CSRS NEWS Vol.8

Page 1

/ ดาวเที ย มที่ โ คจร รอบโลก P1

/ Activities Training and Seminars ผู้เยี่ยมชมสถานีฯ จากลิทัวเนีย / SKP Partnership Workshop ณ อุทยานรังสรรค์ นวัตกรรมด้านอวกาศ P2

/ “ปลัดกระทรวง ICT น� ำ คณะผู ้ แ ทนของไทย เ จ ร จ า ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ ด ้ า น เทคโนโลยยีอวกาศกับจีน” P 5 /A Review of Meteorological Satellite FY-3 P3-4

/ Remote Sensing in Daily Life ปรากฏการณ์แสงเหนือ-แสง ใต้ “Aurora Polaris” / Meteorology Corner เครื่องมือวัดพลังงานคลื่นรังสี P6

CSRSNews ฉบับที่ 8 ประจ�ำวันที่ 1 กรกฎาคม 2556

ข่ า วสถานี รั บ สั ญ ญาณ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ http://smms.eng.ku.ac.th/

ดาวเทียมมีหลากหลายประเภทแบ่งออก ตามประเภทการใช้งานได้เป็น ดาวเทียมเพือ่ การ ท�ำแผนที่ ซึ่งจะมีรายละเอียดสูงและมีวงโคจร ต�่ำไม่เกิน 800 กิโลเมตร เช่น GeoEye Ikonos และ Quickbird ดาวเทียมส�ำรวจทรัพยากร จะ มีวงโคจรเข้าใกล้ขวั้ โลก ทีค่ วามสูงประมาณ 800 กิโลเมตร มีรายละเอียดน้อยกว่าแบบแรกแต่จะ ครอบคลุมพื้นที่ในบริเวณกว้างกว่า ดาวเทียม อุตุนิยมวิทยา ซึ่งมีวงโคจรหลายระดับขึ้นอยู่กับ การใช้งาน ส่วนใหญ่มักจะเป็นแบบวงโคจรค้าง ฟ้า ที่ระดับสูง ถ่ายภาพมุมกว้างครอบคลุมทวีป และมหาสมุทร ดาวเทียมเพื่อการน�ำร่อง GPS

เป็นระบบบอกต�ำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์บนพื้น โลก โคจรรอบโลกในทิศทางต่างๆ ที่ระยะสูง 20,000 กิโลเมตร ดาวเทียมโทรคมนาคม ส่วน ใหญ่เป็นดาวเทียมวงโคจรค้างฟ้า เพื่อถ่ายทอด สัญญาณจากทวีปหนึ่งไปยังอีกทวีปหนึ่ง และ ดาวเทียมภารกิจพิเศษ ส่งขึ้นไปเพื่อปฏิบัติ ภารกิจพิเศษเฉพาะทาง เช่น ดาวเทียมเพื่อการ วิจัยทางวิทยาศาสตร์ กล้องโทรทรรศน์อวกาศ ดาวเทียมจารกรรม ดาวเทียมทางทหาร วง โคจรจะต่างกันขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการ ใช้งาน จะเห็นว่าโลกของเรานั้นมีดาวเทียม เป็นจ�ำนวนมากที่โคจรรอบโลกอยู่เพื่อปฏิบัติ

ภารกิจ จากข้อมูลของศูนย์บัญชาการด้าน อวกาศของสหรัฐฯ นับตั้งแต่ยุคอวกาศเริ่มต้น ขึ้น มีวัตถุที่มนุษย์ส่งขึ้นสู่วงโคจรรอบโลกราว 26,600 ชิ้น ซึ่งในจ�ำนวนนี้ 17,700 ชิ้นได้ ตกลงและเผาไหม้ในบรรยากาศโลก อีก 600 ชิ้น กระจายออกสู่อวกาศ ที่เหลืออีก 8,300 ชิ้น ยังคงโคจรอยู่รอบโลก ในจ�ำนวนที่เหลือนี้ มีเพียงร้อยละ 7-10 เท่านั้นที่เป็นดาวเทียมที่ ยังท�ำงานอยู่ โดยมีหน่วยงาน NORAD คอย ติ ด ตามการเคลื่ อ นที่ ข องขยะอวกาศและ ดาวเทียมต่างๆ เหล่านี้อยู่ (ที่มา : ประเภทของดาวเทียม:LESA, บทความพิเศษ SPACE JUNK)


2 ลั ก ษณะวงโคจรของดาวเที ย มอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาใกล้ ขั้ ว โลก

A ctivities

Training and Seminars

ผู้เยี่ยมชมสถานีฯ จาก Mykolas Romeris University จากประเทศลิทัวเนีย

MODIS

FY-3

ดาวเที ย มที่ ป ฏิ บั ติ ก ารด้ ว ยระบบ MODIS นั้นประกอบด้วยดาวเทียม Terra MODIS และ ดาวเที ย ม Aqua MODIS โดยทั้ ง คู ่ มี ว งโคจร แบบใกล้ ขั้ ว โลก โดยที่ Terra MODIS นั้ น จะ เคลือ่ นทีจ่ ากขัว้ โลกเหนือไปยังขัว้ โลกใต้และจะผ่าน เส้นศูนย์สูตรเวลา 10.30 น. ส่วน Aqua MODIS นั้นจะเคลื่อนที่จากขั้วโลกใต้ไปยังขั้วโลกเหนือและ จะผ่านเส้นศูนย์สตู รเวลา 13.30 น. ดาวเทียม FY-3 นัน้ ประกอบด้วย ดาวเทียม FY-3A และ FY-3B มีวง โคจรแบบใกล้ขั้วโลกเช่นกัน ดาวเทียมทั้งสองเป็นดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ที่มีวงโคจรต�่ำ สามารถถ่ายภาพได้ในหลายช่วง คลื่ น ความถี่ ท� ำ ให้ ส ามารถติ ด ตามสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงของโลกได้ทั้งบริเวณพื้นผิวดิน น�้ำ ทะเล และชั้นบรรยากาศ ในพื้นที่ครอบคลุมพื้นที่ ทั่วทั้งโลก

เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2556 ที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่ จากสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ ได้เข้าร่วม งาน SKP Partnership Workshop on “Innovative Geospatial Solutions for Agriculture, Forestry and Disaster Management” ณ อุทยานรังสรรค์ นวัตกรรมด้านอวกาศ (Space Krenovation Park : SKP) อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ซึ่งเป็นการรับฟังบรรยาย พร้อมทั้งการเยี่ยมชมและเข้าร่วมการบริหารการจัดการ

รศ.ดร.มงคล รั ก ษาพั ช รวงศ์ หั ว หน้ า สถานี รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ให้ ก ารต้ อ นรั บ Mr. Marius Kalinauskas อาจารย์ จาก Mykolas Romeris University ประเทศลิทัวเนีย ซึ่งเข้าเยี่ยม ชมสถานีฯ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2556 ที่ผ่านมา โดย รศ.ดร.มงคล ได้บรรยายสรุปถึงหน้าที่ภารกิจหลักของ ทางสถานีฯ การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาผ่าน

ระบบ DVB-S เพื่อสนับสนุนหน่วยงานภาครัฐในการ จัดการภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ได้แก่ น�้ำ ท่วม ดินถล่ม ภัยแล้ง ไฟป่า และหมอกควัน ตลอด จนการติดตามสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ เช่น การบุกรุกป่าและป่าชายเลน ตลอดจนการจัด เก็ บ ข้ อ มู ล จากสถานี ต รวจวั ด อากาศภาคพื้ น ดิ น ณ อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มก. และเยี่ยมชมระบบการรับสัญญาณดาวเทียม SMMS

โครงการพัฒนาอุทยานรังสรรค์นวัตกรรมด้านอวกาศ ซึ่งเป็นศูนย์รับสัญญาณดาวเทียม ศูนย์การเรียนรู้และ การวิจัยทางด้านภูมิสารสนเทศ เพื่อเป็นการพัฒนา ต่อยอดงานวิจัยเพิ่มขีดความสามารถและสร้างมูลค่า เพิ่มของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนเยี่ยมชมและเข้าร่วม Workshop ในส่วนของระบบรับ ระบบควบคุม ระบบ แสดงผล ระบบส�ำรองข้อมูลดาวเทียม และระบบผลิต ข้อมูลดาวเทียมไทยโชต และเข้ารับฟังการบรรยาย

เรื่องโครงสร้าง ส่วนประกอบ และอุปกรณ์ที่ติดตั้งบน ดาวเทียมไทยโชตกับทีมวิศวกรที่มีส่วนร่วมในกิจกรรม การพัฒนาออกแบบและสร้างดาวเทียมไทยโชต นอกจากนี้ยังมีการบรรยายในเรื่องของการประยุกต์ ใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศในด้านการเกษตร ป่าไม้ และการ จัดการสาธารณภัย จากบริษัท EADS ASTRIUM ซึ่งใช้ ในการวิเคราะห์และติดตามสถานการณ์การเกษตร พื้นที่ ป่าไม้ และจัดการเมื่อสภาวะภัยพิบัติเกิดขึ้น


3

“ ปลั ด กระทรวง เ ทคโนโลยี ส า รสนเทศและ การ สื่ อ ส า ร น� ำ ค ณ ะ ผู ้ แ ท น ข อ ง ไ ท ย เ จ ร จ า ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ ด ้ า น เทคโนโลยยี อ วกาศกั บ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ”

เมื่ อ วั น ที่ 3-5 กรกฎาคม 2556 ที่ ผ ่ า นมา ได้ มี ก ารจั ด การ ประชุ ม คณะมนตรี อ งค์ ก ารความร่ ว มมื อ ด้ า นอวกาศแห่ ง เอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก (APSCO) และการประชุ ม ร่ ว มกั บ หน่ ว ยงาน RADI/ CRESDA เพื่อรับทราบแนวทางการประยุกต์ใช้งานข้อมูลดาวเทียม ส� ำ รวจโลก และการปรั บ ปรุ ง สถานี รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มจุ ฬ า ภรณ์ ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่ง นายไชยยันต์ พึ่ ง เกี ย รติ ไ พโรจน์ ปลั ด กระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ การสื่ อ สาร ได้ น� ำ คณะผู ้ แ ทนของไทย โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร. ธัญญะ เกียรติวัฒน์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และ รองศาสตราจารย์ ดร. มงคล รักษาพัชรวงศ์ หัวหน้าสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ โดยในวันที่ 4 กรกฎาคม 2556 ช่วงเช้า ปลัดกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารและคณะ ได้เข้าร่วมการประชุมคณะมนตรี ครั้งที่ 7 ขององค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก ซึง่ ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ในฐานะตัวแทนประเทศไทยได้กล่าวในทีป่ ระชุมถึงความมุง่ มัน่ ของรัฐบาลไทยในการสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของ APSCO โดยทีผ่ า่ นมาประเทศไทยได้รบั ประโยชน์จากโครงการต่างๆ เช่น MASTA และ Data Sharing นอกจากนีป้ ระเทศไทยยังได้เป็นผูน้ ำ� ในโครงการ Research on Ka-Band Atmospheric Effects และเข้าร่วมในโครงการ Development and Demonstration Applications of Compatible GNSS Terminals for Emergency Management and Disaster Rescue (EMDR) ซึง่ คาดว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์กบั ประเทศสมาชิกเป็นอย่างมาก และได้รบั ทราบถึงผลการด�ำเนินงาน ขององค์การ APSCO ในปีที่ผ่านมารวมทั้งการเปลี่ยนแปลง Chairman ของคณะมนตรีเป็น Dr. Ma Xingrui จากสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งได้กล่าวในที่ประชุม ถึงการสนับสนุนของรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างเต็มที่ ทั้งในฐานะของรัฐสมาชิกและ Host Country ต่อองค์การ APSCO จากนั้นได้ร่วมประชุมกับคณะผู้แทน น�ำโดย Dr. Jing Guifei จาก The National Remote Sensing of China—NRSCC ซึง่ เป็น หน่วยงานภาครัฐทีใ่ ห้การสนับสนุนเทคโนโลยีดา้ น satellite remote sensing และด้าน satellite navigation ให้น�ำไปสู่การใช้งานและ ผลิตเชิงอุตสาหกรรม และ China Galileo Industry—CGI ซึ่งเป็น บริษทั ทีพ่ ฒ ั นาเทคโนโลยีและการประยุกต์ใช้งานทีเ่ กีย่ วข้องดาวเทียม ระบุพิกัดบนพื้นโลก ในการนี้ NRSCC/CGI ได้ให้ความสนใจที่จะร่วม มือกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการจัดตั้งสถานีรับสัญญาณ ดาวเทียมระบุพิกัด BeiDou ของจีน ณ สถานีรับสัญญาณดาวเทียม จุฬาภรณ์ เพือ่ พัฒนางานวิจยั ในด้าน GNSS Augmentation เพือ่ เพิม่ ความแม่นย�ำในการระบุพิกัดด้วยดาวเทียมหลายระบบ ซึ่งจะลงนาม ในบันทึกข้อตกลงในเดือนกรกฎาคม 2556 และจะส่งผู้แทนมาตรวจ สอบสภาพความพร้อมของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ราว เดือนสิงหาคม 2556 และจะจัดให้มีการฝึกอบรมเทคโนโลยี GNSS และการประยุกต์ใช้งานให้แก่บุคลากรของไทย ณ กรุงปักกิ่ง ในราว เดือนธันวาคม 2556 ต่อไป ช่วงบ่ายของวันที่ 4 กรกฎาคม 2556 ได้เดิน ความร่วมมือกับประเทศไทย เพื่อประยุกต์ใช้ข้อมูล ทางไปเยี่ยมชม Institute of Remote Sensing จากดาวเทียม SMMS ในการติดตามการปลูกพืช and Digital Earth (RADI) และรับฟังแนวทางการ เศรษฐกิจ (CropWatch) การติดตามการใช้น�้ำ ประยุกต์ใช้งานข้อมูลจากดาวเทียมส�ำรวจโลก (โดย ในภาคการเกษตร (ETWatch) และการติดตาม เฉพาะอย่างยิ่งดาวเทียม SMMS หรือ HJ-1A/B) สถานการณ์ภัยแล้ง (Drought Monitoring) โดย Dr. Wu Bingfang ในฐานะหัวหน้าคณะผู้วิจัย ทีมงานของ Dr. Wu ได้แสดงให้เห็นถึงความ ได้กล่าวต้อนรับ ต้อนรับ โดยแสดงความยินดีในการ ก้าวหน้าที่ส�ำคัญในการใช้ข้อมูลดาวเทียม SMMS ให้ความร่วมมือกับประเทศไทย เพือ่ ประยุกต์ใช้ขอ้ มูล จ�ำนวน 14,000 ภาพ เพื่อจัดท�ำข้อมูล Land จากดาวเทียม SMMS ในการติดตามการปลูกพืช Cover ของสาธารณรัฐประชาชนจีน เรียกว่า เศรษฐกิจ (CropWatch) การติดตามการใช้น�้ำใน ChinaCover2010 ภาคการเกษตรโดยแสดงความยินดีในการให้


4

ในช่วงเช้าของวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 ได้เข้าเยี่ยมชมและ รับฟังการบรรยายจากคณะผูเ้ ชีย่ วชาญของ China Earth Resource Satellite and Data Application—CRESDA ถึงความก้าวหน้าใน การจัดส่งดาวเทียมส�ำรวจโลกชุดใหม่ของสาธารณรัฐประชาชนจีน จ�ำนวน 7 ดวง ซึ่งปัจจุบันคงเหลือเพียง CBERS-03 ที่จะจัดส่งขึ้นสู่ วงโคจรในเดือนธันวาคม 2556 นี้ ในขณะที่ดวงอื่นๆ ได้ถูกน�ำมาใช้ งานแล้ว Mr. Leon Wang อดีตผู้จัดการโครงการจัดสร้างสถานีรับ สัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ ได้น�ำเสนอข้อมูลที่ส�ำคัญของดาวเทียม แนวทางการปรับปรุงสถานี ซึ่งปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ได้หารือกับผู้แทนของ มก. ในเบื้องต้นสรุปว่าจะ ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับจาก CRESDA ก่อนเพื่อก�ำหนดท่าทีของ ประเทศไทยเสนอตามล�ำดับขั้นตอน แล้วจึงเชิญคณะผู้แทนของ CRESDA มาเยือนประเทศไทย เพื่อเจรจาในล�ำดับถัดไป

ในช่วงเย็นของวันที่ 4 กรกฎาคม 2556 ได้เข้าร่วมหารือ ทวิภาคีกับ Dr. Ma Xingrui เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างไทย และจีน ภายใต้ความร่วมมือองค์การ APSCO ซึ่ง Dr. Ma ได้กล่าว เริ่มการประชุมว่า สาธารณรัฐประชาชนจีนมีความชื่นชมในการเป็น ผูน้ ำ� ด้านเทคโนโลยีการสือ่ สารผ่านดาวเทียมของไทย โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการให้บริการดาวเทียม IPStar และได้กล่าวถึงความส�ำเร็จในการ จัดสร้างสถานีรับสัญญาณดาวเทียม SMMS ซึ่งข้อมูลดาวเทียมที่ได้ รับ ได้ถูกน�ำประยุกต์ใช้งานให้เกิดประโยชน์กับประเทศไทยในหลาก หลายภารกิจ ไม่วา่ จะเป็น การติดตามภัยพิบตั ิ การติดตามสถานการณ์ ไฟป่า ภัยแล้ง และการเพาะปลูกข้าวของไทย ทั้งนี้รัฐบาลจีนเห็นว่า ข้อมูลดาวเทียมส�ำรวจโลกจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมหาศาลกับ ประเทศสมาชิกของ APSCO จึงได้ตัดสินใจแบ่งปันข้อมูลดาวเทียม ส�ำรวจโลกชุดใหม่ของจีน จ�ำนวน 7 ดวง ได้แก่ ZY-1-02C, ZY-3, SJ-9A/B, HJ-1C, GF-1, และ CBERS-03 ให้แก่องค์การ APSCO ท�ำให้ประเทศสมาชิก APSCO สามารถเข้าถึงข้อมูลดาวเทียมของ สาธารณรัฐประชาชนจีนได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

ขอบเขตการรั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มของสถานี รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย ม จุ ฬ าภรณ์

ZY-1-02C รายละเอี ย ดจุ ด ภาพ 2.36 เมตร ( 16 มี . ค. 2555)

เมืองเชียงใหม่ ภาพถ่ า ยดาวเที ย ม ZY-1-02C รายละเอี ย ดจุ ด ภาพ 2.36 เมตร ( 21 ก.พ. 2555)

กรุงเทพฯ


ดาวเทียม FY-3 ด�ำเนินการสร้างโดยสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นดาวเทียม อุตุนิยมวิทยาที่มีวงโคจรเข้าใกล้ขั้วโลก ที่ความสูง 836 กิโลเมตรเหนือพื้นดิน มุม โคจร 98.75 องศา ช่วงเวลาของการโคจรกลับมาแนวเดิมทุกๆ 15 นาที อัตราการ รับส่งข้อมูลอยู่ที่ 42 Mbps มีทั้งหมด 89 band โดยมี sensor ช่วงความยาวคลื่น และแสดงรายละเอียดของแต่ละช่วงคลื่น ดังตารางแสดงผลด้านล่าง

sensor

No. of band

VIRR (Visible and Infrared Radiometer) 10 IRAS (Infrared Atmospheric Sounder) 26 MWTS (Microwave Temperature Sounder) 4 MWHS (Microwave Humidity Sounder) 5 MERSI (Medium Resolution Spectral Imager) 20 SBUS (Solar Backscattering UV Sounder) 12 TOU (Total Ozone Unit) 6 MWRI (Microwave Radiation Imager) 6 SEM (Space Environment Monitor SIM (Solar Irradiation Monitor)

5

A Review of Meteorological S atellite FY-3

SpectralRange

0.43-12.5 µm 0.69-15.5 µm 50-57 GHz 150-183 GHz 0.41-12.5 µm 250-340 nm 308-361 nm 10.65-150 GHz

Infrared Atmospheric Sounder สามารถตรวจจับพืน้ ผิว โลกและบรรยากาศชัน้ บนทีม่ กี ารแผ่พลังงานในย่านอินฟราเรดได้ ไม่วา่ จะเป็น อุณหภูมแิ ละความชืน้ ในชัน้ บรรยากาศ โดยสามารถ น�ำมาสร้างแบบจ�ำลองคาดการณ์ปริมาณน�้ำฝนได้ ติดตามและ คาดการณ์ก่อตัวของพายุ IRAS (Infrared Atmospheric Sounder)

0.2~50 µm

Visible-infrared light มีขนาดภาพ Swath width ที่ 2,800 km. โดยสามารถตรวจจับเมฆ ระบุความสูงของเมฆ ตรวจหาอุณหภูมิผิวน�้ำทะเล อุณหภูมิพื้นผิว ติดตามการเจริญเติบโตของพืช การปกคลุมของหิมะ และสีน�้ำทะเลได้ Visible-infrared light Scanning Radiometer (VIRR) Atmospheric absorption Channel Band range (μm) 1 0.58-0.68 2 0.84-0.89 3 3.55-3.93 VIRR IRAS 4 10.3-11.3 5 11.5-12.5 6 1.55-1.64 7 0.43-0.48 8 0.48-0.53 9 0.53-0.58 10 1.325-1.395 Microwave Temperature Sounder มีขนาดภาพ Swath width ที่ 2,700 km. เป็นการ ประมาณอุณหภูมขิ องชัน้ บรรยากาศในแนวดิง่ นอกจากนีย้ งั สามารถตรวจจับอุณหภูมใิ นชัน้ บรรยากาศ ทุกสภาพอากาศ การพยากรณ์สภาพอากาศแบบเชิงตัวเลข ติดตามภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศของโลก MWTS (Microwave Temperature Sounder Channel Center frequency Main absorbing gases No. (GHz) 1 50.3 Window 2 53.596±0.115 O2 3 54.94 O2 4 57.29 O2

Microwave Humidity Sounder เป็นการตรวจหาไอน�้ำในชั้นบรรยากาศ เนื่องจากในย่านนี้ ไอน�้ำในบรรยากาศจะถูกดูดซับสูงมาก ท�ำให้ทราบถึงการกระจายตัวของความชื้นในแนวดิ่ง

Channel No. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26

Central wavelength (μm) 14.95 14.71 14.49 14.22 13.97 13.84 13.35 12.47 11.11 9.71 7.43 7.33 6.52 4.57 4.57 4.47 4.45 4.19 3.98 3.76 0.69 0.885 0.94 0.94 1.24 1.64

นี่คือรายละเอียดข้อมูลช่วงคลื่นของ sensor VIRR, MWTS, MWHS และIRAS ในฉบับหน้าเรามาน�ำเสนอข้อมูลช่วงคลืน่ ของ sensor แบบ MERSI, SBUS, TOU, MWRI และ SIM ต่อไป

MWHS (Microwave Humidity Sounder) Channel Center frequency No. (GHz) 1 150(V) 2 150(H) 3 183.31±1 4 183.31±3 5 183.31±7

Main absorbing gases Window Window H2O H2O H2O

Forest Fire

FY-3A

Storm

Main absorbing gases CO2 CO2 CO2 CO2 CO2 CO2/H2O CO2/H2O Atmospheric window Atmospheric window O3 H2O H2O H2O N2O N2O CO2/N2O CO2/N2O CO2 Atmospheric window Atmospheric window Atmospheric window Atmospheric window H2O H2O H2O H2O


6

R emote

Meteorology

Sensing in Daily Life

Corner

เคยสงสัยไหมว่าปรากฏการณ์แสงเหนือ-แสงใต้คืออะไร เกิด ขึ้นได้อย่างไร ท�ำไมหลายๆคนต้องดั้นด้นไปดูเหตุการณ์นี้ถึง ขั้วโลก มีปัจจัยอะไรที่ท�ำให้เกิดปรากฎการณ์นี้ขึ้น ท�ำไมต้อง เกิดขึ้นที่ขั้วโลก และท�ำไมประเทศไทยเราจึงมีโอกาสเห็นได้ น้อยมาก วันนี้เรามีค�ำตอบให้ เพราะว่าต่อไปนี้รีโมตเซนซิ่ง จะไม่ใช่เรื่องที่ไกลตัวอีกต่อไป ปรากฏการณ์แสงเหนือ-แสงใต้ หรือปรากฏการณ์ แสงขั้วโลก “Aurora Polaris” มักเกิดขึ้นตามแถบขั้ว โลกเหนือและขั้่วโลกใต้ โดยเมื่อเกิดขึ้นในขั้วโลกเหนือ จะมีชื่อเรียกว่า แสงเหนือ “Aurora Borealis” และ ในขั้วโลกใต้มีชื่อเรียกว่า แสงใต้ “Aurora Australis” ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นเพราะพายุสุริยะที่ถูกปล่อย ออกมาจากดวงอาทิตย์เป็นปัจจัยหลัก โดยมีสนามแม่ เหล็กและชั้นบรรยากาศโลกเป็นปัจจัยเกี่ยวข้อง ซึ่งสิ่ง ส�ำคัญในการเกิดปรากฏการณ์ดังกล่าวคือ “ลมสุริยะ” โดยในสภาวะปกติลมสุริยะจะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องแต่ ก็มคี วามเบาบางเกินกว่าทีจ่ ะฝ่าผ่านสนามแม่เหล็กโลก เข้ามาได้ หรือไม่ก็โดนชั้นบรรยากาศโลกดูดซับไปจน หมด นอกจากลมสุริยะแล้วการเปลี่ยนแปลงของดวง อาทิตย์ที่มีผลต่อการเกิดปรากฏการณ์แสงออโรร่าแล้ว ยังมีเหตุปัจจัยอย่างอื่นร่วมด้วยคือ • Sunspot หรือบริเวณจุดดำ�บนดวงอาทิตย์ บริเวณนี้จะมีความเข้มข้นของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ สูงกว่าบริเวณอื่น • ปรากฏการณ์โซลาร์ แฟลร์ (Solar Flare) เป็นการปะทุของดวงอาทิตย์ซึ่งจะส่งพลังงานจำ�นวน มหาศาลออกมา มักจะเกิดการปะทุในบริเวณ Sunspot อาจเกิดความรุนแรงจนถึงขั้นกลายเป็นพายุ สุริยะและสามารถเดินทางมาถึงโลกได้ภายในระยะ เวลาเพียงไม่กี่สิบนาที • Coronal Mass Ejection (CME) เป็น ปรากฏการณ์ที่ดวงอาทิตย์ปลดปล่อยอนุภาคไฟฟ้า พลังงานงานสูงออกมาด้วยความเร็วสูง

Sunspot

เมื่อเกิดการแผ่กระจายของพายุสุริยะที่ถูกเปล่ง ออกมาจากดวงอาทิตย์ แล้วมีการเคลื่อนที่ผ่านสูญญา กาศมาถึงโลก แต่เมื่อเข้าถึงชั้นบรรยากาศก็ต้องเจอ กับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ห่อหุ้มปกคลุมโลกเราอยู่ การ จะแทรก ผ่านเข้ามาได้นั้นเป็นเรื่องยาก เมื่อลมสุริยะ กระทบเข้ากับแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ปกคลุมโลกเราก็จะ ไม่สามารถทะลุผา่ นเข้ามาได้แต่การปะทะกันกลับท�ำให้ ลมสุรยิ ะซึง่ มีประจุดว้ ยนัน้ โคจรไปตามเส้นแรงแม่เหล็ก ไฟฟ้าโลกและสามารถทะลุผา่ นเข้าชัน้ บรรยากาศโลกได้ ในบริเวณขั้วโลกเหนือและใต้ เมื่ออนุภาคจากลมสุริยะ วิ่งมากระทบกับอนุภาคของชั้นบรรยากาศโลกอนุภาค เหล่านี้ได้รับพลังงาน และกลายเป็นอนุภาคที่ไม่เสถียร และเพื่อต้องการกลับมายังสภาวะสมดุลมันจึงจ�ำเป็นที่ จะปลดปล่อยพลังงานออกมา ท�ำให้เราเห็นว่ามันปลด ปล่อยแสงออกมาส่วนจะเป็นสีอะไรนั้นก็ขึ้นอยู่กับชนิด ของก๊าซทีถ่ กู กระตุน้ เช่น โซเดียมให้แสงสีเหลือง นีออน ให้แสงสีส้ม ไฮโดรเจนให้แสงสีฟ้า ฮีเลียมให้แสงสีม่วง ออกซิเจนในชัน้ บรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ ให้แสงสีแดง ปรากฏการณ์แสงออโรร่า จะเกิดขึ้นเหนือพื้นโลก ประมาณ 100-300 กิโลเมตร ปรากฏการณ์เหล่านี้จะ สามารถสังเกตเห็นได้ในประเทศที่อยู่แถบขั้วโลกเหนือ ใต้ ซึ่งขึ้นอยู่กับบริเวณที่ตั้งว่าจะพบเจอมันได้มากหรือ น้อยเพียงใด พายุสุริยะไม่เพียงแค่เป็นปรากฏการณ์ที่ ท�ำให้เกิดความสวยงามอย่างเดียวแต่ผลกระทบของ มันสามารถท�ำให้การสื่อสาร-ระบบไฟฟ้าของโลกเรา แปรปรวนได้ (ที่มา : วิชาการ.คอม)

Earth’s Magnetic Fields

Aurora Polaris

สถานี รั บ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ศู น ย ์ วิ จั ย เพื่ อ คว า มเป ็ น เลิ ศทางด ้ า น วิ ช าการด ้ า น การจั ด การภั ย พิ บั ติ ชั้ น 9 อ า คา รบุ ญ สม สุ ว ชิ รั ต น ์ คณะวิ ศ วกรรม ศาสต ร์ มห า วิ ท ย า ลั ย เก ษ ตรศา ส ตร ์ ถน น งาม วงศ์ ว าน จ ตุ จั ก ร กทม . 1 0 9 0 0 h t t p : //s m m s . e n g . k u . a c.th/

อุ ป กรณ์ ตั ว รั บ พลั ง งานการแผ่ รั ง สี ข องวั ต ถุ บ น ดาวเทียม (Radiometer) Radiometer เป็ น อุ ป กรณ์ ที่ อ ยู ่ บ นดาวเที ย ม อุตนุ ยิ มวิทยา ซึง่ ใช้วดั /รับพลังงานการแผ่รงั สีของวัตถุ จากพื้นผิวโลกมายังดาวเทียมซึ่งมีช่วงความยาวคลื่น แตกต่างกัน ดาวเที ย มได้ ท� ำ การถ่ า ยภาพพื้ น ผิ ว โลกและชั้ น บรรยากาศในช่ ว งคลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า ย่ า นตามอง เห็น อินฟราเรดและไมโครเวฟ ซึ่งการถ่ายภาพในย่าน ไมโครเวฟนั้นมีข้อเด่นคือ สามารถมองผ่านทะลุเมฆ หมอก ควัน ฝนและหิมะบางๆได้ ดังนั้นเซนเซอร์ช่วง คลื่นรังสีไมโครเวฟสามารถให้ถ่ายภาพได้ในทุกสภาพ โดยไม่จ�ำเป็นต้องเป็นวันที่เป็นท้องฟ้าเปิด โดยไม่เจอ ปัญหาเมฆ หมอกเหมือนช่วงคลื่นตามองเห็นในวันที่มี เมฆและหมอก

เซนเซอร์ ข องดาวเที ย มทั้ ง หมดได้ อ อกแบบมาโดย เฉพาะเพื่ อ ใช้ ใ นการรั บ การสะท้ อ นของวั ต ถุ ใ นช่ ว ง ความยาวคลื่นต่างๆ ที่ผ่านชั้นบรรยากาศเข้ามา จาก กฎของการแผ่รังสี (The laws of radiation) เพื่อ วัดพลังงานรังสีและแปลรายละเอียดที่แสดงบนภาพ จากดาวเทียม นักวิทยาศาสตร์สามารถวัดความสูง, อุณหภูมิ, ปริมาณความชื้น (และอื่นๆ) ได้ใกล้เคียงกับ ทุกลักษณะของชั้นบรรยากาศโลกทั้ง atmosphere, hydrosphere, lithosphere และ biosphere


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.