P1
/
แนะน�ำสถานีฯ
ประวัติและความเป็นมาของการก่อตั้ง สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์
P2 /
Activities
กิจกรรมการฝึกอบรมและสัมมนาการ พยากรณ์ข้าวและการฝึกรมเชิงปฏิบัติ การการวิเคราะห์พื้นที่ปลูกอ้อยโดย ประยุกต์ใช้ดาวเทียม SMMS
Satellite Application
Remote Sensing in daily life.
P3 /
P4 /
การน�ำภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ติดตาม เหตุการณ์อุกภัย ปี 2555
ท�ำไมเราจึงมองเห็นใบไม้เป็นสีเขียว?
CSRS News
ฉบับที่ 1 ประจ�ำวันที่ 1 ธันวาคม 2555
ข่ า วสถานี รั บ สั ญ ญาณ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ http://smms.eng.ku.ac.th/
ความเป็ น มาของสถานี รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ในปี พ .ศ. 2545 คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รบั มอบหมายจาก กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ให้ด�ำเนินการวิจัยเพื่อการสื่อสาร โทรคมนาคม ผ่านดาวเทียมด้วยคลื่นไมโครเวฟย่านความถี่ Ka-Band แต่ เ นื่ อ งจากประเทศไทยยั ง ขาด ศักยภาพและประสบการณ์ในการสร้างดาวเทียม ที่ส่งไปโคจรรอบโลกด้วยตัวเองได้ จึงได้ร่วม มือกับ Xian Institute of Space Radio Technology (XISRT) ของสาธารณรั ฐ ประชาชนจีน
ในการพั ฒ นาอุ ป กรณ์ ก ารสื่ อ สารเพื่ อ น� ำ ไป ประกอบติดกับดาวเทียมอเนกประสงค์ขนาดเล็ก หรือเรียกกันย่อๆว่า “SMMS” (Small MutiMission Satellite) พร้อมกับการติดตั้งสถานี ภาคพื้นดินรับ-ส่งสัญญาณ Ka-Band ที่ดาดฟ้า ชั้น 13 อาคารชูชาติก�ำภู
“
ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน การด�ำเนิน โครงการแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2551 ต่อมามีการ ปล่อยดาวเทียม SMMS ชือ่ ว่า “HJ-1A” ขึน้ สูว่ ง โคจรเมื่อเดือนกันยายน 2551 ที่ฐานยิงจรวด ณ เมืองไทหยวน สาธารณรัฐประชาชนจีน
เมือ่ วันที่ 2 พฤษภาคม 2554 ได้รบั พระราชทานนามสถานีรบั สัญญาณ SMMS ภาคพืน้ ดินแห่งนีจ้ าก สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ว่า สถานีรับสัญญาณ >> อ่านต่อหน้าถัดไป ดาวเทียมจุฬาภรณ์
”
2
“พิ ธี ก ารส่ ง มอบและเปิ ด สถานี ภ าคพื้ น ดิ น ดาวเที ย ม SMMS ย่ า นความถี่ Ka-Band จั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 25 ธั น วาคม พ.ศ. 2551” >> ต่อจากหน้าแรก
อายุการใช้งานดาวเทียมประมาณ 5ปี โคจร ผ่านประเทศไทยวันละ 2 ครั้ง ในเดือนกรกฏาคม พ.ศ. 2552 ได้มีการเจรจาขยายความร่วมมือเกี่ยว กั บ การประยุ ก ต์ ใ ช้ ง านภาพถ่ า ยทางอากาศจาก ดาวเทียม SMMS “HJ-1A” ในด้านต่างๆ ทาง China Centre for Resource Sattellite Data and Applications (CRESDA) แห่งสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ได้เสนอโครงการติดตั้งสถานีภาคพื้น ดินเพื่อรับและประมวลผลสัญญาณภาพถ่ายทาง อากาศจากดาวเทียม SMMS โดยตรง คลื่นความถี่ X-Band และยินดีที่จะให้ใช้สัญญาณภาพถ่ายจาก กล้อง CCD และกล้องชนิด Hyper spectrum กับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เมือ่ เดือนธันวาคม 2552 ท�ำให้มีการติดตั้งจานดาวเทียมและสถานีภาค พื้นดินรับและประมวลผลสัญญาณภาพถ่ายจาก ดาวเทียม ที่ดาดฟ้าชั้น 10 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 สามารถรับสัญญาณภาพ จากกล้องถ่ายภาพซึง่ ติดิ กับดาวเทียม SMMS “HJ1A” และ “HJ-1B” พิธีรับมอบสัญญาณดาวเทียม SMMS ระหว่ า ง CRESDA และมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ โดยมีกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ิ สาร ร่วมเป็นสักขีพยาน จัดขึน้ ในวันที่ 1 เมษายน 2554 ต่อมาเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2554 ได้รับพระราชทานนามสถานีรับสัญญาณ SMMS ภาคพื้นดินแห่งนี้จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า จุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ว่า “สถานีรับ สัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์”
Activities Training and Seminars การฝึ ก อบรมสั ม มนาครั้ ง ที่ 2 “โครงการพยากรณ์ขา้ วโดยการส�ำรวจด้วยวิธตี งั้ แปลงสังเกต ร่วมกับการใช้ข้อมูลจากระยะไกล”
เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม - 2 พฤศจิกายน 2555 สถานี รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ร ่ ว มกั บ ส� ำ นั ก งาน เศรษฐกิจการเกษตร จัดการฝึกอบรมสัมมนา ครั้ง ที่ 2 “โครงการพยากรณ์ข้าวโดยการส�ำรวจด้วยวิธี ตั้ งแปลงสั งเกตร่ ว มกั บ การใช้ ข้ อ มู ล จากระยะไกล” ณ ห้อง 9907 ชั้น 9 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมี Prof. Dr. Meng Jihua จาก Institute of Remote Sensing Application; China
เป็นวิทยากรให้ความรู้ตลอดจนจบหลักสูตรการฝึก อบรมวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมในครั้งนี้เพื่อการ จัดท�ำแบบจ�ำลองการพยากรณ์ผลผลิตข้าวโดยการ ใช้ข้อมูลดาวเทียม SMMS ในพื้นที่จังหวัดอ่างทอง และสิงห์บุรีและเป็นการฝึกอบรมแลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรมใหม่ๆเกีย่ วกับเทคโนโลยีรโี มตเซนซิง่ โดยมีผู้ เข้าร่วมการฝึกอบรมจากส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และเจ้าหน้าทีจ่ ากสถานีรบั สัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ ทั้งหมดจ�ำนวน 36 คน
การฝึ ก อบรมเชิ ง ปฎิ บั ติ ก ารเรื่ อ ง “การวิ เ คราะห์ พื้ น ที่ เ พาะปลู ก อ้ อ ย ด้ ว ยภาพถ่ า ยดาวเที ย ม SMMS” สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ได้เปิดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การวิเคราะห์พื้นที่เพาะปลูกอ้อย ด้วยภาพถ่ายดาวเทียม SMMS” ให้แก่บริษัทน�ำ้ตาลมิตรผล โดยมีผู้เข้าร่วมอบรมจ�ำนวน 15 คน ระหว่างวันที่ 16-17 พฤศจิกายน 2555 ณ ห้อง 9907 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมในครัง้ นี้ เพือ่ ท�ำให้ผอู้ บรมจากบริษทั น�ำต้ าลมิตรผล เข้าใจถึงคุณสมบัตขิ องภาพถ่ายดาวเทียม HJ-1A/B ตลอดจนขั้นตอนการเตรียมข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ส�ำหรับใช้ในการวิเคราะห์ เทคนิคการปรับปรุงภาพถ่าย ในแง่ของการปรับแก้เชิงภูมิศาสตร์และเชิงคลื่น รวมถึงการปรับแก้เชิงบรรยากาศ และการปฎิบัติเพื่อปรับแก้ภาพถ่าย ดาวเทียมด้วยซอฟต์แวร์มาตรฐาน และผูเ้ ข้าร่วมอบรมได้เพิม่ องค์ความรูใ้ นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายดาวเทียม มาประยุกต์ใช้กบั การวิเคราะห์และ ติดตามพื้นที่เพาะปลูกอ้อยตามเป้าประสงค์ ตลอดจนได้เข้าร่วมเยี่ยมชมสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ ณ ชั้น 9 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
3 อุทกภัยครั้งยิ่งใหญ่เมื่อปี 2554 ได้สร้างความเสียหายให้กับ ประเทศไทยเป็นอย่างมากซึ่งเหตุการณ์นี้จะเป็นบทเรียนที่ส�ำคัญ ให้เราที่จะพัฒนาเทคโนโลยีในการเฝ้าติดตามเพื่อเตือนภัยให้แก่ ประชาชนได้รับรู้และมีความพร้อมที่จะป้องกัน
Satellite Applications
SMAC UPDATE http://smms.eng.ku.ac.th/
SMAC หรือ ศูนย์จัดการและประยุกต์ใช้งาน ดาวเทียม สถานีรบั ดาวเทียมจุฬาภรณ์ เป็นเว็บไซต์ ทีใ่ ห้บริการข้อมูลดาวเทียม SMMS (HJ-1A/B) การ วิเคราะห์และประมวลผลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ตลอดจนงานวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการน�ำข้อมูล ภาพถ่ายดาวเทียมไปประยุกต์ใช้ ซึง่ จะน�ำเสนอแอป พลิเคชันภายในตัวเว็บไซต์ที่น่าสนใจดังนี้ SMMS Image Catalogue
ในส่วนของ SMMS Image Catalogue จะประกอบ ด้วยข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ที่ครอบคลุม พื้ น ที่ ทั่ ว ประเทศไทย โดยที่ ข ้ อ มู ล ดาวเที ย มจะ มี ก ารอั พ เดทในทุ ก ๆวั น สามารถค้ น หาข้ อ มู ล ภาพถ่ายดาวเทียมในพื้นที่ที่สนใจและดาวน์โหลด ได้ทนั ทีเพียงแค่สมัครเป็นสมัครสมาชิก โดยสามารถ เลือกประเภทดาวเทียมที่ต้องการได้ไม่ว่าจะเป็น HJ-1A และ HJ-1B นอกจากนี้ยังมีข้อมูลอื่นๆที่ สามารถค้นหาและดาวน์โหลดได้เช่นกันไม่วา่ จะเป็น Contour Height,Slope,Classify,Basemap ซึ่ง สามารถดาวน์โหลดข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมหรือ ข้อมูลอื่นๆไปใช้ได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้ง สิ้น ทั้งนี้อยู่ภายใต้ข้อก�ำหนดสามารถดาวน์โหลด ได้วันละ 2 ภาพ
การประยุ ก ต์ ใ ช้ ง านข้ อ มู ล ดาวเที ย ม HJ-1A/B กั บ การติ ด ตามสถานการณ์ อุ ท กภั ย ปี 2555 ในช่วงเวลาที่ผ่านมา สถานีรับสัญญาณดาวเทียม จุฬาภรณ์ได้มคี วามร่วมมือกับศูนย์ตดิ ตามและพยากรณ์ เศรษฐกิจการเกษตร มีการน�ำข้อมูลดาวเทียมไปใช้ใน การติดตามพื้นที่อุทกภัยและพื้นที่นาข้าวที่อยู่ในพื้นที่ อุทกภัย ปี 2555 ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างและภาค กลาง รวม 14 จังหวัด ได้แก่ อยุธยา อ่างทอง พิจิตร พิษณุโลก สุพรรณบุรี สุโขทัย ก�ำแพงเพชร ชัยนาท ลพบุรี นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ อุทัยธานี สิงห์บุรี และ สระบุรี ซึ่งพบว่าจากข้อมูลล่าสุดถึงวันที่ 11 ก.ย. 2555 มี พื้นที่นาข้าวถูกน�้ำท่วมรวมประมาณ 1.37 ล้านไร่ หรือ 9.5% จากที่นารวม 14.39 ล้านไร่ แบ่งเป็นนาข้าว ที่ อยู่ในช่วงตั้งท้องและช่วงที่ก�ำลังเก็บเกี่ยว ซึ่งเป็นพื้นที่ ทีค่ าดว่าจะเสียหายประมาณ 430,000 ไร่ ท�ำให้ผลผลิต ข้าวปี 2555 ลดลงประมาณ 210,000 ตัน
หรือลดลงประมาณ 0.8% ของปริมาณผลผลิตข้าว ทั้งประเทศ 25 ล้านตัน คิดเป็นมูลค่าความสียหาย รวม 2,234 ล้านบาท โดยมีการแสดงผลขอบเขต พื้นที่อุทกภัยผ่านทางระบบติดตามการเพาะปลูกข้าว ด้วยข้อมูลดาวเทียม ทั้งนี้ได้มีการจัดการแถลงข่าวใน วันที่ 15 กันยายน 2555 ที่ศูนย์ติดตามและพยากรณ์ เศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย มีส�ำนักข่าวและหนังสือพิมพ์หลายฉบับให้ความสนใจ ร่วมท�ำข่าว
Satellite eyes News
ในส่วนของ Satellite eyes News เป็นการ ใช้ ข ้ อ มู ล ภาพดาวเที ย ม SMMS ในการติ ด ตาม สถานการณ์ ภั ย พิ บั ติ ไม่ ว ่ า จะเป็ น น�้ ำ ท่ ว ม ภั ย แล้ง ดินโคลนถล่ม หมอกควัน การบุกรุกป่า การ เปลี่ยนแปลงทางพื้นที่ มลพิษทางทะเล และการกัด เซาะทางชายฝั่ง ฯลฯ ตามที่สื่อมีการน�ำเสนอการ เกิดภัยพิบัติในส่วนพื้นที่ต่างๆของประเทศ โดยเรา จะติดตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วน�ำเสนอพื้นที่ ที่เกิดภัยพิบัติผ่านข้อมูลดาวเทียม SMMS ทั้งเพื่อ แสดงให้เห็นถึงต�ำแหน่งพื้นที่และขอบเขตที่เกิด ตลอดจนความรุนแรงและผลกระทบของภัยที่เกิด ขึ้นผ่านข้อมูลเชิงพื้นที่ ทั้งนี้ภายในเว็บไซต์ SMAC ยังมีส่วนอื่นๆที่น่า สนใจอีกเป็นจ�ำนวนมาก โดยจะมีการแนะน�ำแอป พลิเคชันอื่นๆภายในเว็บไซต์ในฉบับต่อไป โปรด ติดตาม
4 Remote Sensing In Daily life ท�ำไมเราถึงมองเห็นใบไม้เป็นสีเขียว คุณเคยสงสัยมั้ย? ค�ำถามนีเ้ ราสามารถอธิบายให้คำ� ตอบได้โดยหลักการของการ รับรู้ระยะไกลหรือรีโมตเซนซิ่ง ซึ่งต่อไปนี้เทคนิคความรู้เรื่อง รีโมตเซนซิง่ จะไม่ใช่เรือ่ งไกลตัวอีกต่อไปหากคุณคิดตามเกร็ด ความรู้เกี่ยวกับรีโมตเซนซิ่งในชีวิตประจ�ำวันของ CSRS News ต่อไปในทุกๆฉบับ สายตาคนเราสามารถมองเห็นพลังงานแสงในช่วง ความยาวคลื่นตั้งแต่ 0.4-0.7 ไมครอน ซึ่งประกอบไป ด้วยคลื่นแสงสีแดง สีเขียว และสีน�ำ้เงิน (RGB) ทั้งนี้ เนื่องจากใบไม้มีส่วนประกอบของคลอโรฟิลล์เป็นหลัก ซึ่งจะดูดกลืนแสงได้ดีในช่วงความยาวคลื่น 0.45 และ 0.65 ไมครอน นั้น เป็นช่วงคลื่นแสงสีน�้ำเงินและสีแดง ตามล�ำดับ โดยที่พืชมีค่าการจะสะท้อนสูงสุดในช่วง ความยาวคลื่น 0.54 ซึ่งเป็นช่วงคลื่นสีเขียว ดังนั้นจึง ท�ำให้เรามองเห็นพืชหรือใบไม้ทอี่ ดุ มสมบูรณ์เป็นสีเขียว เนื่องจากการที่มีคลอโรฟิลล์มากนั่นเอง
Spectral Signature
แต่ถ้าใบไม้ขาดความอุดมสมบูรณ์หรือเป็นโรค ท�ำให้ ผลิตคลอโรฟิลล์ได้น้อยลง ความสามารถในการดูด กลืนคลื่นแสงสีแดงก็จะลดน้อยลงตามไปด้วย ส่งผลให้ มีการสะท้อนในช่วงคลื่นแสงสีแดงมากขึ้น ท�ำให้มอง เห็นใบไม้เป็นสีเหลือง ซึ่งเกิดจากการรวมกันของแสงสี เขียวและสีแดง และทั้งหมดนี้เป็นเรื่องของการสะท้อน พลังงานของพืช การสะท้อนพลังงานของพืช สามารถแสดงผ่าน ค่า Spectral Signature ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบค่า การสะท้อนพลังงานแสงของวัตถุปกคลุมผิวโลกกับ คลื่นแต่ละชนิด โดยจะเริ่มจากช่วงคลื่นที่มีความยาว น้อยที่สุดก็คือ คลื่นตามองเห็น Near Infrared และ Shortwave Infrared ตามล�ำดับ ซึ่งลักษณะการ สะท้อนแสงของพืชหรือรูปร่าง Signature จะมีความ แตกต่างไปจากดินและน�้ำ เนื่องจากคุณสมบัติในการ ดูดซับและสะท้อนพลังงานแสงที่แตกต่างกัน ซึ่งใน กรณีนี้ ใบไม้ซึ่งเป็นพืชหากพิจารณาตามลักษณะของ Spectral Signature ของพืชจะพบว่ากราฟมีค่าการ สะท้อนที่สูงในช่วงคลื่นตามองเห็นสีเขียว แต่จะมี การดููดกลืนในช่วงคลื่นตามองเห็นสีแดงและสีน�้ำเงิน ท� ำ ให้ ก ราฟค่ า การสะท้ อ นในช่ ว งคลื่ น ตามองเห็ น มี ลักษณะเป็นรูประฆังคว�่ำเนื่องจากค่าการสะท้อนที่ลด ลงในช่วงคลืน่ สีแดงและสีน�ำเ้ งิน ซึง่ ถ้าหากพิจารณาไป ถึงช่วงคลื่น Near Infrared จะพบว่ากราฟ Spectral Signature ของพืชจะมีการสะท้อนทีส่ งู มากในช่วงคลืน่ นี้ ทัง้ นีเ้ พราะพืชไม่มกี ารดูดกลืนคลืน่ ในช่วงคลืน่ Near Infrared จึงท�ำให้เกิดการสะท้อนพลังงานแสงในช่วง คลื่นนี้ออกมาทั้งหมดนั่นเอง
สถานี รั บ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ศู น ย ์ วิ จั ย เพื่ อ คว า มเป ็ น เลิ ศทางด ้ า น วิ ช าการด ้ า น การจั ด การภั ย พิ บั ติ ชั้ น 9 อ า คา รบุ ญ สม สุ ว ชิ รั ต น ์ คณะวิ ศ วกรรม ศาสต ร์ มห า วิ ท ย า ลั ย เก ษ ตรศา ส ตร ์ 5 0 ถน น งาม วงศ์ ว าน จ ตุ จั ก ร กทม . 1 0 9 0 0 h t t p : //s m m s . e n g . k u . a c.th/
Meteorology Corner หากพูดถึงดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา หลายท่านมัก จะนึกถึงดาวเทียม NOAA ของประเทศสหรัฐอเมริกา MTSAT ของประเทศญีป่ นุ่ หรือ METEOR ของประเทศ รัฐเซีย ในวันนี้เราจะมาแนะน�ำให้ท่านได้รู้จักดาวเทียม อุตุนิยมวิทยาอีกหนึ่งดวง นั่นก็คือดาวเทียม FY-2E หรือ Feng Yun -2E ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึงึ่ ปล่อยขึน้ สูว่ งโคจรเมือ่ ช่วงปลายปี 2008 เพือ่ ปฏิบตั ิ การแทน FY-2C ซึ่ง FY-2E สามารถแสดงข้อมูลในช่วง คลื่น Infrared และ Visible ทั้งนี้เพื่อการติดตามและ พยากรณ์ สภาพภูมิอากาศ กลุ่มเมฆ พายุ ฯลฯ
ด า ว เ ที ย ม F Y - 2 E
วันนี้รู้จักกับ FY-2E พอหอมปากหอมคอก่อน ฉบับ หน้าเราจะมาดูกันว่า FY-2E ท�ำอะไรได้บ้าง
ภ า พ ถ ่ า ย จ า ก ด า ว เ ที ย ม F Y - 2 E