P1
/
ครบรอบ 2 ปีสถานีฯ
หน้าที่ ภารกิจ และผลการด�ำเนินงานของ สถานีฯในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา
P2-P4/
Activities
กิจกรรมการฝึกอบรมสัมมนา การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม อุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ DVB-S เพื่อ ปฏิบัติการฝนหลวง การประชุมสัมมนาโครงการ APSCO
/ Satellite Application
/ Remote Sensing in daily life.
P5
P6
การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียม SMMS เพือ่ การวิเคราะห์หาต�ำแหน่งการเกิดและ ติดตามสถานการณ์ไฟป่า
ภาพสีผสมจริงและภาพสีผสมเท็จ /
Meteorology Corner
CSRSNews การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม อุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ DVB-S
ฉบับที่ 2 ประจ�ำวันที่ 1 มกราคม 2556
“
ภารกิจหลักของสถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ 3 ด้าน ได้แก่ ภารกิจ ในการเผยแพร่ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ภารกิจในการติดตามสถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและภัยพิบัติ และภารกิจในการให้บริการวิชาการ ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ
”
2nd anniversary
CSRS
ข่ า วสถานี รั บ สั ญ ญาณ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ http://smms.eng.ku.ac.th/
เนือ่ งในโอกาสครบรอบ 2 ปี สถานีรบั สัญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ์ที่เปิดท�ำการ จากจุดเริ่มต้น เมื่อเดือนธันวาคม 2553 ที่มีการลงนามระหว่าง China Centre for Resource Satellite Data and Application (CRESDA) กับมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ร่วมลงนามในการสร้างสถานี รับสัญญาณดาวเทียมภาคพื้นดินและมีการติด ตั้งจานรับสัญญาณดาวเทียม ณ อาคารบุญสม สุวชิรัตน์ ดังนั้นในเดือนธันวาคม 2555 จึงถือ เป็นวันที่สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ เปิดท�ำการครบรอบ 2 ปี พอดีนั่นเอง
ตลอด 2 ปี ที่ผ่านมา สถานีฯได้ปฏิบัติภารกิจ เสมือนเป็นคลังข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมและ ผลิตภัณฑ์จากการประมวลผลในด้านต่างๆ ไม่ ว่าจะเป็น ด้าน การติดตามสถานการณ์น�้ำ การ ติดตามสถานการณ์ภัยพิบัติ เช่น ดินโคลนถล่ม อุทกภัย ภัยแล้ง ไฟป่า เป็นต้น ผลการด�ำเนินงานตลอดระยะเวลา 2 ปีที่ สถานีฯเปิดท�ำการ สามารถสรุปได้ดังนี้ ในด้าน การเผยแพร่ขอ้ มูลดาวเทียม จากข้อมูลภาพถ่าย ดาวเทียม SMMS ในคลังข้อมูลของสถานีฯนั้นมี ถึง 91,117 ภาพ โดยแบ่งเป็น ภาพ CCD 33,122 ภาพ ภาพ HSI 54,221 ภาพ
ภาพ IRS 3,774 ภาพ (ข้อมูล ณ วันที่ 12 ธ.ค. 2555) โดยได้ท�ำการเผยแพร่ >> อ่านต่อหน้าถัดไป
จ�านวนภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ในคลังข้อมูลของสถานีฯ
14,173
18,949
24,527
29,694
ปี 2554
1,724 2,050 CCD CCD
HIS HSI
IRS IRS
ปี 2555
2 >> ต่อจากหน้าแรก
ให้หน่วยงานภาครัฐ มหาวิทยาลัย หน่วยงาน รัฐวิสาหกิจและบุคคลทัว่ ไป ส�ำหรับการน�ำไปใช้งาน ทัง้ สิน้ 58 หน่วยงาน แบ่งออกเป็น ภาครัฐ จ�ำนวน 23 หน่วยงาน มหาวิทยาลัย จ�ำนวน 31 หน่วยงานและ ภาครัฐวิสาหกิจและบุคคลทั่วไป จ�ำนวน 3 องค์กร จ�ำนวนข้อมูลภาพที่ให้บริการแก่หน่วยงานต่างๆ น�ำไปใช้ประโยชน์ในด้านการศึกษาและงานวิจัย ทั้งสิ้น 4,233 ภาพ จ�ำนวนสมาชิกทั้งหมด 899 คน ในด้านการติดตามสถานการณ์ด้านทรัพยากร และภัยพิบัติ ได้มีการวิจัยและศึกษาในเรื่องของ ภั ย พิ บั ติ ตลอดจนการจั ด ท� ำ แผนที่ เ พื่ อ เผยแพร่ สู่สาธารณชน ผู้ที่สนใจ ไม่ว่าจะเป็นการติดตาม สถานการณ์มหาอุทกภัยปี 2554 ซึ่งทางสถานีฯได้ จัดท�ำแผนทีร่ ายงานสถานการณ์นำ�้ ท่วมให้แก่ ศปภ. อุทกภัยในปี 2555 ทางสถานีฯก็ได้มีการศึกษาวิจัย ร่วมกับส�ำนักเศรษฐกิจการเกษตรในการประเมิน พื้นที่นาที่ได้รับความเสียหายจากน�้ำท่วมครั้งนี้ด้วย นอกจากนั้ น ยั ง มี ก ารติ ด ตามสถานการณ์ ภั ย แล้ ง ปี 2555 ที่ท�ำการศึกษาร่วมกับฝนหลวงภาคเหนือ ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกและเพชรบูรณ์และยังมี การจัดท�ำแผนที่การติดตามสถานการณ์ไฟป่า การ กัดเซาะชายฝั่ง การเปลี่ยนแปลงทางพื้นที่ การ บุกรุกป่า เป็นต้น ด้านการให้บริการวิชาการร่วมกับหน่วยงาน อื่นๆ ทางสถานีฯได้มีการจัดการสัมมนา อบรม ตลอดจนอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับหน่วยงานต่างๆ ในส่วนของการประยุกต์ใช้ขอ้ มูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ผ่านระบบ DVB-S ให้กับหลายหน่วยงาน
A ctivities
Training and Seminars
การฝึ ก อบรมสั ม มนา “การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และข้อมูลภาพถ่าย ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ DVB-S เพื่อปฏิบัติการฝนหลวงภาคเหนือ”
เมื่อวันที่ 26-28 พฤศจิกายน และวันที่ 17 ธันวาคม 2555 สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์ได้เปิดการ อบรมสัมมนาเรื่อง “การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่าย ดาวเที ย ม SMMS และข้ อ มู ล ภาพถ่ า ยดาวเที ย ม อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาผ่ า นระบบ DVB-S เพื่ อ ปฏิ บั ติ ก าร ฝนหลวงภาคเหนือ” ณ ห้อง 9901 สถานีรับสัญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ในการอบรมสัมมนาครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์ เพื่อการประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS และข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาผ่านระบบ
DVB-S ในการประเมิ น พื้ น ที่ แ ห้ ง แล้ ง ตลอดจน การฝึ ก อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร (workshop) ฝึ ก การ ใช้ ง านโปรแกรมประยุ ก ต์ ใ นการวิ เ คราะห์ พื้ น ที่ ภั ย แล้งจากภาพถ่ายดาวเทียมทั้ง 2 รวมไปถึงการฝึก อบรมและปฎิบัติการ ท�ำแผนที่เพื่อแสดงพื้นที่เสี่ยงภัย แล้ง ด้วยโปรแกรมทางด้านระบบภูมิสารสนเทศ ทั้งนี้มี ผูเ้ ข้าร่วมอบรมจากฝนหลวงภาคเหนือทัง้ สิน้ 10 คน ซึง่ จากการทดลองปฏิบัติการของผู้เข้าร่วมอบรมสามารถ วิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งและแสดงผลทางแผนที่ ได้ตามเป้าประสงค์ >> อ่านต่อหน้า 3
สถิติกยารให้ ริการข้ อมูลและ ภาพถ่2555 ายดาวเทียม ปี พ. สถิติการให้บริการข้อมูลภาพถ่ายดาวเที ม ปี บพ.ศ. 2554 ภาพ CCD
การให้บริการข้อมูลดาวเทียม SMMS
ภาพ HSI
2554 2555 2554
2555
IRS ปีภาพ 2554
2554 2555
นวนหน่วยงาน ปีจ�า2555 2554
2555
หน่วยงานภาครัฐ
222
519
58
6
-
6
12
23
มหาวิทยาลัย
56
392
14
21
-
2
12
31
รัฐวิสาหกิจและบุคคลทั่วไป
-
37
-
3
-
-
1,695
910
186
24
-
72
1
1
1,973 1,858
258
54
0
80
25
58
สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์
รวมทั้งหมด
280
531
หน่วยงานภาครัฐ
หน่วยงานภาครั ฐ
415 70 มหาวิทยาลัย
มหาวิทย าลัย
ปี 2554 1,881
จ�ำนวนภาพ
3
280
531 0
ปี 2555
1,006 415
40
รัฐวิสาหกิจ/บุคคลทั่วไป
หน่วยงานภาครั ฐ จ /บุคคลทั� วไป รั ฐวิสาหกิ
70
0
40
มหาวิ ทรยั บาลั ยญาณดาวเทีย มจุ ฬาภรณ์ รั ฐวิสาหกิจ /บุคคลทั� วไป สถานี สัญ
สถานีรับสัญญาณดาวเทียมจุฬาภรณ์
3 A ctivities >> ต่อจากหน้า 2
Training and Seminars
การประชุ ม สั ม มนาโครงการ “Geostationary Telecommunication Satellite and Its Application Project ภายใต้ความร่วมมือองค์การ APSCO”
เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2555 สถานีรับสัญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ์ได้จัดการประชุมสัมมนา โครงการ “APSCO Geostationary Telecommunication Satellite and Its Application Project” ณ ห้อง 9901 สถานี รั บ สั ญ ญาณดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีผู้ เข้าร่วมจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 17 คน ทั้งนี้ มีการบรรยายสรุปโครงการภายใต้ความร่วมมือองค์การ APSCO และการด�ำเนินงานโครงการ APSCO
Geostationary Telecommunication Satellite and Its Application Project ที่ ผ ่ า นมา โดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ หัวหน้าคณะที่ปรึกษา และ ดร.พั น ศั ก ดิ์ เที ย นวิ บู ล ย์ หั ว หน้ า คณะผู ้ วิ จั ย ตลอดจนการระดมความคิดเห็นต่อโครงการ APSCO Geostationary Telecommunication Satellite and Its Application Project ของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร บริษัท กสท. โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน)
คณะเทคโนโลยี ส ารสนเทศ สจล. กรมป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย ศู น ย์ วิ จั ย ดาวเที ย มของ มหาวิทยาลัยมหานคร กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและ อวกาศกลาโหม สถาบันป้องกันประเทศฯ บริษัทไทย คม จ�ำกัด (มหาชน) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่ง ชาติ บมจ.ทีโอที ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ และกองการสือ่ สารจากส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงกลาโหม
การประชุ ม ระดมความคิ ด โครงการ ASIA-PACIFIC GROUND BASE OPTICAL SATELLITE OBSERVATION SYSTEM (APOSOS) ภายใต้ อ นุ สั ญ ญาว่ า ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ด้ า นอวกาศแห่ ง เอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก (APSCO) เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2555 สถานีรับสัญญาณ ดาวเทียมจุฬาภรณ์ ได้มีการจัดการประชุมเพื่อแสดง ความคิดเห็น โครงการความร่วมมือ Asia-Pacific Ground Based Optical Satellite Observation System (APOSOS) ภายใต้ อ งค์ ก รความร่ ว มมื อ อวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก ณ ห้องประชุมสถานีรับ สั ญ ญาณดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ชั้ น 9 อาคารบุ ญ สม สุ ว ชิ รั ต น์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ โดยมีการบรรยายสรุปโครงการภายใต้ ความร่วมมือองค์การ APSCO และการด� ำเนินงาน โครงการที่ผ่านมา โดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชวงศ์ หัวหน้าคณะที่ปรึกษา โดยมีผู้เข้าร่วมจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 9 คน จากกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร หอดูดาวเกิดแก้ว หอดูดาว สิรินธร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศึ ก ษารั ง สิ ต ศู น ย์ วิ จั ย ดาวเที ย ม มหาวิ ท ยาลั ย มหานคร และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สจล.
4
เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2555 สถานีรับสัญญาณดาวเทียม จุฬาภรณ์ในฐานะที่ปรึกษากระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สารได้จดั งานสัมมนาครัง้ ที่ 1 ภายใต้โครงการศึกษาวิจยั ความร่วม มือภายใต้อนุสญ ั ญาว่าด้วยความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟกิ (APSCO) “GNSS Technology for Emergency Management and Disaster Rescue” โดยมี นายไชยยันต์ พึ่งเกียรติไพโรจน์ ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นประธาน นาวาอากาศเอกคู่ชาติ นุชชะ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง เทคโนโลยี ส ารสนเทศ นางทรงพร โกมลสุ ร เดช ผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักกิจการอวกาศแห่งชาติ รศ.วุฒิชัย กปิลกาญจน์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ รศ.ดร.ธัญญะ เกียรติวัฒน์ คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าร่วมงาน ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 6 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชัน เซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ
การจั ด สั ม มนาครั้ ง ที่ 1 ภายใต้ โ ครงการศึ ก ษาวิ จั ย ความร่ ว มมื อ ภายใต้ อ นุ สั ญ ญาว่ า ด้ ว ยความ ร่ ว มมื อ ด้ า นอวกาศแห่ ง เอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก (APSCO) “GNSS Technology For Emergency Management and Disaster Resue” โดยมีวตั ถุประสงค์การจัดงานเพือ่ ประชาสัมพันธ์ โครงการความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก น�ำเสนอเทคโนโลยีด้านการระบุพิกัดด้วยดาวเทียม และการประยุ ก ต์ ใ ช้ ง านในด้ า นการบริ ห ารการ จัดการภัยพิบัติให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และน�ำ เสนอรายละเอี ย ดโครงการ Development and Demonstration Applications of Compatible GNSS Terminals for Emergency Management and Disaster Rescue (EMDR) ภายใต้ความร่วมมือ องค์การ APSCO ซึ่งประเทศไทยได้เข้าร่วมและด�ำเนิน การรวบรวมข้อคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในรูป แบบของการเสวนา เพื่อการจัดท�ำแผนการด�ำเนินงาน ของไทยภายใต้โครงการดังกล่าว มี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มงานจากหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ทั้ ง หมด 105 คน โดยมี วิ ท ยากรผู ้ บ รรยายได้ แ ก่ ศ.ดร.เฉลิมชนม์ สถิระพจน์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรม ส�ำรวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Mr. Chathura H. Wickramasinghe Research Associate, GeoInformatics Center จาก AIT และ ดร. พันศักดิ์ เทียนวิบลู ย์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บรรยายในหั ว ข้ อ เกี่ ย วกั บ เทคโนโลยี ด ้ า นการระบุ พิกัดด้วยดาวเทียมและกล่าวถึงที่มาความส�ำคัญของ โครงการฯ ตลอดจนต�ำแหน่งหน้าที่ในโครงการของ ประเทศไทย มีการเสวนาเรื่อง How Thailand can benefit from GNSS Technology for Emergency Management and Disaster Rescue (EMDR) ซึ่ง มี ดร.พันศักดิ์ เป็นผู้ด�ำเนินรายการ โดยมีการเปิดให้ หน่วยงานต่างๆที่เข้าร่วมแสดงความคิิดเห็นเกี่ยวกับ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดาวเทียมระบุพิกัดในการ บริหารจัดการภัยพิบตั ิ ในหน่วยงานของตนเอง แนวทาง การประยุกต์ใช้ในอนาคต และตอบข้อข้อซักถาม แลก เปลี่ยนข้อคิดเห็นต่างๆ ทั้งนี้เพื่อการจัดท�ำแผนการ ด�ำเนินงานของประเทศไทยในโครงการดังกล่าว
5 ไฟป่านอกจากจะท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ ส�ำคัญของประเทศยังเป็นสาเหตุท�ำให้เกิดปัญหาหมอกควัน ส่งผล ให้คุณภาพอากาศแย่ลง และตามมาด้วยการเกิดปัญหาสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ดังนั้นจึงต้องมีการติดตามเพื่อวางแผนป้องกัน
S atellite
Applications
SMAC UPDATE
http://smms.eng.ku.ac.th/ SMAC หรือ ศูนย์จัดการและประยุกต์ใช้งาน ดาวเทียม สถานีรบั ดาวเทียมจุฬาภรณ์ เป็นเว็บไซต์ ทีใ่ ห้บริการข้อมูลดาวเทียม SMMS (HJ-1A/B) การ วิเคราะห์และประมวลผลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ตลอดจนงานวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการน�ำข้อมูล ภาพถ่ายดาวเทียมไปประยุกต์ใช้ ซึ่งจะน�ำเสนอการ ดาวน์โหลดภาพดาวเทียม SMMS มีขั้นตอนดังนี้ การลงทะเบี ย นเข้ า ใช้ ง าน
การลงทะเบียนนั้นประกอบด้วยขั้นตอน 2 ส่วน ซึ่งผู้ใช้งานต้องท�ำการ Register ทั้ง 2 ส่วน ถึงจะสามารถสมัครเป็นสมาชิกและมีสิทธิ์ในการ ดาวน์โหลดข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ได้ ส่ ว นแรก : สมั ค รสมาชิ ก
เป็นการลงทะเบียนที่เว็บไซต์ SMAC หรือ http://smms.eng.ku.ac.th/ โดยท�ำการกรอก ข้อมูลส่วนตัวให้ครบตามทีก่ ำ� หนดเพือ่ สมัครสมาชิก
การประยุ ก ต์ ใ ช้ ง านข้ อ มู ล ดาวเที ย ม HJ-1A/B กั บ การติ ด ตามวิ เ คราะห์ ห าต� ำ แหน่ ง และการติ ด ตามไฟป่ า ปี 2 555 การประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS (HJ-1A/B) ในการวิเคราะห์ต�ำแหน่งการเกิดไฟไหม้ ป่า ตลอดจนการติดตามสถานการณ์พื้นที่ที่เกิดไฟป่า จากข้อเด่นของข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม SMMS ที่ สามารถถ่ายและรับข้อมูลภาพได้ทุกวัน ท�ำให้สามารถ ติดตามและรายงานผลสถานการณ์ได้ตลอดทุกช่วง ของเหตุการณ์ ในส่วนของการวิเคราะห์หาต�ำแหน่งการเกิดไฟ ป่ า นั้ น เป็ น การประยุ ก ต์ ใ ช้ ข ้ อ มู ล ภาพในช่ ว งความ ความยาวคลื่น Thermal Infrared ของ Sensor Infrared ของดาวเทียม HJ-1B วิเคราะห์หาจุดความร้อน ที่เกิดขึ้นภายในภาพถ่ายแล้วท�ำการตรวจสอบผลการ วิเคราะห์จดุ ความร้อนทีต่ รวจพบกับภาพถ่ายสี CCD ใน ต�ำแหน่งนั้นๆ ในวันที่และเวลาเดียวกัน โดยการสังเกต สภาพพื้นที่ป่าบริเวณใกล้เคียง ลักษณะควันที่เกิดขึ้น
อาศัยหลักการแปลตีความภาพถ่ายดาวเทียม ตลอด จนการหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อตัดสินว่าพื้นที่นั้นๆ มีการ เกิดไฟป่าเกิดขึ้น ในส่วนของการติดตามการเกิดไฟป่านั้น เนื่องจาก ดาวเทียม SMMS มีความสามารถในการถ่ายภาพ และส่งข้อมูลกลับมายังสถานีฯทุกวัน ดังนั้นจึงมีความ สามารถในการติดตามสถานการณ์ภัยพิบัติต่างๆที่เกิด ขึน้ ได้เป็นอย่างดี ซึง่ ในกรณีการเกิดไฟป่าก็เช่นเดียวกัน สามารถติ ด ตามสถานการณ์ ก ารเกิ ด ตลอดจนการ กระจายของหมอกควัน อันเป็นปัญหามลพิษทีส่ ง่ ผลเสีย ต่อสุขภาพต่อประชาชนในพื้นที่ โดยทางสถานีฯ มีการ ท�ำแผนที่แสดงต�ำแหน่งการเกิดไฟป่าและหมอกควัน เพื่อเตือนให้ภาคประชาชนและผู้ที่สนใจรับทราบและ เตรียมตัวป้องกันต่อไป
ส่ ว นที่ ส อง : การกรอกค� ำ ร้ อ ง
เป็นการดาวน์โหลดแบบฟอร์มค�ำร้องการขอใช้ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม หลังจากผู้ใช้งานท�ำการ สมัครสมาชิกในขั้นตอนแรกเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว ท�ำการกรอกข้อมูลตามแบบฟอร์มแล้วส่งกลับมายัง E-mail : smmsthailand@gmail.com หรือ Fax มาทีห่ มายเลข 02-940-7052 เพือ่ รอการติดต่อกลับ
6
R emote
แ ม ่ สี แ ส ง
Sensing In Daily life
Corner
ท�ำไมภาพถ่ายดาวเทียมที่เห็นส่วนใหญ่ถึงมีสีภาพแบบ แปลกๆ ไม่คุ้นตา คุณเคยสงสัยมั้ย? ค�ำถามนี้เราสามารถ อธิบายให้ค�ำตอบได้โดยหลักการของการรับรู้ระยะไกลหรือ รีโมตเซนซิ่ง ซึ่งต่อไปนี้เทคนิคความรู้เรื่องรีโมตเซนซิ่งจะ ไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไปหากคุณคิดตามเกร็ดความรู้จาก CSRS News ทุกๆฉบับ กล้องภาพถ่ายดาวเทียมมีความสามารถในการ ถ่ายภาพในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นช่วง คลื่นตามองเห็น (สีแดง สีเขียว และสีน�้ำเงิน) และ ช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้ กลาง ไกล และช่วงคลื่นอื่นๆ โดยทีี่ภาพถ่ายในแต่ละช่วงคลื่นนั้นๆก็จะมี็คุณสมบัติ ในการแสดงผลวัตถุปกคลุมผิวโลกที่แตกต่างกัน เช่น ในช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้จะมีความสามารถในการ แสดงผลวัตถุที่เป็นพืชได้ดี ในช่วงคลื่นตามองเห็นจะมี ความสามารถในการแสดงผลวัตถุที่เป็นน�้ำและผิวดิน ได้ดี จากคุณสมบัติเหล่านี้จึงมีการน�ำมาแสดงผลเพื่อ การแปลตีความ ในส่วนการแสดงผลภาพถ่าย โดยปกติคนเรามักจะ คุ้นเคยกับภาพที่แสดงสีปกติแบบสีจริงตามธรรมชาติ เหมือนกับการรับรูจ้ ากการมองเห็นของเรา นัน่ ก็คอื การ ทีี่ภาพมีการแสดงสีของพืชเป็นสีเขียว น�้ำเป็นสีน�้ำเงิน และดินเป็นสีน�้ำตาล ในทางรีโมตเซนซิ่งเราเรียกการ แสดงผลหรือการผสมสีแบบนี้ว่า “การผสมสีจริง” (True Color) เป็นการแสดงผลภาพถ่ายในช่วงคลื่น ตามองเห็นสีแดง ให้แสดงเป็นสีแดง ภาพถ่ายช่วงคลื่น ตามองเห็นสีเขียวแสดงผลเป็นสีเขียว และภาพถ่ายช่วง คลื่นสีน�้ำเงินแสดงผลเป็นสีน�้ำเงิน
Red Green Blue
ในส่วนของภาพ “สีผสมเท็จ” (False Color) เป็ น การแสดงผลภาพถ่ า ยดาวเที ย มในช่ ว งสี ที่ แ ตก ต่างจากสีธรรมชาติ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ที่เรา ต้องการจะแสดงหรือเน้นวัตถุประเภทใดบนภาพถ่าย จากคุ ณ สมบั ติ ข องภาพถ่ า ยในแต่ ล ะช่ ว งคลื่ น ดั ง ตัวอย่างภาพข้างล่าง มีการใช้ภาพในช่วงคลื่น Near Infrared แสดงผลเป็นสีแดง เนื่องจากต้องการแสดง หรือเน้นวัตถุที่เป็นพืช ช่วงสีแดงมีความกว้างของช่วง สีมากกว่าในช่วงสีอื่นๆ ไล่ตั้งแต่ สีเหลืองอ่อน เหลือง เข้ม ส้ม ชมพู แดง เลือดหมู ไปจนถึงสีน�้ำตาล ท�ำให้ สามารถจ�ำแนกพืชออกได้หลายประเภท เช่น พืชช่วง เริ่มปลูก พืชช่วงเจริญเติบเต็มที่ พืชที่มีโรคพืช ฯลฯ ในช่วงคลื่นตามองเห็นสีแดงแสดงผลเป็นสีเขียว และ ช่วงคลื่นตามองเห็นสีเขียวแสดงผลเป็นน�้ำเงิน เช่น กันจากคุณสมบัติของภาพถ่ายในช่วงคลื่นตามองเห็น ที่สามารถแสดงรายละเอียดวัตถุประเภทน�้ำและดินได้ ดี จึงสามารถเห็นวัตถุที่เป็นน�้ำเป็นสีน�้ำเงิน และวัตถุที่ ประเภทดินเป็นสีเขียว และนีค่ อื ความแตกต่างของภาพ สีผสมจริงกับภาพสีผสมเท็จ
ภาพถ่ า ยดาวเที ย ม SMMS
True Color
Red Green Blue
M eteorology
False Color
Near Red Green
สถานี รั บ ดาวเที ย มจุ ฬ าภรณ์ ศู น ย ์ วิ จั ย เพื่ อ คว า มเป ็ น เลิ ศทางด ้ า น วิ ช าการด ้ า น การจั ด การภั ย พิ บั ติ ชั้ น 9 อ า คา รบุ ญ สม สุ ว ชิ รั ต น ์ คณะวิ ศ วกรรม ศาสต ร์ มห า วิ ท ย า ลั ย เก ษ ตรศา ส ตร ์ 5 0 ถน น งาม วงศ์ ว าน จ ตุ จั ก ร กทม . 1 0 9 0 0 h t t p : //s m m s . e n g . k u . a c.th/
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา FY-2E มีเครื่องมือตรวจ วัดหรืออุปกรณ์บนั ทึกข้อมูล ทีเ่ รียกว่า “Radiometer” ซึ่งเป็นตัววัดการแผ่รังสีกลับของบรรยากาศ เมฆ และ ผิวโลก ในช่วงคลืน่ ตามองเห็นจนถึงช่วงคลืน่ ไมโครเวฟ ซึ่งท�ำให้ได้อุณหภูมิยอดเมฆและความชื้นในอากาศ โดยสามารถประยุกต์ใช้เพื่อการประมาณปริมาณน�้ำ ฝนจากข้อมูลอุณภูมิยอดเมฆ รวมทั้งการสร้างแบบ จ�ำลองวัฏจักรของน�้ำ ในส่วนของข้อมูลความชื้นใน อากาศ สามารถประยุกต์ใช้ในการหาค่าพลังงานใน ชั้นบรรยากาศ เพื่อการหาความชื้นในดิน การหาค่า ความแห้งแล้ง และการหาค่าการระเหยน�้ำของพืชใน บรรยากาศได้ เหล่านีเ้ ป็นตัวอย่างการประยุกต์ใช้ขอ้ มูล จากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา FY-2E