CSRS NEWS Vol.10

Page 1

/ การจั ด ท� ำ เขตเกษตร เศรษฐกิจ P2 / Hot Issue ติดตาม สถานการณ์น�้ำท่วม 2556 P1

/ Activities Training and Seminars ผู ้ สื่ อ ข่ า วจาก Thai PBS เข้าสัมภาษณ์ รศ.ดร. มงคล / ผู้ว่าฯ นครนายก เยี่ยมชม สถานีฯ P4 / วช.เข้าเยี่ยมชม สถานีฯ /การอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่กรมฝนหลวงฯ P3

/ การประชุ ม “แนวทางการประยุ ก ต์ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น ์ จ า ก เ ท ค โ น โ ล ยี ดาวเที ย ม” โดย รมต.ไอซี ที และคณะ P5-6

/A Review of Meteorological Satellite FY-3 P8 / Remote Sensing in Daily Life การเดินทาง ของแสง P7

CSRSNews ฉบับที่ 10 ประจ�ำวันที่ 1 ตุลาคม 2556

ข่ า วสถานี รั บ สั ญ ญาณ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ http://smms.eng.ku.ac.th/

การจัดท�ำเขตเกษตรเศรษฐกิจ เป็นเครื่อง มือทีส่ ำ� คัญทีใ่ ช้ในการก�ำหนดนโยบายพัฒนาการ เกษตรของประเทศไทย เป็นการจัดสรรหรือน�ำ ที่ดินเพื่อการเกษตรมาใช้ในการเพาะปลูกข้าว พืชไร่ ผัก ไม้ผล เพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ และการเลี้ยง ปศุสัตว์ โดยในระดับพื้นที่จะเป็นการท�ำงานใน ลักษณะการมีส่วนร่วม และน�ำไปสู่การปฏิบัติ อาทิ การเชือ่ มโยงกับโครงสร้างพืน้ ฐานการผลิต ให้เกิดประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุน ลดความ เสี่ยงและสินค้ามีคุณภาพ รวมทั้ งให้ เกิ ดการ Matching ระหว่าง Demand และ Supply ทั้งนี้เพื่อให้การผลิตสินค้าสนองความต้องการ

ของตลาดอย่างสมดุล ส�ำหรับในระดับภาพรวม ของประเทศ แหล่งผลิตและแหล่งรับซื้อ จะมี การบริหารจัดการด้านการขนส่งให้ต้นทุนต�่ำ ที่สุด กรมพั ฒ นาที่ ดิ น ได้ จั ด ท� ำ เขตการใช้ ที่ ดิ น เพื่อประกาศเป็นเขตเหมาะสมส�ำหรับการปลูก พืช โดยการวิเคราะห์ความเหมาะสมของที่ดิน (Land Suitability) กับปัจจัยความต้องการ ของพืชแต่ละชนิด (Crop Requirement) ตาม สภาพที่มีการเพาะปลูกพืชในปัจจุบัน (Land use) ร่วมกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่นๆ อาทิ เขตป่า ไม้ตามกฎหมาย เขตพื้นที่โครงการชลประทาน

โดยได้ด�ำเนินการในสินค้าเศรษฐกิจ กลุ่มพืช กลุ่มปศุสัตว์ และกลุ่มประมง ที่ส�ำคัญประกอบ ด้วยสินค้าเกษตรทั้งหมด 18 ชนิด ตามประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง การก�ำหนด เขตเกษตรเศรษฐกิจ หรือ Zoning สินค้าเกษตร ได้แก่ 1.ข้าว 2.มันส�ำปะหลัง 3.ยางพารา 4.ปาล์มน�้ำมัน 5.อ้อยโรงงาน 6.ข้าวโพดเลี้ยง สัตว์ 7.สับปะรดโรงงาน 8.ล�ำไย 9.เงาะ ทุเรียน และมังคุด 10.มะพร้าว 11.กาแฟ 12.โคเนื้อ 13.โคนม 14.สุกร 15.ไก่เนื้อ 16.ไก่ไข่ 17.กุ้ง ทะเล 18.สัตว์น�้ำจืด


2Hot

issue

ติ ด ตามสถานการณ์ น�้ ำ ท่ ว ม

จากผลกระทบของพายุ ไ ด้ ฝุ ่ น อุ ซ างิ แ ละหวู ่ ติ๊ บ ท� ำ ให้ เ กิ ด ฝนตกหนั ก ในหลายพื้ น ที่ ข องประเทศไทย ในช่ ว งที่ ผ ่ า นมา สถานี รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ไ ด้ มี ก ารติ ด ตามสถานการณ์ น�้ ำ ท่ ว มอย่ า งใกล้ ชิ ด เพื่ อ การแจ้ ง เตื อ นภั ย พิ บั ติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยใช้ ข ้ อ มู ล ภาพถ่ า ยดาวเที ย ม SMMS (HJ-1A) และดาวเที ย ม HJ-1B ที่ มี ก ารถ่ า ยและส่ ง ข้ อ มู ล ภาพเพื่ อ การประมวลผลทุ ก วั น ท� ำ ให้ ส ามารถติ ด ตามขอบเขตพื้ น ที่ น�้ ำ ท่ ว ม ความเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น ตลอดจนเพื่ อ ให้ ห น่ ว ยงานต่ า งๆน� ำ ไปวางแผนรั บ มื อ กั บ ภั ย พิ บั ติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น

จ.ลพบุรี

จ.สุโขทัย

จากการที่ มี ฝ นตกลงมาอย่ า งหนั ก ใน พื้นที่ จ.ลพบุรี ตั้งแต่วันที่ 19 ก.ย. 2556 เนื่องจากอิทธิพลของพายุไต้ฝุ่น ท�ำให้เกิด น� ้ ำ ท่ วมขังในพื้นที่ 9 อ�ำเภอ 49 ต�ำบล วันที่ 24 ก.ย. 2556 297 หมู่บ้าน 34 ชุมชน ของ จ.ลพบุรี ประชาชนได้รับความเดือดร้อน 18,766 ครัวเรือน และเสียชีวิต 1 คน (ที่มา : ไทยรัฐออนไลน์) ซึ่งภาพถ่ายดาวเทียมสามารถ ถ่ายภาพเหตุการณ์ขณะเกิดน�้ำท่วมใน จ.ลพบุรี ได้ในวันที่ 24 ก.ย. 2556 แสดงขอบเขตพื้นที่น�้ำท่วมใน อ.บ้านหมี่ และ อ.โคกส�ำโรง เช่นเดียวกับจ.สุโขทัย จาก การที่น�้ำป่าไหลหลากเข้ามาท่วม ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมแสดงขอบเขตพื้นที่น�้ำท่วมใน อ.กงไกรลาศและอ.เมืองสุโขทัย ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับนาข้าวกว่า 6 พันไร่ ชาวบ้านจมน�้ำเสียชีวิต 9 ราย (ที่มา: มติชนออนไลน์) ในส่วนของ จ.อยุธยา เนื่องจากการที​ี่มีฝนตกหนักในลุ่มแม่น�้ำป่าสักด้านบน ท�ำให้เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ต้องเร่งระบายน�้ำมากขึ้นเป็นผลให้น�้ำเกิดเอ่อล้นตลิ่งเข้าท่วมท�ำความ เสียหายให้กับบ้านเรือนที่อยู่ริมแม่น�้ำ เช่นเดียวกับสถานการณ์น�้ำท่วม อ.ผักไห่ ริมแม่น�้ำเจ้าพระยาและแม่น�้ำน้อยที่เอ่อล้นตลิ่ง โดยมีพื้นที่ที่ได้รับความ เสียหาย 6 อ�ำเภอ ได้แก่ อ.บางบาล อ.เสนา อ.ผักไห่ อ.บางไทร อ.บางบาล อ.พระนครศรีอยุธยา และอ.บางปะอิน (ที่มา: โพสทูเดย์) จากการที่ฝน อ.บางซ้าย อ.เสนา ตกหนักประกอบกับน�้ำป่าเข้าทะลักท�ำให้ จ.ปราจีนบุรีต้องเข้าสู่สภาวะน�้ำ วันที่ 26 ก.ย. 2556 ท่วม โดยมีพื้นที่ประสบภัย 7 อ�ำเภอ 58 ต�ำบล 502 หมู่บ้าน ได้แก่ จ.อยุธยา อ.กบินทร์บุรี อ.ศรีมหาโพธิ อ.เมืองปราจีนบุรี อ.ประจันตคาม อ.นาดี อ.บ้านสร้าง และอ.ศรีมโหสถ (ที่มา: ผู้จัดการออนไลน์) จ.ชัยภูมิ นั้น จาก การเกิดฝนตกหนักและน�้ำจากอ่างเก็บน�้ำล�ำปะทาว อ่างเก็บน�้ำช่อระกา ล�ำห้วยยางบ่า ไหลผ่านตัวเมืองท�ำให้น�้ำขังในเขต อ.เมืองชัยภูมิ บริเวณ รอบนอกนั้น ล�ำน�้ำชีเอ่อท่วมท�ำให้ ต.ส้มป่อย ต.ละหาน ต.หนองบัวบาน วันที่ 2 ต.ค. 2556 ในเขตอ.จตุรัส และอ.บ้านเขว้า ได้รับความเสียหาย(ที่มา:มติชนออนไลน์) วันที่ 26 ก.ย. 2556

อ.เมืองปราจีนบุรี อ.บ้านสร้าง

วันที่ 2 ต.ค. 2556

อ.ประจันตคาม

อ.ศรีมหาโพธิ อ.กบินทร์บุรี อ.ศรีมโหสถ

จ.ปราจีนบุรี

จ.ชัยภูมิ

วันที่ 2 ต.ค. 2556


โครงการจั ด ท� ำ แผนปฏิ บั ติ ก าร การจั ด ท� ำ Zoning พื้ น ที่ ก ารเกษตร อุ ต สาหกรรม และการ ท่ อ งเที่ ย ว จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา

A ctivities

3

Training and Seminars

ผูส้ อื่ ข่าวจากรายการ “ทีน่ ไี่ ทยพีบเี อส” สถานีโทรทัศน์ Thai PBS เข้าสัมภาษณ์ รศ.ดร.มงคล หัวหน้าสถานีฯ ในเรื่องการประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมวิเคราะห์พื้นที่ปลูกข้าว

โครงการจั ด ท� ำ แผนปฏิ บั ติ ก าร การจั ด ท� ำ Zoning พื้ น ที่ ก ารเกษตร อุ ต สาหกรรม และ การท่องเที่ยว ที่สอดคล้องกับการบริหารจัดการ ลุ่มน�้ำอย่างมีประสิทธิภาพในจังหวัดฉะเชิงเทรา ของส�ำนักงานจังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นงานศึกษาเพือ่ จัดท�ำแผนปฏิบัติการการใช้ประโยชน์ที่ดินทั้งด้าน เกษตร อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว เพื่อเพิ่ม ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) ตอบสนอง ยุทธศาสตร์จงั หวัดฉะเชิงเทรา และยุทธศาสตร์กลุม่ จังหวัดภาคกลางตอนล่าง รวมทั้งการใช้ทรัพยากร ทีเ่ กีย่ วข้องให้เป็นไปอย่าง มีระบบและเกิดประโยชน์ สูงสุด เพื่อให้จังหวัดสามารถวางแผนการผลิตและ การตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่มา : ส�ำนักงานจังหวัดฉะเชิงเทรา

เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2556 ที่ผ่านมา ผู้ว่าราชการ จังหวัดนครนายก ดร.สุรชัย ศรีสารคาม ได้เข้าเยี่ยมชม สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ โดยมีเจ้าหน้าที่ ประจ�ำสถานีฯ ให้การต้อนรับพร้อมทัง้ บรรยายหน้าทีแ่ ละ ภารกิจหลักของสถานีฯ แสดงผลงานการประยุกต์ใช้ขอ้ มูล ภาพถ่ายดาวเทียมในด้านการเกษตร ซึ่งผู้ว่าฯ ให้ความ สนใจ ตลอดจนมีข้อตกลงในการส่งเจ้าหน้าที่ของจังหวัด มาฝึกอบรมกับทางสถานีฯ ในเรื่องนี้ด้วย

เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2556 ที่ผ่านมาทีมงานผู้สื่อ ข่าวจากสถานีโทรทัศน์ช่องไทยพีบีเอส (Thai PBS) ได้ เข้าเยีย่ มชมกิจกรรมของสถานีรบั สัญญาณดาวเทียมจุฬา ภรณ์ และสัมภาษณ์ รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ หัวหน้า สถานีฯ ในเรือ่ งการประยุกต์ใชัขอ้ มูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS (HJ-1A) และดาวเทียม (HJ-1B) ในการวิเคราะห์ พื้นที่ปลูกข้าว และพื้นที่ปลูกข้าวตามช่วงอายุ รวมทั้ง แนวทางการประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม

ในการวิเคราะห์พืชเศรษฐกิจของไทย ซึ่งเป็นการน�ำ เสนอผลงานการวิจัยและการน�ำไปประยุกต์ใช้กับหน่วย งานรัฐที่เกี่ยวข้องในหลายๆ หน่วยงานที่ผ่านมา ซึ่งได้ มีความร่วมมือในการวิจัยร่วมกัน ส�ำหรับช่วงรายงานพิเศษและช่วงวิเคราะห์ในครัง้ นี้ ได้ออกอากาศในคืนวันพฤหัสบดี ที่ 12 กันยายน 2556 รายการที่นี่ไทยพีบีเอส ช่วงวาระประเทศไทย เวลา 21.15 - 22.30 น. ทางช่อง Thai PBS

Associate Professor Dr. Eng. Junichi SUSAKI จาก Kyoto University ได้ เ ข้ า เยี่ ย มชมสถานี รั บ สัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ เมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม 2556 โดยมี รศ.ดร.มงคล หัวหน้าสถานีฯ ให้การต้อนรับ พร้อม ทั้งบรรยายหน้า ภารกิจของสถานีฯ และการประยุกต์ ใช้งานข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมในด้านต่างที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทย เช่น ด้านภัยพิบัติ ด้านการเกษตร และการ ติดตามทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น

เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2556 ที่ผ่านมา ผศ.ดร.เพ็ญ พร เจนการกิจ จากภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและ ทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มก. ได้น�ำนักศึกษาไทย และญีป่ นุ่ เข้าเยีย่ มชมสถานีฯ โดยมี รศ.ดร.มงคล หัวหน้า สถานีฯ ให้การต้อนรับและบรรยายสรุปถึงหน้าที่ ภารกิจ หลักของสถานีฯ การประยุกต์ใช้ขอ้ มูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ข้อมูลดาวเทียมอุตนุ ยิ มผ่านระบบ DVB-S ในด้าน ภัยพิบัติต่างๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย


4

เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2556 ที่ผ่านมา ได้มีบุคลากรจากคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ น�ำโดย รองศาสตราจารย์ ดร.สุธี อักษรกิตติ์ ประธานกรรมการ สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย คณะกรรมการบริหารสภาวิจัยแห่ง ชาติ และคณะ เข้าเยี่ยมชมสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ โดยมี รอง ศาสตราจารย์ ดร.ก่อโชค จันทวรางกูร อาจารย์ประจ�ำสาขาวิศกรรมปฐพี มก. และรองศาสตราจารย์ ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ หัวหน้าสถานีฯ ให้การต้อนรับ พร้อมทัง้ บรรยายประวัตกิ ารก่อตัง้ สถานีฯ หน้าทีภ่ ารกิจ การให้บริการของสถานีฯ การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS (HJ-1A) ดาวเทียม HJ-1B และ ดาวเทียม FY-2E ในด้านภัยพิบัติต่างๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และร่วมถ่ายรูป หมู่บนดาดฟ้าชั้น 10 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติเข้าเยี่ยมชม สถานีรับสัญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ์

อบรมสัมนาการประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และ DVB-S เพื่อการปฏิบัติการฝนหลวงภาคกลาง แบบจ�ำลองที่สามารถประเมินประมาณฝนเพื่อตรวจสอบความแห้งแล้ง และ เป็นการพยากรณ์ปริมาณฝนที่คาดว่าจะตกจากโมเดลคณิตศาสตร์ การจัด ท�ำ Web-based Application เพื่อการวิเคราะห์ความแห้งแล้ง ซึ่งเป็นการน�ำ เข้าข้อมูลปริมาณน�้ำฝนและความแห้งแล้งที่เกิดจากการประเมินข้อมูลภาพถ่าย ดาวเทียม SMMS และ DVB-S รวมทั้งข้อมูลการร้องขอฝน แสดงผลบนเว็บไซต์ นอกจากนี้ยังมีการส�ำรวจภาคสนามเพื่อตรวจสอบความแห้งแล้งของพื้นที่ศึกษา ทั้ง 3 จังหวัด รวมทั้งมีการติดตั้งและใช้ข้อมูล Weather Station ร่วมในการ ศึกษาวิเคราะห์ในโครงการนี้อีกด้วย

สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ จัดการอบรมสัมมนา “การประยุกต์ ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และดาวเทียม DVB-S เพื่อปฏิบัติการฝน หลวงภาคกลาง” ซึ่งเป็นโครงการศึกษาร่วมระหว่างกรมฝนหลวงและการบิน เกษตร และสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ การอบรมครั้งนี้จัดขึ้นเม่ื่อ วันที่ 27 กันยายน 2556 ณ ห้อง 9908 ชั้น 9 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ มีบุคลากร และเจ้าหน้าที่ของกรมฝนหลวงและการบินเกษตรเข้าร่วมอบรม จ�ำนวน 30 คน โดยมี รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ และเจ้าหน้าที่จากสถานีฯ น�ำสนอผลการ วิเคราะห์และเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม โครงการนีเ้ ป็นการศึกษาวิเคราะห์ความแห้งแล้งของพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด อ้อย มันส�ำปะหลัง ในพื้นที่จังหวัด นครสวรรค์ ลพบุรี และสุพรรณบุรี โดยการวิเคราะห์ความแห้งแล้งด้านข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS (HJ-1A) และดาวเทียม HJ-1B นั้นเป็นการวิเคราะห์ความแห้งแล้งด้ายเทคนิค NDVI Difference และ Vegetation Index รวมทั้งการประเมินความเสี่ยงภัยแล้ง ใน ส่วนการวิเคราะห์ปริมาณน�้ำฝนจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม DVB-S เป็นการหา


5 ร ม ต . ก ร ะ ท ร ว ง เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ

การสื่ อ สาร

น� ำ คณะท� ำ งานเข้ า ร่ ว มประชุ ม

ประยุ ก ต์ ใ ช้ ป ระโยชน์ จ ากเทคโนโลยี ด าวเที ย ม”

“แนวทางการ

เมื่อวันที่ 19 สิงหาม 2556 ที่ผ่านมา มีการจัดประชุม เรื่อง “แนวทางการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดาวเทียมส�ำรวจ โลกเพื่อสนับสนุนนโยบายภาครัฐ” ณ สถานีรับสัญญาณดาวเทียม จุฬาภรณ์ ชั้น 9 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ โดยมี รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ น�ำคณะท�ำงานร่วมเข้าประชุม ประกอบด้วย นาวาอากาศ เอก คู่ชาติ นุชชะ ที่ปรึกษาฯ นายไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์ ปลัด กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นางทรงพร โกมล สุรเดช ผู้อ�ำนวยการส�ำนักกิจการอวกาศ ร่วมหารือกับมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ น�ำโดย รศ.วุฒชิ ยั กปิลกาญจน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ รศ.ดร.ธัญญะ เกียรติวฒ ั น์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ ร.ศ.ดรมงคล รักษาพัชรวงศ์ หัวหน้าสถานีรับสัญญาณดาวเทียม จุฬาภรณ์ และอาจารย์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อีกหลายท่าน ในเรื่องแนวทางการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดาวเทียม

โดย รมต. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร นอ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ และคณะ เดินทางมาถึง สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ ในเวลา 9.30 น. จาก นั้นอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รศ.วุฒิชัย กปิล กาญจน์ กล่าวต้อนรับแก่รมต.และคณะ เริ่มเปิดการประชุม โดย ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นายไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์ น�ำเสนอความเป็นมาของ โครงการความร่วมมือภายใต้องค์การความร่วมมือด้าน อวกาศแห่งเอเชียแปซิฟกิ (APSCO) และสถานีรบั สัญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ์ ตลอดจนน�ำเสนอผลงานการประยุกต์ ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS (HJ-1) และดาวเทียม (HJ-1B) ในด้านต่างๆ เช่น ด้านการติดตามสถานการณ์ ภัยพิบัติ ด้านการเกษตร การติดตามสถานการณ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การบุกรุกป่า ฯลฯ จากนั้น รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ ได้น�ำเสนอแนวทางการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดาวเทียม เพื่อการ บริหารจัดการใช้ที่ดินภาคเกษตรของไทยอย่างเหมาะสม (Zoning) ตามนโยบายภาครัฐ จากการได้รับความร่วมมือจาก Institute of Remote Sensing and Digital Earth (RADI) ซึ่งกระทรวงไอซีทีและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการจัดท�ำเขตเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นนโยบายที่ทางรัฐฯผลักดัน เขตเศรษฐกิจ คือ “เขตการผลิตทางการเกษตร ซึ่งรวมทั้งการเลี้ยงสัตว์และการปลูกป่า ที่ก�ำหนดขึ้นให้เหมาะสมกับภาวะตลาดและเศรษฐกิจการเกษตรของ ประเทศ โดยค�ำนึงถึงสภาพที่คล้ายคลึงกันของปัจจัยหลัก เช่น ดินฟ้าอากาศ แหล่งน�้ำ พืชที่ปลูก สัตว์ที่เลี้ยงประเภทของเกษตรกรรม และรายได้หลักของเกษตรกร” โดยในหลายปีที่ผ่านมากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศก�ำหนดเขตเศรษฐกิจที่ส�ำคัญไปแล้ว 13 ชนิด คือ หน่อไม้ ปาล์มน�้ำมัน หอมแดง หอมหัวใหญ่ โกโก้ มันส�ำปะหลัง กระเทียม ไก่เนื้อ กาแฟ ฝ้าย ปอ สับปะรด อ้อย และยังมีสินค้าเกษตรที่มิได้ ออกประกาศเขตเกษตรเศรษฐกิ จ แต่ ป ระกาศ ให้เกษตรกรมาขึ้นทะเบียน คือ โคนม หม่อน ไหม ข้าวนาปรัง ทุเรียน โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะ ควบคุมและส่งเสริมการผลิตทางการเกษตรให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดในอันที่จะ รักษาเสถียรภาพของระดับราคาผลผลิตทางการ เกษตรให้ม่ันคงและเป็นธรรม และให้ความช่วย เหลือในด้านการพัฒนาการเกษตรเพื่อยกระดับ รายได้ของเกษตรกรให้สูงขึ้น อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติเศรษฐกิจการเกษตรเป็นเพียง กฎหมายส่งเสริม มิใช่กฎหมายบังคับใช้


6

นโยบายรัฐบาลได้ก�ำหนดให้มีการจัดท�ำเขตเกษตรเศรษฐกิจ เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างอุปทานและอุปสงค์ รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลประกอบการประมาณการ ผลผลิตสินค้าเกษตรที่จะออกสู่ตลาดตามช่วงฤดูกาลต่างๆ และเฝ้าระวังเพื่อหามาตรการรองรับได้ทันท่วงที รวมทั้งสนับสนุนการผลิตทางการเกษตรที่สอดคล้องกับ สภาพพื้นที่ โดยการก�ำหนดเขตการใช้ที่ดินและมาตรการจูงใจให้เกษตรกรท�ำการผลิตตามศักยภาพของพื้นที่เพื่อให้มีข้อมูลประกอบการตัดสินในการท�ำการผลิตหรือ การส่งเสริมการผลิตทางการเกษตรที่เหมาะสม มีปริมาณการผลิตที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด สามารถรักษาเสถียรภาพของระดับราคาผลผลิตทางการ เกษตร และยกระดับรายได้ของเกษตรกรให้สูงขึ้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้จัดท�ำเขตความเหมาะสมส�ำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญ โดยการวิเคราะห์ ความเหมาะสมของที่ดิน (Land Suitability) กับปัจจัยความต้องการของพืชแต่ละชนิด (Crop Requirement) ตามสภาพแวดล้อมที่มีการเพาะปลูกพืชแต่ละชนิด ในปัจจุบันร่วมกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่นๆ อาทิ เขตป่าไม้ตามกฎหมาย เขตพื้นที่โครงการ ชลประทาน ฯลฯ เพื่อประกอบการตัดสินใจในการท�ำการผลิตหรือส่งเสริมการผลิต ทางการเกษตรที่เหมาะสม ให้มีปริมาณการผลิตที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด สามารถรักษาเสถียรภาพของระดับราคาผลผลิตทางการเกษตร และยกระดับรายได้ ของเกษตรกรให้สูงขึ้น ทั้งนี้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะพิจารณามาตรการจูงใจให้ เกษตรกรหันมาปรับเปลี่ยนการเพาะปลูกชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่ต่อไป สถานี​ี รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ใ นฐานะผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารและสนั บ สนุ น การ ประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียมส�ำรวจทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อติดตามสถานการณ์ภัยพิบัติ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ตลอดจนการเกษตร โดยท�ำการรับสัญญาณดาวเทียม อเนกประสงค์ขนาดเล็ก SMMS (HJ-1A) และดาวเทียม HJ-1B ที่ท�ำการถ่ายและส่งข้อมูล ภาพทุกวัน ครอบคลุมพืน้ ทีท่ วั่ ประเทศไทย ท�ำให้มศี กั ยภาพในการวิเคราะห์พนื้ ทีก่ ารเกษตร ทั่วประเทศไทย และได้ข้อมูลการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรที่เป็นปัจจุบัน จากการวิเคราะห์ และแปลข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS (HJ-1A) และดาวเทียม HJ-1B สามารถติดตาม สถานการณ์พืชผลทางการเกษตร และน�ำไปประกอบใช้ในการวางแผนด�ำเนินการบริหาร จัดการการใช้ที่ดินพื้นที่ภาคการเกษตรของไทยได้เป็นอย่างดี ส่งผลดีต่อการเกษตรของ ประเทศ ในการประชุมครั้งนี้ได้มี การถาม-ตอบประเด็ น ที่ เกี่ ยวข้ องเกี่ ย วกั บ การ ประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมวิเคราะห์และจัดท�ำเขตเกษตรเศรษฐกิจ ซึ่งทางรมต.ไอซีที ได้ให้ความสนใจในแนวทางการประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่าย ดาวเทียมเพื่อการบริหารจัดการใช้ที่ดินภาคการเกษตรของไทยอย่างเหมาะสม เป็นอย่างมากและร่วมแสดงความเห็นถึงความเป็นไปได้ในการจัดท�ำโครงการ นี้ และมีการพูดถึงแนวทางการด�ำเนินงานในอนาคต รวมทั้งหารือถึงแนวทาง การปรับปรุงสถานีฯ ในการขยายศักยภาพสู่การรับสัญญาณข้อมูลดาวเทียม รายละเอียดสูง เช่น ดาวเทียม ZY-1-02C และ SJ-9A/B ซึ่งมีรายละเอียดข้อมูล ภาพสูงขนาด 2.36-2.5 เมตร ซึง่ จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อประเทศในการน�ำ ไปประยุกต์ใช้งาน ตลอดจนเยีย่ มชมสถานีรบั สัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ รับชม การท�ำงานขณะมีการรับสัญญาณภาพข้อมูลดาวเทียม SMMS (HJ-1A) และ ดาวเทียม HJ-1B และร่วมถ่ายรูป ณ ดาดฟ้า ชั้น 10 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


ฉบับที่แล้วได้ท�ำความรู้จักถึงคุณสมบัติของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา FY-3 และ คุณสมบัติ sensor ชนิด MERSI, SBUS, TOU และMWRI ไปแล้ว โดยในฉบับนี้จะ มาท�ำความรู้จักกับคุณสมบัติและความสามารถของ sensor แบบ SEM และ SIM ซึ่งมีรายละเอียดคุณสมบัติของแต่ละ sensor ดังตารางข้างล่าง

sensor

No. of band

VIRR (Visible and Infrared Radiometer) 10 IRAS (Infrared Atmospheric Sounder) 26 MWTS (Microwave Temperature Sounder) 4 MWHS (Microwave Humidity Sounder) 5 MERSI (Medium Resolution Spectral Imager) 20 SBUS (Solar Backscattering UV Sounder) 12 TOU (Total Ozone Unit) 6 MWRI (Microwave Radiation Imager) 6 SEM (Space Environment Monitor SIM (Solar Irradiation Monitor)

7o f

A Review Meteorological S atellite FY-3

SpectralRange

0.43-12.5 µm 0.69-15.5 µm 50-57 GHz 150-183 GHz 0.41-12.5 µm 250-340 nm 308-361 nm 10.65-150 GHz 0.2~50 µm

FY-3A

ส่วนภาคพืน้ ดินของดาวเทียม FY-3 ประกอบด้วย ศูนย์ ประมวลผลข้อมูล ศูนย์ควบคุมดาวเทียมภาคพื้นดิน สถานี SEM (Space Environment Monitor) เป็นตัวตรวจวัดไอออนหนักในอวกาศ อนุภาคโปรตรอน รับสัญญาณภาคพืน้ ดิน ศูนย์จดั การและเก็บข้อมูล ระบบการ พลังงานสูง อนุภาคอิเล็กตรอนพลังงานสูง การวัดการแผ่รังสี ติดตามลักษณะพื้นผิวดาวเทียม รับข้อมูล (DAS) คอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย (CNS) SIM (Solar Irradiation Monitor) เป็นตัวตรวจวัดการแผ่รงั สีของดวงอาทิตย์ ทีช่ ว่ งคลืน่ ระหว่าง ระบบควบคุมการท�ำงาน (OCS) ระบบเก็บข้อมูลก่อนการ ประมวลผล (DPPS) ระบบการสร้างผลิตภัณฑ์ขอ้ มูล (PGS) 0.2 - 50 μm โดยมีการตอบสนองอยู่ที่ 0.2 W m-2

FY-3 Ground Segment

FY-3A receiving network (image credit: CMA/NSMC)

FY-3A ground segment framework (image credit: NSMC)

ดาวเทียม FY-3 มีสถานีภาคพื้นดิน ทั้งหมด 5 สถานี ได้แก่ สถานีภาคพื้นดินเมืองปักกิ่ง เมือง ระบบควบคุมคุณภาพข้อมูล (QCS) ระบบข้อมูลตัวอย่าง กวางโจว เมืองอุรุมชี เมืองเจียหมู่ซือ ประเทศจีน และที​ี่เมืองคีรูน่า ประเทศสวีเดน ซึ่งมีพิกัดที่ตั้งดังนี้ (UDS) ระบบให้บริการข้อมูล (ARSS) ระบบวิเคราะห์และ ติดตาม (MAS) เทคนิคและแบบแบบจ�ำลอง (STSS) Station name Longitude Latitude นี่คือส่วน Ground segment ทั้งหมดของดาวเทียม Beijing Station 116º 16' 36'' E 40º 03' 06'' N FY-3A ซึง่ ท�ำหน้าทีจ่ ดั การและควบคุม เพือ่ ให้ดาวเทียมปฏิบตั ิ Guangzhou Station 113º 20' 20'' E 23º 09' 52'' N หน้าที่ได้ลุล่วงตามภารกิจที่วางไว้ Urumqi Station 87º 34' 08'' E 43º 52' 17'' N Jiamusi Station 130º 22' 48'' E 46º 45' 20'' N Kiruna Station 21º 02' E 67º 32' N ส่วนภาคพื้นดินมีหน้าที่หลักในการสื่อสารและควบคุมการท�ำงานของดาวเทียม รวมทั้งเป็นส่วน รับและประมวลผลข้อมูลดาวเทียมด้วย ซึ่งส่วนภาคพื้นดินจะมีอุปกรณ์หลักคือ อุปกรณ์จานสาย อากาศ (Antenna Subsystem) ซึ่งมีหน้าที่ส่งสัญญาณและรับสัญญาณจากดาวเทียม และอุปกรณ์ ผสมสัญญาณและแยกสัญญาณ (Modulator/Demodulator) มีหน้าทีแ่ ปลงข้อมูลทีต่ อ้ งการส่งผ่าน ดาวเทียมให้เป็นสัญญาณคลื่นวิทยุที่มีข้อมูลผสมอยู่ให้น�ำไปใช้งานได้


8

R emote

Meteorology

Sensing in Daily Life

Corner

เคยสงสัยไหมว่าแสงจากดวงอาทิตย์เมื่อเดินทาง ผ่านชั้นบรรยากาศของโลกจนกระทั่งมาถึงยังพื้นผิว โลกต้องเจอกับเหตุการณ์หรือปฏิกิริยาอะไรบ้าง ท�ำไม ต้องเกิดเหตุการณ์เช่นนั้น และการเกิดสิ่งเหล่านั้นมี ประโยชน์อย่างไร วันนี้เรามีค�ำตอบให้คุณ เพราะว่าต่อ ไปนี้ รีโมตเซนซิ่งจะไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป เมื่ อ พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ เ ดิ น ทางผ่ า นชั้ น บรรยากาศ จนกระทัง่ มาถึงพืน้ ผิวโลกและตกกระทบกับ วัตถุตา่ งๆ จะเกิดปฏิกริ ยิ าขึน้ 3 รูปแบบ คือ การสะท้อน (Reflection) การดูดกลืน (Absorption) และการส่ง ผ่าน (Transmission) สัดส่วนของปฏิกิริยาและความ สัมพันธ์ทเี่ กิดจะแตกต่างกันไป ขึน้ อยูก่ บั คุณสมบัตแิ ละ คุณลักษณะของวัตถุต่าง ๆ บนผิวโลก ประโยชน์ของ การเกิดปฏิกิริยาเหล่านี้คือ ช่วยให้สามารถแยกวัตถุ ชนิดต่าง ๆ ออกจากกัน นอกจากนั้นในวัตถุประเภท เดียวกัน ยังมีลักษณะที่แตกต่างกันไป ในแต่ละชนิด คลื่นที่ตกกระทบด้วย เช่น ในช่วงคลื่นย่าน Visible พืชชนิดต่าง ๆ มีสัดส่วนการสะท้อนที่ใกล้เคียงกัน แต่ ในย่าน Reflected Infrared พืชแต่ละชนิดมีสัดส่วน ของการสะท้อน การดูดซับและการส่งผ่านคลื่น ที่แตก ต่างกันอย่างเห็นได้ชัด ในส่วนของ การสะท้อน (Reflection) ปัจจัยที่มี ผลต่อรูปแบบการสะท้อน ขึ้นอยู่กับลักษณะของพื้นผิว มุมตกกระทบ ความยาวคลื่นที่ตกกระทบ มุมโพราไร เซชั่น รวมทั้งความสามารถและอัตราการสะท้อนแสง ผิว ซึ่งเกิดการสะท้อนใน 3 ลักษณะ คือ 1) การสะท้อนกลับหมด – เกิดจากพื้นผิวของวัตถุ ที่มีลักษณะราบเรียบมาก มุมตกเท่ากับมุมกระทบ การ สะท้อนมีลักษณะไปในทิศทางเดียวกันหมด ถือเป็นรูป แบบเชิงทฤษฎี 2) การสะท้อนแบบกระจาย – เกิดจากพื้นผิวที่ มีความขรุขระมักเกิดในช่วงคลื่นแสงสว่าง เป็นการ สะท้อนแบบกระจัดกระจายไปทุกทิศทุกทางอย่าง

Reflection

สม�่ำเสมอ ถือเป็นรูปแบบเชิงทฤษฎีเช่นกัน 3) การสะท้อนแบบผสมผสาน – เป็นการสะท้อน ในความเป็นจริง ทีม่ กั จะใกล้เคียงแบบใดแบบหนึง่ คือมี ทัง้ การสะท้อนกลับและเกิดการกระจายหายไปของแสง ส�ำหรับพื้นผิวโลกที่เป็นดินในลักษณะต่างๆ จะมี การสะท้อนแสงทีแ่ ตกต่างกัน เช่น ในพืน้ ดินทีม่ คี วามชืน้ สูง จะมีการดูดซับ พลังงานไว้มาก ท�ำให้การสะท้อนลด ลง เนื้อดินที่มีขนาดเล็กจะสะท้อนแสงได้ดีกว่าเนื้อดิน ขนาดใหญ่ และหากพื้นดินมีผิวเรียบ จะสะท้อนแสงได้ ดีกว่าพื้นผิวขรุขระ เป็นต้น ในส่วนพื้นผิวโลกที่เป็นน�้ำ จะมีลักษณะการสะท้อนคลื่นแสงเช่นเดียวกับของพืช และดิน ซึ่งจะแตกต่างกันไป ในแต่ละช่วงคลื่น ทั้งนี้ขึ้น อยู่กับสภาพของน�้ำและคุณภาพของน�้ำ การดูดกลืนหรือดูดซับ (Absorption) ปริมาณ การดูดกลืนขึ้นอยู่กับคุณสมบัติพื้นผิวตามความยาว ช่วงคลื่น พลังงานที่ถูกวัตถุดูดกลืนไปจะถูกเปลี่ยน ให้อยู่ในรูปความร้อน จึงท�ำให้วัตถุมีอุณหภูมิสูงขึ้น และเป็ น ต้ น ก� ำ เนิ ด พลั ง งาน สามารถแผ่ พ ลั ง งาน (Emittion) ในช่วงคลืน่ อินฟราเรดหรืออินฟาเรดความ ร้อน ซึ่งตรวจวัดได้ทั้งกลางวันและกลางคืน ซึ่งเป็น ประโยชน์ต่องานรีโมตเซนซิ่ง การส่งผ่าน (Transmission) เมื่อพลังงานใน ส่วนที่ไม่เกิดการสะท้อนจะถูกดูดกลืนและส่งผ่านสู่ชั้น ที่ลึกลงไป ที่มา : นาวิกศาสตร์, GIS2ME

การก่อตัวของเมฆ เมฆเกิ ด จากการควบแน่ น ของไอน�้ ำ ในอากาศ โดยเมื่อไอน�้ำได้รับความร้อนก็จะลอยตัวสูงขึ้น และ เมื่อกระทบกับความเย็นของอากาศที่อยู่เบื้องบนก็จะ ควบแน่นเป็นละอองน�้ำเล็ก ๆ เกาะอยู่บนอนุภาคของ ฝุ่นละอองที่อยู่ในอากาศ ซึ่งอนุภาคของฝุ่นละอองจะ ช่วยให้ละอองน�้ำรวมตัวกันมากขึ้น เกิดเป็นก้อนเมฆ ที่มีขนาดเล็กบ้างใหญ่บ้าง หยดน�้ำหรือละอองน�้ำในก้อนเมฆ (Cloud droplet) ที่ เ กิ ด ขึ้ น ครั้ ง แรกอาจจะมี ข นาดเพี ย ง 0.02 มิลลิเมตร (มีขนาดเล็กกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของ เส้นผมซึ่งมีขนาด 0.075 มิลลิเมตร) ละอองน�้ำขนาด เล็กตกลงอย่างช้าๆ ด้วยแรงต้านของอากาศ และระเหย กลับเป็นไอน�้ำเมื่ออยู่ใต้ระดับควบแน่นลงมา ไม่ทันตก ถึงพื้นโลก

@2003 The LESA Project

แกนควบแน่น ละอองน�้ำในเมฆ และหยดน�้ำฝน

อย่างไรก็ตามในกรณีที่มีกลุ่มอากาศยกตัวอย่าง รุนแรง หยดน�้ำเหล่านี้สามารถรวมตัวกันภายในก้อน เมฆ จนมีขนาดใหญ่ประมาณ 0.05 มิลลิเมตร ถ้าหยด น�้ำมีขนาด 2 มิลลิเมตร มันจะมีน�้ำหนักมากกว่าแรง พยุงของอากาศ และตกลงมาด้วยแรงโน้มถ่วงของโลก สู่พื้นดินกลายเป็นฝน

cr : NASA

ปฏิกริ ยิ าแสงในชัน้ บรรยากาศ

ปฏิกิริยาแสงในบนพื้นผิวโลก

สถานี รั บ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ศู น ย ์ วิ จั ย เพื่ อ คว า มเป ็ น เลิ ศทางด ้ า น วิ ช าการด ้ า น การจั ด การภั ย พิ บั ติ ชั้ น 9 อ า คา รบุ ญ สม สุ ว ชิ รั ต น ์ คณะวิ ศ วกรรม ศาสต ร์ มห า วิ ท ย า ลั ย เก ษ ตรศา ส ตร ์ ถน น งาม วงศ์ ว าน จ ตุ จั ก ร กทม . 1 0 9 0 0 h t t p : //s m m s . e n g . k u . a c.th/

Black Carbon Cloud Droplets


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.