P1
/ ซุปเปอร์ไต้ฝนุ่ ไห่เยีย่ น
/ Activities Training and Seminars ผู ้ เ ยี่ ย มชม สถานีฯ จาก AIT และ JAXA ประเทศญี่ปุ่น /การอบรมการ ประมวลผลภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อการส�ำรวจระยะไกล P2
/ การสัมมนาเชิง ปฏิบตั กิ ารในการก�ำหนดกลยุทธ์ ร่วมกันระหว่างก.พลังงานและ ก.ศึกษา เพื่อเสริมสร้างความ ตระหนั ก รู ้ ด ้ า นพลั ง งานตาม ทิศทางการพัฒนาประเทศ P3-4
/ A Review of Meteorological Satellite CALIPSO P6 / Remote Sensing in Daily Life การส�ำรวจ ด้วย LIDAR P5
CSRSNews ฉบับที่ 11 ประจ�ำวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556
Nov 8, 2013 3.00 AM
ข่ า วสถานี รั บ สั ญ ญาณ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์
Nov 9, 2013 3.00 AM
Nov 10, 2013 3.00 AM
ซุปเปอร์ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน ภาพถ่ายดาวเทียม FY-2E
http://smms.eng.ku.ac.th/
พายุไต้ฝุ่นไห่เยี่ยน (Haiyan) ซึ่งถูกขนาน นามให้เป็น “พายุที่รุนแรงที่สุดในโลก” ในปี 2013 โดยถูกจัดให้เป็นซุปเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 มีความเร็วลม 315 กม./ชม. พัดถล่มแถบภาค กลางของฟิลิปปินส์ ทางตอนเหนือของจังหวัด เชบู ซึ่งเป็นเมืองท่องเที่ยวชื่อดังและใหญ่อันดับ 2 ท�ำความเสียหายให้แก่ชวี ติ และทรัพย์สนิ บ้าน เรือนและเสาไฟฟ้าหักโค่นระนาว ท�ำให้ไฟดับ และระบบการสื่ อ สารคมนาคมถู ก ตั ด ขาดใน หลายจังหวัด โดยเฉพาะเมือง Tacloban บน เกาะเลย์เต ที่อยู่ติดชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นจุดที่โดนถล่มหนักที่สุด คาดว่ามีผู้เสียชีวิต จากเหตุการณ์นี้ราว 10,000 คน
รัฐบาลฟิลิปปินส์ประกาศเตือนประชากร 12 ล้านคน ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย รวมไป ถึงพลเมือง 2.5 ล้านคนในเมืองเซบูซิตี้และพื้น ที่อื่นๆ ให้เตรียมการป้องกันและอพยพ อีกทั้ง ยังมีการสัง่ งดเรือประมงห้ามออกหาปลาในช่วงนี้ ระงับบริการเรือเฟอร์รี่ และเที่ยวบินในประเทศ ถูกยกเลิกเกือบ 200 เที่ยว พายุลูกนี้เริ่มจากการ เป็นหย่อมความกดอากาศต�่ำ บริเวณมหาสมุทร แปซิฟิก และเริ่มทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จน เป็นพายุไต้ฝุ่นตั้งแต่วันที่ 5 พ.ย. 2556 และทวี ความรุนแรงจนกลายเป็นซุปเปอร์ไต้ฝุ่น ความ รุนแรงระดับ 5 เข้าถล่มฟิลปิ ปินส์ จากนัน้ ได้ออ่ น ก�ำลังลงกลายเป็นพายุโซนร้อน เคลื่อนขึ้นฝั่ง
ทางภาคเหนือของเวียดนาม ใกล้เมืองฮา ลองเบย์ ด้วยความเร็วลม 150 กม./ชม. เข้า ท�ำความเสียหาย และคร่าชีวิตชาวเวียดนามไป 6 คน สถานี รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ไ ด้ ติดตามสถานกาณ์การเกิดภัยพิบัติจากซุปเปอร์ ไต้ฝุ่นไห่เยี่ยนอย่างใกล้ชิด ด้วยการวิเคราะห์ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมอุตนุ ยิ มวิทยาผ่านระบบ DVB-S ดาวเทียม FY-2E ซึ่งท�ำการรับข้อมูล ภาพทุกๆ 1 ชั่วโมง ท�ำให้สามารถติดตามเส้น ทางเดินทางของพายุลูกนี้ได้ตลอด ซึ่งเป็นการ เฝ้าระวังเพื่อการเตือนภัยหากพายุมีทิศทางการ เคลื่อนที่เข้าสู่ประเทศไทย ที่มา : ผู้จัดการออนไลน์, Boxza.com
2 การติ ด ตามเส้ น ทางเดิ น พายุ (Tracking Analyst)
A ctivities
Training and Seminars
คณะอาจารย์จาก AIT และเจ้าหน้าที่จาก JAXA ประเทศญี่ปุ่น เข้าเยี่ยมชมสถานีฯ
ความสามารถอย่ า งหนึ่ ง ของระบบภู มิ สารสนเทศ (GIS) คือการวิเคราะห์เส้นทางการเดิน ทางของพายุ โดยการน�ำเข้าข้อมูลเชิงพื้นท่ี่ของ พายุที่มีข้อมูลช่วงเวลาก�ำกับไว้ ซึ่งสามารถติดตาม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้แบบ Real-Time หากมีการ เชื่อมต่อกับ Tracking Service หรือ GPS โดย ผลการวิเคราะห์จะได้แบบจ�ำลองเส้นทางการเดิน ทางของพายุเป็นแบบ Animation ซึ่งจะเห็นเส้น ทางการเดินทางของพายุพร้อมทัง้ ช่วงเวลาตามแบบ จ�ำลองที่ได้จากการวิเคราะห์ไว้ ในการน�ำเข้าข้อมูลวันเวลานั้นจะเป็นการน�ำ เข้าข้อมูลการเดินทางของพายุแบบนาฬิกาวันที่ หรือ data clock นั่นเอง
สถานี รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ คณะ วิ ศ วกรรมศาสตร์ มก. ได้ จั ด การอบรม “หลั ก สู ต ร การประมวลผลภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อการส�ำรวจระยะ ไกล (Remote Sensing)” เมื่อวันที่ 14-18 ตุลาคม 2556 ณ ห้อง 9901 ชั้น 9 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มก. โดยทางสถานีฯ ได้จัดการอบรม โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายให้แก่นิสิตผู้สนใจ ซึ่งมีเจ้าหน้าที่
เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2556 ได้มีคณะอาจารย์ AIT และเจ้าหน้าที่จาก JAXA ประเทศญี่ปุ่น เข้าเยี่ยมสถานี รับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มก. โดยมี รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ หัวหน้าสถานีฯ ให้ ก ารต้ อ นรั บ และมี ก ารน� ำ เสนอภารกิ จ และผลการ ด�ำเนินงานของสถานีฯ ทีผ่ า่ นมา ในการประยุกต์ใช้ขอ้ มูล ภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม อุตนุ ยิ มวิทยาผ่านระบบ DVB-S เพือ่ การสนับสนุนหน่วย
ง า น ใ น ภ า ค รั ฐ ก า ร จั ด ก า ร ภั ย พิ บั ติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใ น ประเทศไทย ตลอดจนสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติ ต่างๆ การบุกรุกป่าชายเลน การติดตามพืชเศรษฐกิจ ของประเทศไทย เช่น การติดตามการปลูกข้าวตามช่วง อายุและการประเมินผลผลิตข้าว การติดตามพื้นที่เพาะ ปลูกอ้อยและยางพารา การวิเคราะห์พื้นที่แห้งแล้งเพื่อ สนับสนุนการปฏิบัติการฝนหลวง เป็นต้น และถ่ายรูป หมู่ร่วมกัน บนดาดฟ้าชั้น 10 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์
ของสถานีฯ เป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS (HJ1A) และดาวเทียม HJ-1B ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการ ส�ำรวจระยะไกล อีกทั้งมีการ workshop ประมวลผล ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม การปรับแก้-ปรับปรุงข้อมูล การจ�ำแนกและตรวจจับการเปลี่ยนแปลงเชิงเลขของ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม การท�ำแผนที่ ตลอดจน
การประยุ ก ต์ ใ ช้ ง านข้ อ มู ล ภาพถ่ า ยดาวเที ย มในด้ า น การเกษตร เช่น พื้นที่เพาะปลูกยางพารา ติดตาม สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและด้านภัยพิบัติต่างๆ เช่น น�้ำท่วม ไฟไหม้ป่า มลภาวะทางทะเล บุกรุกป่า ซึ่ง หลังจากการอบรมจบหลักสูตรนี้ ทางสถานีฯ ได้จัดให้มี การมอบเกียรติบัตรให้แก่นิสิตผู้ผ่านการอบรม และถ่าย ภาพร่วมกันบนดาดฟ้าชั้น 10 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์
3
“ การสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร ในการก� ำ หนดกลยุ ท ธ์ ร ่ ว มระหว่ า ง
กระทรวงพลั ง งานและกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความ ตระหนั ก รู ้ ด ้ า นพลั ง งานตามทิ ศ ทางการพั ฒ นาประเทศ”
เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2556 ได้มีการจัด “การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ในการก�ำหนดกลยุทธ์ร่วมระหว่างกระทรวงพลังงานและกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเสริมสร้าง ความตระหนักรู้ด้านพลังงานตามทิศทางการพัฒนาประเทศ” ณ ห้องเมจิก 3 โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพฯ โดยมี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษา นายจาตุรนต์ ฉายแสง เข้าร่วมงานและมอบวิสัยทัศน์ รวมทั้งรองนายกรัฐมนตรี นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา ที่ได้ มอบวิสยั ทัศน์ผา่ นวีดที ศั น์ นอกจากนีย้ งั มี พล.ต.ท.วิเชียรโชติ สุกโชติรตั น์ ผูช้ ว่ ยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงพลังงาน พล.ต.ต.ลัทธสัญญา เพียรสมภาร ทีป่ รึกษารัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพลังงาน นายภิญโญ ตั๊นวิเศษ เลขานุการกระทรวงพลังงาน นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ปลัดกระทรวงพลังงาน นายชุมพล ฐิติยารักษ์ และนายคุรุจิต นาครทรรพ รองปลัดกระทรวงพลังงาน ดร.ด�ำรงค์ ศรีพระราม รองอธิการบดีฝา่ ยบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดร.ชัยยศ อิม่ สุววรรณ์ รองเลขาธิการกศน. พิธีเปิดเริ่มโดยนายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ กล่าวถึงความเป็นมา ของโครงการฯ และความร่วมมือที่ผ่านมาของกระทรวงพลังงานและ กระทรวงศึกษาธิการ จากนั้นนายพงษ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกฯ ได้กล่าวผ่านวีดีทัศน์ถึงความส�ำคัญของความตระหนักรู้ด้านพลังงาน และประโยชน์ของโครงการความร่วมมือนีซ้ งึ่ จะน�ำไปสูก่ ารให้ประชาชน เข้าใจและเลือกใช้พลังงานได้อย่างมีเหตุและมีผล ล�ำดับต่อมา รมต.กระทรวงศึกษา นายจาตุรนต์ ฉายแสง ได้ขึ้น กล่าวถึงการบรรจุการเรียนรูด้ า้ นพลังงานเป็นหลักสูตรใหม่ ซึง่ ปัจจุบนั มีการพัฒนาหลักสูตรโดยหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญด้านหลักสูตร วิทยาศาสตร์ คือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับสังคมและชีวติ สถานการณ์จริง ซึ่งได้จัดให้เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับ รวมถึงการส่งเสริมให้มีการเรียนแบบคิดวิเคราะห์ ซึ่งการเรียนเรื่องพลังงานจะเป็นในรูปแบบการตั้งโจทย์เพื่อแก้ปัญหา ตลอดจนการเรียนรู้เรื่องพลังงานกับสังคมและชีวิตคน ซึ่งจะเป็นการขยายจากวิชาวิทยาศาสตร์ล้วนๆเข้าไปสู่ชีวิตคนมากขึ้น รมต.กระทรวงพลังงาน นายพงษ์ศกั ดิ์ รักตพงศ์ไพศาล ได้ขนึ้ กล่าวปิดท้าย ซึง่ ได้พดู ถึงเรือ่ งพลังงานคือต้นทุนชีวติ ในทุกๆด้าน ทัง้ ด้านอุตสาหกรรม ครัวเรือน และ ความเป็นอยู่ ดังนั้นกระทรวงพลังงานจึงร่วมมือกับกระทรวงศึกษา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในเรื่องพลังงานใน 2 รูปแบบ คือ เรื่องการจัดหลักสูตรพลังงาน เพื่อให้เกิด
4
ความเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของพลังงานและความส�ำคัญของ พลังงานต่อชีวิต และเรื่องการเรียนรู้ด้วยการศึกษาเพิ่มเติม เพื่อเปิด โอกาสให้ครูอาจารย์ นักเรียน นิสิต นักศึกษาที่สนใจเข้าร่วมชมและ เรียนรู้ จากนั้น รมต. ทั้ง 2 ท่าน ได้ร่วมถ่ายรูปและมอบของที่ระลึก ตลอดจนเยี่ยมชมนิทรรศการภายในงาน ซึ่งประกอบด้วย นิทรรศการ ของ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย (กศน) ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สถาบันส่ง เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากนั้นได้ให้สัมภาษณ์สื่อมวลชนใน ประเด็นหรือข้อสงสัยต่างๆ
ต่อมาเป็นการเสวนาในเรือ่ ง “แนวทางการเสริมสร้างความตระหนัก รูด้ า้ นพลังงาน จากนโยบายไปสูแ่ นวทางการปฏิบตั ”ิ โดยมี ดร.พูลพัฒน์ ลีสมบัติไพบูลย์ ผอ.กลุ่มยุทธศาสตร์และความร่วมมือระหว่างประเทศ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน มีผู้เข้าร่วมเสวนาจาก 5 หน่วยงาน ได้แก่ นายชุมพล ฐิตยารักษ์ รองปลัดกระทรวงพลังงาน ดร.ชัยยศ อิ่ม สุวรรณ์ รองเลขาธิการ กศน. ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย นางเจิดฤดี ชินเวโรจน์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ ด้านการจัดการศึกษาอาชีวศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ดร.พิเชฏษ์ จับจิตต์ ผอ.สถาบันวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ส�ำนักงาน คณะกรรมการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน และดร.เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ ผอ.สาขา วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึง่ ผูเ้ ข้าร่วม เสวนามีความเห็นสอดคล้องกันในเรือ่ งหลักสูตรการเรียนรูด้ า้ นพลังงาน และจะมี MOU ในการท�ำงานร่วมกัน ซึ่งกระทรวงพลังงานพร้อมที่จะ สนับสนุนในสิ่งที่กระทรวงศึกษาต้องการ
ในภาคบ่ายเป็นการบรรยายสรุปโครงการโดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ หัวหน้าคณะ ที่ปรึกษาฯ ในเรื่องของของการศึกษาเพื่อประเมินทิศทางการพัฒนาของประเทศไทย การ ประเมินความสอดคล้องของพลังงานกับการศึกษา การจัดท�ำแผนกลยุทธ์ความร่วมมือ และ การวิเคราะห์แหล่งเรียนรู้ โดยคัดเลือกจากแหล่งเรียนรู้ด้านพลังงานที่ประสบผลส�ำเร็จ จากนั้นเป็นการแบ่งกลุ่มเพื่อวิเคราะห์และจัดท�ำการร่างแผนพัฒนากลยุทธ์ระหว่างกศน. กับพลังงาน และอาชีวศึกษากับพลังงาน ซึง่ ในการระดมความคิดครัง้ นี้ บุคลากรด้านการศึกษา มีความเห็นว่ากระทรวงพลังงานมีความพร้อมในด้านบุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในเทคโนโลยี ใหม่ๆ ด้านพลังงาน จึงน่ามีศกั ยภาพในการช่วยเหลือด้านการพัฒนาบุคลากรด้านการศึกษาได้ อย่างมีประสิทธิผล จากนั้นตัวแทนกลุ่มได้ขึ้นมาสรุปความคิดเห็นและการวิเคราะห์จากการ ประชุมกลุ่มย่อย ทั้ง 2 กลุ่ม และถ่ายรูปหมู่ร่วมกัน
ดาวเทียม CALIPALIPSO (Cloud-Aerosol Lidar and Infrared Pathfinder Satellite Ovservation) เป็นโครงการความร่วมมือกันระหว่างสหรัฐอเมริกา (NASA) และฝรั่งเศส (Centre National d’Etudes Spatiales/CNES) โดย ดาวเทียม CALIPSO ได้มีการติดตั้ง LIDAR ซึ่งเป็นเครื่องมือที่นิยมใช้ในการศึกษา อนุภาคในบรรยากาศในปัจจุบัน
5 of
A Review Meteorological S atellite "CALIPSO"
เครื่องมือที่ติดตั้งบนดาวเทียม CALIPSO ประกอบด้วย - the Could-Areosol Lidar with Orthogonal Polarization (CALIOP) - the Imageing Infrared Radiometer (IIR) เพื่อท�ำงานร่วมกับ could profiling radar ในดาวเทียม CloudSat โดยมี - the Wind Field Camera (WFC) วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการก่อตัวของเมฆและการกระจายตัวละอองฝุ่นในรูป 3 เครื่องมือทั้งหมดนี้ได้ถูกออกแบบมาให้สามารถท�ำงานได้โดยอัตโนมัติและต่อ มิติ ตลอดจนการพัฒนาตัวเองและอิทธิพลที่เมฆและละอองฝุ่นมีต่อสภาพอากาศ เนื ่ อ ง ยกเว้น WFC ซึ่งท�ำงานได้เฉพาะในช่วงเวลากลางวัน ข้อมูลจะถูกส่งโดย วัตถุประสงค์ของดาวเทียม CALIPSO 1. ศึกษาอิทธิพลของแอโรซอลต่อการกระเจิงและการหักเหของรังสีแสงอาทิตย์ ระบบ X-band ซึ่งติดตั้งอยู่ในเครื่องมือแต่ละตัว กับความคลาดเคลื่อนในการใช้แบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์ในการพยากรณ์อากาศ จากข้อมูลจากการตรวจวัดของ LIDAR ที่ใช้บนดาวเทียม CALIPSO ร่วมกับแบบ จ�ำลองทางคณิตศาสตร์ ท�ำให้สามารถศึกษาลักษณะของแอโซรอลจากค่าอัตราการ ดิโพลาไรเซซัน่ สัมประสิทธิก์ ารดูดกลืนแสงอันเนือ่ งมาจากแอโรซอล การกระจายตัว ของแอโรซอล ขนาดแอโรซอลในบรรยากาศในแนวดิ่ง อนุภาคในก้อนเมฆ และใช้ ร่วมกับข้อมูลจากดาวเทียม A-train เพื่อให้ได้ข้อมูลแอโรซอลที่ละเอียดขึ้น 2. ศึ ก ษาอิ ท ธิ พ ลของแอโรซอลต่ อ การก่ อ ตั ว ของเมฆกั บ ความคลาด เคลื่อนในการใช้แบบจ�ำลองทางคณิศาสตร์ในการพยากรณ์อากาศ เนื่องจาก แอโรซอลนอกจากจะท� ำ ให้ เ กิ ด การกระเจิ ง ของแสงแล้ ว ยั ง เป็ น แกนกลาง ให้ เ มฆก่ อ ตั ว ท� ำ ให้ เ มฆลอยตั ว ในอากาศตั ว ได้ น านซึ่ ง ส่ ง ผลต่ อ การสะท้ อ น กลั บ ของรั ง สี แ สงอาทิ ต ย์ และอี ก ปั จ จั ย ในกระบวนการนี้ ข้ อ มู ล การ กระจายตัวของแอโรซอลในบรรยากาศจึงจ�ำเป็นต่อการติดตามผลของอิทธิพลของ CALIPSO Paylaod แอโรซอลต่อการก่อตัวของเมฆ Could-Areosol Lidar with Orthogonal Polarization (CALIOP) เป็น 3. ศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมดุลของโลก โดยเฉพาะการแผ่รังสีของโลกและ Lidar ซึ่งถูกออกแบบมาให้ท�ำงานในสองช่วงความยาวคลื่น พร้อมกับมีการติด พลังงานรังสีแสงอาทิตย์ มีผลต่อการน�ำมาพยากรณ์อากาศ โดยใช้ข้อมูลจาก ดาวเทียม CloudSat MODIS TOA fluxes CERES และ CALIPSO ร่วมกันท�ำให้ ตั้งโพลาไรเซอร์ภายใน เพื่อใช้ในการตรวจวัดแอโรซอลและเมฆตามแนวดิ่ง ซึ่ง สามารถพัฒนาระบบฐานข้อมูลของสมดุลพลังงานบนพื้นผิวโลกรวมถึงการแผ่รังสี CALIOP นี้ใช้เครื่องรับสัญญาณ 3 ตัว ได้แก่ เครื่องรับสัญญาณความยาวคลื่น 1,064 นาโนเมตร และสัญญาณที่ขนานและตั้งฉากกับโพลาไรเซอร์ความยาวคลื่น ในบรรยากาศได้ 4.ศึกษาอิทธิพลของเมฆต่อสภาพภูมิอากาศ จากข้อมูลเมฆจากดาวเทียม 532 นาโนเมตร แปลงสัญญาณดิจไิ ทเซอร์สองสัญญาณขนาด 14 บิต ซึง่ ติดตัง้ ร่วม CALIPSO และ CloudSat ร่วมกับข้อมูล สภาพบรรยากาศจาก AIRS และ AMSR กับเครื่องรับสัญญาณแต่ละตัวกล้องของ Lidar มีขนาด 1 เมตร มีรายละเอียดดังนี้ Nd: YAG, diode-pumped, Q-switched, frequency doubled ที่ติดตั้งอยู่บนดาวเทียม Aqua ซึ่งจะท�ำให้ได้ข้อมูลอิทธิพลของเมฆต่อการแผ่รังสี laser : wavelength : 532 nm, 1064 nm ในบรรยากาศที่ถูกต้องมากที่สุด pulse energy: 110 mJoule/channel repetition rate : 20.25 Hz/TD> receiver telescope : 10 m diameter polarization : 532 nm footprint/FOV : 100 m/130 µrad vertical resolution : 30-60 m horizontal resolution : 333 m linear dynamic rage : 22 bit data rate : 316 kbps รายละเอียดของ IIR และ WFC จะน�ำมาอธิบายในฉบับหน้า โปรดติดตาม
6
R emote
Meteorology
Sensing in Daily Life
Corner
เทคโนโลยี ก ารส� ำ รวจเพื่ อ เก็ บ ข้ อ มู ล สภาพ ภูมิประเทศ นอกเหนือจากการส�ำรวจภาคพื้นดิน (Ground Survey) ยั ง มี เ ทคโนโลยี ก ารส� ำ รวจที่ ทั น สมั ย และ เป็ น ที่ ย อมรั บ เช่ น การส� ำ รวจด้ ว ยภาพถ่ า ยดาวเที ย ม (Photogrammetric Survey) และการส�ำรวจด้วย LIDAR (Light Detection and Ranging) นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ช าวออสเตรเลี ย ค้ น พบเมื อ ง มเหนทร-บรรพต ในจังหวัดเสียมเรียบ (เสียมราฐ) ของกัมพูชา อายุ 1,200 ปี ซึ่งประกอบด้วย วัดหลาย แห่งในสภาพสมบูรณ์ ถูกผืนป่าปกคลุมมานานหลาย ศตวรรษ โดยเมืองอังกอร์ที่ค้นพบนี้มีขนาดใหญ่กว่าที่ คาดการณ์ไว้ถึง 4 เท่า การส�ำรวจครั้งนี้ใช้เทคโนโลยี การรับรู้ระยะไกล ที่เรียกว่า ไลดาร์ LIDAR (Light Detection and Range) ติดตั้งไว้กับเฮลิคอปเตอร์ บินในลักษณะกากบาทเหนือภูเขาลูกหนึ่งทางเหนือ ของปราสาทนครวัดเป็นเวลา 7 วัน โดยข้อมูลที่ได้ จากเครื่องมือนี้สอดคล้องกับงานวิจัยภาคพื้นดินของ นักโบราณคดีที่ท�ำขึ้นนานหลายปี LIDAR สามารถส่อง ทะลุเรือนยอดไม้ ช่วยให้นกั โบราณคดีสามารถมองเห็น โครงสร้างที่อยู่ในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสมบูรณ์แบบ และ สร้างแผนที่เมืองที่การวิจัยภาคพื้นดินไม่สามารถท�ำให้ ส�ำเร็จได้ นอกจากนั้น ยังช่วยเผยให้เห็นว่าเมืองแห่งนี้ เป็นรากฐานของอาณาจักรพระนคร ใน ค.ศ. 802 และ เผยให้เห็นปราสาทนับสิบหลังที่ยังไม่เคยบันทึกไว้ และ หลักฐานของคลอง ฝาย และถนนโบราณ จากการใช้ ดาวเทียมน�ำทางประสานร่วมกับข้อมูลจากอุปกรณ์นี้ เดิมเมืองนี้มีระบุอยู่ในจารึกโบราณที่ว่าพระเจ้า ชัยวรมันที่ 2 ที่ได้สร้างเมืองหลวงอยู่บนภูเขา แต่ ไม่สามารถระบุต�ำแหน่งจากข้อมูลที่มีได้ แต่ปัจจุบัน เนื่องจากเทคโนโลยีของการส�ำรวจและรีโมตเซนซิ่ง ท�ำให้ทราบว่าเมืองนีต้ งั้ อยูท่ ใี่ ดและทราบมีการเชือ่ มต่อ กันโดยถนน คลอง และฝาย
เมืองมเหนทร-บรรพต
ก า ร ค ้ น พ บ นี้ จ ะ ถู ก ตี พิ ม พ ์ ล ง ใ น ว า ร ส า ร Proceedings of the National Academy of Sciences จากการวิเคราะห์ถงึ สภาพภูมปิ ระเทศบริเวณ ดังกล่าวด้วยข้อมูล LIDAR พบว่าเมืองนี้ไม่มีต้นไม้อยู่ เลย น�ำไปสู่การศึกษาทฤษฎีที่ว่าการตัดไม้ท�ำลายป่า หรือการจัดการน�้ำอย่างผิดพลาด อาจเป็นสาเหตุท�ำให้ อารยธรรมดังกล่าวสิ้นสูญหรือไม่ หรือในอีกทฤษฎีคือ อารยธรรมนี้รุ่งเรืองเกินจุดที่จะเข้าไปจัดการได้ LIDAR เป็นเทคโนโลยีการส�ำรวจงานภูมิประเทศ แบบใหม่ ซึง่ มีเทคโนโลยีทเี่ หมือนกันกับการท�ำงานของ Radar กล่าวคือ เป็นการวัดระยะจากระยะเวลาในการ เดินทางของล�ำแสงเลเซอร์ ที่เดินทางจาก Sensor ไป ยังวัตถุเป้าหมาย และเดินทางกลับมายัง Sensor ข้อมูล LIDAR คือ ข้อมูลความสูงที่ได้จากการวัดระยะจากสื่อ เช่น LASER ท�ำให้ระยะที่รังวัดได้มีความละเอียดสูง ก่อให้เกิด จุดข้อมูลความสูงของภูมิประเทศ จ�ำนวน มหาศาล การใช้งานต้องน�ำข้อมูลเหล่านี้มาประมวล ผล เพื่อให้เกิดเป็น โครงสร้างภูมิประเทศในลักษณะ TIN หรือ DEM ซึง่ เป็นข้อมูลความสูงทีร่ วมสิง่ ปลูกสร้าง หรือสิ่งที่ปกคลุมผิวโลก อาทิเช่น ต้นไม้ ตึกอาคาร และ พืชพรรณ ไปด้วย ปัจจุบนั ข้อมูลความสูงจาก LIDAR มี อยูส่ องลักษณะคือ Bare Ground คือข้อมูลทีไ่ ด้ขจัด สิง่ ทีป่ กคลุมพืน้ ผิวไปแล้ว และอีกแบบคือ Reflective คือ ข้อมูลความสูงที่รวมสิ่งปลูกสร้างไปด้วย ที่มา : babnee.com, gisphuket.com
ข้อมูล Lidar
Lidar-derived DEM
สถานี รั บ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ศู น ย ์ วิ จั ย เพื่ อ คว า มเป ็ น เลิ ศทางด ้ า น วิ ช าการด ้ า น การจั ด การภั ย พิ บั ติ ชั้ น 9 อ า คา รบุ ญ สม สุ ว ชิ รั ต น ์ คณะวิ ศ วกรรม ศาสต ร์ มห า วิ ท ย า ลั ย เก ษ ตรศา ส ตร ์ ถน น งาม วงศ์ ว าน จ ตุ จั ก ร กทม . 1 0 9 0 0 h t t p : //s m m s . e n g . k u . a c.th/
เมฆ คือ อนุภาคขนาดเล็กของน�้ำหรือน�้ำแข็งหรือ ทัง้ สองอย่าง รวมกันเป็นกลุม่ มองเห็นลอยอยูใ่ นอากาศ และมักไม่สมั ผัสพืน้ โลก อาจมีอนุภาคขนาดใหญ่ของน�ำ้ หรือน�ำ้ แข็งหรืออนุภาคของเหลวหรือของแข็งทีไ่ ม่ใช่นำ�้ ปนอยู่ด้วย เช่น ควันหรือฝุ่นละออง โดยสามารถแบ่ง ประเภทออกตามความสูงของเมฆได้เป็น เมฆต�่ำ ชั้น กลาง และชั้นสูง มีรายละเอียดดังนี้ เมฆชั้นต�่ำ คือเมฆที่ก่อตัวที่ความสูงต�่ำกว่า 2,000 เมตร ซึ่งรวมไปถึงเมฆแผ่นที่หรือสเตรตัส (Stratus) ซึ่งเมฆสเตรตัสที่ลอยตัวอยู่ระดับพื้นดินเรียก “หมอก” • เมฆสเตรตัส (Stratus: St) มีลักษณะเป็น แผ่นหนาๆ สม�่ำเสมอในชั้นต�่ำของบรรยากาศ ใกล้ผิว โลกเหมือนหมอก มีสีเทา มองไม่เห็นดวงอาทิตย์หรือ ดวงจันทร์ อาจเกิดวงแสง (Halo) เมื่อมีอุณหภูมิต�่ำ มาก
• เมฆสเตรโตคิวมูลัส (Stratocumulus: Sc) มีสีเทา ลักษณะอ่อนนุ่ม เป็นก้อนกลมเรียงติดกัน ทั้งแนวตั้งและแนวนอน ท�ำให้มองเห็นเป็นลอนเชื่อม กัน • เมฆนิมโบสเตรตัส (Nimbostratus: Ns) มีลักษณะเป็นแผ่นหนาสีเทาด�ำ เป็นแนวยาวติดต่อกัน แผ่กว้างออกไป รูปร่างไม่แน่นอน เป็นเมฆที่ท�ำให้เกิด ฝนตก จึงเรียกว่า เมฆฝน เมฆชนิดนี้ไม่มีฟ้าแลบและ ฟ้าร้อง เกิดเฉพาะในเขตอบอุ่นเท่านั้น