CSRS NEWS Vol.9

Page 1

/ เหตุการณ์ทอ่ น�ำ้ มันรัว่ ใกล้ชายฝั่งมาบตาพุด P1

/ Activities Training and Seminars ผู้เยี่ยมชมสถานีฯ จาก CCTV / กระทรวงเกษตรและสหกรณ์/ ส�ำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ P2

/A Review of Meteorological Satellite FY-3 P3

/ Remote Sensing in Daily Life เรดาร์ตรวจอากาศ/ Meteorology Corner การเรียกชื่อเมฆ P4

CSRSNews ฉบับที่ 9 ประจ�ำวันที่ 1 สิงหาคม 2556

ภาพถ่ายทางอากาศ

ภาพดาวเทียม SMMS

จังหวัดระยอง

ท่าเรือมาบตาพุด

ข่ า วสถานี รั บ สั ญ ญาณ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ http://smms.eng.ku.ac.th/

เหตุ ก ารณ์ ท ่ อ น�้ ำ มั น ดิ บ ของบริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) รั่วกลาง ทะเลใกล้ ช ายฝั ่ ง มาบตาพุ ด จ.ระยอง ซึ่ ง มี สาเหตุมาจากการรั่วของท่อรับน�้ำมันดิบขนาด 16 นิ้ ว ที่ บ ริ เ วณทุ ่ น รั บ น�้ ำ มั น ดิ บ (Single Point Mooring) ซึ่งอยู่ห่างจากชายฝั่งท่าเรือ มาบตาพุด ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 20 กิโลเมตร ขณะก�ำลังส่งน�้ำมันมายังโรงกลั่น น�้ำมันของบริษัทฯ ในเวลา 06.50 น. ของวัน ที่ 27 กรกฎาคม 2556 ท�ำให้มีน�้ำมันดิบรั่วออก สู่ทะเลประมาณ 50,000 ลิตร ซึ่งจากการตรวจ สอบของทางเจ้าหน้าที่ศูนย์อนุรักษ์ทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง 1 พบคราบน�้ำมันบางส่วน

ก�ำลังลอยเข้าฝั่งเกาะเสม็ดหมู่ 4 ต.เพ อ.เมือง จ.ระยอง บริเวณอ่าวพร้าว ห่างจากเกาะ ประมาณ 1 กิโลเมตร โดยคราบน�้ำมันมีเส้น ผ่าศูนย์กลางประมาณ 500 เมตร กระจายเป็น กลุ่มมีลักษณะสีด�ำ มีความหนืดเป็นแผ่นหนา ทั้งนี้ได้มีการเร่งแก้ปัญหาโดยการใช้เรือพ่น น�ำ้ ยาสลายคราบน�ำ้ มัน ประมาณ 10 ล�ำ ซึง่ ท�ำให้ น�ำ้ มันดิบถูกสลายและคราบน�ำ้ มันได้มขี นาดเล็ก ลง และทางทีมสิง่ แวดล้อมของบริษทั พีทที ี ฯ ได้ ตั้งจุดตรวจสอบตามชายหาด จนถึงปลายหาด แม่รำ� พึง เพือ่ ตรวจสอบและวิเคราะห์นำ�้ ทะเล ใน การขจัดคราบน�ำ้ มันครัง้ นีใ้ ห้ได้หมด โดยไม่กอ่ ให้ เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางทะเล

SMMS (HJ-1A) July 27, 2013

ภาพถ่ายดาวเทียม SMMS (HJ-1A) ถ่าย เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2556 ณ บริเวณที่เกิด การรั่วของน�้ำมันบริเวณใกล้ชายฝั่งมาบตาพุด ซึ่งสามารถจับภาพคราบน�้ำมันที่กระจายตัวอยู่ กลางทะเล ซึ่งมีพื้นที่ 4.55 ตารางกิโลเมตร (ในกรณีที่น�้ำมันหนา 0.1 มม. คิดเป็นปริมาตร 0.455 ล้านลิตร โดยประมาณ) และจากข้อมูล ภาพถ่ายดาวเทียมจะสังเกตเห็นได้วา่ คราบน�ำ้ มัน มีทิศทางการไหลเข้าสู่ชายฝั่งเกาะเสม็ดตาม กระแสคลื่นที่พัดพาคราบน�้ำมันเข้าสู่ฝั่ง ที่มา : ข่าวน�้ำมันรั่วฯ ผู้จัดการ Online


2 การส� ำ รวจโลก โดยใช้ ค ลื่ น เรดาห์

การถ่ายภาพโดยดาวเทียมสามารถใช้คลื่น เรดาห์ เพื่อสร้างภาพที่คลื่นเรดาห์ถูกส่งไปกระทบ กับวัตถุและสะท้อนกับมาทีต่ วั รับคลืน่ เรดาห์ จากนัน้ คอมพิวเตอร์จะท�ำการประมวลผลและสร้างภาพขึน้ ข้อดีของการถ่ายภาพโดยใช้คลืน่ เรดาห์เมือ่ เทียบกับ การถ่ายภาพแบบปกติก็คือ เมฆที่ปกคลุมบริเวณที่ ต้องการถ่ายภาพจะเป็นไม่อุปสรรค เนื่องจากคลื่น เรดาห์สามารถที่จะเดินทางทะลุผ่านชั้นเมฆได้ และ สามารถถ่ายภาพได้ทงั้ ในเวลากลางวันและกลางคืน เทคนิค SAR (Synthetic Aperture Radar) เป็นเทคนิคการถ่ายภาพโดยใช้คลืน่ เรดาห์ เพือ่ ให้ได้ ภาพถ่ายที่มีความละเอียดสูง หลักการพื้นฐานการ ท�ำงานของ SAR เริ่มจากการสร้างสัญญาณพัลส์ เดียวของคลื่นเรดาห์ที่มีความกว้างของสัญญาณ แคบมากๆ จากนั้นท�ำการส่งพัลส์เรดาห์ดังกล่าว ออกไป พร้อมกับรอรับคลืน่ เรดาห์ทสี่ ะท้อนกลับเมือ่ คลื่นเรดาห์เดินทางไปกระทบกับวัตถุ เมื่อรับคลื่น สะท้อนกลับ ดาวเทียมจะท�ำการเก็บข้อมูลดิบเพื่อ ส่งให้สถานีภาคพื้นดินท�ำการประมวลผลและสร้าง ภาพต่อไป โดยใช้เทคนิคการแปลงฟูรเิ ยร์ นอกจากนี้ ยังสามารถสร้างภาพสามมิติได้ และน�ำมาใช้ส�ำรวจ และท�ำแผนที่พื้นผิวของมหาสมุทร โดยใช้หลักการ รับคลื่นเรดาห์ที่สะท้อนกับพื้นผิวทะเล ซึ่งการใช้ พัลส์เรดาห์แคบๆ จะท�ำให้สามารถทีจ่ ะวัดได้ทงั้ พืน้ ผิวของมหาสมุทรและความสูงของคลื่นทะเล ที่มา : ส�ำนักกิจการอวกาศแห่งชาติ

A ctivities

Training and Seminars

สถานีวิทยุโทรทัศน์กลางแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (CCTV) เข้าเยี่ยมชมสถานีรับสัญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ์ และสัมภาษณ์หัวหน้าสถานีฯ รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์

เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2556 ที่ผ่าน เจ้าหน้าที่ จากสถานี โ ทรทั ศ น์ ก ลางแห่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชน จี น (CCTV) ได้ เ ข้ า เยี่ ย มชมและท� ำ การสั ม ภาษณ์ หัวหน้าสถานีฯ รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ ถึงความร่วม มือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (APSCO) ซึ่งไทยเป็น หนึ่งในประเทศสมาชิก และรับสัญญาณดาวเทียมภาย ใต้ความร่วมมือนี้ นั่นก็คือ ดาวเทียม SMMS (HJ-1A) ดาวเทียม HJ-1B และดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เข้าเยี่ยมชมสถานีฯ

รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ ให้การต้อนรับคณะผู้ เยี่ยมชมจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2556 ที่ผ่านมา โดยในการนี้ มีการน�ำเสนอ ภารกิจและผลการด� ำ เนินงานของสถานี รับสั ญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ์ที่ผ่านมา ในการประยุกต์ใช้ข้อมูล ภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม อุตนุ ยิ มวิทยาผ่านระบบ DVB-S เพือ่ การสนับสนุนหน่วย งานในภาครัฐในการจัดการภัยพิบัติที่เกิดขึ้น

ในประเทศไทย ตลอดจนการติดตามสถานการณ์ ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ การบุกรุกป่าชายเลน การติดตามพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย เช่น การ ติ ด ตามพื้ น ที่ เ พาะปลู ก ข้ า วตามช่ ว งอายุ แ ละการ ประเมินผลผลิตข้าว การติดตามพื้นที่การเพาะปลูก อ้อยและยางพารา ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และ ประสบการณ์ในการน�ำเอาเทคโนโลยีด้านการใช้ข้อมูล ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อการติดตามพื้นที่เกษตร

DVB-S FY-2E ในการน�ำข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมที่ ได้ รั บ สั ญ ญาณเพื่ อ ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ด้ า นการติ ด ตามภั ย พิบัติที่เกิดขึ้นในประเทศไทยที่ผ่านมา เช่น น�้ำท่วม ภัยแล้ง ดินถล่ม หมอกควันและไฟป่า ฯลฯ ตลอด จนเก็ บ ภาพบรรยากาศการท� ำ งานของบุ ค ลากรภาย ในสถานีฯ และภาพขณะมีการรับสัญญาณดาวเทียม SMMS (HJ-1A) และดาวเทียม HJ-1B ดาวเทียม FY-2E

สรอ.เข้าประสานความร่วมมือกับสถานีฯ

เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2556 ที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่ จากส�ำนักรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (สรอ.) ได้เข้ามาประสาน ความร่ ว มมื อ ในการจั ด ท� ำ ระบบให้ บ ริ ก ารข้ อ มู ล ภาค ถ่ า ยดาวเที ย มภาครั ฐ กั บ สถานี รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย ม จุฬาภรณ์ โดยมีรศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ หัวหน้า สถานีฯ ให้การต้อนรับพร้อมน�ำเสนอผลการด�ำเนินงานที่ ผ่านมาของทางสถานีฯแก่เจ้าหน้าที่ของสรอ.ได้รับทราบ


3

ฉบับที่แล้วได้ท�ำความรู้จักถึงคุณสมบัติของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา FY-3 และ คุณสมบัติ sensor ชนิด VIRR, IRAS, MWTS และ MWHS ไปแล้ว โดยในฉบับนี้จะ มาท�ำความรู้จักกับคุณสมบัติและความสามารถของ sensor แบบ MERSI, SBUS, TOU, MWRI ซึ่งมีรายละเอียดคุณสมบัติของแต่ละ sensor ดังตารางข้างล่าง

sensor

No. of band

VIRR (Visible and Infrared Radiometer) 10 IRAS (Infrared Atmospheric Sounder) 26 MWTS (Microwave Temperature Sounder) 4 MWHS (Microwave Humidity Sounder) 5 MERSI (Medium Resolution Spectral Imager) 20 SBUS (Solar Backscattering UV Sounder) 12 TOU (Total Ozone Unit) 6 MWRI (Microwave Radiation Imager) 6 SEM (Space Environment Monitor SIM (Solar Irradiation Monitor)

A Review of Meteorological S atellite FY-3

SpectralRange

0.43-12.5 µm 0.69-15.5 µm 50-57 GHz 150-183 GHz 0.41-12.5 µm 250-340 nm 308-361 nm 10.65-150 GHz

SBUS เป็นเครื่องมือวัดการกระจัดกลับของรังสี UV ข้อมูลที่ ได้สามารถน�ำมาสร้างภาพหน้าตัดในแนวดิง่ ของชัน้ โอโซนได้ และ สามารถติดตามโอโซนที่ความสูงระดับต่างๆกันในชั้นบรรยากาศ ของโลกได้อีกด้วย Solar Backscattering UV Sounder (SBUS) Channel Spectral bandwidth No. (µm) 1 252.00±0.05 2 273.62±0.05 3 283.10±0.05 4 287.70±0.05 5 292.29±0.05 6 297.59±0.05 7 301.97±0.05 8 305.87±0.05 9 312.57±0.05 10 317.56±0.05 11 331.26±0.05 12 339.89±0.05 Cloud cover 379.00±1.00 photometer

0.2~50 µm

MERSI นัน้ ในช่วงคลืน่ ที่ 1-5 มีความละเอียดจุดภาพที่ 250 เมตร ส่วนช่วงทีเ่ หลือมีความละเอียด จุดภาพที่ 1,000 เมตร โดยสามารถตรวจสอบ พืน้ ดิน เมฆ ฝุน่ ละอองในอากาศ สีนำ�้ ทะเล แพลงก์ตอน ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งการระเหยของไอน�้ำในอากาศได้ Medium Resolution Spectral Imager MWRI ในช่วงคลื่นไมโครเวฟเป็นการวัดอุณภูมิของ (MERSI) วัตถุโดยการสะท้อนกลับของคลืน่ เช่น การติดตามอุณภูมิ พืน้ ผิวน�ำ้ ทะเล โดยมีขอ้ ดีคอื สามารถติดตามได้ทงั้ ในเวลา Channel Spectral Bandwidth กลางวันและกลางคืน และข้อมูลก็ไม่ได้รับอิทธิพลจาก No. (µm) (µm) สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง และในพื้นที่ที่มีเมฆปกคลุม 1 0.47 0.05 ก็สามารถติดตามได้ ซึ่งคลื่นไมโครเวฟต่างความถี่กันก็ 2 0.55 0.05 จะมีความสามารถที่ในการทะลุผ่านวัตถุได้ต่างชนิดกัน สามารถตรวจจับได้ทกุ สภาพอากาศ นอกจากนีย้ งั สามารถ 3 0.65 0.05 ตรวจจับอุณหภูมิพื้นผิว ความชุ่มชื้นในดิน ความลึกของ 4 0.865 0.05 ชัน้ หิมะ น�ำ้ ท่วม ภัยแล้ง ความชืน้ ในบรรยากาศทีจ่ ะก่อตัว 5 11.25 2.5 เป็นพายุไต้ฝนุ่ และข้อมูลอืน่ อีกมากมาย รวมทัง้ น�ำข้อมูล 6 0.412 0.02 เข้าแบบจ�ำลองเชิงเลขของการพยากรณ์อากาศได้อกี ด้วย จากการแผ่รงั สีของดวงอาทิตย์ทแี่ ผ่มายังพืน้ ผิวโลก รังสี UV 7 0.443 0.02 Microwave Radiation Imager (MWRI) บางส่วนเดินทางมาถึงยังบนพื้นผิวโลก แต่บางส่วนสะท้อนกลับ 8 0.49 0.02 Frequency PolarizationBandwidth เนื่องจากมีชั้นโอโซนที่คอยกีดขวางอยู่ ซึ่ง TOU นั้นจะเป็นการ 9 0.52 0.02 ตรวจหารังสี UV จากการสะท้อนกลับเนื่องจากชั้นโอโซนนั้นเอง (GHz) (MHz) 10 0.565 0.02 10.65 V.H 180 Total Ozone Ultraviolet detector (TOU) 11 0.65 0.02 18.7 V.H 200 Channel Central wavelength(nm) 12 0.685 0.02 23.8 V.H 400 1 308.68±0.15 13 0.765 0.02 36.5 V.H 900 2 312.59±0.15 14 0.865 0.02 89 V.H 2x2300 3 317.61±0.15 15 0.905 0.02 150 V.H 2x1500 4 322.40±0.15 16 0.94 0.02 5 331.31±0.15 17 0.98 0.02 6 360.11±0.25 18 1.03 0.02 19 1.64 0.05 และนี่เป็นรายละเอียดข้อมูลช่วงคลื่นของ sensor MERSI, 20 2.13 0.05 SBUS, TOU และ MWRI ในฉบับหน้าเรามาน�ำเสนอข้อมูลช่วง คลื่นของ sensor แบบ SEM และ SIM ต่อไป

Total ozone in Dobson Units monitored from TOU on Nov. 1, 2008

Typhoon

Fung-wong

monitored by the MERSI on 27 July, 2008

FY-3A

Application


4

R emote

Meteorology

Sensing in Daily Life เรดาร์ตรวจอากาศคืออะไร ท�ำไมในด้านอุตุนิยมวิทยาถึง ต้องใช้เรดาร์ในการตรวจอากาศ และกรมอุตนุ ยิ มวิทยาของ ปะเทศไทยใช้เครื่องเรดาร์ชนิดใดในการตรวจสอบสภาพ อากาศภายในประเทศ เรามีคำ� ตอบให้ เพราะว่าต่อไปนีร้ โี มต เซนซิ่งจะไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป เรดาร์ (Radar) Radio Detection And Ranging คือการใช้คลื่นวิทยุในการค้นหาต�ำแหน่ง (ทั้งทิศทาง และระยะทาง) ของสิ่งที่ต้องการค้นหาหรือที่เรียกว่า เป้า (target) ซึ่งจะเป็นอะไรก็ได้ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ ในการใช้เรดาร์ เช่น การใช้ในกิจการทหาร การบิน การ เดินเรือ การจราจร การเกษตร การท�ำวิจัยและกิจการ อุตุนิยมวิทยา เรดาร์ตรวจอากาศ ( Weather Radar) เป็นอุปกรณ์ ทีใ่ ช้สำ� หรับจับต�ำแหน่งและทิศทางการเคลือ่ นทีข่ องเมฆ และพายุ โดยการส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกไปกระทบ แล้วสะท้อนกลับมา จากนั้นจึงค�ำนวณเปรียบเทียบ ระยะวลาที่ ค ลื่ น เดิ น ทางออกไปแล้ ว สะท้ อ นกลั บ มา ท�ำให้ทราบว่าเมฆหรือพายุอยู่ห่างออกไปเท่าไร นอกจากนั้นแล้วยังใช้ปรากฏการณ์ดรอปเปอร์ค�ำนวณ ว่า เมฆหรือพายุกำ� ลังเคลือ่ นทีเ่ ข้าใกล้หรือออกห่างด้วย ความเร็วเท่าไร ซึ่งเสาอากาศของเรดาร์ตรวจอากาศ จะหมุนรอบตัวเพื่อตรวจสภาพอากาศที่อยู่รอบๆ โดย มีรัศมีท�ำการได้ไกลหลายร้อยกิโลเมตร คลื่นที่ส่งออก ไปจะท�ำการส่งเป็นช่วงๆ ส่งและหยุดสลับกันไป (เพื่อ ให้เครื่องรับมีช่วงเวลาที่จะรับสัญญาณที่สะท้อนกลับ มา) ในขณะเดียวกันจานสายอากาศก็จะหมุนโดยรอบ 360 องศา และท�ำหน้าที่รวมคลื่นให้เป็นล�ำแสงคล้าย ล�ำแสงจากไฟฉาย ส่งออกไปในทิศทางที่สัมพันธ์กับ การหมุนของจานสายอากาศ คลื่นที่ส่งออกไปนี้จะเดิน ทางด้วยความเร็วเท่าความเร็วของแสง คือประมาณ 300,000,000 เมตร/ วินาที​ี เมือ่ คลืน่ ไปกระทบเป้าก็จะ สะท้อนกลับมายังจานสายอากาศแล้วส่งต่อไปถึงเครือ่ ง รับ (ในช่วงทีเ่ ครือ่ งส่งหยุดส่งคลืน่ โดยมีสวิชต์เปลีย่ นไป มาระหว่างการส่งและการรับ) โดยที่เป้าที่มีความหนา แน่นมากจะสะท้อนคลื่นกลับมาแรงกว่าเป้าที่มีความ หนาแน่นน้อยกว่า

Corner

เป้า (Target) ของเรดาร์หมายถึง ปรากฏการณ์ เกี่ยวกับสภาพอากาศต่างๆที่สามารถสะท้อนคลื่นของ เรดาร์ได้ เช่น ฝน ฝนฟ้าคะนอง พายุ ลูกเห็บ หิมะ และ เมฆ เรดาร์ดรอปเปอร์ (Doppler Radar) นัน้ สามารถ ตรวจวัดทิศทางและความเร็วลมได้ด้วย เรดาร์ตรวจอากาศจะถูกติดตั้งอยู่ภายในโดมทรง กลมบนยอดอาคารอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา เพื่ อ ป้ อ งกั น ลม แสงแดด ความชื้นและฝน (คลื่นวิทยุสามารถเดินทาง ผ่านผนังโดมได้) เครื่องเรดาร์ที่ใช้ในกิจการของกรมอุตุนิยมวิทยา ของประเทศไทยในปัจจุบันมี 3 ชนิดด้วยกัน คือ 1. ชนิด X-band เป็นเรดาร์ที่เหมาะส�ำหรับใช้ ตรวจวัดฝนที่ตกเบาหรือตกเล็กน้อยถึงปานกลางในระ ยะใกล้ๆ รัศมีหวังผลประมาณ 100 กิโลเมตร 2. ชนิด C-band เป็นเรดาร์ที่เหมาะส�ำหรับใช้ ตรวจวัดฝนที่ตกปานกลางถึงหนัก หรือตรวจจับพายุ หมุนที่มีก�ำลังไม่รุนแรง เช่น พายุดีเปรสชั่น และหา ศูนย์กลางพายุโซนร้อน รัศมีหวังผลประมาณ 250 กิโลเมตร 3. ชนิด S-band เป็นเรดาร์ที่เหมาะส� ำหรับใช้ ตรวจวัดฝนที่ตกหนักถึงหนักมาก หรือใช้ตรวจจับหา ศูนย์กลางพายุทมี่ กี ำ� ลังแรง เช่น พายุไต้ฝนุ่ (typhoon) รัศมีท�ำการเกินกว่า 300 กิโลเมตร ชนิดของเรดาร์ ความยาวคลื่น (cm) ความถี่ (MHz) X-band 3 10,000 C-band 5 6,000 S-band 10 3,000 ที่มา : ส�ำนักอุตุนิยมวิทยาการบิน, LESA

เมฆ (Clouds) “เมฆ” เป็นกลุ่มละอองน�้ำที่เกิดจากการ ควบแน่น ซึ่งเกิดจากการยกตัวของกลุ่มอากาศ (Air parcel) ผ่านความสูงเหนือระดับควบแน่น และมี อุณหภูมิลดต�่ำกว่าจุดน�้ำค้าง การแบ่งประเภทของ เมฆนั้นแบ่งตามตามระดับความสูงของการก่อตัวและ ชนิดของเมฆ ซึ่งจะมีชื่อเรียกเมฆแต่ละชนิดเป็นภาษา ละติน ดังตาราง

เมฆที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมี 2 รูปร่างลักษณะ คือ เมฆก้อน และเมฆแผ่น โดยเรียกเมฆก้อนว่า “เมฆ คิวมูลัส” (Cumulus) และเรียกเมฆแผ่นว่า “เมฆส เตรตัส” (Stratus) หากเมฆก้อนลอยชิดติดกัน เราน�ำ ชือ่ ทัง้ สองมารวมกัน และเรียกว่า “เมฆสเตรโตคิวมูลสั ” (Stratocumulus) ในกรณีที่เป็นเมฆฝน เราจะเพิ่มค�ำ ว่า “นิมโบ” หรือ “นิมบัส” ซึ่งแปลว่า “ฝน” เข้าไป เช่น เราเรียกเมฆก้อนทีม่ ฝี นตกว่า “เมฆคิวมูโลนิมบัส” (Cumulonimbus) และเรียกเมฆแผ่นที่มีฝนตกว่า “เมฆนิมโบสเตรตัส” (Nimbostratus)

การเรียกชื่อเมฆ พายุ CYCLONE

Weather radar สถานี รั บ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ศู น ย ์ วิ จั ย เพื่ อ คว า มเป ็ น เลิ ศทางด ้ า น วิ ช าการด ้ า น การจั ด การภั ย พิ บั ติ ชั้ น 9 อ า คา รบุ ญ สม สุ ว ชิ รั ต น ์ คณะวิ ศ วกรรม ศาสต ร์ มห า วิ ท ย า ลั ย เก ษ ตรศา ส ตร ์ ถน น งาม วงศ์ ว าน จ ตุ จั ก ร กทม . 1 0 9 0 0 h t t p : //s m m s . e n g . k u . a c.th/


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.