เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

Page 1



คํานิยม ขาพเจาขอแสดงความชื่นชมความสําเร็จในการเขียนหนังสือ เลาเรื่ององคภูมิพล ของคุณพรปวีณ ทองดวง เปนหนังสือที่เขียนจาก ประสบการณอันเกิดจากการทํากิจกรรมตาง ๆ เพื่อแสดงใหชุมชนไดมอง เห็นวาโครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ ไดทรง ริเริ่มนั้นลวนแตเปนโครงการที่ผานการวิจัยจากพระองคแลวทั้งสิ้น แมน โครงการตาง ๆ ที่ผูเขียนไดดําเนินการดวยตนเองและมีสวนรวมเปน โครงการสวนนอย แตการดําเนินการก็ยงั มีผลมหาศาลตอชุมชนทีเ่ กีย่ วของ ดั ง นั้ น หากพี่ น  อ งประชาชนทั่ ว ประเทศน อ มนํ า โครงการทั้ ง ๔,๔๔๗ โครงการ มาดําเนินการใหเหมาะสมกับภูมิประเทศและสิ่งแวดลอมของ แตละพื้นที่ ประเทศไทยก็คงสามารถแกไขปญหาความยากจนและปญหา วิกฤตตาง ๆ ได ขาพเจาปรารถนาใหบคุ คลทีป่ ระสบความสําเร็จเชน คุณพรปวีณ ทองดวง ไดเขียนหนังสือลักษณะนีใ้ หมากขึน้ เพือ่ เปนการเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๙ ทีพ่ ระองคทรงมีวริ ยิ ะอุตสาหะ ศึกษาและสรางนวัตกรรมในทุก ๆ ดาน และจะทําใหความสําเร็จของพวก เราเปนสิ่งสนับสนุนโครงการทั้ง ๔,๔๔๗ โครงการของพระองคทาน จารึกในหัวใจคนไทยไปชั่วนิรันดร ข า พเจ า ขอพระบรมราชานุ ญ าตอั ญ เชิ ญ พระบารมี ล  น เกล า พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ ไดทรงบันดาลพระราชทานพร ใหกับ คุณพรปวีณ ทองดวง รวมถึงผูรวมโครงการและพัฒนานวัตกรรม ตาง ๆ ไดประสบแตความสุข ความมั่นคง ความยั่งยืนตลอดไป พลเอก ดร.ศิริ ทิวะพันธุ ประธานสถาบันพัฒนาสี่แยกอินโดจีน อดีตแมทัพภาคที่ ๓


คํานิยม หนังสือเลาเรือ่ งองคภมู พิ ล เปนผลงานอีกหนึง่ ชิน้ ของคุณพรปวีณ ทองดวง นักประชาสัมพันธ สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยภารกิจหนึ่งที่สําคัญขององคกร คือ การศึกษา คนควาเผยแพรศลิ ปวัฒนธรรมทีด่ งี ามของไทย และหนังสือดังกลาวไดบอก เล า เรื่ อ งราวของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชที่ เกี่ยวของกับจังหวัดพิษณุโลกในวาระตาง ๆ ในตอน“เลาเรื่ององคภูมิพล” ตลอดจนแนวทางในการดําเนินพระราชกรณียกิจของพระองคไดกลายมา เปนแนวทางในการดําเนินชีวิตของผูคนในตอน “ตามรอยองคภูมิพล” เมือ่ อานหนังสือเลมนีจ้ บลง สิง่ ทีม่ องเห็นและสัมผัสไดถงึ เรือ่ งราว ที่อยูเบื้องหลัง พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของพระองค มีหลัก การสําคัญดังนี้ ๑. ภาวะความเปนผูนํา สิ่งตาง ๆ อันเกิดจากพระราชกรณียกิจ ไดสะทอนความเปนผูนําในการเปลี่ยนแปลง การทดลอง ทําสิ่งใหม ๆ นํา เสนอสิ่งที่แตกตางออกไป ดังเห็นไดจากโครงการพระราชดําริตาง ๆ ที่ เปนเรือ่ งใหม และตองอาศัยภาวะผูน าํ เปนแรงขับเคลือ่ นในการปรับเปลีย่ น เปลีย่ นสิง่ ตาง ๆ ซึง่ นําไปสูก ารเปลีย่ นแปลงดานการเกษตรสมัยใหมใหกบั ประชาชนชาวไทย ๒. การเทาทันการเปลี่ยนแปลง ตระหนักถึงปญหาและหา แนวทางแกไข จากพระราชกรณียกิจและการนําเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงเปนจุดเริ่มตนสําคัญที่ทําใหเราเริ่มเขาใจถึงหลักการสําคัญ คือ การ เรียนรู การคิดแบบมีเหตุมีผล การสรางภูมิคุมกันตอภาวะวิกฤต โดยใช คุณธรรมและจริยธรรมเปนแนวทางในการกํากับชีวิต ซึ่งนําไปสูสิ่งที่เรียก วา การสมดุลของชีวิต หรือหลักทางสายกลางในพระพุทธศาสนา


๓. การจัดการแนวใหม จากพระราชประวัตแิ ละพระราชกรณียกิจ ของพระองคทานทําใหเห็นสิ่งหนึ่ง ซึ่งเรียกไดวา เปนแนวทางการจัดการ แบบใหมที่เหมาะสมกับคนไทย ดังปรากฏในแนวคิดทฤษฎีใหม คือ แบง พื้นที่ทางการเกษตรเปนพื้นที่นํ้า พื้นที่บาน พื้นที่การผลิตทั้งระดับครัว เรือนและระดับการตลาด ถือไดวาเปนแนวทางในการจัดการดําเนินชีวิต การผลิต การตระหนักถึงทรัพยากรที่มีอยู เขาใจถึงกิจกรรมของทุก ครอบครัวที่มีวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมและสมัยใหม คือ ตองมีการผลิตเพื่อแลก เปลี่ยนและเพื่อการคา การจัดการที่ใหบานมีพื้นที่เพียง ๑๐ เปอรเซ็นต ของพื้นที่ทั้งหมด คือเครื่องสะทอนใหเห็นถึงปรัชญาในพุทธศาสนาเรื่อง ของความพอประมาณและการลดอัตตาของตนเองใหเล็กที่สุดเพื่อจะมอง เห็นสิ่งอื่น ๆ ที่เปนเรื่องของมวลชนใหญกวา เชน พื้นที่นํ้าในการกักเก็บ ถึง ๓๐ เปอรเซ็นต พื้นที่ที่เปนพืชสวนครัว พืชผสมผสานเพื่อใชภายใน ครอบครัว ๓๐ เปอรเซ็นต และพื้นที่ในการผลิตเพื่อขาย ๓๐ เปอรเซ็นต การจัดการดังกลาว มองใหเห็นถึงความสมดุลและยั่งยืนในฐานเศรษฐกิจ ของครอบครัว จึงกอเกิดเปนเครือขายพันธมิตรและรักษาความสัมพันธแบบ เครือญาติแบบดั้งเดิมได ผานการผลิตเพื่อเปนผูใหมากกวาเปนผูขาย จากบทเรียนตาง ๆ ที่มองเห็นอยูภายในเรื่องราวของหนังสือ เลาเรื่ององคภูมิพลเลมนี้ ทําใหกลาวไดวา แมวาพระองคจะ เสด็จสูส วรรคาลัยแตพระราชประวัตแิ ละพระราชกรณียกิจของพระองค ยังคงเปนหลักชัยและเปนผูที่สรางภูมิธรรม ภูมิรู และภูมิปญญาแกคน ไทย จนอาจกลาวไดวาเปนความภูมิใจของคนไทยที่จะหยั่งรากลึกถึง ความทรงจําที่มีตอพระองค จนกลายเปนสวนหนึ่งของแนวทางในการ ดําเนินชีวิตของคนไทยตอไปตราบนานเทานาน ผูชวยศาสตราจารย ดร.วศิน ปญญาวุธตระกูล ผูอํานวยการสถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร


คํานํา เพราะในหลวงคือดวงใจไทยทั้งชาติ “เพราะในหลวงคือดวงใจ เมื่อดวงใจปวยก็ตองมาดูแล เพราะถาดวงใจ เปนอะไรไป เราก็อยูไมได” ประโยคแรกทีไ่ ดยนิ เมือ่ เปดโทรทัศนชมขาวในชวงเชาของวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ นีค่ อื หนึง่ เสียงของประชาชน ณ โรงพยาบาลศิรริ าช ซึง่ นาจะกลาวไดวา แทน ความรูสึกของคนทั้งประเทศ “ทําไมคนไทยจึงรักในหลวง” “ทําไมเวลาพูดถึงในหลวงคนไทยตองรองไห” จําไดวาเคยมีชาวตางชาติถามประโยคนี้ดวยความแปลกใจ และขอความดานบนก็นา จะเปนคําตอบไดอยางดี และแลวก็ถึงวันที่หัวใจของคน ไทยแตกสลาย วันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ เวลา ๑๕.๕๒ น. วันแหงการสูญเสียครั้ง ยิ่งใหญ จดจารไวในประวัติศาสตรชาติ ไทย เมื่อกลับถึงบาน ฉันกมลงกราบ พระบรมฉายาลักษณของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ดวย ดวงจิตสุดสั่นคลอน หวั่นไหว “รูปที่มีทุก บาน” เพลงของเบิรด ธงไชย แมคอินไตย ที่กระตุนตอมสํานึกไดวา มันเปนเชนนั้น จริง ๆ บางบานไมมีรูปตัวเองดวยซํ้า แตรูปภาพของพระองคทานติดตั้งตระหงาน กลางบาน สําหรับทีบ่ า นฉันจําไดวา ซือ้ ภาพพรอมกรอบหิว้ ใสรถบัสมาจากตางจังหวัด เรียกวาเห็นปุบซื้อปบ ไมเลือกแบบอื่นเลย ราคาไมแพง แตมิอาจเทียบไดกับคุณคา ทางจิตใจ หลากหลายเรื่องราวเกี่ยวกับพระองคทานผานสื่อตาง ๆ ลวนสรางความ ปลาบปลื้มใจ สํานึกในพระมหากรุณาธิคุณลนเกลาลนกระหมอม ซึ่งตัวฉันเองได รวบรวมไวเพื่อใชในการทํางานและดําเนินชีวิต


¼ÙŒºÃÔËÒà ไมวาจะเดินไปทางไหน มองสิ่งใด จับตองอะไร เปนตองนึกถึงพระองค ทานอยูร าํ่ ไป พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทรงอยูใ นทุกหวง อณูของการดําเนินชีวิตจริง ๆ การกลั่นกรองเลาเรื่ององคภูมิพล ตามรอยองค ภูมิพล คือสิ่งเล็ก ๆ นอย ๆ เทาที่ความสามารถของคนไทยคนหนึ่งพึงทําได เพื่อแสดงความไวอาลัย จงรักภักดี และสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพน ขอบคุณ พลเอก ดร.ศิริ ทิวะพันธุ ประธานสถาบันสี่แยกอินโดจีน อดีต แมทพั ภาคที่ ๓ ทีเ่ มือ่ ฉันเอยวาจะเขียนหนังสือเลาเรือ่ งองคภมู พิ ล ทานบอกวา “เสร็จ แลวสงตนฉบับมานะ จะเขียนคํานิยมให เพราะทํางานรับใชใตเบื้องยุคลบาทมาโดย ตลอด” ขอบคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.วศิน ปญญาวุธตระกูล ผูอํานวยการ สถานอารยธรรมศึกษา โขง – สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่เอื้ออํานวยใหกอ เกิดหนังสือเลมนี้ ขอบคุณ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) โครง การเอส ๑ ที่ใหการสนับสนุนงบประมาณ จากเรื่องราว ความรูสึก ความคิด จินตนาการ กลายเปนรูปเลม ขอบคุณ ขอมูลมากมาย หลากหลายรูปภาพจากหนังสือและสื่อออนไลน ตาง ๆ ซึ่งมิอาจกลาวถึงไดหมด เชื่อวาคงไมทําใหเจาของขุนเคืองใจ เพราะ การนํามาใชโดยพลการในครั้งนี้ ลนปรี่ดวยความจงรักภักดีสุดหัวใจ เฉกเชนคน ไทยทุกคน “เลาเรื่ององคภูมิพล” เปนหนังสือเลมที่ ๓ ที่ฉันภาคภูมิใจ สุขใจ อิ่มเอิบใจอยางที่สุด พรปวีณ ทองดวง


มีอะไรในเลม

รอยลํานําองคภูมิพล ๓ ธ สถิตในดวงใจไทยนิรันดร ๖ รอยบรรเลง ๔๘ บทเพลงพระราชนิพนธ

เลาเรื่ององคภูมิพล ๑๐ มีมหาวิทยาลัยนเรศวรในวันนี้ดวยพระบารมีแหงองคภูมิพล ๑๘ พิพิธภัณฑผา มหาวิทยาลัยนเรศวร กับพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ ๒๖ ยอนรําลึก...ความภาคภูมิใจ มหาวิทยาลัยนเรศวรทูลเกลาฯ ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แดรัชกาลที่ ๙ ๕๖ ๔ ธันวาคม วันสิ่งแวดลอมไทย...จากพระอัจฉริยภาพเมื่อป ๒๕๓๒ ๖๔ ปบ ตนไมของพอ จากมือของแม ๗๔ ไมจันทนหอม จากอุทยานแหงชาติกุยบุรี สูงานพระราชพิธีพระบรมศพ พระผูเสด็จสูสวรรคาลัย


๘๔ พระมหากรุณาธิคุณดุจสายนํ้า หลอเลี้ยงชีวีวิถีชาวสองแคว เขื่อนแควนอยบํารุงแดน หนึ่งในโครงการพระราชดําริ ๙๘ ๒๔ กุมภาพันธ วันศิลปนแหงชาติ รวมเทิดพระเกียรติองคอัครศิลปน รัชกาลที่ ๒ และรัชกาลที่ ๙

ตามรอยองคภูมิพล ๑๑๖ “หลอหลอมดวงใจใสผืนผา” หนึ่งบทพิสูจนหัวใจคนไทย เขาถึง เขาใจ “ความพอเพียง” ๑๒๖ มหัศจรรยแหง “การให” บนคราบนํ้าตา...ความโศกเศรา สูญสิ้น ที่เพรียกหา “นํ้าใจ” ๑๓๒ ปลูกสมซา ๙๙ ตน ตามรอยองคภูมิพล ดวยพลังภักดีของชุมชน บานวังสมซา ๑๔๒ จากพิษณุโลกสูตรัง ดวยความมุงมั่นตั้งใจ แดผูประสบอุทกภัย สิ่งเล็ก ๆ นอย ๆ ที่มอบให คือความยิ่งใหญในหัวใจ ๑๕๔ ปตท.สผ.จับมือกองทัพภาคที่ ๓ สรางศูนยการเรียนรูในคายทหาร แบบอยางการดําเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง



ÃŒÍÂÅíÒ¹íÒͧ¤ÀÙÁÔ¾Å

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ธ สถิตในดวงใจไทยนิรันดร ป ๒๔๗๐ วันที่ ๕ เดือนธันวามหามงคลนี้ วันพระราชสมภพองคภูมี แหงราชวงศจักรีเกริกเกรียงไกร ลําดับเกาแหงองคมหากษัตริย เถลิงถวัลยราชสมบัติวันดีไซร ๙ มิถุนา ป ๘๙ ปวงชาวไทย แสนอิ่มเอิบดวงใจไปทั่วกัน ป ๙๓ พฤษภาวันที่ ๕ พิธีบรมราชาภิเษกนั้น ดํารัสแหงการครองแผนดินพลัน ทั่วเขตขัณฑโดยธรรมเพื่อประชา ทรงเยี่ยมเยือนราษฎรทุกพื้นที่ ผืนธานีทรงบําบัดแกปญหา ทรงคิดคนกังหันนํ้าชัยพัฒนา ๒ กุมภาจึงเกิดวันนักประดิษฐไทย อันนายอินทรผูปดทองหลังพระ หนึ่งอัจฉริยะ ๓ ปทรงแปลไว ตามมาดวยติโตภาษาไทย พระองคใชวิริยานี้ ๒๐ ป

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


พระราชนิพนธเรื่องพระมหาชนก จากพระไตรปฎกของเรานี้ อีกทองแดงวรรณกรรมที่ขายดี คุณคาปรี่คําสอนพรักพรอมพรรณ เปดโรงกลั่นแอลกอฮอลเพื่อศึกษา แกปญหาพลังงานขาดแคลนนั้น แกสโซฮอลจากการออยและนํ้าตาล นํ้ามันปาลมบริสุทธิ์ดุจนํ้าพระทัย อีกจิตรกรรมภาพถายฉายเลิศลํ้า ประติมากรรมดนตรีนิพนธไว แสงเทียนคือเพลงแรกครั้งเยาววัย องคอัครศิลปนไซรสมัญญา ทั้งทรงตอเรือใบมาตรฐาน พระราชทานชื่อราชปะแตนหนา อีกเรือมดซุปเปอรมดสุดพรรณนา เพริศแพรวพาไมโครมดเลื่องลือนาม ในกีฬาแหลมทองครั้งที่ ๔ ทรงกีฬาเรือใบใหสยาม นับเปนประวัติศาสตรแสนงดงาม พระองคนําเหรียญทองใหผองไทย

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


หลากโครงการพระราชดําริโครงการหลวง เพื่อเหลาปวงชาวไทยอยูดียิ่ง มูลนิธิขาวฝนหลวงอีกแกมลิง สิ่งพึ่งพิงพอเพียงคือปรัชญา เกษตรทฤษฎีใหมใหความหวัง เปนพลังสรางอาชีพการศึกษา สิ่งแวดลอมสาธารณสุขพรอมพัฒนา การคมนาคมใหทั่วถึงกัน ๗๐ ปแหงการขึ้นครองราชย เชนนักปราชญเนรมิตคิดสรางสรรค ดั่งองคอินทรเหาะเหินเกินจํานรรจ คนไทยทันเทาเทียมเปยมไมตรี และแลววันวิปโยคสุดโศกศัลย เหมือนลงทัณฑเด็ดดวงใจคนไทยนี้ เสด็จสวรรรคตทรงพระชนม ๘๙ ป ในวันที่ ๑๓ เดือนตุลา ปสองพันหารอยหาสิบเกา เหมือนพรากเอาหัวใจไทยทั้งชาติ โลกหยุดหมุนเสียงรํ่าไหใจแทบขาด ขอเปนขารองบาททุกชาติไป ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๙ เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ร้อยบรรเลง ๔๘ บทเพลงพระราชนิพนธ์ แสงเทียนดุจแสงทองสองชีวิต ยามเย็นจิตหวนใหคนึงหา เมื่อสายฝนหลนโปรยชื่นอุรา ใกลรุงทาทาบแสงแหงตะวัน โอชะตาชีวิตลิขิตให ดั่งดวงใจกับความรักแรงแหงฝน อีกเพลงมารชราชวัลลภบรรจบพลัน มอบมหาดเล็กพระองคนั้นใชประจํา ดั่งอาทิตยอับแสงสองทองฟา เทวาพาคูฝนสุดเลิศลํ้า แมคําหวานหวานถอยรอยรายรํา ทรงนอมนํามหาจุฬาลงกรณ คือแกวตาขวัญใจใหสดใส พรปใหมรื่นรมยผสมคําสอน รักคืนเรือนเยือนถิ่นสิ้นอาวรณ สุดอาทรยามคํ่าจําจากไกล แมนชีวิตดีรายใหยิ้มสู นิพนธสูบทเพลงกองทัพใช มารชธงไชยเฉลิมพลจับจิตใจ ผองอําไพเมื่อโสมสองตองธานี

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ลมหนาวพัดพาจิตรอนสะทอนนัก ศุกรสัญลักษณประจักษจรัสศรี Oh I say Can’t You Ever See Lay Kram Goes Dixie ดนตรีนํา คํ่าแลวแกวตานิทราเจา สายลมเคลาใบไมอีกสายนํ้า ไกลกังวลชนมชื่นรื่นลํานํา แสงเดือนฉํ่าสาดสองผองงามตา อยูแหงไหนฝนไปใครเคียงคู พลังใจสูผูปกปองทองนํ้าหนา มารชราชนาวิกโยธินถิ่นธารา ทุกทิวาภิรมยรักปกกมล Nature Waltz Kinari Waltz The Hunter รักเสมอแผนดินของเราลน อีกทํานองเพลงพระมหามงคล ชาวโดมยลยินยูงทองพองภักดี บทเพลงในดวงใจนิรันดรรัก คิดถึงพักตรยิ้มเยือนเตือนใจนี้ แมไรเดือนไรจันทรในราตรี เกาะในฝนยามนี้มีมนตรา เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เสียงเพลงแววแผวกังวานหวานระรื่น งามชมชื่นเกษตรศาสตรใหรักษา ความฝนอันสูงสุดเหนือคณา เราสูพาปกปองผืนแผนดิน เรา-เหลาราบ ๒๑ ทหารเสือ Blues for Uthit เพื่อนักดนตรีที่ชีพสิ้น รักทะเลรักทองฟาปกษาบิน ใครอยากกินเมนูไขมากมายมี รอยทํานองคลองคิดอัจฉริยะ ๔๘ เพลงพระราชนิพนธนี้ อัครศิลปนองคภูมี ทั่วธานีสถิตในไทยนิรันดร ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๙

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


àÅ‹ÒàÃ×èͧͧ¤ÀÙÁÔ¾Å

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


มีมหาวิทยาลัยนเรศวรในวันนี้ ด้วยพระบารมีแห่งองค์ภูมิพล

พระราชทานนามมหาวิทยาลัยนเรศวร “...ตอนที่จะขอนามมหาวิทยาลัย มีการเสนอชือ่ พระบรมไตรโลกนารถ และนเรศวรอีกนามหนึ่ง นามที่ ๓ คือ มหาวิทยาลัยพิษณุโลก ใน ที่สุดเบื้องบนก็เลือกนามนเรศวร จริง ๆ ถาจะใหเต็มยศตองใชวา นเรศวรมหาราชดวย...”

๑๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


คํากลาวของรองศาสตราจารยสมคิด ศรีสิงห อาจารยยุคบุกเบิก เริ่มสอน วิชาประวัติศาสตรในป พ.ศ. ๒๕๑๔ ในการเสวนา “เหลียวหลัง แลหนา ๔๔ ป : ประชาคมมหาวิทยาลัยนเรศวร” เมือ่ วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ ณ สถานอารยธรรม ศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๑


ดวยมหาวิทยาลัยนเรศวรไดรบั พระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เปนลําดับที่ ๗ ในจํานวน ๑๐ มหาวิทยาลัย...ยอน ไปเมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๒ มหาวิทยาลัยไดขออนุญาตกระทรวงมหาดไทยใชที่ดิน สาธารณประโยชนบริเวณทุงหนองออปากคลอกจิกเพื่อประโยชนทางการศึกษา จาก นั้นเมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๒๗ รัฐบาลมีมติรับหลักการที่จะยกฐานะมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก ขึ้นเปนมหาวิทยาลัยเอกเทศ โดยไดรับพระมหา กรุณาธิคณ ุ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรด เกลาฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยใหมนี้วา มหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อวันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๓๒ เพือ่ สดุดแี ละเฉลิมพระเกียรติแดสมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย ผูทรงคุณูปการอันใหญหลวงแกแผนดินไทย อีกทั้งยังทรงเปนพระมหากษัตริยที่ทรง มีประสูตกิ าลและจําเริญวัยทีเ่ มืองพิษณุโลก โดยกําหนดใหวนั ที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๓๓ เปนวันกําเนิดมหาวิทยาลัย เนือ่ งดวยเปนวาระสําคัญ ครบรอบ ๔๐๐ ปแหงการเสด็จ ขึ้นครองราชยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

๑๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


จวบจนวันนี้เปนเวลา ๒๗ ปแลวกับนามมหาวิทยาลัยอันแสนภาคภูมิใจแหง นี้...มหาวิทยาลัยนเรศวร

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๓


พระราชทานปริญญาบัตรดวยพระองคเอง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดําเนิน พระราชทานปริญญาบัตรตั้งแตครั้งยังเปนวิทยาลัยวิชาการศึกษา กอนพัฒนาเปน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก และยกฐานะขึ้นเปนมหาวิทยาลัยนเรศวร ในภายหลัง ดังการบรรยายของรองศาสตราจารยวนิดา บํารุงไทย ศิษยเการุนที่ ๒ ปจจุบันเปนอาจารยประจําสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัย นเรศวร ในการเสวนาเหลียวหลัง แลหนา ๔๔ ป : ประชาคมมหาวิทยาลัยนเรศวร

๑๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


“...แมวา เราจะเปนวศ.เล็ก ๆ พระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ พรอมพระเจาลูกเธอเสด็จฯ มาพระราชทานปริ ญ ญาบั ต ร ตอนนั้ น หอ ประชุมของเราเปนแบบเปดโลง อันที่จริงเปน โรงอาหาร จะมีเฉพาะที่ประทับของพระองค ทานเทานั้นจะไดรับความอนุเคราะหจากหาง รานนําแอรมาตั้งใหสวนพระองค ซึ่งไมได สะดวกสบายอะไร ดวยความเมตตาพสกนิกร ยิ่งใหญมาก ทานไมไดมาพระองคเดียวหรือ สองพระองค พระเจาลูกเธอถาวางจะตามเสด็จ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารีกต็ ามมา เพราะฉะนัน้ มหาวิทยาลัยของเราไดรบั เกียรติทยี่ งิ่ ใหญตลอด เราจะตองสํานึกรักในเกียรติอันยิ่งใหญของเรา...”

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๕


ภายหลังพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไดโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดําเนินพระราชทาน ปริญญาบัตรแทนพระองค นามมหาวิทยาลัยนเรศวร งามเลิศลวนชวนรําลึกถึงความหลัง จากวศ.มศว.สานพลัง เกียรติคุณยังลํ้าเลิศบรรเจิดนาม วันที่ ๙ ตุลา ป ๓๒ วันพรักพองคลองใจใหเกรงขาม องคภูมิพลพระราชทานนาม แสนงดงามนามกษัตริยผูเกรียงไกร

๑๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ประสูติกาลจําเริญวัย ณ เมืองนี้ สองแควที่พระราชวังจันทนจดจําไว เปนมหาอุปราชกอบกูไท คุณูปการยิ่งใหญใหธานี ๒๙ กรกฎา ป ๓๓ กําเนิดนามกอตั้งสถาบันนี้ วันครองราชยครบรอบ ๔๐๐ ป เปนศักดิ์ศรีเกริกกองพสุธา ลําดับเจ็ดมหาวิทยาลัยนเรศวร แสนชื่นชวนภูมิใจเปนหนักหนา รําลึกในพระมหากรุณา นอมวิญญาเทิดไวเหนือชีวี ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๙

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๗


พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวร กับพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่

กําเนิดจากรานจิตรลดา หนึ่งโครงการสงเสริมศิลปาชีพ จากพระราชดําริของในหลวง

๑๘

พิพิธภัณฑผา คือ หนึ่งในเสนทางการ เรียนรูมหาวิทยาลัยนเรศวร ตามพันธกิจ สําคัญดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ของมหาวิทยาลัย ภายใตการดําเนินงาน ของสถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน โดยเปนแหลงเรียนรูดานภูมิปญญาผาทอ ทั้ ง ยั ง เป น แหล ง ท อ งเที่ ย วเชิ ง ศิ ล ป วัฒนธรรม ทีใ่ หทงั้ ความรู ความเพลิดเพลิน และความจรรโลงใจ เกิดการซึมซับ ซาบซึง้ นําไปสูการอนุรักษและสืบสานมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติตอไป เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


พิพิธภัณฑผา มหาวิทยาลัยนเรศวร กําเนิดขึ้นไดดวย การสนับสนุนจากรานจิตรลดา หนึ่งในโครงการสงเสริม ศิลปาชีพ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริในสมเด็จ พระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ แตแทจริงแลวจะมีสักกี่คนที่ทราบวาโครงการสงเสริม ศิลปาชีพหรือมูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพนี้กําเนิดขึ้นจาก กระแสรับสัง่ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุ ล ยเดช ดั ง พระราชดํ า รั ส ของสมเด็ จ พระนางเจ า ฯ พระบรมราชินีนาถเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๑ สิงหาคม ๒๕๓๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๙


“…..ทุกครั้งที่เมืองไทยเกิดนํ้าทวมหรือเกิดภัยพิบัติ…ขาพเจาไดตามเสด็จพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงนําของพระราชทานไปชวยเหลือราษฎร มักจะเห็นเครื่อง อุปโภคบริโภคแลวก็รับสั่งกับขาพเจาวา การชวยเหลือแบบนี้เปนการชวยเฉพาะหนา ซึ่งชวยเขาไมไดจริง ๆ ไมพอเพียง ทรงคิดวาทําอยางไรจึงจะชวยเหลือชาวบานเปน ระยะยาว คือทําใหเขามีหวังที่อยูดีกินดีขึ้น ดวยเหตุนี้ขาพเจาจึงเริ่มคิดหาอาชีพเสริม ใหแกครอบครัวชาวนา ชาวไร และพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงหาแหลงนํ้า ใหการทําไรทํานาของเขาเปนผลตอประเทศชาติบานเมือง ทรงพระราชดําเนินไปดู ตามไรของเขา ทรงคิดวานี่เปนกําลังใจ และที่ทรงใหขาพเจาดูแลครอบครัว ก็เลย เปนที่เกิดของมูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพ…..” พิพิธภัณฑผา มหาวิทยาลัยนเรศวร ไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดําเนินทรงกระทําพิธีเปด เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๒

๒๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


รําลึกถึงองคภูมิพล ชมผลิตภัณฑลายกระตายหรือตรา สัญลักษณสีเหลือง พิพิธภัณฑผา มหาวิทยาลัยนเรศวรมีหองจัดแสดงสําคัญคือ หอง พิพิธภัณฑผาจิตรลดา ซึ่งนอกจากจะจัดแสดงชุดฉลองพระองคในสมเด็จ พระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ดอกไมพระนามควีนสิริกิติ์ ตลอดจน ผลิตภัณฑจากผาฝาย ผาไหม ของรานจิตรลดาแลว ยังมีมุมจัดแสดงที่ได รับความสนใจจากผูมาเยี่ยมเยือนไมยิ่งหยอนไปกวากัน นั่นคือ ผลิตภัณฑ ลายกระตายหรือตราสัญลักษณสีเหลือง ในพิธีเปดพิพิธภัณฑผา มหาวิทยาลัยนเรศวร เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๒ มีขอ ความระบุถงึ ผลิตภัณฑลายกระตายหรือตราสัญลักษณสเี หลือง ไวในสูจิบัตรวา

...สื บ เนื่ อ งมาจากป พ ระราชสมภพของพระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัว คือปเถาะ ซึ่งตรงกับปกระตาย และสีประจํา พระชนมวารวันที่พระองคทานพระราชสมภพ คือ วันจันทร สีเหลือง พระชนมายุ ๖๐ พรรษา ทางจิตรลดาก็คิดพิมพผาลาย กระตายขึน้ มา...ปรากฏวาคนนิยม พอมาถึงพระชนมายุ ๗๒ พรรษา เราก็ฟนฟูลายกระตายขึ้นมาใหม แตปนี้อะไรก็กวางขวางขึ้น มาคิดถึงสีประจําพระชนมวารวัน คือ สีเหลือง รานจิตรลดาก็โหม โฆษณาเรื่องสินคาที่เปนสีเหลือง สีประจําพระชนมวารวัน แลวก็ ผาลายกระตาย โดยเฉพาะสินคาสีเหลืองนัน้ จะสังเกตวา ขายดีมาก เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๒๑


๒๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


แลวก็เรื่อยมาจนกระทั่งทําเสื้อแจ็กเก็ตของผูหญิงเปนสีเหลืองทอง แลวทางจิตรลดาก็ไดขอพระราชทานพระราชานุญาตวาจะประดิษฐ กระเปาปกดวยมือ สงไปปกที่เชียงใหม แตเนื่องจากสุภาพบุรุษสี เหลืองนั้นจะใสไมสะดวก ก็จะใหทางจิตรลดาทําเปนสีกรมทา แต ที่ขายดีก็คือสีเหลือง เสื้อที่ใชมากที่สุด คือ เสื้อยืดคอกลมหรือเสื้อ ยือคอโปโลสีเหลือง เพื่อนําไปวิ่งและเดินการกุศล สวนโปโลจะ เปนการปกลายดวยจักร เพราะเปนผายืดปกดวยมือนั้นทําลําบาก และเสื้อคอกลมจะเปนพิมพ ราคาก็จะลดหลั่นกันไป และคิดวาคน ปกก็อยากไดหลาย ๆ สี มาพูดถึงเรื่องเสื้อเบลเซอร เสื้อเชิ้ต พูด ถึงตราสัญลักษณเปนทีท่ ราบกันอยูแ ลวเขาประกวดกันมา สวนของ รานจิตรลดาพยายามคิดที่จะใชตราสัญลักษณทําเปนอะไรไดบาง ทุกอยางนั้นไดขอผานทางทานราชเลขาธิการแลววา ทางจิตรลดา ขอทําสินคาออก เชน เสื้อยืด ซองแวนตา หมวก เนคไท สวน ใหญก็จะพิมพบาง ปกบาง แลวแตความสามารถที่จะทํา ทําปก สมุดฉีก ปกอัลบั้ม คนก็นิยมใชกันมาก นอกจากดังกลาวแลว ก็ มาคิดสัญลักษณปกระตายเพิ่มเติมจากปพระราชสมภพ ทางราน จิตรลดาก็มาคิดวา เราพิมพลายกระตายแลว เราก็ทําตุกตายัดนุน ตุก ตามีหนา หรือทีเ่ ราเรียกกันวา ตุก ตาหนาขนทีเ่ ราชวยกันคิดขึน้ มา ซึ่งเด็กชอบมาก ทั้งนี้ตองใชผาของรานจิตรลดา เชน เสื้อผา ก็ใชผา ฝายของจิตรลดา ซึง่ คาแรงงานจะมีราคาสูงกวาผาฝายทัว่ ไป คนมักจะติวาสินคาของรานจิตรลดานั้นมีราคาสูงเกินไป แตก็ไม สามารถจะกดราคาใหตาํ่ ลงมาได ก็เลยเกิดเปนสินคาทีเ่ ปนกระตาย ขึ้นมา กระตายก็เปนสัตวที่นารัก นอกจากนั้นจะมาพิมพบนรม ซึ่ง รมปกติทั่วไปมี ๘ เสี้ยว เสี้ยวหนึ่งจะเปนลายเดียวกันหมด และจะ ตองบรรจุกระตายใหได ๙ ตัว เสี้ยวหนึ่งจะมีรูปซึ่งก็จะครบ ๙ ตัว แต ๙ เสี้ยวจะไมเหมือนกัน คนละลาย กระตายคนละอิริยาบถ ราคาก็จะสูงกวาที่อื่น... เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๒๓


ปจจุบนั ผลิตภัณฑลายกระตายหรือตราสัญลักษณ สีเหลือง เหลานี้ไมมีจําหนายแลว แตทุกทานสามารถมาชื่นชมได ณ พิพธิ ภัณฑผา สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน อาคาร อเนกประสงค มหาวิทยาลัยนเรศวร ในวันและเวลาราชการ ถึงแมผลิตภัณฑลายกระตายหรือตราสัญลักษณสเี หลืองจะ เปนเพียงมุมเล็ก ๆ ในหองพิพิธภัณฑผาจิตรลดา แตเชื่อวา มีความยิ่งใหญในความรูสึกของคนไทยทุกคน

พิพิธภัณฑผาเสนทางการเรียนรู ศูนยกลางสูภูมิปญญาผาทอนี้ มหาวิทยาลัยนเรศวรจําจงดี ดวยบารมีแหงองคภูมิพล กําเนิดโดยรานจิตรลดาเมื่อแรกเริ่ม ชวยสงเสริมศิลปาชีพทุกแหงหน ดวยดําริในหลวงหวงปวงชน ชวยคนจนยากไรใหมีกิน ราชินีทรงหาอาชีพเสริม ชวยเพิ่มเติมชาวบานสานงานศิลป มูลนิธิศิลปาชีพของแผนดิน ไดยลยินความงามตามแบบไทย ณ พิพิธภัณฑผามีหนึ่งมุมสินคา พระชนมายุ ๖๐ รวมเทิดไท อีก ๑ รอบ ๗๒ พรรษาใน ภูมิพลไซรจึงไดคิดผลิตภัณฑ

๒๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


สีเหลืองคือวันพระราชสมภพ ปบรรจบปเถาะเหมาะสรางสรรค ลายกระตายสีเหลืองเรืองจํานรรจ ทั่วเขตขัณฑชื่นชมสมฤทัย ตุกตาผาพิมพเสื้อกระเปา มีหนักเบาซองแวนตาหมวกเนคไท ปกสมุดปกอัลบั้มเฉิดไฉไล ทั้งรมลายกระตาย ๙ กิริยา ขอเชิญชมหลากหลายผลิตภัณฑนี้ จัดแสดงที่พิพิธภัณฑผา มหาวิทยาลัยนเรศวรงดงามตา รวมรําลึกพระมหากรุณาธิคุณ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๒๕


ย้อนรําลึกความภาคภูมิใจ มหาวิทยาลัยนเรศวรทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์

“...ดวยพระราชกรณียกิจมากลนสุดคณานับที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรง ปฏิบตั เิ พือ่ ทรงทะนุบาํ รุงทรัพยากรและสิง่ แวดลอม จนบังเกิดเปนผลดีตอ ประเทศชาติ และชีวิตความเปนอยูของปวงราษฎรเปนอเนกอนันต

๒๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


สภามหาวิทยาลัยนเรศวรจึงเล็งเห็นควรขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส ทูล เกลาทูลกระหมอมถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เพือ่ แสดง ความสํานึกซาบซึง้ ปตยิ นิ ดีในพระมหากรุณาธิคณ ุ และเพือ่ เฉลิมพระเกียรติคณ ุ ใหเปน ที่ปรากฏในวงวิชาการ กับทั้งเพื่อเปนสิริมงคลแกมหาวิทยาลัยนเรศวรสืบไป...” ความตอนหนึ่ ง ของคํ า ประกาศราชสดุ ดี เ ฉลิ ม พระเกียรติคุณ พระบาทสมเด็จประปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสที่สภามหาวิทยาลัยนเรศวร ทู ล เกล า ฯ ถวายปริ ญ ญาวิ ท ยาศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๒๗


ทรงสนพระราชหฤทัยดานการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติตงั้ แตทรง พระเยาว “...จําไดวาเมื่ออายุ ๑๐ ขวบ ที่โรงเรียนมีครูคนหนึ่งซึ่งเดี๋ยวนี้ตายไปแลว สอน เรื่องวิทยาศาสตร เรื่องการอนุรักษดิน แลวใหเขียนวา ภูเขาตองมีปาไมอยางนั้น เม็ดฝนลงมาแลวจะชะดินลงมาเร็ว ทําใหไหลตามนํ้าไป ทําใหเสียหาย ดินหมดจาก ภูเขา เพราะไหลตามสายนํา้ ไป ก็เปนหลักของปาไมเรือ่ งการอนุรกั ษดนิ และเปนหลัก ของชลประทานที่วา ถาเราไมรักษาปาไมขางบน จะทําใหเดือดรอนตลอด ตั้งแตดิน ภูเขาจะหมดไป กระทั่งการที่จะมีตะกอนลงมาในเขื่อน มีตะกอนลงมาในแมนํ้าทํา ใหเกิดนํ้าทวม นี่ละ เรียนมาตั้งแตอายุ ๑๐ ขวบ...” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช พระราชทานแก ค ณะกรรมการสโมสร ไลออนสสากล ภาค ๓๑๐ (ประเทศไทย และประเทศลาว) ณ พระตําหนักจิตรลดา รโหฐาน วันที่ ๒๘ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๑๒

๒๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


“...ธรรมชาติสิ่งแวดลอมของเรา ไมวาจะเปนแผนดิน ปาไม แมนํ้า ทะเล และอากาศ มิไดเปนเพียงสิ่งสวย ๆ งาม ๆ เทานั้น หากแต เ ป น สิ่ ง จํ า เป น สํ า หรั บ การดํ า รงชี วิ ต ของเรา และการ คุม ครองสิง่ แวดลอมของเราไวใหดนี ี้ ก็เทากับเปนการปกปกรักษา อนาคตไวใหลูกหลานของเราดวย...” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดชในการเสด็จออกมหาสมาคม ในงานราชพิธี เฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๒๑ ในเรื่องรักษา ทรัพยากร

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๒๙


ปาไมสาธิต...พระราชดําริเริ่มแรกสวนพระองค ชวงปพ.ศ. ๒๕๐๓ – ๒๕๐๔ ขณะเสด็จพระราชดําเนินผานจังหวัด นครปฐม ราชบุรี และเพชรบุรี เมื่อรถยนตพระที่นั่งผานอําเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรีนั้น มีตนยางขนาดใหญปลูกเรียงรายทั้งสองขางทาง จึงไดมีพระราชดําริที่จะสงวนบริเวณปายางนี้ไวใหเปนสวนสาธารณะ แตในระยะนัน้ ไมอาจดําเนินการได เนือ่ งจากตองจายเงินคาทดแทนใน อัตราที่สูง เพราะมีราษฎรมาทําไรทําสวนในบริเวณนั้นจํานวนมาก

๓๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไดทรงเริ่ม ทดลองปลูกตนยางดวยพระองคเอง โดยทรงเพาะเมล็ดยางใน กระถางบนพระตําหนักเปยมสุข พระราชวังไกลกังวล และไดทรง ปลูกตนยางนัน้ ในแปลงปาไมทดลองในบริเวณแปลงทดลองปลูกตน ยางนาพรอมขาราชบริพาร เมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ จํานวน ๑,๒๕๐ ตน ตอมาทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหนําพันธุ ไมตาง ๆ ทั่วประเทศมาปลูกในบริเวณที่ประทับสวนจิตรลดาใน ลักษณะปาไมสาธิต นอกจากนี้ยังไดสรางพระตําหนักเรือนตนใน บริเวณปาไมสาธิตนั้น เพื่อทรงศึกษาธรรมชาติวิทยาปาไมดวย พระองคเองอยางใกลชิดและลึกซึ้งในป พ.ศ. ๒๕๐๘

การปลูกปา “ควรปลูกตนไมลงในใจคนเสียกอน” ณ หนวยงานพัฒนาตนนํ้าทุงจอ ในป พ.ศ. ๒๕๑๙ พระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชได พ ระราชทาน พระราชดําริใหมีการปลูกตนไม ๓ ชนิดที่แตกตางกัน คือ ไมผล ไมโตเร็ว และไมเศรษฐกิจ เพื่อจะทําใหเกิดปาไมแบบผสมผสาน และสรางความสมดุลแกธรรมชาติอยางยั่งยืน สามารถตอบสนอง ความตองการของรัฐและวิถีประชาในชุมชน ประการสําคัญนั้นมี พระราชดําริที่ยึดเปนทฤษฎีการพัฒนาดานปาไม โดยปลูกฝง จิตสํานึกแกประชาชนวา เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๓๑


“...เจาหนาที่ปาไมควรจะปลูกตนไมลงในใจคนเสียกอน แลวคน เหล า นั้ น ก็ พ ากั น ปลู ก ต น ไม ล งบนแผ น ดิ น และรั ก ษาต น ไม ด  ว ย ตนเอง...” พระราชดําริของสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ซึง่ นับเปนทฤษฎีทเี่ ปนปรัชญาดานการพัฒนาปาไมทยี่ งิ่ ใหญโดยแท

ทฤษฎีการปลูกปาโดยไมตองปลูกตามหลักการฟนฟูสภาพปา ดวยวัฏธรรมชาติ, ปลูกปาโดยไมตองปลูก, ปลูกปาในที่สูง, การ ปลูกปาทดแทน, การสรางความชุมชื้นใหกับปา, การจัดการใหคน อยูร ว มกับปา, การอนุรกั ษและปลูกปาชายเลน...และอีกหลากหลาย โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพื่อใหปาไมยืนยงคงความ อุดมสมบูรณ

๓๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


การจัดการทรัพยากรนํ้า: นํ้าคือชีวิต “เรื่องนํ้านี้ก็เปนปจจัยหลักของมวลมนุษย ไมใช มนุษยเทานั้นเอง แมสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ทั้งสัตว ทั้ง พืช ก็ตองมีนํ้า ถาไมมีนํ้าก็อยูไมได เพราะวานํ้าเปน สือ่ หรือเปนปจจัยสําคัญของการเปนสิง่ มีชวี ติ ...ทีก่ ลาว ถึงขอนี้ก็จะไดใหทราบถึงวาทําไมการพัฒนาขั้นแรก หรือสิง่ แรกทีน่ กึ ถึงก็คอื ทําโครงการชลประทาน แลว ก็โครงการสิ่งแวดลอม ทําใหนํ้าดี สองอยางนี้ อื่น ๆ ก็จะเปนไปได...”

พระราชดํ า รั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ใน โอกาสที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตาง ประเทศนําเอกอัครราชทูตและกงสุลใหญ ประจํ า ภู มิ ภ าคยุ โ รป แอฟริ ก า และ ตะวันออกกลาง พรอมดวยขาราชการชั้น ผูใหญของกระทรวงการตางประเทศเฝา ทูลละอองธุลีพระบาท ณ พระตําหนัก จิตรลดารโหฐาน วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๓๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๓๓


ทฤษฎีนํ้าดีไลนํ้าเสีย เปนหนึ่งในโครงการพระราชดําริ ดัง พระราชดํารัสเกี่ยวกับการใชพื้นที่ในอําเภอธัญบุรี เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๓๒ “...แต ๓,๐๐๐ ไรนั่นมันอยูสูง จะนํานํ้าโสโครกจากที่นี่ไปที่ โนนตองสูบไปไมไหว แตวาจะทําเปนบึงใหญที่จะเก็บนํ้าได สําหรับเวลาหนามีนาํ้ เก็บเอาไว หนาแลงก็ปลอยลงมา สวนหนึง่ อาจปลอยลงมาสําหรับลางกรุงเทพ ไดเจือจางนํ้าโสโครกใน คลองตาง ๆ...”

๓๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


นอกจากนีย้ งั มีพระราชดําริและพระราชกรณียกิจเกีย่ วกับนํา้ อีกมากมาย เชน การ บําบัดนํ้าเสียดวยผักตบชวา, การบําบัดนํ้าเสียดวยการผสมผสานระหวางพืชกับระบบ เติมอากาศ, การบําบัดนํา้ เสียดวยระบบบอบําบัดและวัชพืชบําบัด, กังหันนํา้ ชัยพัฒนา, การกําจัดนํา้ เสียโดยวิธธี รรมชาติ, การสรางฝายอนุรกั ษตน นํา้ , โครงการแกมลิง ฯลฯ “...จําไดเมื่ออายุ ๕ ขวบ มีลิง เอากลวยไปใหมัน มันก็เคี้ยว เคี้ยว เคี้ยว แลว ใสในแกมลิง ตกลง ‘โครงการแกมลิง’ นี้มีที่เกิดเมื่อเราอายุ ๕ ขวบ เมื่ออายุ ๕ ขวบ ก็นี่เปนเวลา ๖๓ ปแลว...” พระราชดํารัสกลาวถึงทีม่ าของโครงการแกมลิง พระราชทานแกผเู ขาเฝาทูลละออง ธุลีพระบาทเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘ ณ ศาลา ดุสิดาลัย สวนจิตรลดา

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๓๕


กลาวไดวา การจัดการทรัพยากรนํา้ และงานพัฒนาแหลงนํา้ นัน้ พระบาท สมเด็จประปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงทําทุกอยางทุกขั้นตอน ดังที่ นายปราโมทย ไมกลัด เลาใหประชาชาติธุรกิจ ฉบับวันที่ ๕-๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ ดังนี้ “...งานของพระองคทานมีตั้งแตถานํ้าขาดแคลนก็จัดหานํ้า และเมื่อนํ้า ทวม นํา้ มากก็จดั การบรรเทาใหนอ ยลง เมือ่ มีนาํ้ เนาเสีย ก็ตอ งมีการจัดการ ทํางานดานนํ้าทั้งหมด ทานจะทรงทราบปญหาอยางละเอียด....”

๓๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทรงมีพระ ปรี ช าสามารถและวิ สั ย ทั ศ น ที่ ก ว า งไกลเกี่ ย วกั บ การจั ด การ ทรัพยากรนํ้า ดังจะเห็นไดจากเหตุการณที่เกิดขึ้นชวงหนาแลง ป พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ตองลดปริมาณนํ้าเพื่อการทํานาปรังลงกวา รอยละ ๕๐ เนื่องจากปริมาณนํ้าในเขื่อนหลัก ๆ มีไมเพียงพอ และได มี ก ารเรี ย กร อ งให ป ระชาชนในเขตกรุ ง เทพมหานคร ประหยัดการใชนํ้าประปา ทําใหระลึกถึงพระราชดํารัสของ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชที่ ไ ด พระราชทานเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ที่วา “…เคยพู ด มาหลายป แ ล ว ในวิ ธี ที่ จ ะปฏิ บั ติ เ พื่ อ ที่ จ ะให มี ทรัพยากรนํา้ พอเพียงและเหมาะสม คําวาพอเพียง ก็หมายความ วาใหมีพอในการบริโภคในการใช ทั้งในดานการใชในบาน ทั้ง ในการใชเพื่อการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม ตองมีพอ ถาไมมี ทุกสิ่งทุกอยางก็ชะงักไมมีทางที่จะมีความเจริญถาไมมีนํ้า…. แม จะตองเสียคาใชจายไมใชนอย แตก็ถาดําเนินการไปเดี๋ยวนี้ อีก ๕-๖ ปขางหนา เราสบาย และถาไมทํา อีก ๕-๖ ปขางหนา ราคากอสรางคาดําเนินการก็จะขึ้นสูงไป ๒ เทา ๓ เทา ลงทาย ก็จะตองประวิงตอไป และเมื่อประวิงตอไปก็จะไมไดทํา เราก็จะ ตองอดนํ้าแน จะกลายเปนทะเลทราย…”

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๓๗


การพัฒนาทรัพยากรดิน

๓๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงสน พระราชหฤทัยในการปรับปรุง ฟนฟูและทํานุบํารุงดิน เพื่อคืน ความอุดมสมบูรณ ความชุมชื้น และรักษาอินทรียสารในดินให คงความอุดมสมบูรณตลอดไป ทรงชวยขจัดความทุกขยากของ เกษตรกร แนวพระราชดําริที่พระราชทานเพื่อรักษาคุณภาพของ ดินมีดวยกันหลายวิธี เชน การปลูกปาทดแทนเพื่อฟนฟูหนาดิน, โครงการแกลงดิน โดนเฉพาะอยางยิ่งการปลูกหญาแฝก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระ ราชดําริถงึ หญาแฝกเปนครัง้ แรกเมือ่ วันที่ ๒๒ มิถนุ ายน ๒๕๓๔ โดยใหหนวยงานตาง ๆ ทําการศึกษา ทดลอง และดําเนินการ ปลูกหญาแฝก เปนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพื่อ ปองกันปญหาการชะลางพังทลายของดิน และเพือ่ ประโยชนอนื่ ๆ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหศึกษา คนควา ทดลองที่ ศู น ย ศึ ก ษาการพั ฒ นาห ว ยทรายอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรีเปนแหงแรก “...และหญาที่มีคุณอยางหญาแฝก ซึ่งเปนประโยชนอยาง ยิ่งแกการอนุรกั ษดนิ และนํา้ เพราะมีรากทีห่ ยัง่ ลึก แผกระจายลง ไปตรง ๆ ทําใหอุมนํ้าและยึดเหนี่ยวดินไดมั่นคง รักษาหนาดิน ไดดี...” พระบรมราโชวาทในพิ ธี พ ระราชทานปริ ญ ญาบั ต รของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ณ อาคารจักรพันธ เพ็ญศิริ วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๔๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๓๙


๔๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักนําแหงการดําเนิน ชีวิต เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางการดํารงอยูและ ปฏิบตั ติ นของประชาชนในทุกระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึง ระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและการบริหารประเทศใหดําเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหกาวทันตอ โลกยุคโลกาภิวัตน

“...คนอืน่ จะวาอยางไรก็ชา งเขา จะวาเมืองไทยลาสมัย วาเมือง ไทยเชย วาเมืองไทยไมมีสิ่งใหม แตเราอยูอยางพอมีพอกิน และ ขอใหทกุ คนมีความปรารถนาทีจ่ ะใหเมืองไทยพออยูพ อกิน มีความ สงบ ชวยกันรักษาสวนรวมใหอยูที่พอสมควร ขอยํ้าพอควร พอ อยูพอกิน มีความสงบ ไมใหคนอื่นมาแยงคุณสมบัตินี้ไปจากเรา ได” พระราชกระแสรับสั่งในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแกผูเขาเฝา ถวายพระพรชั ย มงคล เนื่ อ งในวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา พุทธศักราช ๒๕๑๗

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๔๑


เมื่อประเทศไทยตองประสบกับวิกฤตเศรษฐกิจใน พ.ศ. ๒๕๔๐ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดํารัส ในวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ ดังนี้ “การจะเปนเสือนัน้ มันไมสาํ คัญ สําคัญอยูท เี่ ราพออยูพ อกิน และ มีเศรษฐกิจการเปนอยูแ บบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินหมายความ วา อุมชูตัวเองได ใหมีพอเพียงกับตัวเอง” การประหยั ด นั บ เป น หนึ่ ง แนวทางของความพอเพี ย ง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเปนแบบ อยางในเรื่องการประหยัดและใชขาวของเครื่องใชอยางคุมคา ฉลองพระบาทที่ทรงใชเวลาเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎรในพื้นที่ ตาง ๆ พระองคจะทรงฉลองพระบาทองคเดิมเปนเวลานานหลาย สิบป องคหนึ่งเปนฉลองพระบาทผาใบ และอีกองคเปนฉลอง พระบาทหนังสีดํา ซึ่งฉลองพระบาทนั้นไมใชยี่หอยอดนิยมหรือมี ราคาแพงเลย ฉลองพระบาทผาใบที่ทรงสวมเวลาเสด็จฯ เยี่ยม ราษฎรไมเคยเปลีย่ นแบบเลยเปนเวลาหลายสิบปแลว ราคาไมกรี่ อ ย คูไหนชํารุดก็ทรงสงซอมรานเล็ก ๆ ใกล ๆ วัง เพื่อทําการซอมแซม ทรงใชคุมราคา คุมคาที่สุด สวนนาฬกาที่ทรงใชนั้น แมจะมีผู ทูลเกลาฯ ถวายนาฬกายี่หอดัง ราคาแพง ก็ไมไดทรงใช ทรงใช นาฬกาธรรมดาทีป่ ระชาชนทัว่ ไปใชกนั อยู ทรงมีนาฬกาเพือ่ ใชบอก เวลา ไมไดทรงใชเพื่อการอื่น มักจะรับสั่งวา “ฉันใสนาฬกายี่หอ ‘ใสแลวโก’”

๔๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


หลอดยาสีพระทนตเปนอีกหนึ่งแบบอยางที่ชัดเจน เรียกได วาเปน ‘หลอดยาสีพระทนตประวัติศาสตร’

“...เมื่อไมนานมานี้เองมหาดเล็กหองสรงเห็นวายาสีพระทนตของ พระองคคงใชหมดแลว จึงไดนําหลอดใหมมาเปลี่ยนใหแทน เมื่อ พระองคไดทรงทราบก็ไดขอใหเขานํายาสีพระทนตหลอดเกามาคืน และพระองคทานยังทรงสามารถใชตอไปไดอีกถึง ๕ วัน...” หลังจากนัน้ ทันตแพทยประจําพระองคไดกราบพระบาททูลขอ พระราชทานหลอดยาสีพระทนตนั้นเพื่อนําไปใหศิษยไดเห็น และ รับใสเกลาเปนตัวอยางเพือ่ ประพฤติปฏิบตั ใิ นโอกาสตอ ๆ ไป หลอด ยาสี พ ระทนต ข องพระองค แ บนราบเรี ย บโดยตลอดคล า ยแผ น กระดาษ โดยเฉพาะบริเวณคอหลอดยังปรากฏรอยบุม ลึกลงไปเกือบ ถึงเกลียวคอหลอด

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๔๓


พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทรงอธิบาย วา “หลอดยาสีพระทนตที่เห็นแบนเรียบนั้นเปนผลจากการใช ดามแปรงสีพระทนตชว ยรีดและกดจนเปนรอยบุม ทีเ่ ห็นนัน่ เอง” นัน่ แสดงใหเห็นวาพระองคทรงเปนแบบอยางทีด่ ใี นการดําเนิน ชีวิตอยางพอเพียงโดยแทจริง

เกษตรทฤษฏีใหม เปลี่ยนชีวิต พลิกพื้นดิน ผืนนํ้า พระราชดํารัสพระราชทานแกบุคคลตางๆ ที่เขาเฝาฯ ถวาย ชัยมงคลเนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ า ลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันศุกรที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ “...ทฤษฎีใหมนเี้ กิดขึน้ มาอยางไร ก็มาจากการปฏิบตั ิ ซึง่ เปนการ ปฏิบตั ขิ องคนอืน่ ดวยตัง้ แตตน ทฤษฎีใหมนี้ ความจริงทางราชการ ไดปฏิบัติมาหลายปแลว กอนที่เกิดเปนทฤษฎีใหมตามที่เรียกวา ทฤษฎีใหมในพระราชดําริ คือ การพัฒนาทางการเกษตร โดยเพาะ ปลูกหลายอยางในทีเ่ ดียวกัน หรือผลัดปลูกหมุนเวียนกัน อยางเชน เขาปลูกขาว หลังจากฤดูกาลขาว เขาก็ปลูกถั่ว อยางนี้เปนทฤษฎี ใหมแลว แตไมมีใครบอกวาเปนทฤษฎี ก็เลยไดหนาวาใชคําวา ทฤษฎีใหม นี่เปนความคิดขึ้นมา และยอมรับกันวาเปนทฤษฎี เมื่อ ยอมรับกันวาเปนทฤษฎี ก็ไปปฏิบัติตอได...

๔๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


...ที่เริ่มทําทฤษฎีใหมนี้ กอนที่จะไดเรียกวาเปนทฤษฎีก็ทําที่ สระบุรี ที่นั้นไดไปหาซื้อที่ ๑๕ ไร ซึ่งคุณภาพไมดี เงินที่ซื้อ ๑๕ ไรนั้น สวนหนึ่งเปนเงินสวนตัว อันนี้สวนตัวแท ๆ ไมไดไปเบิกจาก งบประมาณแผนดินหรือจากที่อื่น เปนเงินสวนตัวที่เก็บอยูเปน เงินสด จนมีคนลอวาเปนเศรษฐีเงินสด ไมไดเปนเศรษฐีที่ไปลงทุน กินดอกเบี้ย บางคนเขาตําหนิวาทําไมเก็บเงินสด เก็บเงินสดไวใน กระเปา เอาไวในหองไมไดเอาไปไวทธี่ นาคารหรือบริษทั หลักทรัพย คนเขาก็บอกวา การเก็บเอาไวอยางนั้นไมถูกหลักเศรษฐกิจ ก็เลย เอาเงินเชนนั้นไปซื้อที่ดิน คนอื่นที่เห็นดีในการไปซื้อที่ดินเพื่อที่จะ ทดลองก็มาสมทบทุน เปนเอกชน เปนเพื่อนเปนฝูงไปซื้อ ๑๕ ไร และคนที่เปนเจาหนาที่ทั้งฝายจังหวัด ทั้งฝายกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรฯ ก็ไดรวมไปทํา ก็บอกวาใหไปขุดสระ เพราะที่นี่ ยังไมมีนํ้า..

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๔๕


...คนที่ขายที่นั้นเขาบอกวามีบริษัทหนึ่งเขามาแถวนี้จะมาขอซื้อ แต ก็มีเงื่อนไขวา ถาหานํ้าไดเขาจะซื้อ ปรากฏวาเขาขุด แลวหานํ้าไม ได อันนี้ก็แปลก เพราะวาเมื่อซื้อที่ซึ่งหางจากที่ที่บริษัทนั้นเคยจะ มาซื้อเพียงประมาณ ๒๐๐-๓๐๐ เมตร เราไปขุดมีนํ้า เรียกวาเรา ดวงดี ขุดมีนํ้าได เมื่อมีนํ้าแลว ก็สามารถที่จะนํานํ้านั้นมาทําการ เพาะปลูกตลอดป เลีย้ งปลาก็ได เลยใชที่ ๑๕ ไรนมี่ าปลูกขาว ปลูก ผัก ปลูกตนไม ตนไมผล ปลูกสมุนไพรก็มี และมีการเลี้ยงปศุสัตว ทั้งหมดนี่ใน ๑๕ ไรนี้ คนก็บอกวา แหม! ทําไมในที่แคบอยางนี้ ทําไดทุกอยาง เมื่อทําไปปหนึ่งก็ไดผล ผลผลิตนั้นไดใหนักเรียนที่ โรงเรียน วัด และที่เหลือก็ยังขายไป ไดกําไร ๒๐,๐๐๐ บาท...

๔๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


“...แตที่บอกวาการทํานี่ไมไดทําเองแท เพียงแตพูดไปวามี ทฤษฎีทําอยางนั้น ๆ คนที่ทําก็คือขาราชการ และคนอื่นเขามา ชวยทํา หมายความวาตองอาศัยเจาหนาที่ราชการ คนงานและ นักวิชาการตางๆ แตอยางไรก็ตาม เขาไมคอยคิดวาจะทําในที่ ๑๕ ไรที่แหงแลงแบบนี้ได แตก็ทําได ผูวางแผนเองก็ทึ่งตัวเอง นีพ่ ดู เหมือนวา จะอวดตัววาเกง แตตกใจตัวเองวาทีพ่ ดู ไปใชงาน ได จึงมาสรุปเปนทฤษฎีใหม เมื่อเปนทฤษฎีใหมก็ใหไปที่มูลนิธิ ชัยพัฒนา แลวเขียนขางใตวา เปนทฤษฎีใหมของมูลนิธชิ ยั พัฒนา ตอมาคนก็ไดเห็นวาใชได และไปปฏิบัติไดในที่ที่แหงแลง เคย เลาใหฟงแลววาที่ทําที่อําเภอเขาวง กาฬสินธุ ที่ไดผลดี ที่ตรง นั้นทํา ๑๒ ไร ภายในปหนึ่งเขาก็มีขาวกิน ครั้งแรกที่ไปเยี่ยม เขาไมมีขาวกิน มีเพียงไมกี่เม็ดตอรวง เมื่อชาวบานแถวนั้นเห็น วาดี ก็ขอใหชวย ปตอไปก็เพิ่มขึ้นเปน ๑๐ รายปตอ ๆ ไปก็ เปน ๑๐๐ และขยายออกไปในภาคอื่นไดเปนการปฏิบัติตาม ทฤษฎีและไดผล...” ปจจุบนั มีเกษตรกร ตลอดจนขาราชการ คนทํางานมากมาย ทีป่ รับเปลีย่ นวิธกี ารใชชวี ติ หันมาทําเกษตรทฤษฏีใหม พลิกชีวติ ทั้งในดานความเปนอยู อาชีพ รายได และที่สําคัญคือ ความ สงบสุขของชีวิต

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๔๗


ทั่วโลกลวนแซซองสดุดี

พระเกียรติคณ ุ ในดานการทํานุบาํ รุงและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช นั้น มิไดเปนที่ประจักษซาบซึ้งแกปวงชนชาวไทยเทานั้น ยังปรากฏแซ ซองสดุดีจากนานาประเทศ เชน

๔๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


 รางวัลแมกไซไซ ป พ.ศ. ๒๕๓๑ มูลนิธิรามอนแมกไซ ไซ แหงประเทศฟลิปปนส ไดพิจารณามอบรางวัลแมกไซไซ สาขา International Understanding โครงการหลวงซึ่งเปนโครงการใน พระราชดําริ  เหรียญทองประกาศพระเกียรติคุณดานสิ่งแวดลอม ป พ.ศ. ๒๕๓๕ องคการสหประชาชาติไดทูลเกลาทูลกระหมอมถวาย เหรียญทองประกาศพระเกียรติคุณดานสิ่งแวดลอม (UNEP Gold Medal of Distinction) เมื่อวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ เฉลิมพระเกียรติที่ทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจดานทรัพยากรและ สิ่งแวดลอม  รางวัลหญาแฝกชุบสําริด สมาคมควบคุมการสึกกรอน ระหวางประเทศ (IECA) แหงออสเตรเลียไดถวายรางวัลที่ทรงเปน แบบอยางในการนําหญาแฝกมาใชในการอนุรกั ษดนิ และนํา้ เมือ่ วัน ที่ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๓๖ จากนั้นวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๓๖ ผูเชี่ยวชาญเรื่องหญาแฝก เพื่อการอนุรักษนํ้าและดินของธนาคารโลกทูลเกลาฯ ถวายรางวัล หญาแฝกชุบสําริด เพือ่ เทิดพระเกียรติในฐานะทีท่ รงเปนนักอนุรกั ษ ทรัพยากรดินและนํ้า เพื่อสดุดีพระเกียรติคุณความสําเร็จดาน วิชาการและการพัฒนาในการสงเสริมเทคโนโลยีหญาแฝกระหวาง ประเทศ ซึ่งผลการดําเนินงานหญาแฝกในประเทศไทยไดรับการตี พิมพเผยแพรไปทั่วโลก รางวัลเหรียญอากริโคลา องคการอาหารและการเกษตร แหงสหประชาชาติ (เอฟเอโอ) ซึ่งมีสํานักงานใหญอยูที่กรุงโรม อิตาลี มอบรางวัลเหรียญอากริโคลา (Agricola Medal) เมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๓๘ เพื่อเชิดชูพระเกียรติกษัตริยนักพัฒนา ที่ทรง ใสใจสงเสริมคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชนชาวไทย ซึ่งสวนใหญมีวิถีชีวิตพึ่งพาการเกษตรเปนหลัก

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๔๙


 รางวัลกังหันชัยพัฒนา สมาคมสงเสริมและคุมครองนัก ประดิษฐของราชอาณาจักรเบลเยียม ที่มีอายุเกาแกที่สุดในยุโรป ไดถวายรางวัลบรัสเซลส ยูเรกา ในป ๒๕๔๓ หลังจากสภาวิจัย แหงชาติไดนาํ ผลงาน “เครือ่ งกลเติมอากาศทีผ่ วิ นํา้ หมุนชาแบบทุน ลอย” หรือ “กังหันนํ้าชัยพัฒนา” ในพระองคเขาประกวดในสิ่ง ประดิษฐประเภทที่ ๑ เกี่ยวกับการควบคุมมลพิษและสิ่งแวดลอม ซึ่งปรากฏวา ไดรับการยกยองจากคณะกรรมการจัดงานวา เปน ผลงานที่ทรงคุณคาและมีประโยชนอยางยิ่งในการบําบัดนํ้าเสีย

๕๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ในงานบรัสเซลส ยูเรกา เมื่อป ๒๕๔๔ พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไดรับการทูลเกลาฯ ถวายรางวัลถึง ๕ รางวัล อยางไรก็ดี พระองคไดพระราชทานกังหันนํ้าชัยพัฒนา เพื่อ เปนของขวัญใหแกราชอาณาจักรเบลเยียม ตามคําขอของนายโยเซ ลอริโย ประธานองคกรกรัสเซลส ยูเรกา โดยตั้งอยู ณ สวน สาธารณะโวลูเว แซงต-ปแอร กลางกรุงบรัสเซลส ราชอาณาจักร เบลเยียม เพือ่ เปดโอกาสใหชาวยุโรปไดชนื่ ชมพระปรีชาสามารถของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช  รางวัลรวงขาวทองคํา ถวายโดยสมาคมสินเชื่อเกษตรและ ชนบทภาคพื้นเอเชียแปซิฟก (เอพีอารเอซีเอ) เฉลิมพระเกียรติคุณที่ ทรงอุทศิ พระองคเพือ่ การพัฒนาชนบท และการเกษตรดวยหลักการ อันเปนการพัฒนาที่มั่นคงยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ และพระบรม ราโชบายใหปลูกขาว อันเปนอาหารหลักของคนไทย ทูลเกลาฯ ถวาย เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๘ เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๕๑


 รางวั ล ความสํ า เร็ จ สู ง สุ ด จากโครงการพั ฒ นาแห ง สหประชาชาติ (ยูเอ็นดีพี) รางวัลความกาวหนาในการพัฒนา มนุษย (The Human Development Award) เปนรางวัลที่จัดตั้ง ขึ้นโดยโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ มอบใหแกผูอุทิศแรงกาย และแรงใจใหกบั การทําความเขาใจและการวางรากฐานกระบวนการ พัฒนาทรัพยากรมนุษยในระดับประเทศ ระดับภูมภิ าค หรือระดับโลก ในเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งเปนปที่ประเทศไทยเฉลิมฉลอง ครัง้ ยิง่ ใหญในโอกาสทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงครองสิรริ าชสมบัตคิ รบ ๖๐ ป สํานักงานเลขาธิการสหประชาชาติ และยูเอ็นดีพีไดรวมกันจัดตั้งรางวัลความสําเร็จสูงสุดในดานการ พัฒนามนุษย (UNDP Human Development Lifetime Achievement Award) เปนกรณีพเิ ศษ ซึง่ เปนรางวัลเกียรติยศสูงสุดของความ สําเร็จในดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย โดยนายโคฟ อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ในเวลานั้น ไดเดินทางมายัง ประเทศไทยดวยตัวเอง เพื่อทูลเกลาฯ ถวายรางวัลเกียรติยศอันทรง คุณคาดังกลาวแดพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

๕๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


 รางวัลวิทยาศาสตรดนิ เพือ่ มนุษยธรรม ศาสตราจารยสตีเฟน นิรตคลิฟฟ กรรมการบริหารสหภาพวิทยาศาสตรทางดินนานาชาติ แหงกรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส พรอมดวยคณะผูบ ริหารองคกรทูลเกลา ทูลกระหมอมถวายรางวัล The Humanitarian Soil Scientist หรือ “นั ก วิ ท ยาศาสตร ดิ น เพื่ อ มนุ ษ ยชาติ ” ณ อาคารเฉลิ ม พระเกี ย รติ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๕ เปนพระองคแรก ของโลก และขอพระบรมราชานุญาตใหวันที่ ๕ ธันวาคมของทุกปเปน “วันดินโลก” เพือ่ ใหวนั ดังกลาวเปนทีร่ จู กั แพรหลายในระดับนานาชาติ เกิ ด ความต อ เนื่ อ งและจริ ง จั ง ในการรณรงค ด  า นทรั พ ยากรดิ น ใน ทุกระดับ

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๕๓


สําหรับมหาวิทยาลัยนเรศวรนั้น นับเปนสิริมงคลและเกียรติคุณ อยางยิง่ เมือ่ ไดมโี อกาสทูลเกลาทูลกระหมอมถวายปริญญาวิทยาศาสตร ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมแดพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ วันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๔๒ เพื่อสดุดีเฉลิมพระเกียรติพระองคทาน สิบสี่สิงหาคมปสี่สอง วันพรักพองหกรอบพระชันษา ม.นเรศวรทูลเกลาถวายปริญญา ดวยมุทิตาทั้งจงรักและภักดี เทิดพระเกียรติดุษฎีวิทยาศาสตร การจัดการทรัพยากรธรรมชาตินี้ สิ่งแวดลอมใหคงอยูคูชีวี ปาไมมีชุมชื่นและยืนยง อีกนํ้าทวมนํ้าแลงทรงแกไข นํ้าเสียใหบําบัดตามประสงค พัฒนาที่ดินใหคืนคง จัดสรรลงชาวไทยไดทํากิน ความพอเพียงเกษตรทฤษฎีใหม อันหลากหลายชีวภาพอุดมสิน รูจักสรางรูจักทําทรัพยในดิน ใชชีวินเรียบงายรายไดมี

๕๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


นเรศวรรวมใจใหรําลึก ดวยสํานึกผืนแผนดินสมบูรณนี้ พระมหากรุณาอันมากมี นอมชีวีจดจารในไทยนิรันดร ๖ ธันวาคม ๒๕๕๙

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๕๕


๔ ธันวาคม วันสิ่งแวดล้อมไทย...จากพระอัจฉริยภาพเมื่อปี ๒๕๓๒

“...ปญหาเรือ่ งสิง่ แวดลอมเปนปญหาทีม่ คี วามสําคัญควบคูก บั การ พัฒนา ความเจริญกาวหนา ซึ่งเปนปญหารวมกันของทุกประเทศ กลาวคือการพัฒนายิ่งรุดหนา ปญหาคุณภาพสิ่งแวดลอมและภาวะ มลพิษก็ยิ่งกอตัว และทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ประเทศไทยก็เปน ประเทศหนึ่ง ที่กําลังประสบกับปญหาดังกลาวอยูในขณะนี้...”

๕๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


พระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช วันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ดวยทรงหวงใยในปญหาดานสิง่ แวดลอม ทั้ง ดิน นํ้า อากาศ ปาไม ที่นับวันจะเสื่อมโทรมลงเรื่อย ๆ

จากพระราชดํารัสกอเกิดวันสิ่งแวดลอมไทย จะมีสักกี่คนที่ทราบวา กอนที่ประเทศไทยและทั่วโลกจะประสบ วิกฤติปญ  หาเรือ่ งสิง่ แวดลอม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช ทรงเล็งเห็นการณไกลและกลาวเตือนสติใหพวกเราตระหนัก ถึงปญหาดานสิง่ แวดลอมมากอนลวงหนาเปนเวลาหลายสิบปและทําให รัฐบาลกําหนดใหวันที่ ๔ ธันวาคมของทุกป เปนวันสิ่งแวดลอมไทยดัง พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่ พระราชทานแกบุคคลตาง ๆ ที่เขาเฝาฯ ถวายพระพร เนื่องในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันจันทรที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๕๗


“…ได ข  อ มู ล มาเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งเรื่ อ ง หนึ่งซึ่งเขาเดือดรอนกันทั่วโลก คือ ความเดื อ ดร อ นที่ ทุ ก คนจะต อ ง ประสบ แตไมใชทุกคนจะไดรู...เขา บอกวาเพราะมีสารคารบอนไปใน อากาศมาก จะทําใหเหมือนเปนตู กระจกครอบ แลวโลกนี้ก็จะรอน ขึ้น...นํ้าแข็งจะละลายลงทะเลและ รวมทั้ ง นํ้ า ในทะเลนั้ น จะพองขึ้ น เพราะสิ่งของที่รอนยอมมีการพอง ขึ้น ปริมาตรก็มากขึ้น เมื่อนํ้าพอง ขึ้ น ก็ จ ะทํ า ให ที่ ที่ ตํ่ า เช น กรุ ง เทพฯ ถูกนํ้าทะเลทวม...

...สิ่งที่ทําใหคารบอน (ในรูปคารบอนไดออกไซด) ในอากาศเพิ่มมากขึ้น มาจากการ เผาเชื้อเพลิงซึ่งอยูในดินและจากการเผาไหม...การเผาเชื้อเพลิง เชน ถาน ถานหิน นํ้ามัน เชื้อเพลิงอะไร ๆ ตาง ๆ เหลานี้ทําใหคารบอนขึ้นไปในอากาศจํานวน ๕ พัน ลานตันตอป แลวก็ยังมีการเผาทําลายปาอีก ๑.๕ พันลานตัน รวมแลวเปน ๖.๕ พัน ลานตัน...ถาไมมีอะไรที่จะทําใหจํานวนของสารนี้ในอากาศลดลง ก็จะทําใหสารนี้เปน เหมือนตูกระจกครอบ ทําใหโลกนี้รอนขึ้น...”

๕๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


หลังจากนั้นวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๔ คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเห็นชอบ ใหวันที่ ๔ ธันวาคมของทุกปเปน “วันสิ่งแวดลอมไทย”

นับเปนพระพระปรีชาสามารถและพระอัจฉริยภาพโดยแทของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ตั้งแตครั้งเมื่อ ๒๗ ปมาแลว กอน ที่คนทั่วโลกจะหันมาสนใจเรื่องภาวะโลกรอนกันอยางจริงจัง โครงการ พระราชดําริอันหลากหลายที่เกิดขึ้นลวนเปนแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืนในทุก ๆ ดาน

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๕๙


ดวยทรงหวงใยสิง่ แวดลอม มีหนึง่ เรือ่ งราวทีถ่ กู บันทึกจดจารไวใหลกู หลาน ไดจดจําและพึงปฏิบัติ

ของมีคาหายาก ปลายป พ.ศ. ๒๔๙๘ เมื่อชาวอีสานทราบขาวดีวา พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จะเสด็จฯ เยี่ยมอีสานเปนเวลายาวนานถึง ๑๙ วัน ระหวางวันที่ ๒ – ๒๐ พฤศจิกายน ๒๔๙๘ จึงไมตองสงสัยเลยวาชาวอีสานจะรูสึกตื่นเตนดีใจเพียงใด เพราะอีสานเวลานั้นแหงแลงเหลือแสน ยังไมมีอางเก็บนํ้าชลประทานดังเชนใน ปจจุบัน เสนทางรถยนตในยุคนั้นก็ยังเปนดินแดง ทุรกันดาร นํ้าพระราชหฤทัยที่ แสดงออกดวยการเจาะจงเสด็จฯ เยี่ยมอีสาน จึงเปนเสมือนนํ้าฝนเย็นฉํ่าที่หยาดลง มาบนผืนดินที่แหงผาก

๖๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ยังไมทนั ทีพ่ ระองคจะเสด็จฯ มาถึง นํา้ พระทัยทีเ่ ย็นดุจสายฝนหยด แรกก็หยาดลงมาเสียแลว เมื่อมีขาววา กรมทางหลวงเตรียมนํา “นํ้า” มาราดถนนทางเสด็จพระราชดําเนิน เพื่อมิใหถนนเกิดฝุน แดงคลุงเมื่อรถพระที่นั่งแลนผาน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทรงมีพระราช กระแสรับสัง่ หามวา ไมใหนาํ นํา้ ซึง่ เปนของมีคา หายากมาราดถนน รับเสด็จ แตใหสงวนนํ้าไวใหราษฎรใชอาบกิน

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๖๑


รวมกันรักษา พลิกฟน “แผนดินของเรา” การอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติจงึ เปนหนาทีข่ องคนไทยทุกคน ตามรอยเบือ้ งพระ ยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ใหแผนดินของเรามี ความอุดมสมบูรณ เปนอูขาวอูนํ้า เหมือนที่เคยเปนมาแตอดีต ดังเชนบทเพลง แผนดินของเรา ซึ่งเปนบทเพลงพระราชนิพนธลําดับที่ ๓๔ ทรงพระราชนิพนธใน พ.ศ. ๒๕๐๒ ถึงอยูแควนใด เหมือนอยูบานเรา ทรัพยจากผืนดิน มีสิทธิ์เสรี เรามีปาไมอยูสมบูรณ โบราณสถานสงนามประเทือง รักชาติของเรา ผืนแผนแหลมทอง รักเกียรติรักวงศ ทูนเทิดเมืองไทยนั้นใหยืนยง

ไมสุขสําราญ ชื่นฉํ่าคํ่าเชาสุขทวี สินจากนที สันติครองเมือง ไรนาสดใสใตฟาเรือง เกียรติเมืองไทยขจรไปทั่วแดนไกล ไวเถิดผองไทย รวมพี่รวมนองดวยกัน เสริมสงสัมพันธ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๙

๖๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๖๓


ปีบ ต้นไม้ของพ่อ จากมือของแม่

ชวงสาย ๆ วันเสาร ในชวงเดือนตุลาคม ๒๕๕๙ “มันสวยนะพี่” เสียงตะโกนของเพื่อนรวมงานขณะกม ๆ เงย ๆ อยู ทามกลางหมูม วลดอกไมสขี าวทีร่ ว งหลนลงมาจากตน ทําใหฉนั อดใจไม ไหวเดินเขาไปอาสาเปนชางภาพสมัครเลนอีกคน โทรศัพทมอื ถือคืออาวุธ

๖๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


สําคัญในการทําหนาที่เฟนหามุมมองอยางละเลียด ละเมียดละไม ดวยหลากหลาย ทวงทา เรียกวาแทบจะลงไปนอนคลุกบนพื้นเพื่อใหไดแสง เงา เคลาความงามตาม ธรรมชาติโดยไมตองแตงเติม “หนูจะพิมพแคปชั่นวาอะไรดีพี่” ถาเปนชวงเวลาปกติ ความคิดคงพรั่งพรู แต ณ ชวงเวลานี้ ไมตองพูดถึงความเหมาะสม แคสมองยังไมยอมทํางานแลว ในทีส่ ดุ นองก็โพสตรปู และพิมพขอ ความ “ตนไมของพอ” ฉันชืน่ ชมในความคิดของ นอง สําหรับฉันผานไปหลายวันจึงไดกลั่นกรองขอความประกอบภาพนี้ ตอมานึกขึ้น ไดวาตนไมที่ปลูกเรียงรายอยูดานขางอาคารวิสุทธิกษัตริย สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร และพบเห็นไดทั่วเมืองสองแควนี้ คือตนไมของ พอจริง ๆ…และนี่เปนอีกหนึ่งครั้งที่ฉันเขียนถึงตนไมชนิดนี้

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๖๕


ปบ ไมมงคลพระราชทาน ชาวพิษณุโลกสวนใหญเขาใจวา ดอกไมประจําจังหวัดคือ ดอกปบ ทัง้ ทีค่ วามจริงแลวคือ ดอกนนทรี สวนปบนัน้ เปนไมมงคลพระราชทาน ประจําจังหวัด ย อ นวั น เวลาไปในวั น รณรงค ป ลู ก ป า ถาวรเฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาส ทรงครองราชยปที่ ๕๐ วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๓๗ ณ ศูนยประชุม แหงชาติสริ กิ ติ ิ์ กรุงเทพมหานคร สมเด็จพระนางเจาสิรกิ ติ ิ์ พระบรม ราชินีนาถ พระราชทานกลาไมชนิดตาง ๆ ใหแกผูวาราชการ ทุกจังหวัด สําหรับจังหวัดพิษณุโลกไดรับพระราชทานกลาไมปบ นับจากวันนัน้ ปบจึงถือเปนพันธุไ มมงคลพระราชทานประจําจังหวัด พิษณุโลก มีการสงเสริมใหปลูกกันโดยทั่วไป เพื่อความเปนสิริมงคล ไดยลความงดงาม กลิ่นหอมออน ๆ ชวนชื่นใจ

๖๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


รูจักปบ ชื่อสามัญ Cork tree, Indian cork ชื่อวิทยาศาสตร Millingtonia hortensis L.f. จัดอยูในวงศแคหาง คาง (BIGNONIACEAE) ชือ่ ทองถิน่ อืน่ ๆ เชน เต็กตองโพ (กะเหรีย่ ง-กาญจนบุร)ี , กาซะลอง กาสะลอง กาดสะลอง กาสะลองคํา (ภาคเหนือ), ปบ กองกลางดง (ภาคกลาง) กางของ (ภาคอีสาน) เปนตน ปบเปนไมยืนตนขนาดกลางถึงขนาดใหญมีความสูงประมาณ ๑๐ – ๒๐ เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเปนพุมทรงกระบอก กิ่งกานมักจะยอย ลง เปลือกสีนํ้าตาลแตกเปนรองลึกตามยาวลําตนอยางไมเปนระเบียบ ใบประกอบแบบขนนก ๒ -๓ ชั้น เรียงเวียน ชอแขนงดานขางมี ๓ – ๕ คู ปลายคี่ เรียงตรงขาม ใบยอยแขนงละ ๒ -๔ คู เรียงตรงขาม ใบรูปไขหรือรูปไขแกมใบหอก กวาง ๒ - ๓ ซม. ยาว ๔ – ๘ ซม. ปลายแหลม โคนใบมน ขอบใบหยักมนหรือเวาเปนคลื่นเล็กนอย

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๖๗


ดอกปบมีสขี าวหรือชมพู มีกลิน่ หอม ออกเปนชอแบบชอกระจุกซอน ตามปลายกิ่ง ชอดอกขนาดใหญ ยาว ๑๐ -๓๕ ซม. มีขน กลีบเลี้ยง มีขนาดเล็ก โคนติดกันเปนรูปถวย ปลายแยก ๕ แฉก ปลายมนกวาง มวนลง เปนหลอดยาวปลาย ๔ แฉก มี ๑ กลีบที่ปลายเปน ๒ แฉก ดอกบานเต็มที่กวาง ๓.๕ – ๔ ซม. ผลแหงแตก เปนฝกแบนและตรง สีนํ้าตาล หัวทายแหลม กวาง ๑.๕ – ๒.๓ ซม. ยาว ๒๕ – ๓๐ ซม. เมล็ดแบนมีปกบาง

๖๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๖๙


คุณประโยชนของปบ ๑. ดอกปบนํามาตากแหงแลวผสมกับยาสูบมวนบุหรี่ ใชสบู แกลม บํารุง กําลัง บํารุงโลหิต รักษาอาการภูมิแพ ไซนัส ริดสีดวงจมูก หอบ หืด นอกจากนี้ยังทําใหชุมคอ ปากหอม และยังมีกลิ่นควันบุหรี่ที่ หอมดีอีกดวย ๒. ดอกปบตากแหง นํามาชงใสนํ้ารอนดื่มเปนชาก็ได โดยดอกปบชง นีจ้ ะมีกลิน่ หอมละมุนออน ๆ มีรสชาติหวานแบบนุม นวล ไมขม แถม ยังดีตอสุขภาพอีกดวย ๓. รากของปบนํามาตากแหง ตมนํ้าดื่ม ชวยรักษาวัณโรค บํารุงปอด แกปอดพิการ แกไอ หอบหืด ๔. สารสกัดจากใบที่สกัดดวยเอทานอลมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญ เติบโตของคะนา (ใบ) ๕. เนือ้ ไมของตนปบมีสขี าวออน สามารถเลือ่ ยหรือไสกบเพือ่ ตกแตงให ขึ้นเงาไดงาย จึงเหมาะแกการนํามาใชทําเปนเครื่องเรือน เครื่อง ตกแตงภายในบานได ๖. เปลือกของตนปบ เมื่อกอนสามารถนํามาใชแทนไมกอกสําหรับทุก จุกขวดได ๗. ปบเปนไมพมุ มีใบและดอกสวย แถมยังมีกลิน่ หอมอีกดวย จึงสามารถ ปลูกไวประดับสวน ปลูกเพือ่ ใหรม เงาในลานจอดรถหรือริมถนนขาง ทาง และที่สําคัญตนไมชนิดนี้ยังทนนํ้าทวมขังไดดีอีกดวย

๗๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


๘. ดอกปบเปนสัญลักษณของพยาบาลไทย โดยความหมายของตนไม ชนิดนี้ คือ เปนตนไมทใี่ หความรมรืน่ แกชวี ติ ซึง่ หมายถึง “พยาบาล” และดอกปบยังหมายถึงยาอายุวัฒนะ ซึ่งเปรียบเสมือนพยาบาลที่ ใหการดูแลรักษาและสงเสริมสุขภาพแกคนทัว่ ไป ตนปบเปนตนไมท่ี โตเร็ว เกิดขึ้นไดในปาทุกชนิด สามารถชวยสรางเสริมธรรมชาติที่ ชุบและดํารงชีวิตใหแกมวลมนุษยตลอดกาล เชนเดียวกับพยาบาล ที่จะเปนการบริการสุขภาพที่มีความจําเปนตอสังคมตลอดไป (ดอก ป บ ยั ง เป น ดอกไม ป ระจํ า จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี แ ละมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลลานนาอีกดวย)

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๗๑


๙. การปลูกตนปบเพื่อความเปนสิริมงคลแกผูอยูอาศัยภายในบาน เชื่อ วาการปลูกไวประจําบานจะทําใหเก็บเงินเก็บทองไดมากขึ้น และยัง ทําใหมชี อื่ เสียงโดงดังอีกดวย โดยควรปลูกตนปบไวในทางทิศตะวัน ตกและผูป ลูกควรปลูกในวันเสารเพือ่ เอาเคล็ด แตถา จะใหเปนมงคล มากยิ่งขึ้น ผูปลูกควรเปนผูที่เกิดในวันจันทร (สวนผูอยูอาศัยหาก เกิดวันจันทรดว ยแลวจะยิง่ เปนสิรมิ งคลยิง่ นัก) เพราะปบเปนดอกไม ประจําของนางโคราคะเทวี ซึ่งเปนนางประจําวันจันทรในธิดาของ พระอินทรนั่นเอง

๗๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


อันดอกปบขาวนวลชวนระรื่น นับตั้งแตวันที่เจ็ดพฤษภา พระนางเจาสิริกิติ์มอบพันธุไม เฉลิมพระเกียรติแหงองคภูมิพล กลาไมปบพระราชทานประจําจังหวัด ใหแสงเงารมรื่นชื่นชีวี เปนเครื่องเรือนตกแตงภายในบาน ผูรักษาใหชีวิตจิตประคอง ดอกไมประจําธิดาพระอินทรนั้น ดอกตากแหงชงชารอนหอมนวลดี บํารุงเลือดแกลมอีกไซนัส รากรักษาวัณโรคอีกแกไอ คือตนไมของพอจากมือแม พระมหากรุณาประจักษจริง

หอมสดชื่นผอนคลายใหคุณคา ปสองหาสามเจ็ดวันมงคล วาระในวันปลูกปาคราเริ่มตน ไทยยินยลทรงครองราชย ๕๐ ป สองแควจัดปลูกประดับเสริมราศี สิริมงคลมีชื่อเสียงทั้งเงินทอง สัญลักษณพยาบาลไทยทั่วทั้งผอง สุขภาพของผูคนทั่วธานี แหงวันจันทรโคราคะเทวีศรี มวนบุหรี่ชุมคอชวนชื่นใจ หอบหืดจัดชงัดบรรเทาหาย บํารุงปอดคลี่คลายไมประวิง ชาวสองแควปลื้มปริ่มอิ่มเอิบยิ่ง คือขวัญมิ่งประทับในใจนิรันดร ๖ ธันวาคม ๒๕๕๙

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๗๓


ไม้จันทน์หอม จากอุทยานแห่งชาติกุยบุรี สู่งานพระราชพิธีพระบรมศพ ในขณะที่คนไทยทั่วสารทิศเดินทางมาเขาเฝาฯ กราบถวายบังคมพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง ดวยหัวใจของความจงรักภักดี สํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ เปนลนพน ทางสํานักพระราชวังเองก็มหี นาทีใ่ นการจัดเตรียมพระราชพิธพี ระบรมศพ ซึ่งหนึ่งขาวคราวความเคลื่อนไหวที่คนไทยไดรับรูจากสื่อตาง ๆ ก็คือ การคัดเลือก จัดเตรียมไมจันทนหอม จากอุทยานแหงชาติกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ

๗๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เมื่ อ ช ว งต น เดื อ นพฤศจิ ก ายน ๒๕๕๙ ผู  แ ทนจากสํ า นั ก พระราชวัง พรอมดวยหัวหนาโหรพราหมณ และคณะไดเดินทาง ไปสํารวจและคัดเลือกไมจันทนหอมที่จะใชในงานพระราชพิธี พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทีอ่ ทุ ยานแหงชาติกยุ บุรี จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ จากนัน้ ทางอุทยานฯ กุยบุรีไดจัดเตรียม ไมจันทนหอมที่จะใชในพระราชพิธีพระบรม ศพไว ๑๙ ตน เพื่อใหคณะผูแทนจากสํานักพระราชวังคัดเลือก หลังจากคณะเขาไปสํารวจแลวไดคัดเลือกไมจันทนหอมไว ๔ ตน คือลําดับที่ ๑๑, ๑๒, ๑๔ และ ๑๕ พรอมทั้งกําหนดพิธีบวงสรวง ตัดไมจันทนหอม ในวันจันทรที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ โดยใช ฤกษเวลา ๑๔.๐๙ - ๑๔.๓๙ น.

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๗๕


รูจักไมจันทนหอม ไมชั้นสูง จันทนหอม เปนพันธุไ มทสี่ มเด็จพระนางเจาสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปนไมพระราชทานเพื่อปลูกเปนมงคลใน จังหวัดตาง ๆ ทัว่ ประเทศไทย มีชอื่ ทางวิทยาศาสตรวา Mansonia gagei Drumm. มีชื่อวงศวา STERCULIACEAE มีชื่อสามัญวา Kalamet และ ยังมีชื่อเรียกอื่นอีก ไมวาจะเปน จันทน จันทนชะมด จันทนขาว จันทน พมา จันทนหอม

๗๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ไมจนั ทนหอมเปนไมคนละชนิดกับจัน หรือจันอิน-จันโอ (Diospyros decendra Lour.) และเปนคนละชนิดกับไมกฤษณา (Aquilaria malaccensis) ซึ่งบางทานก็เรียกวาไมหอมเชนกัน จึงควรมีการศึกษาและ พิจารณาใหถองแท เพราะการใชประโยชนแตกตางกัน โดยเฉพาะใน รูปของสมุนไพรซึ่งจะมีผลโดยตรงตอสุขภาพ ไมจันทนหอมเปนไมยืนตน ผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูง ประมาณ ๓๐ เมตร เรือนยอดเปนรูปกรวยตํ่า ๆ หรือเปนพุมกลมคอน ขางโปรง พบขึน้ กระจายอยูห า ง ๆ กัน ตามปาดงดิบและปาเบญจพรรณ ทั่วไป เวนแตทางภาคเหนือ และอาจพบขึ้นกระจัดกระจายอยูตามภูเขา หินปูน พบในจังหวัดนครราชสีมา สระบุรี ระนอง และประจวบคีรีขันธ ในตางประเทศพบในพมา และอินเดีย ลําตน มีลักษณะเปลาตรง เปลือกสีเทาอมขาวหรือเทาอมนํ้าตาล แตกเปนรอง เปลือกชัน้ ในเมือ่ ถากใหม ๆ จะมีสขี าว ทิง้ ไวแหงจะเปลีย่ น เปนสีนํ้าตาล เนื้อไม กระพี้ สีขาว แกนสีนํ้าตาลเขม ไสกบตบแตงงาย ไมที่ตาย เองจะมีกลิ่นหอม ใชทําหีบใสเสื้อผา เครื่องกลึง เครื่องแกะสลัก ทํา หวี ดอกไมจันทน ธูป นํ้ามันหอมที่ไดจากการกลั่นชิ้นไม ใชปรุงเครื่อง หอม และเครื่องสําอาง ใชเปนยาบํารุงหัวใจ เนื้อไมใชเปนยาแกไข แก โลหิตเสีย แกกระหายนํ้าและออนเพลีย โดยทัว่ ไปเปนพืชหายาก ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดประจวบคีรขี นั ธ โดยเฉพาะ อยางยิ่งในพื้นที่อุทยานแหงชาติกุยบุรี เปนแหลงอนุรักษสายพันธุตาม ธรรมชาติของไมจันทนหอม โดยพบเปนหมูไมขนาดใหญ เปลาตรง

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๗๗


๗๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


จากข อ มู ล ที่ เ รี ย บเรี ย งโดย ดร.ปยะ เฉลิมกลิน่ จากสถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ประเทศไทย เทคโนธานี แจกแจง ถึงเรื่อง “ไมจันทนหอม” ไว สรุป ไดวา... เปนไมที่คนโบราณถือวา เป น ไม ชั้ น สู ง เนื้ อ ไม มี ก ลิ่ น หอม นิยมใชในพระราชพิธีตาง ๆ พิธี สําคัญ ๆ ของราษฎรที่จัดเปนวาระ พิเศษ อยาง “ดอกไมจันทน” ที่ใช ในงานเผาศพ ในอดีตเกือบทั้งหมด จะทําจากไมจนั ทนหอม เพราะถือวา มี สี ข าวบริ สุ ท ธิ์ และมี ก ลิ่ น หอม เปนการใหเกียรติกับผูตายเปนครั้ง สุดทาย แตในยุคปจจุบันมีการใช วัสดุอนื่ ๆ ทําดวย และจากประโยชน ของไม จั น ทน ห อม ทํ า ให ช าว กะเหรี่ยงและชาวพมาใชเนื้อไมซึ่ง เรียก กาละแมะ มาฝนกับฝาหมอ ดินจนเปนนํ้าขน ๆ ใชทาหนาจะมี กลิ่นหอมแกสิวฝา ทําใหหนานวล ละเอี ย ด ซึ่ ง ในด า นสมุ น ไพรนั้ น นํ้ า มั น ที่ ก ลั่ น จากเนื้ อ ไม ใ ช เ ข า ยา บํารุงหัวใจ เนื้อไมใชเปนยาแกไข แกโลหิตเสีย แกกระหายนํ้าและ ออนเพลีย

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๗๙


มีการสันนิษฐานวาราว ๆ ๑,๕๐๐ ปกอน มนุษยยังไมมีการฉีดยาศพ หรือ ฉีดฟอรมาลีนและวิธกี ารทีจ่ ะรักษาศพไมใหมกี ลิน่ เหม็น ดัง้ นัน้ ในการประกอบ พิธีฌาปนกิจศพ จึงใชไมจันทนมาเปนสวนในการประกอบพิธี เพื่อบรรเทา กลิ่นศพ ในอดีตเคยมีรายงานวาในเมืองไทยมีจนั ทนหอมขึน้ อยูท วั่ ไปทัง้ ในภาคตะวัน ออกและในภาคตะวันตกเฉียงใต แตปจจุบันถูกตัดฟนไปจนเกือบหมด จนคน รุน ใหมแทบไมรจู กั วาจันทนหอมมีรปู รางหนาตาเปนอยางไร ใชประโยชนอะไร ไดบาง เพียงรูจักกันก็เพราะเคยไดยินชื่อเสียง หรือคนหาเอามาจากตํารากัน เทานั้น ดร.ปยะ ไดระบุไววา “จันทนหอมเปนไมที่เติบโตไดในเกณฑปานกลาง ถึงคอนขางเร็ว ถาไดรบั การดูแลเปนอยางดี และปลูกอยูใ นสภาพแวดลอม ทีเ่ หมาะสม ซึง่ มีโอกาสจะเปนไมเศรษฐกิจ ใชประโยชนในดานไมหอมและ นํ้ามันหอม อาจปลูกลงแปลงขนาดใหญเหมือนไมกฤษณาที่แพรหลายใน ปจจุบัน นอกจากนี้ยังเปนพันธุไมประจําจังหวัดนครปฐมอีกดวย”

๘๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ทําไมตองใชไมจนั ทนหอมในการประกอบพิธสี าํ คัญ ไมจันทนหอม เปนไมมีคาที่หายากชนิดหนึ่ง จัดเปนไมมงคล ชั้นสูง ใชในพระราชประเพณี ตั้งแตสมัยโบราญมาจนถึงปจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ่งพระราชประเพณีเกี่ยวกับพระบรมศพ โดยเอา ไมจนั ทนหอมทีย่ นื ตนตายเองตามธรรมชาติ ซึง่ เนือ้ ไมจะมีกลิน่ หอม ออน ๆ มาสรางพระรองประดับพระโกศพระบรมศพ ตลอดจนใช ทําฟนหรือดอกไมจันทนในพิธีพระราชทานเพลิงศพ ไมจันทนหอม เปนไมยืนตนขนาดใหญ เนื้อไมแข็ง ละเอียด กะพี้สีนํ้าตาลออน นิยมใชสรางบาน หรือตําหนักของเจานายสมัยกอน เนื้อไมมีกลิ่น หอม สามารถนํามากลั่นเปนนํ้าหอม ใชทําเครื่องหอม ธูปหอม ตลอดจนเปนยาสมุนไพรไดอีกดวย เหตุเพราะไมจันทนหอมมีความหอมไมวาจะเปนหรือตาย จึงเปรียบเหมือนคน เมื่อเกิดมาทําความดี ตายแลวก็ยังมีความ ดีอยู คนโบราณจึงนําไมจันทนหอมมาเผาศพ เรียกวา “ดอกไม จันทน” จนถึงปจจุบันนี้ ที่ผานมาสํานักพระราชวังไดคัดเลือกไมจันทนหอมยืนตน ที่ปา เขตอุทยานแหงชาติกุยบุรี ไปใชในพระราชพิธีพระราชทานเพลิง พระศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จยา, สมเด็จพระเจาพีน่ างเธอ เจาฟากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร และสมเด็จพระเจาภคินเี ธอ เจาฟาเพชรรัตนราชสุดา สิรโิ สภาพัณณวดี รวมถึงงานพระราชพิธพี ระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก นั้น ก็จัดสรางโดยใชไมจันทนหอมจากปานี้ดวยเชนกัน

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๘๑


มาถึงตอนนี้ไมจันทนหอมไดถูกนํามาใชอีกครั้งในงานพระราชพิธี พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระผู เสด็จสูสวรรคาลัย เทิดทูนไทเหนือหัวใจใสเกลา มิอาจเลารอยเรียงเคียงคําได ความรูสึกอัดอั้นเกินบรรยาย เพียรตั้งใจจดจําคําสอนพอ ทําหนาที่เต็มใจสุดสามารถ เสนทางอาจพลาดพลั้งอยาไดทอ สามัคคีทําความดีมีเพียงพอ เพื่อใหพอสุขใจในวิมาน ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙

๘๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๘๓


พระมหากรุณาธิคุณดจสายนํ้า หล่อเลี้ยงชีวีวิถีชาวสองแคว เขื่อนแควน้อยบํารุงแดน หนึ่งในโครงการพระราชดําริ

วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ ครอบครัว ของฉันเลือกสงทายปเกาตอนรับปใหม โดยการกินลมชมวิว ณ แหลงทองเทีย่ ว ใกลบา น เพือ่ ความประหยัดและนัยแหง ความจงรักภักดี นั่นคือ เขื่อนแควนอย บํารุงแดน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช ณ บานเขาหินลาด ตําบลคันโชง อําเภอวัดโบสถ จังหวัด พิษณุโลก

๘๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ยอนหลังไป ๓๐ กวาป พอมีขาววา ในหลวง รัชกาลที่ ๙ มีพระราชดําริใหสรางเขื่อนแควนอยบํารุงแดน เพื่อชวยเหลือ ราษฎรในพื้นที่ลุมนํ้าแควนอยตอนลาง ทองที่อําเภอวัดโบสถ อําเภอวังทอง อําเภอเมือง และอําเภอบางกระทุม แกไขปญหา อุทกภัย รวมทั้งเปนแหลงนํ้าสําหรับการเพาะปลูกทั่วไปในฤดู ฝนและฤดูแลง ตลอดจนสําหรับการอุปโภค บริโภค ขาวนี้สราง ความปติยินดีใหกับชาวพิษณุโลกอยางยิ่ง แมฉันบอกวา ชาว บานในพื้นที่พรอมใจกันมอบที่ดินให โดยที่ทางการยังมิได รองขอ

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๘๕


ชวงสายของวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ พวกเราเดินทางดวยรถยนต ๓ คัน ไปถึงเขื่อนแควนอยฯ ไดยินเสียงบรรยายเชิญชวนใหนั่งรถรางชม เขื่อนในราคาคนละ ๑๐ บาท (ลดจากราคาปกติ ๒๐ บาท) หรือใครจะ เลือกปนจักรยานแบบเพลิน ๆ ก็มีจักรยานใหเชา และสิ่งที่ทําใหพวกเรา ตืน่ เตนคือวันนีเ้ ปนวันแรกของการเปดใหชมพิพธิ ภัณฑเขือ่ นแควนอยบํารุง แดน นองสาวหันมาบอกฉันวา “นํ้าตาไหลซะละมั้ง” ทริปของเราเริม่ ดวยการนัง่ รถรางสูดอากาศบริสทุ ธิ์ ทามกลางสายลม พัดโชยใหความสดชืน่ มองเห็นทองนํา้ ไกลสุดลูกหูลกู ตา ชมความอลังการ ของโรงไฟฟาพลังนํ้าและตัวเขื่อน ซึ่งประกอบดวย ๓ เขื่อนดวยกัน นั่น คือ เขื่อนแควนอยบํารุงแดน เขื่อนสันตะเคียน และเขื่อนปดชองเขาตํ่า โอบลอมดวยตนไมเขียวชอุม นานาพันธุ โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณเหนือ เขื่อนแควนอยบํารุงแดนมีการปลูกปาสามอยาง ประโยชนสี่อยาง เพื่อ อนุรักษ ฟนฟูตนนํ้าและปองกันการชะลางพังทลายของดิน ตามแนวทาง พัฒนาปาไมอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

๘๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


“...การปลูกปา ๓ อยาง แตใหไดประโยชน ๔ อยาง ซึ่งไดไมผล ไม สรางบานและไมฟนนั้น สามารถใหประโยชนไดถึง ๔ อยางคือ นอกจาก ประโยชนในตัวเองตามชื่อแลว ยังสามารถใหประโยชนอันที่ ๔ ซึ่งเปนขอ สําคัญคือ สามารถชวยอนุรักษดินและตนนํ้าลําธารดวย...” พระราชดํ า รั ส ในพิ ธี เ ป ด การสั ม มนาการเกษตรภาคเหนื อ ณ สํานักงานเกษตรภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๒๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๘๗


เมื่อลงจากรถราง พวกเรามุงตรงไปยังพิพิธภัณฑเขื่อนแควนอยบํารุง แดน พบวาไมใชเพียงแคเปนวันแรกของการเปดใหชมเทานัน้ แตเจาหนาที่ ยังเปดประตูใหเราเยีย่ มชมเปนชุดแรกอีกดวย ทําใหเราอดภูมใิ จไมได แมวา พิพิธภัณฑยังไมเสร็จสมบูรณ ๑๐๐ เปอรเซ็นต แตก็มีความสวยงาม อลังการ และคงคุณคาอยางยิ่ง

พิพิธภัณฑประกอบดวยหองจัด แสดงจํานวน ๓ หอง ไดแก ใตรม โพธิ์ ทอง, เย็นชุมลุมนํ้าแคว และเรื่องเลา จากวันวาน ปดทายดวยหองจัดแสดง การทําเกลือ รานกาแฟและของที่ ระลึก ซึ่ง ๒ อยางหลังยังไมเปดให บริการ

๘๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๘๙


เพียงกาวเขาไปหองแรก ดุจตองมนตสะกดดวยภาพโพธิ์ทอง ตนใหญดุจพระบารมีแหงองคภูมิพล ทําใหเรากดชัตเตอรกันไม ยั้ง แถมลูกชายยังถายวีดีโอทุกช็อต ภาพและขอความทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษบอกเลาเรื่องราวนํ้าพระราชหฤทัย ความหวงใย ในปญหาความทุกขยากของราษฎร โครงการเขื่อนแควนอยอัน เนื่องมาจากพระราชดําริเริ่มกอรางขึ้นเมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๒๕ ในหลวง รัชกาลที่ ๙ เสด็จพระราชดําเนินทรงเปดเขื่อน นเรศวร ณ บานหาดใหญ ตําบลพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก พระองคไดพระราชทานพระราชดําริใหพิจารณาวางโครงการและ กอสรางเขื่อนแควนอยในเขตอําเภอวัดโบสถโดยเรงดวน “.. สว นทีพ่ ษิ ณุโลกก็มนี าํ้ ไหลลงมาจากขาง ๆ อีกสายหนึง่ แควนอย ซึ่งจะตองทํา...อันนี้ก็ยังไมไดทํา เพื่อกักเก็บนํ้าที่มาจากอําเภอ ชาติตระการ อาจจะมีคนคานวาทําไมทําเขือ่ นพวกนีแ้ ลวมีประโยชน อะไร ก็เห็นแลว ประโยชนของเขื่อนใหญเขื่อนนี้ ถาไมมี ๒ เขื่อน นี้ ที่นี่นํ้าจะทวมยิ่งกวา จะไมทวมเพียงแคนี้ จะทวมทั้งหมด...” พระราชดํารัสเมือ่ วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘ ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต

๙๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


แมขณะที่พระองคเสด็จพระราชดําเนิน ณ พื้นที่ปาเขาตลบ อําเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ เมือ่ วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ ยังพระราชทานพระราชดําริใหนายสุวิทย คุณกิตติ รอง นายกรัฐมนตรี พิจารณาความเหมาะสมในการดําเนินงานสราง โครงการเขื่อนแควนอย อําเภอวัดโบสถ จังหวัดพิษณุโลก เพื่อ สนองพระราชดําริ คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๔๖ อนุมัติใหกระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอดําเนินงาน โครงการเขื่ อ นแควน อ ยอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดํ า ริ จั ง หวั ด พิษณุโลก ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๕๔ นอกจากนี้ ยัง ได ส ร า งเขื่ อ นทดนํ้ า พญาแมน เพื่ อ ช ว ยยกระดั บ นํ้ า เข า คลอง ชลประทาน สงนํ้าชวยเหลือพื้นที่การเกษตร ๔ อําเภอของจังหวัด พิษณุโลก คือ อําเภอวัดโบสถ อําเภอพรหมพิราม อําเภอวังทอง และอําเภอเมือง เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๙๑


จากพระมหากรุณาธิคุณดังกลาว ทําใหฉันอดนึกถึงคํากลาวที่ วา ในหลวง รัชกาลที่ ๙ ทรงรูเห็นพื้นที่ในประเทศไทยทุกตาราง เมตรหรือตารางเซนติเมตรเลยก็วา ได นัน่ เปนเพราะพระองคทรงใส พระราชหฤทัย หวงใยราษฎร ไมวาจะเสด็จฯ ไปที่ไหนเราจะเห็นวา ในหลวงทรงสะพายกลองและถือแผนที่ไวเสมอ สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเลาถึงเรือ่ ง “แผนทีข่ องในหลวง” นีไ้ วในรายการ “พูดจาภาษาชาง” ทางสถานีวทิ ยุจฬุ าฯ วา “แผนที่แผนหนึ่งของทานคอนขางจะกวางกวาแผนที่ที่ใคร ๆ เห็น กันทั่วไป เพราะทานเอาหลาย ๆ ระวางมาแปะติดกัน การปะแผนที่ เขาดวยกัน ทานทําอยางพิถีพิถัน แลวถือวาเปนงานที่ใครจะมาแตะ ตองชวยเหลือไมไดเลยทีเดียว... ทานไดตดั หัวแผนทีน่ นั้ ออก แลวสวนทีต่ ดั ออกนัน้ ทิง้ ไมได ทานจะ คอย ๆ เอากาวมาแปะติดกัน สํานักงานของทานคือหองกวางไมมี เกาอี้ มีพื้น แลวทานกมอยูกับพื้น แลวกาวติดกับแผนที่เขาดวยกัน… แลวเวลาเสด็จไป ก็ตอ งไปถามชาวบานวาสถานทีน่ นั้ อยูท ไี่ หน ทิศ เหนือมีอะไร ทิศใตมีอะไร ทานถามหลายๆ คน แลวตรวจสอบไปมา วาแผนที่อันนั้นถูกตองดีหรือไม นํ้าไหลจากไหนไปที่ไหน...” เรื่องการถายรูปของในหลวงรัชกาลที่ ๙ นั้น นภันต เสวิกุล ผูบันทึกยางพระบาทที่ยาตรา เคยใหสัมภาษณไววา “...ในฐานะชางภาพ บางครั้งก็สงสัยวาพระองคทานทรงถาย อะไร บางทีแอบ แอบเลยละ แอบไปยืนขางหลังวาพระองคทรง ถายอะไร คือพระองคทานทรงยกกลองมาแตละครั้งทรงถายของ ไมดีทั้งนั้น ดินแดงแหงผาก รากไม ตนไมลม พระองคทรงถาย ภาพเหลานี้ แตอีก ๕ ป ๑๐ ป กลับไปดูสิ ตรงนั้นจะกลายเปน อางเก็บนํ้าใหญ พระองคทานทรงถายไปตองคิดไปดวยแนๆ วาจะ เอาไปทําอะไร เพราะฉะนั้นสิ่งที่ไดมาจากรูปของพระองค ก็คือ ชีวิต...”

๙๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เชนเดียวกับพระราชดําริในการสรางเขื่อนแควนอยบํารุงแดน อัน เกิดจากการถือแผนที่ สะพายกลอง บากบั่น ลงพื้นที่ ศึกษา คนควา ดวยพระองคเองทั้งสิ้น เมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๒ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานชื่อ เขื่อนแควนอยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เปน เขื่อนแควนอย บํารุงแดน ซึ่งหมายถึง “เขื่อนแควนอยที่ทําใหมีความเจริญขึ้นใน เขตพื้นที่” สําหรับเขื่อนทดนํ้าพญาแมน มีพระราชดํารัสเห็นควร ใหใชชื่อเดิม ในพิพธิ ภัณฑเขือ่ นแควนอยบํารุงแดนนีม้ ไิ ดมเี พียงภาพและขอความ ใหไดชมไดอานเทานั้น ยังมีเทคนิค ลูกเลน เพิ่มความสนุกสนาน นา สนใจ เชน หองแสงเงาเลาเรื่อง ฉายภาพเคลื่อนไหว และรายลอม ไปดวยภาพศิลปะ หลากหลายพระอิริยาบถของในหลวง รัชกาลที่ ๙ อันแสนงดงาม สะทอนอารมณ ความรูสึกอยางยิ่งยวด, การจําลอง ตนไมชนิดตาง ๆ, สัตวปา ดวยระบบดิจติ อล, การเลนเกมทายกลิน่ ของ ปลาอันอุดมสมบูรณ, การเลนเกมทายชิ้นสวนของโบราณวัตถุที่ขุด คนพบ, หองจําลองการผลิตเกลือโบราณของคนในพื้นที่ เปนตน

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๙๓


กระนั้น ขอมูลที่จัดแสดงในรูปแบบนิทรรศการก็มีความนาสนใจ ไมแพกัน ดวยความละเอียดลึกซึ้ง และขอมูลที่เราไมเคยรูมากอน นอกจากเปนแหลงผลิตเกลือแลวยังเปนแหลงโบราณคดีสําหรับถลุง โลหะและแหลงศาสนสถาน รวมทั้งสิ้น ๑๑๓ แหง กําหนดไดราวพุทธ ศตวรรษที่ ๑๙ – ๒๐ และที่พิเศษสําหรับฉันก็คือ นิทรรศการกวา จะเปนเมืองพิษณุโลก รายเรียงตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร สมัย ทาวารวดี สุโขทัย กรุงธนบุรี จนถึงกรุงรัตนโกสินทร

๙๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


และแลวก็ถงึ วันแหงประวัตศิ าสตรทชี่ าวพิษณุโลกไมมวี นั ลืม เมือ่ โครงการเขือ่ นแควนอยบํารุงแดนเสร็จสมบูรณและพรอมใชงานในป พ.ศ. ๒๕๕๔ วันที่ ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช พรอมดวย สมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินออกจากอาคาร โรงพยาบาลศิรริ าช มาทีท่ า เทียบเรือ ประทับเรือพระทีน่ งั่ อังสนา ลอง ไปตามแมนํ้าเจาพระยา โดยเรือพระที่นั่งมาจอดเทียบทาและขึ้น ประทับที่เกาะเกร็ด และในเวลา ๑๙.๕๐ น. พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห วั ภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงวางพระหัตถบนแทนตราสัญลักษณ โครงการ เปนการเปดเขื่อนแควนอยบํารุงแดน พรอมกับโครงการ ชลประทานทั่วประเทศอีกจํานวน ๕ แหง ผานระบบวิดีโอลิ้งก

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๙๕


ครอบครัวของฉันเดินออกจากพิพิธภัณฑเขื่อนแควนอยบํารุงแดน ดวยหัวใจพองโต เต็มตื้น ทามกลางจิตอันหวั่นไหว คิดถึงพระองค ทานยิ่งนัก “ทานเปนเทวดาทีม่ ลี มหายใจ” บทเพลงรูปทีม่ ที กุ บานแววขึน้ ในใจ ประโยคนีม้ ไิ ดกลาวเกินจริงแตอยางใด หากวากษัตริยค อื เทพลงมาจุติ ตามที่หลายคนกลาวไว เชนนั้นแลว พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช คงเปนเชนองคสูงสุดแหงเทพทั้งปวง เปน พระโพธิสัตวเสด็จฯ ลงมาโปรดปวงชนชาวไทยเปนแนแท ยิ่งคนควาศึกษายิ่งลึกซึ้ง หัวใจจึงเต็มตื้นชื่นเหลือลน ดุจองคเทพจุติบันดาลดล ใหปวงชนพนทุกขสุขรมเย็น จริยาวัตรงดงามตามแบบอยาง ทุกกาวยางบากบั่นทําใหเห็น อีกคําสอนตรึงใจใชใหเปน จดจารเนนแนนหนักปกกมล ๑๑ มกราคม ๒๕๖๐

๙๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๙๗


๒๔ กุมภาพันธ์ วันศิลปินแห่งชาติ ร่วมเทิดพระเกียรติองค์อัครศิลปิน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระบาทสมเด็จพระปรินทรมหาภูมิพลอดลยเดช

๙๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


วั น ศิ ล ป น แห ง ชาติ กํ า เนิ ด ขึ้ น จากการประชุ ม คณะกรรมการ วัฒนธรรมแหงชาติ เมื่อวันพุธที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๒๘ โดยกําหนด เอาวันที่ ๒๔ กุมภาพันธของทุกป อันเปนวันคลายวันพระราชสมภพ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลที่ ๒ แหง ราชวงศจักรี เพื่อเทิดพระเกียรติคุณของพระองคผทู รงเปนปฐมบรม ศิลปนแหงกรุงรัตนโกสินทร และทรงพระปรีชาสามารถดานศิลปกรรม หลากหลายสาขา ทั้ ง วรรณศิ ล ป ดุ ริ ย างคศิ ล ป นาฏยศิ ล ป ประติมากรรม สถาปตยกรรม ตลาดจนงานประณีตศิลปตาง ๆ ดัง ทีท่ รงไดรบั ยกยองจากองคการยูเนสโกใหทรงเปนบุคคลดีเดนแหงโลก ทางดานวัฒนธรรม เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๙๙


และในการประชุ ม วั น เดี ย วกั น นั้ น เองได มี ม ติ ข อพระราชทาน พระบรมราชานุญาตนอมเกลานอมกระหมอมถวายพระราชสมัญญา “อัครศิลปน” แดพระบาทสมเด็จพระปรินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งเปนคําที่อาจารยภาวาส บุนนาค เสนอใหใช “อัครศิลปน” หมายถึง ศิลปนผูยิ่งใหญ หรือ ผูเปนใหญใน ศิลปน เพราะพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรง เปนเลิศในศิลปะทั้งมวล ทรงไดรับการยกยองสดุดีเกียรติคุณเปนที่ ประจักษชัดแกพสกนิกรและศิลปนทั่วโลกในพระปรีชาสามารถอยาง หาทีเ่ ปรียบมิได นอกจากนีย้ งั ทรงมีคณ ุ ปู การอุปถัมภศลิ ปนและศิลปะ ทั้งหลายมาโดยตลอด พระบาทสมเด็จพระปรินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเปนอัคร ศิลปนผูเพียบพรอมดวยพระอัจฉริยภาพในทุกดาน  พระอัจฉริยภาพดานจิตรกรรม พระบาทสมเด็จพระปรินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชทรงสนพระราชหฤทัยงานศิลปะดานจิตรกรรม ตั้งแตยังทรงพระเยาว ครั้งที่ยังประทับอยูประเทศสวิตเซอรแลนด (ประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๐ – ๒๔๘๘) โดยทรงศึกษาดวยพระองคเอง ทรงฝกเขียนเอง และทรงศึกษาจากตําราตาง ๆ ทั้งที่ทรงซื้อดวย พระองคเองและที่มีผูทูลเกลาฯ ถวาย เมื่อทรงสนพระราชหฤทัยงาน เขียนของศิลปนผูใดก็จะเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมศิลปนผูนั้นถึงที่พัก เพื่อทรงมีพระราชปฏิสันถารและทอดพระเนตรวิธีการทํางานของเขา ไมวาจะเปนวิธีการใชสี การผสมสี ตลอดจนเทคนิควิธีการตาง ๆ เมื่อ ทรงเขาพระราชหฤทัยการทํางานของเขาอยางถองแทแลว ก็จะทรง นําวิธีการเหลานั้นมาทรงฝกฝนดวยพระองคเอง มิใชเพื่อจะทรงลอก เลียนแบบ เพียงแตพระองคทรงนําวิธกี ารทํางานของเขามาสรางสรรค งานของพระองคขึ้นมาใหมใหเปนแบบฉบับของพระองคเอง

๑๐๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ภายหลังที่เสด็จขึ้นครองราชยแลว ทรงเริ่มเขียนภาพอยางจริงจัง เมื่อราวพ.ศ. ๒๕๐๒ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเชิญบรรดา จิตรกรไทยเขาเฝาฯ รวมสังสรรคดวยเปนครั้งคราว โปรดเกลาฯ พระราชทานเลี้ยงอาหารบาง มารวมเขียนภาพแขงขันกันบาง การ เขียนภาพทรงใชเวลาเมื่อวางจากพระราชภารกิจในตอนคํ่าหรือตอน กลางคืน โดยทรงใชทั้งแสงไฟฟาและแสงธรรมชาติ ภาพที่ทรงเขียน สวนมากจะเปนพระบรมสาทิสลักษณของสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรม ราชินีนาถ สมเด็จพระเจาลูกเธอและสมเด็จพระเจาลูกยาเธอทุก พระองค ซึง่ มักจะเปนภาพเขียนครึง่ พระองคเปนสวนใหญ หลากหลาย ชนิดทั้งภาพเหมือน (Portrait) ภาพแบบเอ็กซเพรสชั่นนิซึม (Expressionism) ภาพแบบคิวบิซึม (Cubism) ภาพแบบนามธรรม (Abstract) และภาพแบบกึ่งนามธรรม (Semi-Abstract)

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๐๑


 พระอัจฉริยภาพดานถายภาพ เปนทีท่ ราบกันดีวา ในอดีตอุปกรณ การถายภาพตาง ๆ ยังไมทันสมัย สะดวกสบายเหมือนปจจุบัน หาก แตพระบาทสมเด็จพระปรินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทรงศึกษาและทรง ฝกดวยพระองคเอง จนเปนนักถายรูปที่มีพระปรีชาสามารถยิ่ง ไมวา จะเปนกลองธรรมดาหรือกลองถายภาพยนตร ไดเริ่มทรงกลองถาย ภาพคูพระหัตถและทรงใชฟลมตั้งแตขนาด ๑๓๕ จนถึงขนาด ๑๒๐ และขนาดพิเศษ แมปจจุบันกลองถายภาพจะมีวิวัฒนาการ อํานวย ความสะดวกในเรื่องตาง ๆ แตพระองคก็มิทรงใช ทรงใชแตกลองคู พระหัตถแบบมาตรฐานอยางที่นักเลงกลองทั้งหลายใชกัน นอกจากนี้ ยังทรงเชี่ยวชาญแมกระทั่งการลางฟลม การอัดขยายภาพ ทั้งภาพ ขาวดําและภาพสี

๑๐๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๐๓


เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระปรินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จขึ้น ครองราชยใหม ๆ โปรดที่จะถายภาพสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรม ราชินีนาถ พรอมดวยพระราชโอรสและพระราชธิดา ตอมาเมื่อทรงมี พระราชกรณียกิจมากมายเพื่อบําบัดทุกขบํารุงสุขใหแกราษฎร จาก การถายภาพเพื่อความสวยงามเปลี่ยนเปนเพื่อประกอบการงานของ พระองค ไมวาจะเสด็จฯ เยี่ยมราษฎรที่ไหน ก็จะทรงมีกลองถายรูป ติดพระองคไปดวยเสมอ โปรดถายภาพสถานที่ทุกแหงเพื่อทรงเก็บไว เปนหลักฐานประกอบงานที่ไดทรงปฏิบัติ เพื่อการวางแผนปฏิบัติงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ รวดเร็วทันใจและสามารถแกไขปญหาบาน เมืองไดทันทวงที เชน ปญหานํ้าทวม เปนตน กระนั้นภาพถาย ฝพระหัตถของพระองคก็ยังคมชัด และมีศิลปะในการจัดองคประกอบ ภาพถายฝพระหัตถจึงเปนแบบอยางของงานศิลปะ ตลอดจนเปน ประโยชนในการพัฒนาประเทศชาติบานเมือง นําความผาสุกรมเย็น มาสูประชาชนชาวไทย

๑๐๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


 พระอัจฉริยภาพดานดนตรี พระบาทสมเด็จพระปรินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดชทรงเครื่องดนตรีหลากหลายชนิด เชน ทรงเปยโน ทรงเปาแซกโซโฟน ทั้งตระกูลโซปราโนแซกโซโฟน อัลโตแซกโซโฟน เทนเนอรแซกโซโฟน บาริโทนแซกโซโฟน ทรงเปาคลาริเน็ต บางครั้ง ก็ทรงเปาทรัมเปต และคอรเน็ต พระองคทรงโปรดดนตรีประเภทแจซ ตั้งแตทรงพระเยาว โดยเฉพาะดนตรีแนว Dixieland Jazz จากเมือง นิวออรลนี ส พระองคโปรดและทรงเชีย่ วชาญมากจนสามารถพระราช นิพนธทํานองเพลงแรกคือ แสงเทียน ตั้งแตมีพระชนมายุ ๑๘ พรรษา รวมเพลงพระราชนิพนธทั้งสิ้น ๔๘ บทเพลง ทั้งนี้เมื่อ ปลายป ๒๕๕๙ เชือ่ วาภาพยนตรเรือ่ งพรจากฟา ทําใหคนไทยสวน ใหญเพิ่งทราบวาเพลงพรปใหมเปนหนึ่งในบทเพลงพระราชนิพนธ ของพระองค

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๐๕


พระบาทสมเด็จพระปรินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทรงรวมกอตัง้ วงดนตรีอยางลายคราม หรือ อ.ส.วันศุกร โดยมีนักดนตรีรุนหนุม มารวมบรรเลงเพลงออกอากาศกระจายเสียงทุกวันศุกรทสี่ ถานีวทิ ยุ อ.ส. (อัมพรสถาน) ดนตรีของพระองคเปนเครื่องสรางสัมพันธชั้นดี ทั้งกับประชาชน ที่มารวมเลนในวงของพระองค และนักดนตรีแจซตางประเทศ เมื่อ พระองคตองเสด็จประพาสตางประเทศก็มักไดทําความรูจักกับยอด นักดนตรีแจซของประทศนั้น บอยครั้งที่รวมเลนบนเวทีเดียวกัน นักดนตรีอยาง Benny Goodman, John Hodges, Lionel Hampton และวงแจซระดับโลกอยาง Preservation Hall Jazz Band จาก เมืองนิวออรลีนส ที่พระองคโปรด ความสนพระราชหฤทัยในดนตรีแจซทําใหเกิดหลักสูตรแจซใน มหาวิทยาลัยตาง ๆ โดยเฉพาะวิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัย มหิดล มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยรังสิต มีคณาจารย จํานวนมากมุงมั่นสานตอปรัชญาดนตรีแจซของพระองค

๑๐๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๐๗


 พระอัจฉริยภาพดานศิลปะและการออกแบบ พระบาทสมเด็จ พระปรินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงสนพระราชหฤทัยในงานชาง ตัง้ แตยงั ทรงศึกษาอยูใ นประเทศสวิตเซอรแลนด ทรงประดิษฐของเลน ดวยพระองคเอง เชน เครื่องรอน เรือรบจําลอง เปนตน พระบาทสมเด็จพระปรินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดกีฬาเรือใบ เปนอยางยิ่ง และเนื่องจากทรงสนพระราชหฤทัยงานชางมาแตเดิม แลว จึงโปรดที่จะตอเรือใบพระที่นั่งดวยพระองคเอง และทรงทดลอง แลนเรือในสระภายในสวนจิตรลดา เรือใบฝพระหัตถี่สําคัญมี ๓ ประเภท ไดแก เรือใบประเภทเอ็นเตอรไพรส, เรือใบประเภทโอเค และเรือใบประเภทม็อธ

๑๐๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


 พระอัจฉริยภาพดานวรรณศิลป เมื่อทรงมีเวลาวาง พระบาทสมเด็จพระปรินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจะทรงพระ อักษรและทรงพระราชนิพนธแปล ซึ่งสวนใหญทรงแปล บทความจากวารสารตางประเทศ พระราชนิพนธ ๑. พระราชานุกิจ ประกอบดวย พระราชานุกิจ รัชกาลที่ ๘, พระราชานุกิจตามมนูธรรมศาสตร ๒. พระราชนิพนธเรื่อง เมื่อขาพเจาจากสยามมาสู สวิตเซอรแลนด โดยพระบรมราชานุญาตพิเศษเฉพาะ “วง วรรณคดี” ๓. พระมหาชนก ๔. ทองแดง พระราชนิพนธแปล ๑. ติโต ๒. เศรษฐศาสตร ตามนัยของพระพุทธศาสนา บทที่ ๔ เล็กดีรสโต ๓. นายอินทรผูปดทองหลังพระ

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๐๙


 พระอัจฉริยภาพดานประติมากรรม พระบาทสมเด็จพระปรินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชทรงศึกษาคนควาเทคนิควิธีการในการปน หลอ และทําแมพมิ พเพือ่ สรางงานประติมากรรมจากหนังสือทางดานศิลปะ ตาง ๆ ดวยพระองคเองเชนเดียวกับงานจิตรกรรม และทรงศึกษาจาก ผูเ ชีย่ วชาญ ทีส่ าํ คัญคือพระองคทรงเรียนรูจ ากการปฏิบตั จิ ริงเชนเดียว กับที่ทรงเรียนรูงานศิลปกรรมทุกแขนง ผลงานประติมากรรมรวมสมัยที่พระบาทสมเด็จพระปรินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชทรงสรางสรรคขึ้นเปนประติมากรรมลอยตัว (round relief) ปนดวยดินนํ้ามัน จํานวน ๒ ชิ้น

๑๑๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ชิ้นที่ ๑ เปนรูปผูหญิงเปลือยนั่งคุกเขา ขนาดความสูง ๙ นิ้ว ชิน้ ที่ ๒ เปนพระรูปปน สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ ครึ่งพระองค ความสูง ๑๒ นิ้ว ทรงจัดทาทางและองคประกอบที่มี ความประสานกลมกลืนอยางงดงาม สะทอนคุณคาของความสงางาม ทรงทิ้งรองรอยฝพระหัตถที่มีชีวิต มีการเคลื่อนไหวบนผิวดินนํ้ามันที่ ทรงปน ตอมานายไพฑูรย เมืองสมบูรณ อดีตขาราชการจากกอง หัตถศิลป กรมศิลปากร ไดรับพระมหากรุณาพระราชทานพระบรม ราชานุญาตใหนําไปทําเปนแมพิมพหลอเปนปูนปลาสเตอรพระบาท สมเด็จพระปรินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๑๑


วันสมภพพระพุทธเลิศหลา วันศิลปนแหงชาติใหตรองตรึก เอกอัครศิลปนผูยิ่งใหญ ทั้งทางดานแกะสลักประติมา วัดสุทัศน ณ บานประตูไม งานฝมือชั้นเยี่ยมสุดตระการ พระไชยเชษฐ คาวี ทั้งอิเหนา ไกรทองพระปรีชาใหคํานึง

๑๑๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๒๔ กุมภาชวนรําลึก ดวยสํานึกพระมหากรุณา ลํ้าเลิศในศิลปะหลากสาขา ลายเครือเถารูปปาหิมพานต จารึกไวอยูในพระวิหาร อีกผลงานวรรณกรรมแสนตราตรึง สังขทองเลามณีพิชัยใหสุดซึ้ง ยูเนสโกจึงยกเปนบุคคลสําคัญ


กระทรวงวัฒนธรรมนําสงเสริม ทุกสาขาทุกปมีรางวัล ปสองพันหารอยยี่สิบเกา ปูชนียบุคคลแหงแผนดิน องคภูมิพลพระกรุณาโปรดเกลา รับพระราชทานเข็มมงคลแกชีวา ปเดียวกันชาวไทยทั่วถิ่นหลา องคภูมิพลอัจฉริยะศิลปะไทย

พรอมเพิ่มเติมเชิดชูเกียรติศิลปนนั้น เพื่อเปนขวัญกําลังใจใหศิลปน เริ่มแรกเลาผูสรางสรรคผลงานศิลป วันศิลปนแหงชาติแตนั้นมา บรรดาเหลาศิลปนทุกสาขา มรดกลํ้าคาจารึกไทย ถวายสมัญญาอัครศิลปนไซร ธ คือผูเปนใหญในศิลปน ๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๑๓


๑๑๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


μÒÁÃÍÂͧ¤ÀÙÁÔ¾Å

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๑๕


“หล่อหลอมดวงใจใส่ผืนผ้า” หนึ่งบทพิสูจน์หัวใจคนไทย เข้าถึง เข้าใจ “ความพอเพียง”

ทามกลางความโศกเศรา อาลัย ของคนไทยทั้งแผนดิน ไมนาเชื่อวาจะเกิดภาพคนยื้อ แยงกันซื้อเสื้อสีดํา ราคาเสื้อที่พุงสูงขึ้น หลายเทาตัว คําเหยียดหยามตอวาผูที่ไม สวมใส ชุ ด ดํ า โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ชุ ด ยูนิฟอรมหลากสีสันขององคกร วาไมรัก ในหลวง

๑๑๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


บางคนไมกลาออกนอกบาน ไมกลาเดินออกไปซื้อของหนาปาก ซอย เพราะไมรูวาจะถูกถายรูปแลวนําไปโพสตเปนประเด็นหรือไม คือความจริงที่ชวนสลดหดหู สะเทือนใจ สะทอนในหัวอกยิ่งนัก รัฐบาลเองก็คงคาดไมถึง ไมไดเตรียมมาตรการรองรับ ยังดีที่ออก ประกาศมาแกไขสถานการณไดทันทวงที นีค่ นไทยคงลืมไปแลวกระมังวาพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเปนแบบอยางแหงความพอเพียง หลอดยาสีพระทนตจะทรงรีดจนเรียบหมด ฉลองพระองคจะทรงใชเฉลีย่ ๕ – ๖ ป ฉลองพระองคเกาสุด ทรงใชถงึ ๑๒ ป ฉลองพระบาทผาใบราคาไมกี่รอยบาทที่ไมเคยเปลี่ยนยี่หอเลย ตลอด ๖๐ ป ขณะเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเปดอนุสาวรียที่เขาคอ จังหวัด เพชรบูรณ พระองคเสวยขาวผัดกับไขดาวเหมือนกับขาราชบริพารที่ ตามเสด็จ “...เศรษฐกิจพอเพียง...จะทําความเจริญใหแกประเทศได แต ตองมีความเพียร แลวตองอดทน ตองไมใจรอน ตองไมพูดมาก ตองไมทะเลาะกัน ถาทําโดยเขาใจกัน เชือ่ วาทุกคนจะมีความพอใจ ได...” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ พระราชทาน ณ วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๑๗


เหมือนฟาบันดาล สวรรคเปนใจ ชวงบายวันเสารที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๙ เจานายของฉันโทรศัพทมาปรึกษาวา เราจะทําโครงการยอม เสือ้ สีดาํ ใหฟรี ใหชว ยทําประชาสัมพันธใหดว ย เพราะเจานายก็มคี วาม รูสึกไมแตกตางจากฉันเลย อีกไมกี่นาทีตอมาขอความประชาสัมพันธ ถูกสงไปยังฝายออกแบบ เชาวันรุง ขึน้ ฉันใชสอื่ โซเชียลอันทรงอานุภาพ ใหเปนประโยชน การโพสตแบนเนอรบนเฟซบุก ของหนวยงานและแท็ก ไปยังทุกคนในองคกร ไดรับการตอบรับอยางรวดเร็ว มีขอความเขา มาชื่นชม แจงความประสงควาจะนําเสื้อมายอม เจานายแจงกลับมา วากระแสแรงมาก มีผูแจงความประสงคมา ๓๐๐ คนแลว

๑๑๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


สถานอารยธรรมศึ ก ษา โขง-สาละวิ น ขอเชิ ญ ชาว มหาวิทยาลัยนเรศวรและชาวพิษณุโลกเขารวมโครงการ “หลอ หลอมดวงใจใสผนื ผา” เพือ่ นอมเกลานอมกระหมอมแสดงความ ไวอาลัยแดพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ดวยการนําเสื้อที่มีอยูมายอมเปนสีดําไดโดยไมเสียคาใชจายใด ใดทั้งสิ้น พรอมรวมลงนามไวอาลัย และรับริบบิ้นดํา ตั้งแต วันที่ ๑๗ – ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. ณ สถานอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน อาคารวิสุทธิกษัตริย มหาวิทยาลัยนเรศวร ตลอดระยะเวลา ๕ วัน (และตอเนื่องมาอีกหลายเดือน) ฉันเนนยํ้าดวยขาว บทกลอน และพระราชดํารัสของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๑๙


รวมหลอหลอมดวงใจใสผืนผา ดวยตระหนักพอประมาณความจริงใจ ชาวสองแควรวมใจใหพรอมภักดิ์ ยอมเปลี่ยนเปนสีดําลวนนําพา

๑๒๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

ตามปรัชญาพอเพียงเคียงการให อีกรวมไซรสืบสานภูมิปญญา นําเสื้อจักที่มีมิซื้อหา นอมวิญญาอาลัยใจผูกพัน


คนตั้งใจ อิ่มใจ มีความสุขอยางลนเหลือ สถานที่ยังจัดไดไม สวยงาม เรียบรอยดัง่ ใจ แตกจิ กรรมของเราตองเดินหนาไป ยังไมทนั บายโมง นองยังกอไฟไมเสร็จเลยดวยซํา้ มีคนหิง้ ถุงผาเดินมาแลว มา ไกลจากตางอําเภอดวย เราใหการตอนรับขับสู เชิญชวนลงนาม พลาง เย็บประดิษฐริบบิ้นดํา ไมนานกระบวนการยอมผา แปรเปลี่ยนผาสี ตาง ๆ ใหเปนสีดําก็เริ่มขึ้น ดวยความกระฉับกระเฉง แคลวคลองของ ทีมงาน เพราะเปนกิจกรรมที่ทํากันเปนประจําอยูแลว ผูคนเริ่มทยอย มา สนุกสนานกับการเริ่มตนนําเสื้อมาแชนํ้าเปลาเพื่อใหเสนใยขยาย ตัวสามารถดูดซับนํา้ สีดาํ ไดดี จากนัน้ นําไปตมกับนํา้ ยอมผาสีดาํ ทีผ่ สม เกลือแกงหรือเกลือทะเลเพือ่ ใหสตี ดิ ทนนาน ใชเวลาประมาณ ๓๐ นาที ก็ไดเสื้อตัวใหม สีดําตางเฉดกันออกไป บางก็มองเห็นเนนลวดลายได อยางโดดเดน สวยงาม มีบางตัวที่ไมเปนไปตามที่คิด แตแนนอนวา แตละคนไมไดถือมาแคตัวเดียว

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๒๑


หลอหลอมดวงใจใสผนื ผา นับเปนกิจกรรมทีด่ าํ เนินตามหลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว ที่พระองคทรงอธิบายไววา ความพอเพียง หมายถึง ความพอ ประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนทีจ่ ะตองมีระบบภูมคิ มุ กัน ในตั ว ที่ ดี พ อสมควรต อ การมี ผ ลกระทบใด ๆ อั น เกิ ด จากการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน นอกจากนี้กิจกรรมนี้ยังเปนการ สืบสานภูมิปญญาดานการมัดยอมผาอีกดวย

๑๒๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ระหวางการบันทึกภาพนิ่ง ภาพวีดีโอ ฉันก็ตองใหการตอนรับ สื่อมวลชนที่หลั่งไหลกันมาทําขาว ทั้งบันทึกภาพ สัมภาษณผูชวย ศาสตราจารย ดร.วศิน ปญญาวุธตระกูล ผูอ าํ นวยการสถานอารยธรรม ศึกษา โขง-สาละวิน “สถานอารยธรรมศึ ก ษา โขง-สาละวิ น ได ดํ า เนิ น งานเป ด พิพิธภัณฑผา พิพิธภัณฑชีวิต โดยสืบสานพระราชปณิธานดานการ สงเสริมอาชีพตาง ๆ มาโดยตลอด วันนี้จึงนําองคความรูเรื่องการ ยอมผามาใหประชาชนรูวา การนอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สามารถใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ดวยการเปลี่ยนของดั้งเดิมที่มีอยูสูกระบวนการยอมเปนสี ดําได โดยไมตองซื้อหาใหม เปนการสรางจิตสํานึกตามพระราช ปณิธานของพระองคทาน” “พอรูขาวก็รีบมาเลย ดีใจมาก วันนี้ไมเพียงแคไดเสื้อดํากลับไป สวมใสเพือ่ แสดงความอาลัยเทานัน้ แตยงั ไดความรูก ลับไปลงมือทําดวย ตัวเองและบอกตอใหคนอื่น ๆ ดวย” นางวันดี ไพรัช โรงเรียน บางกระทุมพิทยาคม “มีความภาคภูมใิ จ และสํานึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค ทานเปนลนพน อยางนอย ๆ ก็ไดศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยนเรศวร พระนามของพระมหากษัตริยผูยิ่งใหญ ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานนามให และวันนี้ยังไดเดินตามรอยปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพี ย งของพระองค ท  า นอี ก ด ว ย นั บ เป น ความปลาบปลื้ ม ยิ่ ง นั ก วันพรุงนี้และวันตอ ๆ ไปจะชวนเพื่อนมากันเยอะ ๆ” นายนพดล กองคําแกว นิสิตคณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๒๓


กอนปดกิจกรรม “หลอหลอมดวงใจใสผืนผา” ในวันแรก มีนิสิต รุนพี่หอบเสื้อมากองโต บอกวาจะยอมเอาไปใหรุนนองที่คณะใส เมื่อฉันโพสตรูปกิจกรรมลงบนเฟซบุก ยอดไลทพุงกระฉูด มี หลากหลายขอความสอบถามถึงชนิดของผาที่ตองเตรียมมา จํานวน หลายชิน้ ไดหรือไม บางก็จะเขามาศึกษากระบวนการ ถามรายละเอียด มากมาย จนฉันตอบคําถามแทบไมทัน เรียกวาหางเฟซบุกไมไดเลย กอนเลิกงานมีนองเดินเขามาบอกวา เมื่อสักครูมีคนโทรศัพทมาวา มี เสื้อเปนพันตัว ตองการนํามายอมแลวนําไปบริจาคใหคนทั่วไป ฉันจึง บอกวาใหไปปรึกษาเจานายวาเราจะมีกําลังพอหรือไม ฝายสถานที่ก็ วางแผนวาจะจัดบริเวณใหสวยงามดูดีกวานี้ ตกดึกนองคนเดียวกันสงขอความมาทางเฟซบุก บอกวา วันพรุง นี้จะมีคนนํานํ้าสมุนไพรมาแจกจายใหแกผูที่มายอมผา “หลอหลอมดวงใจใสผืนผา” คือการดําเนินตามรอยปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กอเกิดใหผลลัพธที่หลายคนอาจคาดไมถึง

๑๒๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


“เศรษฐกิจพอเพียงเปนเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความ มั่นคงของแผนดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม ที่ถูกตอกรองรับบานเรือน ตัวอาคารไวนั่นเอง สิ่งกอสรางจะมั่นคงไดก็อยูที่เสาเข็ม แตคนสวน มากมองไมเห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียดวยซํ้าไป” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ จากวารสารชัยพัฒนาประจําเดือนสิงหาคม ๒๕๔๒ “วันนี้มีแตคนมองในหลวงแลวปลาบปลื้มนํ้าตาไหล แตนอย คนที่จะพยายามเขาใจวาทรงสอนอะไร” ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา หรือนี่คือหวงเวลาแหงการพิสูจนหัวใจของคนไทย...ความพอ เพียงที่นําไปสูความมั่นคง ความเขาอกเขาใจ การใหอภัย ที่ทําให สังคมไทยสงบสุข รอยยิม้ นํา้ ใจไมตรีทที่ าํ ใหเมืองไทยไมวา จะเปนสวน ไหน พืน้ ทีใ่ ดลวนนาอยู ชวนจดจํา คงความประทับใจ...ไทยยังคงความ เปนไทยตลอดไป? ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๙

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๒๕


มหัศจรรย์แห่ง “การให้” บนคราบนํ้าตา... ความโศกเศร้า สูญสิ้น ที่เพรียกหา “นํ้าใจ”

เชาวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ความทรงจําเมื่อ ๔ ปที่แลว ปรากฏบนเฟซบุกของตัวเอง

ใหเพราะอยากให ไมใชใหเพราะอยากได

๑๒๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


...ครั้งหนึ่งนําของฝากไปใหนอง ๆ กลุมหนึ่ง ซึ่งตัวเองก็ทําอยู บอย ๆ อยูดีดีมีคนทักวา พี่ใหเคาแลวเคาเคยใหพี่บางหรือเปลา เรา ชะงัก ไมใชเห็นดวยกับคําพูดนี้ แตชั่งใจตัวเองวา เราใหเคาเพราะ ตองการที่จะไดหรือเปลา ก็ไดขอสรุปวา ไม ปกติเวลาซื้อของฝากใคร ปจจัยสําคัญคือทุนทรัพย และอยางที่ ๒ คือ อยากซื้อให เดี๋ยวนี้คน เราใหเพราะตองการไดรับกลับคืน เคยฟงเรื่องของเด็กคนหนึ่งที่พา ยายขามถนน เพราะบังเอิญมองเห็นครูกาํ ลังเดินมา ทําใหเด็กไดรบั คํา ชม และยังไดคะแนนความประพฤติอกี ...เราพาคนแกหรือผูด อ ยโอกาส ขามถนนเพราะกลัวเคาถูกรถชนไมใชหรือ เรานํากระเปาสตางคไปคืน เจาของเพราะกลัวเคาจะลําบากและเดือดรอนใจ ใชหรือไม... ที่ ผ  า นมาคนไทยเราเริ่ ม คุ  น ชิ น กั บ สั ง คมแห ง การหมางเมิ น ตัวใครตัวมัน ใครดีใครได ไปจนถึงแกงแยง ชิงดีชิงเดน และที่เจ็บ ปวดที่สุดก็คือ คนไทยแตกความสามัคคี มีความราวฉาน โกรธแคน ถึงขั้นทํารายกันเอง วันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ เวลา ๑๕.๕๒ น. คือกาลสําคัญ อันเปนจุดเปลี่ยนของคนไทยและประเทศชาติ ประชาชนคนไทยมี ความรูสึกเดียวกัน คือ โศกเศรา อาดูร สุดวิปโยค อาลัย ตอการ สูญเสียครัง้ ยิง่ ใหญของแผนดิน เมือ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดชเสด็จสูส วรรคาลัย ทวา...ทามกลางความความจริงอัน แสดโหดรายนี้ ไดกอเกิดความงดงามขึ้นในสังคมไทย คนไทยเริ่มหันหนาเขาหากัน ชวยเหลือซึ่งกันและกัน การให การแบงปนทะลัก หลั่งไหล ชโลมทั่วผืนแผนดินไทย ดวยพระองค คือศูนยรวมจิตใจของคนไทยทั้งชาติ ทุกคนตางเต็มใจทําความดี เพือ่ ในหลวง และเดินตามรอยพระยุคลบาทผูท รงใหปวงชนชาวไทย เสมอมา

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๒๗


“พระองค ท รงทํ า เพื่ อ คนไทยตลอดเวลา เรามี ค วามสุ ข จนกระทั่งบางครั้งเราลืมพระองคไปดวยซํ้า ตอไปนี้จะขอตั้งมั่น ทําความดี และจะสามัคคีกัน จะไมทะเลาะกัน” หนึ่งคําสัมภาษณ พรอมนํ้าตาปนเสียงสะอื้นของผูที่มาเขาเฝาฯ กราบถวายบังคม พระบรมศพ เรียกนํ้าตาของฉันใหซึมเออตามไปดวย เหลานี้ทําใหฉันมั่นใจวาเนื้อแทของคนไทยนั้นคือความโอบออม อารี มีนํ้าใจ รูจักให แบงปน ชวยเหลือ เอื้อเฟอ กอนหนานี้อาจจะ บรรเทาเบาบางเจือจางไป ไมวาจะดวยเหตุผลใดก็ตาม แตแกนของ มันยังคงอยู มิไดเลือนหายไป และพรอมจะปรากฏใหเห็นไดตลอด เวลา

๑๒๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


การให นั บ เป น หนึ่ ง ในหลั ก ธรรมหรื อ คํ า สั่ ง สอนของ พระพุทธเจา แมวาจะผานมากวา ๒,๕๐๐ ปแลว แตทุกหลักธรรม ยังคงมีความรวมสมัย สามารถปรับประยุกตใชในการดําเนินชีวิต ไดเปนอยางดี ดังเชน สังคหวัตถุ ๔ หลักธรรมอันเปนเครื่องยึด เหนี่ยวนํ้าใจของกันและกัน เปนเหตุใหตนเองและหมูคณะกาว ไปสูความเจริญรุงเรือง ประกอบดวย ๑. ทาน ใหปนสิ่งของแกคนที่ควรให ๒. ปยวาจา เจรจาดวยถอยคําอันไพเราะออนหวาน ๓. อัตถจริยา ประพฤติในสิ่งที่เปนประโยชน ๔. สมานัตตตา วางตนใหเหมาะสมกับฐานะของตน

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๒๙


นิทานเรื่อง การใหคือตนทางแหงความสุข รถโดยสารกําลังวิ่งขามภูเขาไปยังอีกตําบลหนึ่ง วิวทิวทัศน สวยงามนาประทับใจยิ่ง ชายหญิงคูหนึ่งจึงเปลี่ยนใจไมเขาตําบลที่ เปนจุดหมายปลายทาง ขอลงจากรถเพื่อไปชมวิวขางทาง แลวคิด วาจะเดินไปยังตําบลที่เปนจุดหมายปลายทางเอง คนขับก็จอดให ชายหญิงคูนี้ลงตามคําขอ และขับรถตอไป เพียง ๒ นาทีหลังจาก นัน้ ชายหญิงคูน กี้ ไ็ ดยนิ เสียงกอนหินใหญกาํ ลังตกลงมาจากหนาผา และตกลงไปทับรถโดยสารเสียงดังสนั่น ชายหญิงรีบวิ่งไปดูที่เกิด เหคุ ทุกคนเสียชีวิตหมด หากคุณเปนชายหญิงคูนี้ คุณคิดอยางไร “เราโชคดีจังที่รอด!” ไมใช! ชายหญิงคูน้ีคิดวา “เราไมนาลงจากรถคันนี้เลย ถาเราไมลง รถก็คงไมจอด และคงไมมีใครเสียชีวิต” ..................................................... จะมีใครสักกี่คนที่คิดไดเชนนี้ ศาสตราจารยเอลิซาเบต ดันน และคณะ ทําการทดสอบ ทฤษฏีทวี่ า ความสุขของคนเราขึน้ อยูก บั การใหหรือการรับ โดย ศึกษาจากกลุมตัวอยาง ๖๓๐ คน ผลการศึกษาพบวา คนที่ (รูจัก) ใหมีความสุขมากกวาคนที่ไม (รูจัก) ให เพราะการใหทําใหผูให มองตัวเองในแงดีมากขึ้น และการใหทําใหผูรับหรือสังคมมองผูให ในแงดีมากขึ้น

๑๓๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ใหทานทานจะให นบทานทานจะปอง รักทานทานควรครอง สามสิ่งนี้เวนไว

ตอบสนอง นอมไหว ความรักเรานา แดผูทรชน โคลงโลกนิติ

การใหจงึ นับเปนองคประกอบสําคัญของชีวติ ก็วา ได ดังพระราช ดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช “...คนเราจะอยูส ขุ สบายแตคนเดียวไมได ถาคนทีอ่ ยูล อ มรอบ มีความทุกขยาก ควรตองแบงเบาความทุกขยากของเขาบาง ตาม กําลังและความสามารถเทาที่จะทําได..” การใหจึงมีคุณคาและพลังอันยิ่งใหญเสมอ ดวยหัวใจแหงความจงรักภักดีและสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ เปนลนพน ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๙

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๓๑


ปลูกด้วยหัวใจ ด้วยพลังภักดีของชุมชนบ้านวังส้มซ่า

“ปลูกสมซา ๙๙ ตน ตามรอยองคภมู พิ ล เพื่ อ ชุ ม ชนแห ง การอนุ รั ก ษ แ ละพั ฒ นาอย า ง ยัง่ ยืน” โครงการทีผ่ ดุ ขึน้ มาในความคิด ดวยความ ตั้งใจวาตองลงมือทําอะไรสักอยาง เพื่อรําลึกถึง ในหลวงรัชกาลที่ ๙

๑๓๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เนื่องจากหมูบานของฉันมีตนสมซาพืชสมุนไพรดั้งเดิม เปนตนทุนทางทรัพยากรธรรมชาติอนั เปนตํานานและอัตลักษณของ ชุมชน ซึ่งกําลังอยูในระหวางการอนุรักษ เพื่อปลูกจิตสํานึกของ คนในชุมชน และใหสอดรับกับการพัฒนาเปนผลิตภัณฑเพือ่ สุขภาพ และความงามที่ชุมชนประสบความสําเร็จมากอนหนานี้แลว

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๓๓


ช ว งปลายเดื อ นตุ ล าคม ๒๕๕๙ เราจั ด ประชุ ม คณะ กรรมการศูนยเรียนรูก ารใชประโยชนและอนุรกั ษความหลากหลาย ทางชีวภาพและภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ตําบลทาโพธิ์ อําเภอเมือง จังหวัด พิษณุโลก ทุกคนเห็นพองตองกัน เราจึงเดินเครื่องทันที เริ่มตั้งแต การเพาะพันธุสมซาใหได ๙๙ ตน ซึ่งตองใชเวลานานพอสมควร แตกําหนดวาตองใหพรอมภายในเดือนธันวาคมปนี้ กระทัง่ ตนเดือนธันวาคม ในทีป่ ระชุมของจังหวัดพิษณุโลก เมื่อคณะกรรมการของเราเสนอโครงการนี้ ปรากฏวาทาน ผูวาราชการจังหวัดเห็นดวย ชื่นชม และพรอมสนับสนุนเต็มที่ พรอมระบุวนั ทีจ่ ะมาเปนประธานเปดงานคือ วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๒๙ ทําเอาพวกเราทึง่ อึง้ เรียกวาตืน่ ตระหนกเลยก็วา ได เพราะ นั่นหมายความวาเรามีเวลาเตรียมงานเพียง ๑ สัปดาห เปาหมาย แรกคือการเรงเพาะตนกลาสมซา ตามมาดวยการลงพื้นที่จัดวาง แปลน การเตรียมพื้นที่คืองานชาง เราไดรับความรวมมือและการ สนับสนุนอยางเต็มที่จากองคการบริหารสวนตําบลทาโพธิ์ ทั้งงบ ประมาณ แรงกาย แรงใจ ตลอดจนผูใหญบานหมูที่ ๒ บานวัง สมซา และชาวชุมชนหมู ๑ และหมู ๒ บานวังสมซารวมกันเนรมิต พื้ น ที่ ร กร า งบริ เ วณวั ด สะกั ด นํ้ า มั น ให ก ลายเป น แปลงปลู ก พื ช สมุนไพรสมซาไดอยางเหมาะเจาะ สวยงาม ชนิดที่คาดไมถึง

๑๓๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


นอกจากนี้เรายังไดรับกําลังใจและคําแนะนําชวยเหลือ จากสํานักงานฐานชีวภาพ (องคการมหาชน) ที่เปรียบเสมือนพี่ เลี้ยงเรามาโดยตลอด รวมถึงสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลกในการประสานงานกับผูวาราชการจังหวัดและองคกร ตาง ๆ ตลอดจนบริษัท ประชารัฐรักสามัคคีพิษณุโลก (วิสาหกิจ เพื่อสงคม) จํากัด อันเปนองคกรศูนยรวมของทุกภาคสวน และ บุคคลสําคัญอีกทานหนึง่ ทีจ่ ะไมกลาวถึงไมไดเลย นัน่ คือ พลเอก ดร.ศิริ ทิวะพันธุ อดีตแมทัพภาคที่ ๓ ปจจุบันทานเปนประธาน สถาบั น พั ฒ นาสี่ แ ยกอิ น โดจี น ซึ่ ง ก อ นหน า นี้ ไ ด ม อบโล แ ละ ประกาศเกียรติคุณตามรอยพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียงให กลุมของเรา ทานหวงใย ใสใจเรามาตลอด กลาวไดวา ทานเปน แบบอยางของผูอ ทุ ศิ ตนเพือ่ สังคมจริง ๆ สําหรับฉันรับหนาทีด่ า นการประชาสัมพันธ การออกแบบ สถานที่และปรัมพิธี ตลอดจนจัดนิทรรศการไวอาลัยรัชกาลที่ ๙ และสดุดีรัชกาลที่ ๑๐ งานนีท้ กุ คนมุง มัน่ ทุม เทสุดหัวใจ เรียกวาเหน็ดเหนือ่ ยแสน สาหัส ทวาความภาคภูมิใจ ความอิ่มเอิบใจ สุขใจ มากลนเกิน พรรณนา

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๓๕


เย็นวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๙ ผูแทนจากองคกรตาง ๆ และคนในชุมชนหมู ๑ และหมู ๒ บานวังสมซาทยอยกันมารวม งานกันหนาตาขึ้นเรื่อย ๆ เรียกวาไดรับความสนใจและความรวม มือเกินคาด ชางเปนนํ้าทิพยชโลมใจคนทํางานยิ่งนัก แมวาทาน ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลกจะติดภารกิจ ไมสามารถมาเปน ประธานเปดงานใหเราได มอบหมายผูแ ทนมา แตกไ็ มไดทาํ ใหพลัง กายพลังใจของเราลดนอยถอยลงเลย

๑๓๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


งานเริม่ ดวยพิธแี สดงความไวอาลัยแดพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ดวยบทกวีที่ฉันรายตั้งแตพระองค พระราชสมภพจนถึงวันสวรรคต ไดสะกดผูเขารวมงานจนทุกคน กลั้นนํ้าตาไวไมอยู...เชื่อวาทุกคนอยูในหวงภวังคเดียวกัน นั่นคือ คิดถึงพระองคทานเหลือเกิน

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๓๗


“…เจาหนาที่ปาไมควรจะปลูกตนไมลงในใจคนเสียกอน แลวคนเหลานัน้ ก็พากันปลูกตนไมลงบนแผนดินและรักษาตนไมดว ย ตนเอง…” พระราชดําริของสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึง่ นับเปนทฤษฎีทเี่ ปนปรัชญาดานการพัฒนาปาไมทยี่ งิ่ ใหญดงั กองอยู ในใจ ในขณะที่ทุกคนกําลังสาละวนกับการปลูกตนสมซา ฉันจึง บรรยายวา “วันนี้เราปลูกสมซาลงในดิน หวังวาจะปลูกลงในใจของ ทุกคนดวย สองมือคุยดิน บรรจงวางตนกลาสมซา กลบ ปดดวย ดินและฟาง ตามมาดวยการรดนํ้า ขอใหทุกคนใสหัวใจลงไปดวย สมซาทุกตนจะเติบโตแข็งแรงดวยหัวใจของพวกเราทุกคน” ภาพแหงความรวมแรงรวมใจ ยังตราตรึง เปนความทรงจํา สุดประทับใจ ความเหน็ดเหนื่อยถูกปลิดทิ้งหมดสิ้น ความตั้งใจของ พวกเราไมไดหยุดอยูเพียงแคนี้ เราจะเพาะพันธุตนสมซาปลูกใหเต็ม พื้นที่ เพื่อสืบสานตํานานของหมูบาน ปลูกจิตสํานึกในการอนุรักษลง ในหัวใจของชาวบานวังสมซาทุกคน พรอมการนําผลผลิตทีไ่ ดไปพัฒนา ตอยอดเปนผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพและความงาม อาหาร เครื่องดื่ม และอื่น ๆ โดยความรวมมือของอุทยานวิทยาศาสตรภาคเหนือตอน ลาง มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่แน ๆ นํ้าพันซสมซา และเคกกลวยหอม ผสมสมซาสูตรลับเฉพาะของกลุม ซึ่งเปนอาหารวางสําหรับผูเขารวม งาน ไดรับคําชื่นชมจากทุกคน

๑๓๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๓๙


๑๔๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


นอกจากนี้ผูแทนจากแตละองคกรยังมีแนวคิดในการสงเสริม กิจกรรมของเราอีกมากมาย เชน จัดใหเปนสถานที่ทองเที่ยวเชิง อนุรักษของจังหวัด ประมาณวาจะผนวกเขากับวัดใหญ (วัดพระศรี รัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร) และพระราชวังจันทนเลยทีเดียว หรือการ ขอเครื่องหมายรับรองความพิเศษของทองถิ่น ที่เรียกวา สิ่งบงชี้ทาง ภูมิศาสตร (GI: Geographical Indication) เปนตน สรางความ ปลาบปลื้มใหพวกเราเปนอยางยิ่ง หยดนํ้าจากหยาดเหงื่อ เพื่อหมูบานวังสมซา เพื่อการเดินตาม รอยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ดานปรัชญา แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ... สมซา ตนไมของพอ ไมงามนามมงคลแตหนหลัง ทิศอุดรคูเรือนเตือนชีวี เปนเครื่องยาสูตรโบราณสารพัด เติมรสชาติเปรี้ยวหวานอาหารไทย สูนวัตกรรมความงามตามคุณคา การคนควาวิจัยตามครรลอง เหลาชุมชนรวมใจอนุรักษ วังสมซาใหฟนคืนตํานาน

วัฒนธรรมดั้งเดิมเติมวิถี บารมีเลื่องลือชื่อเสียงไกล ชวยขจัดโรคภัยใหหางหาย หอมชื่นใจเยายวนชวนลิ้มลอง ภูมิปญญาแดนดินถิ่นเจาของ อีกองคกรภาคีที่สรางงาน สมซาจักคงอยูคูหมูบาน พรอมสืบสานผลงานความภาคภูมิ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๔๑


จากพิษณุโลกสู่ตรัง ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ แด่ผู้ประสบอุทกภัย สิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่มอบให้ คือความยิ่งใหญ่ในหัวใจ

แมไมอาจเทียบหนึ่งในลาน ลูก ขอตั้งปณิธาน สานสงที่พอสรางไว จะขอ เดินตามรอยเทาพอไป เหนื่อยยากเพียง ไหน ไมทําใหพอผิดหวัง

๑๔๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


แววบทเพลงเดินตามรอยเทาพอในระหวางอาหารมือ้ เชา ทําให มือถือชอนหยุดชะงัก เพลงนีเ้ ปนหนึง่ ในเพลงโปรดของฉันรองจาก เพลงตนไมของพอ เพลงของในหลวง รัชกาลที่ ๙ ที่ฉันไมไดฟง เลยในชวง ๔ เดือนที่ผานมา ฉันพยายามสะกดกลั้นความรูสึกของ ตัวเองไมใหนํ้าตาไหล “เสียใจได แตตองไมลืมหนาที่ อยาลืมคําสอนของพอ” นอกจากการทําหนาทีแ่ ลว หนึง่ คําสอนของพระองคคอื การทําความ ดีดวยการให ทรงไดรับการอบรมใหรูจักการใหตั้งแตทรงพระเยาว โดย สมเด็จยาจะทรงตั้งกระปองออมสินเรียกวา “กระปองคนจน” หาก ทรงนําเงินไปทํากิจกรรมแลวมีกําไร จะตองถูกเรียกเก็บ “ภาษี” หยอดใสกระปุกนี้ ๑๐ % ทุกสิ้นเดือนสมเด็จยาจะเรียกประชุมเพื่อ ถามวาจะเอาเงินในกระปองนี้ไปทําอะไร เชน มอบใหโรงเรียน ตาบอด มอบใหเด็กกําพรา หรือทํากิจกรรมเพื่อคนยากจน

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๔๓


“อยาลืมคืนกําไรใหสังคม” การเรียนรูที่ ๗ ซึ่งเปนกระบวนการ สุดทายของกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ในการบรรยายสาระธรรม พาที หัวขอ ชีวิตดีที่พอเพียง โดยทานพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิร เมธี) เมื่อวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๐ ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร กระตุน เตือนใหเรารูจักให ฉันเองก็คุนเคยกับการใหมาโดยตลอด เชน การ ใหทานแกผยู ากไร บริจาคทุนทรัพยสงิ่ ของใหผดู อ ยโอกาส การบริจาค เลือด ไปจนถึงการเดินทางไปซอมแซมอาคารโรงเรียนในถิน่ ทุรกันดาร แตนั่นก็เปนหนึ่งในวิชาเรียน แตกตางจากการใหครั้งลาสุดที่เปนการ ใหดวยใจแบบถึงมือผูตกอยูในความทุกขยากลําบาก ซึ่งอยูหางไกล นั่นคือ การเดินทางไปมอบทุนทรัพย อาหาร และขาวของเครื่องใช ใหแกผูประสบอุทกภัย ณ จังหวัดตรัง รวมกับเพื่อน ๆ เหลานักเขียน สมัครเลนคูสรางคูสม เมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๖๐

๑๔๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


จากทริปเที่ยวภูเก็ตเมื่อชวงปลายเดือนตุลาคม ๒๕๕๙ เลื่อน มาเปนกลางเดือนมกราคม ๒๕๖๐ ดวยชวงเวลาอันเนิ่นนานบวกกับ เกิดอุทกภัยครั้งใหญในภาคใต ทําใหเพื่อนรวมทริปคอย ๆ หายไปที ละคนสองคน ในที่สุดเหลืออยูเพียง ๓ คน บวกกับเพื่อนที่ภูเก็ตและ ตรังอีก ๒ คน รวมเปน ๕ คน ทําใหพวกเราเกือบถอดใจสละตั๋ว เครือ่ งบินอีกครัง้ แตกอ นทีท่ ริปของเราจะลม ในเวลากระชัน้ ชิด เพือ่ น คนหนึ่งก็เสนอขึ้นมาวา “เราไปชวยนํ้าทวมแทนมั้ย” เหมือนแสงสวางที่ปลายอุโมงค ความหอเหี่ยวกลายเปนความ ตื่นเตน ตื้นตัน กระปรี้กระเปรา กอนเดินทางเพียงหนึ่งวัน ฉันโพสตขอความขอเชิญรวมบริจาคเงินชวยผูประสบภัยนํ้าทวม ณ จังหวัดตรัง ไมกี่อึดใจ เจานายของฉันเดินถือซองใสเงินมาให จํานวนหนึง่ “ฝากทําบุญดวย” รูส กึ ดีอยางบอกไมถกู ทีซ่ าบซึง้ ทีส่ ดุ ก็คือ นองในองคกรเดียวกันคนหนึ่งฝากเงินมาทําบุญ ๑๐๐ บาท พลางบอกวา “หนูอยากทําบุญ แตหนูมีเทานี้จริง ๆ พี่” นํ้าใจของ นองยิ่งใหญเกินกวาเงินจํานวนนี้มากมายนัก จากพิษณุโลกมุงเขากรุงเทพฯ บินตรงไปหาเพื่อนที่ภูเก็ต แลวนั่ง รถตอไปยังจังหวัดตรัง พบกับเพื่อนที่นั่น แลวนัดแนะการทํางาน ของเรา

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๔๕


เริ่มจากการนําเงินบริจาคที่ทุกคนรวบรวมไดมารวมกัน เปน จํานวนกวา ๑๕,๐๐๐ บาท นําไปซื้อขาวของเครื่องใชจําเปน แพ็คใส กระเปา แยกเปนชุด เพื่อมอบให ๑ กระเปา ตอ ๑ ครอบครัว พรอม กวยเตีย๋ วทีเ่ พือ่ นอีกคนนํามาสมทบ ตอนนีเ้ องเรามีอาสาสมัครในพืน้ ที่ มาชวยกันจัดเรียง ใชเวลาไมนานก็เสร็จเรียบรอย คืนนั้นฉันรูสึก ตื่นเตนนาดู

รุงเชา หลังมื้ออาหาร เราตรงไปยังบานโคกสะทอน พบวาสอง ขางทางยังมีนํ้าเจิ่งนอง บานบางหลังทวมถึงหลังคา คนในบานตอง ออกมากางเต็นทนอนกันริมถนน เมื่อไปถึงวัดโคกมะมวง พบวา นํ้า เพิ่งลดไดเพียงหนึ่งวัน จากนั้นไปตอที่วัดประสิทธิชัย (ทาจีน) ที่นี่ยัง อวมอยู นํ้ายังคงทวมวัดและโรงเรียน อยูระหวางการเรงระบายนํ้า ออกโดยศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจากจังหวัดภูเก็ต พวก เรานํารถเขาไปในวัดไมได จึงตองถือขาวของและอาหารเดินเขาไป ถวายพระในวัด

๑๔๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


พระปลัดสุวิทย สุวิชาโน พระฝายปกครอง เลาใหฟงวา “ทีน่ เี่ ปนโรงเรียนปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญ มีสามเณรจํานวน ๘๕ รูป พอนํ้าทวมจึงใหแยกยายกันกลับบาน เหลืออยู ๕๕ รูป นํ้าทวมมาได อาทิตยกวา ๆ แลว เพิ่งลดมาได ๒ วัน ทวมสูงสุดกวา ๒ เมตร ชวงนี้งดกิจสงฆทุกอยาง ภิกษุ สามเณร ใชเรือ เรือไมพอก็ไชกะละมัง ในการสัญจรภายในวัด เจาอาวาสเปนหวงความปลอดภัยจึงตัดไฟ ไมมีไฟใช พอไมมีไฟ นํ้าในแท็งคก็สูบไมขึ้น ไดอาศัยญาติโยมมา บริจาค ใหความชวยเหลือ ตอนนี้ยังไมนําของลงจากที่สูง เพราะอาจ มีพายุอีกครั้ง ตองเตรียมรับสถานการณไวกอน” พระปลัดสุวิทย สุวิชาโน เลาอีกวา นํ้าทวมครั้งนี้ถือวาหนักที่สุด ในรอบ ๑๐ ป ถึงอยางไร วัดยังดีกวาญาติโยมมากนัก บานบางหลัง นํา้ ทวมมิดหลังคา ไมมที อี่ ยูอ าศัย อาหารการกินก็ยากลําบาก หากวา นํ้าที่วัดลดลงก็ยินดีเปนที่พักพิงใหชาวบานมาพึ่งพาอาศัยได

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๔๗


จากนั้นฉันมารวมแจกกวยเตี๋ยวใหกับชาวบานที่หนาวัด ทั้งเด็ก นอย วัยรุน พอแมจูงลูกจูงหลานมา รวมถึงผูสูงอายุที่มายืนเขาถอย รับกวยเตี๋ยวคนละชาม หรือจะใสถุงไปฝากคนที่บานก็ไดตามสะดวก อิ่มแลวก็รับมอบของใชบานละ ๑ ชุด ระหวางการแจกของ ฉันไดคุย กับปาฉวีวรรณ ชวยแข็ง ประธานกลุมพัฒนาสตรีชุมชนทาจีน และ ประธานกลุมแกงไตปลาแหงเมืองตรัง “ทีน่ เี่ ปนเหมือนแองทีร่ องรับนํา้ จากทุกที่ ทุกสายมาบรรจบรวม กัน นํ้าที่นี่จึงแหงชากวาที่อื่น แถมทางรัฐยังสรางถนนสูงมาก นํ้า จึงไหลลงมาทวมวัด ทวมบานของชาวบาน อันนี้เปนเรื่องสําคัญ ที่ทางการตองคิดเยอะ ๆ การคมนาคมสะดวกสบาย แตเวลาฝน ตกมาก ๆ ชาวบานเดือดรอน”

๑๔๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ฉันเดินมาคุยกับเจาหนาทีจ่ ากศูนยปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย เลาวา ใชเครื่องสูบนํ้าเครื่องใหญมาหลายวันแลว วันนี้เปลี่ยนมาใช เครื่องตัวเล็ก เพราะนํ้าอยูในระดับตํ่าลง และตองเรงระบายนํ้าลง แมนํ้าทาจีนซึ่งอยูติดกับวัดใหเร็วที่สุด กอนที่นํ้าระลอกใหมจะมา เมื่อฉันถามวา เหตุใดจึงตองใชศูนยฯ จากภูเก็ต เจาหนาที่บอก วา จังหวัดตรังไมมีศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ถาภูเก็ตไม เพียงพอก็ตอ งระดมจากจังหวัดอืน่ โดยรอบ…นัน่ หมายความวางานของ พวกเขายังไมเสร็จสิน้ งาย ๆ แตสาํ หรับพวกเราเมือ่ แจกของเสร็จก็เปน อันสิ้นสุด

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๔๙


๑๕๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ระหวางเดินทางกลับ พวกเราพูดคุยกันถึงสิง่ ทีเ่ ราทําในวันนี้ ความ เหน็ดเหนื่อย อากาศที่รอนระอุ การเดินทางอันแสนยาวไกล เทียบ ไมไดเลยกับความอิ่มเอมใจ สุขใจ ปลื้มปริ่มอยางบอกไมถูก แมจะ เปนเพียงสิ่งเล็ก ๆ นอย ๆ ที่พวกเราพอจะทําได แตคือความยิ่งใหญ ในความรูสึก เปนความทรงจําสุดประทับใจที่พวกเราไมมีวันลืม...เปน ทริปอันทรงคุณคายิ่ง

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๕๑


เสียงสะอื้นเพื่อนเราชาวดามขวาน กระแสเชี่ยวเกรี้ยวกราดเกินทานทน ดวยหัวใจเราเหลาคูสรางคูสม ธารนํ้าใจผองเพื่อนพรอมหยิบยื่น จากทริปเที่ยวเลี้ยวเปนจิตอาสา จังหวัดตรังหวังผูประสบภัย ซื้อของใชจําเปนแพ็คใสถุง วัดโคกมะมวงมอบใหประชาชี อีกหนึ่งวัดประสิทธิชัยใหสะทอน เรงสูบออกลงแมนํ้าสูทะเลพลัน ฝายพวกเรามิอาจนํารถเขา ถวายพระญาติโยมไดพึ่งพา หนึ่งความดีจากใจที่มอบให แสนอิ่มใจไดบุญชื่นชีวี

สุดราวรานฝนกระหนํ่านํ้าเออลน บานเรือนคนขาวของลวนถูกกลืน ระดมพลแมเพียงนิดมิคิดฝน ดวยจุดยืนเดียวกันปนนํ้าใจ พรอมมุงหนาพาลงสูภาคใต บรรเทาความยากไรไดสิ่งดี กวยเตี๋ยวปรุงสดรอนใหถงึ ที่ วานํ้านี้เพิ่งจากไปไดหนึ่งวัน ยังเดือดรอนทวมวัดโรงเรียนนั้น เพื่อใหทันระลอกใหมใกลเขามา เดินเทาเอาขาวของพรอมภักษา ฟงปญหาความทุกขรอบสิบป รอยยิ้มไดคําขอบคุณเพียงเทานี้ ปลื้มเปรมปรีดิ์สุขนี้มิลืมเลือน ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๖๐

๑๕๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๕๓


ปตท.สผ.จับมือกองทัพภาคที่ ๓ สร้างศูนย์การเรียนรู้ในค่ายทหาร แบบอย่างการดําเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการ “ศูนยการเรียนรูเ ศรษฐกิจ พอเพียง” โดย กองทัพภาคที่ ๓ รวมกับ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) คือหนึ่งแบบอยางการนอมนําแนว พระราชดํ า ริ เ รื่ อ งเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ ในหลวง รั ช กาลที่ ๙ มาใช ไ ด อ ย า งมี ประสิทธิภาพ เติบโต ยั่งยืน เห็นผลอยางเปน รูปธรรมและครบวงจร โดยเหลากําลังพล สามารถนําองคความรูเผยแพรเปนประโยชน แกประชาชนทั่วไปได

๑๕๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


โครงการ “ศูนยการเรียนรูเ ศรษฐกิจพอเพียง” เริม่ ดําเนิน การในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยกองพันทหารปนใหญที่ ๑๐๔ เพือ่ แกปญ  หากําลังพลและครอบครัวภายในหนวยทีไ่ ดรบั ผลกระทบ ทางเศรษฐกิจ สงผลใหรายรับไมเพียงพอกับรายจาย อีกทั้งยัง เปนการสงเสริมการสรางความสามัคคีใหแกกําลังพล และเพื่อ เปนตนแบบในการพัฒนาอาชีพเสริมแกกาํ ลังพลและครอบครัว รวม ไปถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทหารกองประจําการ โดยนําผล กําไรที่ไดจากการดําเนินการจัดตั้งเปนกองทุนตาง ๆ เชน กองทุน สวัสดิการเพือ่ การศึกษาบุตร-หลานกําลังพล กองทุนชวยเหลือกําลัง พลในดานตาง ๆ และสวัสดิการแกกําลังพลและครอบครัว

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๕๕


การดําเนินงานเริ่มตั้งแตการปรับปรุงพื้นที่วางเปลาใน หนวยประมาณ ๑๐๐ ไร เพื่อจัดทําโครงการเกษตร ตอมามีการ ปรับปรุงอาคารกองรอยฝกเดิม เปนศูนยการเรียนรูตามแนว ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และจั ด ทํ า โครงการสาธิ ต ทางการ เกษตรกรรม โครงการ “ศูนยการเรียนรูเ ศรษฐกิจพอเพียง” มีพธิ เี ปด เมือ่ วันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เพือ่ ใหแพรหลายไปยังสวน งานทุกภาค ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน นักเรียน และประชาชนทัว่ ไป

๑๕๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ผลการดําเนินงาน โครงการ “ศูนยการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง” ปจจุบนั มีการดําเนินงานจัดทําโครงการตนแบบ ๓ กลุม หลัก จํานวน ๒๙ โครงการ

กลุมเกษตรกรรม จํานวน ๙ โครงการ

๑. โครงการปลูกผักปลอดสารพิษ ประกอบดวยแปลงผัก ๑๑ แปลง และโดมปลูกผัก ๔ โดม ดําเนินการปลูกผักหมุนเวียนตามฤดูกาล เชน ผักชี ผักคะนา พริก ตนหอม เปนตน ๒. โครงการปลูกมะนาวนอกฤดู โดย การปลูกในวงบอ และนําปุยอินทรียที่ทําจากมูล สัตวของทางศูนยเรียนรูฯ มาใชในการปรับปรุง ดิน สามารถทําใหเปดผลผลิตมะนาวไดตลอด ทั้งป ๓. โครงการทํานา เปนอีกหนึ่งแนว ความคิดในการลดตนทุนการผลิตและลดการใช สารเคมี โดยการนําปุย ทีไ่ ดจากโครงการหมูหลุม โครงการเลี้ยงวัว โครงการไกไข และนํ้าสมควัน ไมแทนสารเคมี เพือ่ ปองกันแมลง ปจจุบนั หนวย ไดดําเนินการทํานาโยนแลวในพื้นที่ ๕๐ ไร เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๕๗


๔. โครงการปลูกไผ ประกอบดวยไผพันธุตงลืมแลง จํานวน ๑๕๐ กอ และไผพันธุบงหวาน จํานวน ๕๐ กอ ๕. โครงการผักไฮโดรโปนิกสการปลูกผักโดยไมใชดนิ หรือเปนการ ปลู ก พื ช ผั ก ในนํ้ า ที่ มี ธ าตุ อ าหารพื ช ละลายอยู  หรื อ เป น การปลู ก พื ช ใน สารละลายธาตุอาหารพืช เรียกอีกอยางหนึ่งวา “ผักไรดิน” ชวยประหยัด พื้นที่และไมปนเปอนสารเคมีตาง ๆ ในดิน ทําใหไดพืชผักที่มีความสะอาด ๖. โครงการปุยหมักชีวภาพ คือปุยอินทรียที่ผานกระบวนการหมัก กับนํ้าสกัดชีวภาพ ชวยในการบํารุงดิน และยอยสลายอินทรียวัตถุในดินให เปนอาหารแกพืช ๗. โครงการเพาะเห็ดขอน ปจจุบันศูนยการเรียนรูฯ มีโรงเพาะเห็ด จํานวน ๑ โรง มีเชื้อเห็ดทั้งสิ้น ๒,๐๐๐ กอน

๑๕๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


๘. โครงการปลูกกลวย มีการปลูกกลวยทั้งสิ้น จํานวน ๑๐๐ ตน โดยผลผลิตที่ไดนอกจากนําไปจําหนายแลว สวนตาง ๆ ของตนยังสามารถ นํามาทําเปนวัสดุตาง ๆ ลดมลพิษไดอีกทางหนึ่งดวย

๙. โครงการเรือนเพาะชํา เปนการอาศัยพื้นที่วางในการขยายพันธุ กลาไมชนิดตาง ๆ เชน มะนาว ตะไคร ชะอม กลวย เปนตน

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๕๙


กลุมปศุสัตว จํานวน ๑๗ โครงการ ๑. โครงการเลีย้ งโคเนือ้ มีการจัดหา ขยายพันธุโ คเนือ้ และใชประโยชน จากการนํามูลมาทําเปนปุย อินทรีย ใชในการดําเนินโครงการภายใน ศูนย ๒. โครงการเลี้ยงโคขุน นับวาเปนโครงการที่ใหผลกําไรอยางดียิ่ง เพราะโคขุนมีราคาขายที่สูงในทองตลาด และยังเปนที่ตองการของ ประชาชนทั่วไป การขยายพันธุคอนขางสะดวกและเลี้ยงงาย โดยมี ทั้งสิ้น ๑๒ ตัว ๓. โครงการเลี้ยงกระบือไถชีวิต โดยนํามาเลี้ยงเพื่อการศึกษา เปน โครงการสาธิตในศูนยการเรียนรูฯ ๔. โครงการเลี้ยงหมูปา หมูปาสามารถเพาะพันธุไดงาย ใชตนทุนใน การเลี้ยงตํ่า อีกทั้งยังมีความทนตอโรคและความตองการทางตลาด ที่ดี จึงไดนํามาขยายพันธุ โดยใชเศษพืชผักที่สามารถหาไดภายใน ศูนยเรียนรูฯ มาทําเปนอาหารเลี้ยงหมูปา

๑๖๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


๕. โครงการทําปุยหมักมูลไสเดือน ปจจุบัน มีบอที่ทําการเพาะเลี้ยงไสเดือน จํานวน ๖ แปลง สามารถผลิตปุยไดปละ ๑,๐๐๐ กิโลกรัม นํามาใชภายในศูนยฯ และจัด จําหนายเปนถุง ๖. โครงการเลี้ยงปลานิลจิตรลดา มีการ ดําเนินงาน จํานวน ๒ บอ ซึ่งปลาในแตละ รุน มีการจับและจําหนายใหแกโรงประกอบ เลี้ ย งภายในหน ว ย ในส ว นที่ เ หลื อ จะ จําหนายใหแกกําลังพล สรางรายไดเสริม ตอไป ๗. โครงการเลี้ยงปลาหมอชุมพร เปนปลาที่ มีลกั ษณะโดดเดน ไดรบั ความนิยมจากทอง ตลาดสูง มีขนาดใหญกวาปลาหมอทั่วไป ทนตอโรค เลี้ยงงาย โตไว ใหผลผลิตที่สูง ปจจุบันมีการเลี้ยง จํานวน ๔๐๐ ตัว ๘. โครงการเลีย้ งไรแดง ไรแดงเปนอาหารที่ ดีสาํ หรับอนุบาลสัตวนาํ้ วัยออน โดยเฉพาะ สัตวนํ้าเศรษฐกิจ ทั้งปลาสวยงามและปลา เศรษฐกิจ ในอดีตไรแดงรวบรวมไดจาก แหลงนํ้าโสโครก โรงฆาสัตวหรือโรงงาน อุ ต สาหกรรม ซึ่ ง มี ป ริ ม าณไม แ น น อน ปจจุบันไรแดงจากธรรมชาติมีปริมาณลด ลง เพราะสภาพสิ่งแวดลอมตาง ๆ เปลี่ยน ไป ในขณะที่ความตองการไรแดงกลับเพิ่ม ขึ้ น ทํ า ให ศู น ย ก ารเรี ย นรู  ฯ เล็ ง เห็ น ประโยชน จึงไดดําเนินการเพาะเลี้ยงเพื่อ เปนปจจัยตนทุนทางอาหารตอไป เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๖๑


๙. โครงการเลี้ยงไกไข โดยนําไขไกที่ไดมาเปน สวัสดิการดานอาหารแกพลทหารกองประจํา การภายในหนวย และสวนที่เหลือนําจําหนาย ใหแกกําลังพล ซึ่งรายไดนํามาเปนสวัสดิการ ในดานการศึกษาบุตรกําลังพล และสวัสดิการ ดานตาง ๆ อีกดวย ๑๐. โครงการเลี้ยงจิ้งโกรง จิ้งโกรงหรือ จิ้งหรีดขนาดใหญ เปนแมลงที่พบทั่วไป ตามธรรมชาติ คนนิยมเลี้ยงเพื่อบริโภค เปนอาหาร โดยการทอด คั่ว แกง หอหมก และยํา จิ้งโกรงมีสารอาหาร โปรตีนสูง ปลอดสารพิษ ชวยแกปญหา ขาดสารอาหารได เลี้ยงงาย ขยายพันธุ เร็ว ใหผลผลิตสูง เหมาะที่เกษตรกรจะ นํามาเลี้ยงเปนอาชีพเสริม สามารถใช เวลาว า งจากการเพาะปลู ก มาดู แ ล จิ้งโกรงได ภายในเวลา ๑ ป สามารถ เลี้ยงจิ้งโกรงไดถึง ๕ รุน ๑๑. โครงการเลี้ยงหมู โดยนํามาเปน สวัสดิการดานอาหารแกพลทหาร กองประจําการภายในหนวย และ สวนที่เหลือนําจําหนายใหแกกําลัง พล ซึ่งรายไดนํามาเปนสวัสดิการใน ดานการศึกษาบุตรกําลังพล และ สวัสดิการดานตาง ๆ อีกดวย

๑๖๒

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


๑๒. โครงการเลี้ยงเปดไลทุง เปดไขสายพันธุซีพีซุปเปอร เปน เปดไขสายพันธุล กู ผสม มีลกั ษณะเดนคือ ออกไขจาํ นวนมาก ประมาณ ๒๘๐ – ๓๐๐ ฟอง/ป/ตัว ศูนยการเรียนรูฯ ได รับการสนับสนุนจากบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) ๑๓. โครงการเลี้ยงกุงกามแดง ปจจุบันมีราคาสูงมาก โดย เฉพาะอยางยิ่งกุงกามแดงที่มีสีสันแปลกตา โดยใชวัตถุดิบ อาหารจากโครงการตาง ๆ ภายในศูนยการเรียนรูฯ ๑๔. โครงการเลี้ยงไกพันธุพื้นเมือง สามารถเลี้ยงแบบปลอย ตามธรรมชาติได ชวยประหยัดคาใชจา ยดานอาหารไก และ ไกพันธุพื้นเมืองยังทนตอสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงได เปนอยางดี ซึ่งมูลของไกยังสามารถนํามาทําเปนปุยชวยให พืชผักเจริญเติบโตอีกดวย เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๖๓


๑๕. โครงการเลี้ยงกบ เปนโครงการหนึ่งที่ใหผลผลิตตอบแทน สูง ใชพื้นที่ไมมาก โดยใชระยะเวลาเลี้ยงประมาณ ๒ – ๓ เดือน ก็สามารถจับขายได ตลาดผูบริโภคมีความตองการ สูงตลอดทัง้ ป จึงเปนโครงการทีไ่ ดรบั ความนิยมอยางสูงใน ปจจุบัน ๑๖. โครงการเลี้ยงปูนา ปูนานับเปนสัตวเศรษฐกิจอยางหนึ่ง สามารถนํ า มาเลี้ ย งเพื่ อ เป น อาหาร โดยตลาดมี ค วาม ตองการสูง เพาะเลี้ยงงาย ไมตองดูแลมาก อีกทั้งยังเปน วัตถุดิบในการทําอาหารประเภทตาง ๆ ของคนไทย ๑๗. โครงการเลีย้ งนกกระทา ปจจุบนั นกกระทาเปนทีน่ ยิ มเลีย้ ง อยางแพรหลาย เปนสัตวปกที่มีคุณสมบัติเลี้ยงงาย ทนตอ โรคระบาด ไดผลประกอบการสูง

๑๖๔

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


กลุมโครงการอื่น ๆ จํานวน ๓ โครงการ ๑. โครงการเผาถาน-นํา้ สมควันไม ปจจุบนั มีตาเผานํา้ สมควัน ไม จํานวน ๒ เตา มีกําลังผลิตตอการเผา ๑ ครั้ง จํานวน ๘๐ – ๑๐๐ ลิตร ในป ๒๕๕๙ สามารถผลิตนํ้าสมควันไม ไดถึง ๑๒,๐๐๐ ลิตร ๒. โครงการสีขา วชุมชน มีวตั ถุประสงคเพือ่ นําขาวเปลือกทีไ่ ด จากการเก็บเกี่ยวมาสีภายในโรงสีชุมชน เพื่อเปนการลด ตนทุนในการซื้อขาวจากภายนอก สําหรับในป ๒๕๕๙ สามารถดําเนินการสีขา วเพือ่ นํามาใหทหารกองประจําการ บริโภคจํานวน ๗๕ ตัน และจัดทําโรงเก็บขาวเปลือกสําหรับ เก็บขาวเปลือก นอกจากนี้ รําและปลายขาวทีเ่ หลือจากการ สีขาว ไดนํามาเปนอาหารในการเลี้ยงปลา หมูหลุม และ ไก เพื่อเปนการประหยัดตนทุนในการซื้ออาหาร ๓. โครงการผลิตนํ้ายาอเนกประสงค เชน นํ้ายาถูพื้น นํ้ายา ซักผา นํ้ายาลางจาน แชมพู เปนตน โดยนําไปใชภายใน ครอบครัวและชุมชน เพื่อลดคาใชจาย และเปนเศรษฐกิจ พอเพียงอีกทางหนึ่งดวย

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๖๕


นอกจากการดําเนินการทั้ง ๒๙ โครงการแลว ทางศูนย การเรียนรูต ามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไดมกี ารขยายผลเปน รูปธรรมพรอมประสานความรวมมือกับ บริษัท ปตท.สํารวจและ ผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) สํานักงานประมงจังหวัดพิษณุโลก สํานักงานเกษตรจังหวัดพิษณุโลก กรมพัฒนาทีด่ นิ จังหวัดพิษณุโลก และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ดําเนินการจัด โครงการ “พัฒนาคน พัฒนาชุมชน” เพื่ออบรมใหความรูและ นอมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นําไปใชในชีวิตประจําวัน และขยายผลสูชุมชนของตนเอง ตลอดจนเปนแหลงเรียนรู เยี่ยม ชมจากทั้งหนวยงานภายในกองทัพบก ไปจนถึงภาครัฐและเอกชน นักเรียน นิสติ นักศึกษา และประชาชนทีม่ คี วามสนใจในการดําเนิน งานของศูนยการเรียนรูตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

๑๖๖

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล


ศูนยการเรียนรูตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึง นับเปนแบบอยางในการดําเนินตามพระราชดําริของพระบาท สมเด็จพระมหาปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอยางแทจริง ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล

๑๖๗


๑๖๘

เล่าเรื่ององค์ภูมิพล




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.