CSRS NEWS Vol.4

Page 1

P1

/ แนวทางการบริหารจัดการน�้ำ เพื่อรับมือภัยแล้งปี พ.ศ. 2556

P2/

Activities

การสัมมนาการด�ำเนินโครงการภายใต้ องค์กรความร่วมมือด้านอวกาศแห่ง เอเชียแปซิฟิก (APSCO)

/ Satellite Application

/ Remote Sensing in daily life.

P3

P4

การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ในการติ ด ตามสถานการณ์ ก ารบริ ห าร จัดการทรัพยากรน�้ำ

ปรากฏการณ์ฝนดาวตก

/

SMAC Update

/

Meteorology Corner

ประเภทของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา

CSRSNews ก า ร แ ส ด ง ภ า พ ตั ว อ ย ่ า ง ก ่ อ น ก า ร ดาวน์โหลด

ฉบับที่ 3 ประจ�ำวันที่ 1 มีนาคม 2556

ข่ า วสถานี รั บ สั ญ ญาณ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ http://smms.eng.ku.ac.th/

จากการประชุมแนวทางการบริหารจัดการ น�้ำเพื่อรับมือภัยแล้งปี พ.ศ. 2556 โดยมีนายก รั ฐ มนตรี แ ละหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งเข้ า ร่ ว ม ประชุ ม และวางแผนนโยบายในการด� ำ เนิ น งานเพื่ อ การบริ ห ารจั ด การน�้ ำ เมื่ อ วั น ที่ 15 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ได้มีนโยบายในการแก้ไข ปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้น ซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่ ว นแรกเป็ น มาตรการเร่ ง ด่ ว นระยะสั้ น ได้แก่ การแจกจ่ายน�้ำ การขุดเจาะบ่อบาดาล การขุดลอก และการส่งเสริมอาชีพจ้างงาน ส่วนที่สองเป็นมาตรการระยะยาว คือ การ แก้ไขปัญหาอย่างทั่วถึงและถาวร

ส�ำหรับการประชุมครัง้ นีไ้ ด้กำ� หนดมาตรการ ช่วยเหลือระยะที่ 2 ส�ำหรับนโยบายการบริหาร จั ด การน�้ ำ เพื่ อ รั บ มื อ ภั ย แล้ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยให้ ทุกหน่วยงาน ถือปฏิบัติ 4 ข้อ ประกอบด้วย 1. บริหารจัดการน�ำ้ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด เน้นให้ ความส�ำคัญกับการอุปโภคบริโภคเป็นล�ำดับแรก 2. ประชาชนต้ อ งเข้ า ถึ ง น�้ ำ อุ ป โภคบริ โ ภค อย่างทั่วถึง ทุกหน่วยงานต้องช่วยเหลือจัดหา น�้ ำ ทั้ ง การจั ด ส่ ง น�้ ำ และการเจาะบ่ อ บาดาล 3 . ร ะ ดั บ ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ ห ้ ยึ ด แ น ว ท า ง การบริ ห ารจั ด การภั ย พิ บั ติ แ บบ 2P2R 4. ในพื้นที่ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้รับ

ผิดชอบหลักการสั่งการให้ยึดหลัก Single Command เพื่อให้เกิดความชัดเจนและมี ประสิทธิภาพรวมถึงจัดตั้งศูนย์ส่วนหน้าควบคู่ กันไปด้วย ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้นโยบายหรือแนวทางการบริหาร จัดการน�ำ้ ตามทีห่ น่วยงานต่างๆ ร่วมกันจัดตัง้ ขึน้ มาให้มปี ระสิทธิภาพและแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ได้ นั้น ประชาชนในพื้นที่ต้องให้ความร่วมมือและ ปฏิบตั ติ ามแนวทางการบริหารจัดการน�ำ้ ทีว่ างไว้ เพิื่อการแก้ไขปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้นและรองรับ ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นจากน�้ำในอนาคตต่อไป


2

น�้ ำ ในเขื่ อ นล� ำ ปาวเหลื อ น้ อ ยที่ สุ ด ในรอบ 30 ปี มี ป ริ ม าณน�้ ำ คงเหลื อ เพี ย ง 282 ล้ า น ลบ.ม. คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 14 ของความจุ อ ่ า ง

ภาพถ่ า ยดาวเที ย ม SMMS (15 ก.พ. 2556)

เขื่ อ นล� ำ ปาว

A ctivities

Training and Seminars

การจัดสัมมนา

การด�ำเนินโครงการภายใต้องค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (APSCO)

Near Red Green

ข้ อ มู ล ปริ ม าณน�้ ำ เขื่ อ นล� ำ ปาว ( 15 ก.พ. 2556)

ปัญหาวิกฤตขาดแคลนน�้ำด้วยเพราะสภาพที่ แห้งแล้งที่ขณะนี้ยิ่งทวีความรุนแรงหนักขึ้น น�้ำใน เขื่อนล�ำปาวยังลดระดับน้อยลงอย่างต่อเนื่อง สร้าง ความวิตกกังวลให้กับประชาชนชาว จ.กาฬสินธุ์ อย่างมาก โดยอ่างเก็บน�้ำเขื่อนล�ำปาวมีสภาพที่ แห้งมากกว่าทุกๆ ปีที่ผ่านมา และยังไม่มีฝนหลง ฤดู เ ข้ า มาช่ ว ยแก้ ส ถานการณ์ เ หมื อ นเช่ น ทุ ก ปี ที่ ผ่านมา สถานการณ์น�้ำในเขื่อนล�ำปาวในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 มีปริมาณน�้ำในอ่างเก็บทั้งหมด 282 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือร้อยละ 14 ของ ความจุอ่าง แต่ระดับน�้ำใช้การได้จริงมีเพียงร้อย ละ 9 หรือประมาณ 186 ล้านลูกบาศก์เมตร (ที่มา: www.thaiwater.net)

รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ หัวหน้าสถานีรบั สัญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ์ ให้การต้อนรับคณะผูเ้ ยีย่ มชมจาก ปตท. เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2556 โดยมีการหารือในเรื่องความ ร่วมมือด้านงานวิจัยและการน�ำภาพถ่ายดาวเทียม SMMS เพื่อการประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆของปตท.ในอนาคต

เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 สถานีรับสัญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ์ ได้จัดการสัมมนา เรื่อง การด�ำเนิน โครงการภายใต้องค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่ง เอเชียแปซิฟิก (APSCO) ณ ห้องออดิทอเรียม โรงแรม เซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ โดยมี นายไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์ ปลัดกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นประธาน นาง ทรงพร โกมลสุรเดช ผู้อ�ำนวยการส�ำนักกิจการอวกาศ แห่งชาติ รศ.สุรศักดิ์ สงวนพงษ์ รองคณบดีฝา่ ยเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รศ.ดร.ธัญญะ เกียรติวฒ ั น์ คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เข้าร่วมทัง้ หมด

100 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการน�ำเสนอและสรุป ผลการด�ำเนินงานของโครงการภายใต้ความร่วมมือกับ APSCO ที่ผ่านมา ได้แก่ โครงการ Development and Demonstation Applications of Compatible GNSS Terminal for Emergency Management and Disaster Rescue Project โครงการประยุกต์ ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS เพื่อการประเมิน ช่วงอายุและผลผลิตข้าว (Data Sharing Service Platform and Its Applications) และโครงการ Research on Atmospheric Effect on Ka-Band Rain Attenuation Modeling และมีการบรรยายจาก ผู้เชี่ยวชาญจาก บมจ.ไทยคมอีกด้วย

เมือ่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2556 ทีผ่ า่ นมา ดร.พูนพัฒน์ ลีสมบัติไพบูลย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญ การ จากกระทรวงพลังงาน ได้เข้าเยี่ยมชมสถานีรับ สัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ โดยมี รศ.ดร.มงคล รักษา พัชรวงศ์ หัวหน้าสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ ให้การต้อนรับ และร่วมถ่ายภาพเป็นทีร่ ะลึก ณ ดาดฟ้า ชั้น 10 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ผ่านมา ดร.เชียรช่วง กัลยาณมิตร ได้เข้าเยีย่ มชมสถานีรบั สัญญาณดาวเทียมจุฬา ภรณ์ โดยมี รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ ให้การต้อนรับ โดยในการนี้มีการน�ำเสนอผลการด�ำเนินงานของสถานีรับ สัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ทผี่ า่ นมา และร่วมถ่ายภาพเป็น ที่ระลึก ณ ดาดฟ้าชั้น 10 อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


3 การติดตามสถานการณ์นำ�้ ถือเป็นอีกหนึง่ ภารกิจส�ำคัญของทางสถานี รับสัญญาณจุฬากรณ์ ไม่ว่าจะเป็นการติดตามสถานการณ์น�้ำท่วม ภัยแล้ง รวมถึงสถานการณ์การใช้น�้ำเพื่อการเพาะปลูกอื่นๆ ทั้งนี้ เป็นการแจ้งเตือนและการหาสาเหตุของภัยพิบัติต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับ ประชาชนชาวไทยทีไ่ ด้รบั ความเดือดร้อน เพือ่ หาหนทางแก้ไขต่อไป

S atellite

Applications

SMAC UPDATE

เขื่อนแควน้อยบ�ำรุงแดน

http://smms.eng.ku.ac.th/ หลังจากฉบับทีแ่ ล้วได้แนะน�ำส่วนของการค้นหา พื้นที่ก่อนการดาวน์โลดข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ไปเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการแสดงข้อมูล ภาพถ่ายดาวเทียมก่อนการดาวน์โหลด ทั้งนี้เพื่อ ความถูกต้องของภาพกับพื้นที่ที่เราต้องการ รวม ทั้ ง เป็ นการตรวจสอบคุ ณ ภาพของภาพก่ อ นการ ดาวน์โหลด เพื่อให้ตรงกับตามความต้องการ การแสดงภาพตั ว อย่ า งก่ อ นดาวโหลด

เมือ่ ท�ำการระบุชว่ งเวลา ชนิดภาพถ่ายดาวเทียม รวมทั้ ง การก� ำ หนดพื้ น ที่ ห รื อ วาดต� ำ แหน่ ง พื้ น ที่ ต้องการแล้ว ระบบจะท�ำสืบค้นภาพทั้งหมดตาม เงื่อนไขที่ผู้ใช้งานระบุไว้

การประยุ ก ต์ ใ ช้ ง านข้ อ มู ล ดาวเที ย ม SMMS ในการติ ด ตาม สถานการณ์ ก ารบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรน�้ ำ พื้ น ที่ บึ ง บอระเพ็ ด และพื้ น ที่ เ พาะปลู ก ในเขตชลประทานของเขื่ อ นแควน้ อ ย การประยุกต์ใช้ขอ้ มูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ใน การติดตามสถานการณ์การบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำ ในพื้นที่บึงบอระเพ็ด จ.พิษณุโลก ปี 2555 และพื้นที่ เพาะปลูกในเขตชลประทานของเขื่อนแควน้อยในปี พ.ศ. 2552-2554 จากการที่ดาวเทียม SMMS มีความ สามารถในการถ่ายภาพและประมวลผลข้อมูลภาพถ่าย ดาวเทียมทุกวัน ท�ำใหัมคี วามเหมาะสมในการน�ำข้อมูล ภาพถ่ายมาใช้ในการติดตามสถานการณ์ต่างๆ ดังเช่นในกรณีของการติดตามในพืน้ ทีบ่ งึ บอระเพ็ด จ.พิษณุโลก นั้น จากสถานการณ์น�้ำท่วมครั้งใหญ่ในปี 2554 รัฐบาลได้มีนโยบายในการขุดลอกบึงบอระเพ็ด เพื่อเพิ่มพื้นที่รับน�้ำ ลดปัญหาน�้ำท่วมที่อาจจะเกิดขึ้น แต่ระหว่างที่มีการขุดลอกบึงนั้นมีการถมดินเพื่อสร้าง ทางเดินให้รถและเครือ่ งยนต์สามารถเข้าไปขุดลอกพืน้ ที่ กลางบึงได้ แต่เนือ่ งจากการถมดินนัน้ ได้ไปขวางทางเดิน ของน�ำ้ ทีไ่ หลเข้าสูบ่ งึ บอระเพ็ด ท�ำให้นำ�้ ในบึงบอระเพ็ด เกิดการตืน้ เขินในเวลาต่อมาดังแสดงในแผนที่ ซึง่ แสดง ภาพในช่วงเวลาก่อนที่จะมีการขุดลอกบึง

ระหว่างที่มีการขุดลอกบึง และหลังจากที่มีการขุดลอก บึง ในส่ ว นการติ ด ตามพื้ น ที่ เ พาะปลู ก ในเขต ชลประทานของเขื่อนแควน้อย จากการติดตามพื้นที่ เพาะปลูกในเขตชลประทานในช่วงฤดูแล้งของแต่ละปี หลังจากมีการสร้างเขื่อนเสร็จดังแผนที่แสดงผล ในปี แรกนั้น (วันที่ 23 เมษายน 2552) จะพบว่ามีการท�ำ เกษตรกรรมน้อยมากในพื้นที่เขตชลประทาน อ�ำเภอ พรหมพิราม หลังจากการสร้างเขือ่ นเสร็จในปีที่ 2 (วันที่ 3 มีนาคม 2553) ปรากฎว่าพื้นที่ชลประทาน ในอ�ำเภอ พรหมพิรามมีการท�ำเกษตรกรรมเพิ่มมากขึ้นอย่างเห็น ได้ชัดจากภาพถ่ายดาวเทียมที่มีการผสมสีแบบภาพสี ผสมเท็จ ซึ่งมีพื้นที่สีแดงหรือพื้นที่ที่เป็นพืชเพิ่มมาก ขึ้น ส่วนในปีที่ 3 หลังจากการสร้างเขื่อนเสร็จ (วันที่ 13 มีนาคม 2554) พบว่าพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมมีการเพิม่ ขึน้ เป็นอย่างมากครอบคลุมพืน้ ทีเ่ กือบทัง้ หมด แสดงถึงการ บริหารจัดการทรัพยากรน�ำ้ ในฤดูแล้งหลังจากการสร้าง เขื่อนแควน้อยได้เป็นอย่างดี

1 คือค�ำสั่ง show footprint เป็นการแสดง ขอบเขตการครอบคลุมพื้นที่ของแต่ละภาพ 2 คือค�ำสั่ง show browse เป็นการแสดงภาพ ตัวอย่างของแต่ละภาพ 3 คือค�ำสั่ง show details เป็นการแสดงราย ละเอียดข้อมูลของแต่ละภาพ 4 คือค�ำสั่ง download เป็นการดาวน์โหลด ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ดังนัน้ ก่อนการดาวน์โหลดควรตรวจสอบข้อมูล ภาพโดยการเลือกค�ำสัง่ show browse เพือ่ เป็นการ แสดงภาพตัวอย่างก่อนการดาวน์โหลด ทั้งนี้เพื่อให้ ได้ภาพทีม่ คี ุณภาพตรงและครอบคลุมพืน้ ที่ตรงตาม ความต้องการมากที่สุด


4

R emote

M eteorology

Sensing In Daily life

Corner

เราจะมาท�ำความรู้จักกับฝนดาวตก คืออะไร เกิด ขึ้ น ได้ อ ย่ า งไร มี ค วามแตกต่ า งกั บ การเกิ ด อุ ก กาบาต หรื อ ไม่ ชื่ อ เรี ย กของการเกิ ด ฝนดาวตกแต่ ล ะครั้ ง มาจากอะไร ความแตกต่ า งกั น ของการเกิ ด ฝนดาวตก ในช่ ว งใกล้ รุ ่ ง และช่ ว งหั ว ค�่ ำ เป็ น ยั ง ไง วั น นี้ เ รามี ค�ำตอบให้กับคุณ เพราะว่าต่อไปนี้รีโมตเซนซิ่งจะไม่ใช่เรื่อง ที่ไกลตัวอีกต่อไป ปรากฏการณ์ “ฝนดาวตก” เป็นปรากฏการณ์ที่ มีความคล้ายคลึงกับอุกกาบาตชนโลก ที่ผู้คนก�ำลังให้ ความสนใจจากเหตุการณ์อกุ กาบาตตกทีป่ ระเทศรัสเซีย ในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา จากปกติเรามักจะสังเกตเห็นการเกิดดาวตกเป็น ประจ�ำอยูแ่ ล้ว ซึง่ บางครัง้ อาจจะมีมากมีนอ้ ยไม่แน่นอน ดาวตกเหล่ า นั้ น คื อ เศษฝุ ่ น หรื อ สะเก็ ด ดาวชิ้ น เล็ ก ๆ ขนาดเท่าเม็ดทราย เมื่อเคลื่อนที่หรือล่องลอยเข้ามา แรงดึงดูดของโลก ก็จะถูกดูดเข้ามาในชั้นบรรยากาศ ด้วยความเร็วสูง เสียดสีและลุกไหม้หมดไป เป็นแสง เพียงวาบเดียว ทีร่ ะดับความสูงหลายร้อยกิโลเมตรจาก พื้นโลก ซึ่งเรียกว่า ดาวตก หรือ ผีพุ่งใต้ แต่หากเศษ ฝุ่นเหล่านั้นมีขนาดใหญ่มาก และเผาไหม้ไม่หมดในชั้น บรรยากาศ ก็จะตกลงมาถึงพื้นโลกได้ เราจะเรียกว่า อุกกาบาต ฝนดาวตกจะแตกต่างจากดาวตกทั่วไป คือ เป็นดาวตกทีม่ ปี ริมาณการตกมากกว่าหรือถีก่ ว่าดาวตก ปกติ โดยมีทิศทางเหมือนมาจากจุดๆหนึ่งบนท้องฟ้า เหมือนกัน เรียกว่าจุดก�ำเนิด (Radiant) เมื่อจุดก�ำเนิด นั้นตรงหรือใกล้เคียงกับกลุ่มดาวอะไร ก็จะเรียกชื่อฝน ดาวตกตามกลุ่มดาวนั้นๆ เช่น ฝนดาวตกเอต้าอะควอ ลิด (ดาวเอต้าคนแบกหม้อน�้ำ)

ฝนดาวตกเกิ ด ขึ้ น จากการที่ ว งโคจรของโลกได้ เคลื่อนที่ผ่านเข้าไปในแนวเส้นทางที่ดาวหางเคยผ่าน มาก่อนซึ่งจะทิ้งเศษซากก้อนหินและฝุ่นไว้มากมาย ในอวกาศ แล้ ว โลกก็ ดู ด ฝุ ่ น ผงเหล่ า นั้ น ตกลงมาใน ชั้นบรรยากาศของโลก ซึ่งจะท�ำให้เกิดดาวตกมากเป็น พิเศษ ดังนั้นฝนดาวตกแต่ละแบบจะมีแหล่งก�ำเนิด มาจากดาวหางที่ต่างดวงกันจึงประกอบด้วยสสารที่ ต่างกันไป นอกจากนี้ ช ่ ว งเวลาการเกิ ด ฝนดาวตกก็ มี ส ่ ว น ส� ำ คั ญ ในการก� ำ หนดลั ก ษณะของฝนดาวตกด้ ว ย เช่ น กั น โดยปกติ แ ล้ ว ดาวตกที่ ผ ่ า นเข้ า มาในชั้ น บรรยากาศของโลกนั้นจะมีความเร็วราว 71 กิโลเมตร ต่อวินาที ดังนัน้ ฝนดาวตกทีม่ ชี ว่ งเวลาเกิดก่อนเทีย่ งคืน หรือช่วงหัวค�่ำ จะเป็นช่วงที่ดาวตกนั้นวิ่งสวนทางการ หมุนรอบตัวเองของโลก เราจะเห็นดาวตกมีความเร็ว สูง แต่ถ้าฝนดาวตกเกิดหลังเที่ยงคืนไปแล้วหรือใกล้ รุ่ง จะเป็นช่วงที่ดาวตกวิ่งตามทิศทางการหมุนของโลก ความเร็วสัมผัสที่เกิดขึ้นจะต�่ำ เราจึงเห็นดาวตกช่วง ใกล้รุ่งนั้นวิ่งค่อนข้างช้า (ที่มา: ดาราศาสตร์แฟนคลับ)

สถานี รั บ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ศู น ย ์ วิ จั ย เพื่ อ คว า มเป ็ น เลิ ศทางด ้ า น วิ ช าการด ้ า น การจั ด การภั ย พิ บั ติ ชั้ น 9 อ า คา รบุ ญ สม สุ ว ชิ รั ต น ์ คณะวิ ศ วกรรม ศาสต ร์ มห า วิ ท ย า ลั ย เก ษ ตรศา ส ตร ์ 5 0 ถน น งาม วงศ์ ว าน จ ตุ จั ก ร กทม . 1 0 9 0 0 h t t p : //s m m s . e n g . k u . a c.th/

ประเภทของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา แบ่งออกเป็น 2 ชนิดตามลักษณะวงโคจร ได้แก่ 1. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาชนิดโคจรผ่านขั้วโลก (Polar Operational Environmental Satellites) ดาวเทียมชนิดนี้มีแนวการโคจรผ่านใกล้ขั้วโลกเหนือ และขั้ ว โลกใต้ เคลื่ อ นที่ ไ ปรอบโลกในแนวเหนื อ ใต้ ระยะความสูงของการโคจรรอบโลกจะน้อยกว่า ดาวเทียมแบบอยู่กับที่ โดยจะอยู่สูงจากพื้นผิวโลก ประมาณ 850 กิโลเมตร ได้แก่ ดาวเทียม NOAA, METEOR และ FY-1 2. ดาวเทียมอุตนุ ยิ มวิทยาค้างฟ้า (Geostationary Operational Environmental Satellites) เป็น ดาวเทียมที่มีต�ำแหน่งอยู่กับที่ตรงต�ำแหน่งที่ก�ำหนด โดยสูงประมาณ 36,000 กิโลเมตรเหนือเส้นศูนย์สูตร โคจรรอบโลกด้วยความเร็วเดียวกับโลกหมุนรอบตัว เอง ได้แก่ ดาวเทียม GOES-W, GOES-E, METEOSAT, GMS, INSAT และ FY-2


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.