอง ความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ บทบาทของพระราชวั ง จั น ทน์ ใ นฐานะราช ส า นั ก เ มื อ ง พิ ษ ณุ โ ล ก ใ น มิ ติ ท า ง ด้ า น ประวัติศาสตร์ ประวัติความเป็นมาของการ ขุดค้นทางโบราณคดี และข้อค้นพบใหม่ ๆ ที่ เกิ ด ขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง เป็ น การศึ ก ษาแนว ทางการพัฒนาพระราชวังจันทน์ในมิติของการ เป็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ การจั ด ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ ตลอดจนการผลั กดั น พระราชวั ง จั น ทน์ เ ป็ น ส่วนหนึ่งของมรดกโลก


เรื่ องเล่าจากโขงสาละวิน การพลิกฟื้ นพระราชวังจันทน์ ดินแดนประวัติศาสตร์ชาติไทย สู่แหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้ |ฉบับที่ ๒/๒๕๕๙

งาน “ย้อนอดีตพระราชวังจันทน์ สร้างสรรค์เมืองพิษณุโลกเมืองสองแคว” วันที่ ๑๔ – ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ณ บริเวณด้านหน้าลานพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช มหาวิทยาลัยนเรศวร ประกอบด้วย นิทรรศการพระราชประวัติ สมเด็จ พระนเรศวรมหาราชและประวัติศาสตร์พระราชวั งจัน ทน์ , ละครเทิดพระเกียรติชุด พระนเรศวรวรราชาธิราช พระราชาเหนือพระราชาผู้ประเสริฐ, การจาลองวิถีชีวิต วัฒนธรรมใน ยุ คสมั ย ของสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ได้แ ก่ การละเล่น และการแสดงทางวั ฒ นธรรม, นิทรรศการวิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์, ตลาดย้อนยุคจาหน่ายสินค้าแนวโบราณประยุกต์ และร่วม ลอยกระทงท่ า มกลางบรรยากาศแบบล้ า นนา โดยการร่ ว มแรงร่ ว มใจของนิ สิ ต ภาควิ ช า ประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ พร้อมด้วยนิสิตรายวิชาอารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น และบุคลากรสถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เนื่องในวาระครบรอบ ๔๒๔ ปีแห่งการขึ้นครองราชย์ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ตลอดจนเผยแพร่ องค์ ความรู้เ กี่ยวกับการพัฒนาทุนทางสังคมและวั ฒนธรรมกับ เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

เสวนาวิชาการ “รูปแบบสัณฐานพระที่นงั่ ในพระราชวังจันทน์ในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และทิศทางการพัฒนาพระราชวังจันทน์ จังหวัดพิษณุโลก” วันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๘ ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อสกัดองค์ความรู้ในเชิงรูปลักษณ์สัณฐานพระที่นั่งในพระราชวังจันทน์ และทิศทางการพัฒนาพระราชวังจันทน์ เวทีเสวนาประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี สถาปัตยกรรม ได้แก่ ศาสตราจารย์ ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ไทย, ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สุรพล วิรุฬห์รักษ์ ราชบัณฑิต และรองศาสตราจารย์ ดร.มังกร ทองสุขดี นักประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ที่ร่วมนาเสนอองค์ความรู้ ความคิดเห็นในมุมมองต่าง ๆ เกี่ยวกับการพัฒนาพระราชวังจันทน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การนาเสนอ รู ป แบบสั ณ ฐานพระที่ นั่ ง ในพระราชวั ง จั น ทน์ ใ นรั ช สมั ย สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช ในรู ป แบบสองมิ ติ แ ละสามมิ ติ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล ผู้อานวยการสถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร อันนามาสู่ การจัดสร้างพระที่นั่งจาลองในปัจจุบัน


เรื่ องเล่าจากโขงสาละวิน การพลิกฟื้ นพระราชวังจันทน์ ดินแดนประวัติศาสตร์ชาติไทย สู่แหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้ |ฉบับที่ ๒/๒๕๕๙

เป็นคณะกรรมการอานวยการอนุรกั ษ์และพัฒนาพืน้ ที่โบราณสถานพระราชวังจันทน์ ผู้อานวยการสถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวินและบุคลากรเป็นวิทยากรในการอบรม สัมมนา และร่วมประชุมหารือ แนวทางการพัฒนาพระราชวังจันทน์สู่แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดพิษณุโลก

วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก เข้าร่วมประชุมคณะทางานการพัฒนา พระราชวังจันทน์และศูนย์ประวัติศาสตร์ พระราชวังจันทน์ เพื่อให้เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ของจังหวัดพิษณุโลก วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ร่วมกับคณะทางาน พั ฒ นาพระราชวั ง จั น ทน์ โดยพลตรี คู่ ชี พ เลิ ศ หงิ ม รองแม่ทัพภาคที่ ๓ เป็นหัวหน้าคณะ นาเสนอโครงการ อนุ รั ก ษ์ แ ละพั ฒ นาพื้ น ที่ โ บราณพระราชวั ง จั น ทน์ ต่ อ นายบวรเวท รุ่งรุจี อธิบดีกรมศิลปากร ณ กรมศิลปากร

เมื่ อ วัน ที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๕๘ ณ พระราชวังจัน ทน์ จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก เป็ น วิ ท ยากรในการเสวนาเรื่ อ ง แนวทางพัฒนาพระราชวังจันทน์ ร่วมกับองค์กรต่าง ๆ โดยน าเสนอรู ป ลั ก ษณ์ สั ณ ฐานพระที่ นั่ ง ในพระราชวั ง จั น ทน์ ใ นรั ช สมั ย สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช ในพิ ธี บวงสรวงสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเพื่อขอพระบรมราชานุญาตจัดสร้างวัตถุมงคล

วันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ร่วมประชุม พิจารณาปรับปรุงการแสดงนิทรรศการภายใน อาคารศูนย์ประวัติศาสตร์พระราชวังจันทน์ โดยมี พลตรีธนา จารุวัฒน์ เสนาธิการ กองทัพภาคที่ ๓ เป็นประธาน การประชุม ณ ห้องประชุมอาคาร ประวัติศาสตร์พระราชวังจันทน์

วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เป็นวิทยากรบรรยาย “มัคคุเทศก์น้อยในพื้นที่พระราชวัง จันทน์” ในโครงการอบรมมัคคุเทศก์น้อยเพื่ออนุรักษ์ประวัติศาสตร์และส่งเสริมการ ท่องเที่ยวจังหวัดพิษณุโลก โดยมีตัวแทนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ – ๖ และ

ระดับมัธยมศึกษา ทั้ง ๙ อาเภอ จานวนกว่า ๒๐๐ คน เข้ารับการอบรม ณ ศาลา ประชาคมจังหวัดพิษณุโลก


เรื่ องเล่าจากโขงสาละวิน การพลิกฟื้ นพระราชวังจันทน์ ดินแดนประวัติศาสตร์ชาติไทย สู่แหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้ |ฉบับที่ ๒/๒๕๕๙

งานวิจัย “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมพระราชวังจันทน์เพื่อการจัดการใช้ที่ดินราชพัสดุเมืองเก่าพิษณุโลก” การกาหนดรูปแบบทางการท่องเที่ยวเชิงรุก เพื่อสร้างตลาดท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ “แหล่งท่องเที่ยวเชื่อมโยง” ภายใต้จุดขายร่วมกัน ของพื้นที่ศึกษาที่มีลักษณะเฉพาะทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม “ตามรอยสมเด็จพระนเรศวร : แดนตานาน แหล่งวีรกษัตริย์และคน กล้า” โดยมีเส้นทางท่องเที่ยว ๖ เส้นทาง พร้อมทั้งพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อเชื่อมโยงกับแผนที่ อินเตอร์เน็ต ทั้งนี้ได้มีการนาเสนอ ผลงานวิจัยในการสัมมนาวิชาการ “แผนแม่บทการใช้ที่ดินราชพัสดุและที่ดินสาธารณประโยชน์ จังหวัดพิษณุโลก” เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๘


เรื่ องเล่าจากโขงสาละวิน การพลิกฟื้ นพระราชวังจันทน์ ดินแดนประวัติศาสตร์ชาติไทย สู่แหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้ |ฉบับที่ ๒/๒๕๕๙

รับประกาศเกียรติคณ ุ ผู้ทาคุณประโยชน์ตอ่ กระทรวงวัฒนธรรม

วั น ที่ ๒๕ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๘ ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.วศิ น ปั ญ ญาวุ ธ ตระกู ล ผู้ อ านวยการ สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร เข้ารับเกียรติบัตรผู้ทาคุณประโยชน์ต่อกระทรวง วัฒนธรรมด้านศิลปะ ระดับจังหวัด ประเภทบุคคล ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๘ เนื่องจากเป็นผู้จัดทารูปแบบ สัณฐานจาลองสองมิติและสามมิติของพระที่นั่งในพระราชวังจันทน์ยุคสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยศึกษา วิเคราะห์สถานภาพ องค์ความรู้และรูปลักษณ์สัณฐานของพระราชวังจันทน์จากร่องรอยที่หลงเหลือจากซาก โบราณสถาน ตลอดจนเอกสารหลักฐานต่าง ๆ จนนาไปสู่ข้อสรุปของรูปแบบสัณฐานพระที่นั่งและทิศทางการ พัฒนาพระราชวังจันทน์


เรื่ องเล่าจากโขงสาละวิน การพลิกฟื้ นพระราชวังจันทน์ ดินแดนประวัติศาสตร์ชาติไทย สู่แหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้ |ฉบับที่ ๒/๒๕๕๙

สือ่ มัลติมีเดียรูปลักษณ์สณ ั ฐานพระที่นงั่ พระราชวังจันทน์ (Application on Mobile) สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวินร่วมกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยนิสิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ นายนรินทร บุญแร่ และนายธีรวัฒน์ หินแก้ว จัดทาสื่อมัลติมีเดียจาลอง พระที่นั่งพระราชวังจันทน์ในยุคสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเสมือนผสมจริง (Augmented Reality) จากรากฐานของโบราณสถานในบริเวณ พระที่นั่งพระราชวังจันทน์ เผยแพร่บนโทรศัพท์มือถือระบบแอนดรอยด์


เรื่ องเล่าจากโขงสาละวิน การพลิกฟื้ นพระราชวังจันทน์ ดินแดนประวัติศาสตร์ชาติไทย สู่แหล่งท่องเที่ยวเรี ยนรู ้ |ฉบับที่ ๒/๒๕๕๙

รับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล ผู้อานวยการสถานอารยธรรมศึกษา โขงสาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร ในฐานะคณะกรรมการอานวยการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่โบราณสถานพระราชวังจันทน์ ร่วม รับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระสุหร่ายพระอัฏฐารสศรีสุคตทศพลญาณบพิตร (จาลอง) และทรงเปิดป้ายอาคารศูนย์ประวัติศาสตร์พระราชวังจันทน์ ให้เป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้ทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ของ จังหวัดพิษณุโลก

ขอบคุณภาพจากอินเตอร์เน็ต

สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน อาคารวิสทุ ธิกษัตริย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตาบลท่าโพธิ์ อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ๖๕๐๐๐ โทร. ๐ ๕๕๙๖ ๑๑๔๓, http://www.nuks.nu.ac.th, https://www.facebook.com/nuksc


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.