ระบบการพิมพ์พื้นราบและพื้นนูน

Page 1

ระบบการพิมพ์


ระบบการพิมพ์ การออกแบบสิ่งพิมพ์ จาเป็ นต้ องมีการวางแผน ทุกขัน้ ตอนเมื่อถึงขัน้ สู่ระบบการพิมพ์ นักออกแบบสิ่งพิมพ์ ต้ องเลือกระบบและวิธีการพิมพ์ ให้ เหมาะสมกับ ประเภท ของงานและงบประมาณที่ตัง้ ไว้ และสามารถจัดเตรี ยมต้ นฉบับ สั่งการและสื่อความหมายให้ เข้ าใจตรงกัน ระหว่ างผู้ทางานพิมพ์

Printing Technology for Journalism


Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์ การพิมพ์ โดยทั่วไป แบ่ งตามประเภทของแม่ พิมพ์ ได้ 4 ระบบใหญ่ ๆ ดังนี ้ 1. การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ (Plano graphic Printing) 2. การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน (Relief Printing) 3. การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ ร่องลึก (Intaglio Printing) 4. การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ ฉลุ ( Serigraphic printing)

Printing Technology for Journalism


ระบบการพิมพ์ ระบบการพิมพ์ เริ่ มจากการทาแม่ พิมพ์ โดยเริ่ ม จาก การนาต้ นฉบับ (Art work) ไปถ่ ายเป็ นฟิ ล์ มเพื่อแยกสี แล้ วนาไปถ่ ายลงบนแผ่ นสังกะสีท่ ีเรี ยกว่ า “Plate” ที่เคลือบ นา้ ยาเคมี เพื่อให้ เกิดรู ปรอยตามฟิ ล์ มต้ นฉบับ แล้ วไป ทาการพิมพ์ ตามสีของแต่ ละแผ่ น เพลทที่แยกไว้

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ระบบการพิมพ์ ท่ ีใช้ แม่ พิมพ์ ท่ ีมีลักษณะเป็ นพืน้ ผิวราบ คือ ส่ วนที่เป็ นภาพและไม่ ใช่ ภาพอยู่ในระนาบเดียวกัน นิยมเรี ยกว่ า ระบบการพิมพ์ ออฟเซต (offset)

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ มีต้นกาเนิดจากการ พิมพ์ หิน โดย อลัวส์ เซเนเฟลเดอร์ ใช้ แท่ งไขมันเขียน บนแท่ งหินขัดเรี ยบ และใช้ นา้ บางๆ หรื อความชืน้ คลุมพืน้ ที่ ที่ไม่ ต้องการให้ เกิดภาพหรื อความชืน้ แล้ วจึงลงหมึกตามลงไป ไขมันในส่ วนที่เป็ นภาพจะรั บหมึก และส่ วนที่เปี ยกนา้ ก็จะผลักดันหมึกไม่ ให้ ปนกัน

Printing Technology for Journalism


แม่ พิมพ์ ระบบการพิมพ์ พืน้ ราบ

ที่มา : (ศิริพงศ์ พยอมแย้ ม,2530, หน้ า 15)

Printing Technology for Journalism


แม่ พิมพ์ ระบบการพิมพ์ พืน้ ราบ

ที่มา : http://eduit.pn.psu.ac.th/ Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ เครื่ องพิมพ์ ออฟเซต ประกอบด้ วย 1. โมแม่ พิมพ์

2. โมผ้ ายาง 3. โมแรงกด

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ หลักการพิมพ์ ของการพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ทาได้ โดยหลักการดังนี ้ 1. ใช้ โลหะทาแม่ พิมพ์ ท่ ีสามารถรั บนา้ ได้ ดี 2. สารที่ทาเป็ นตัวภาพต้ องรั บหมึกได้ ดี และ ไม่ รับนา้ ได้ ง่าย 3. เคลือบผิวส่ วนที่ไม่ ใช่ ภาพด้ วยนา้ เพื่อไม่ ให้ หมึก สามารถจับติดได้ Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ การพิมพ์ ออฟเซตใช้ แม่ พิมพ์ เป็ นแผ่ นโลหะพืน้ แบน ติดบนโมแม่ พิมพ์ มีส่วนที่ต้องการพิมพ์ และส่ วนพืน้ อยู่บน ระนาบเดียวกัน ลูกคลึงนา้ เป็ นตัวหล่ อนา้ บนส่ วนพืน้ ที่ ไม่ ต้องการพิมพ์ และมีนา้ มันเคลือบอยู่บนส่ วนที่ต้องการพิมพ์ เมื่อผ่ านลูกคลึงหมึกลงบนโมแม่ พิมพ์ ส่ วนที่เป็ นหมึกจะไม่ ติด ส่ วนพืน้ แต่ จะติดส่ วนที่ต้องการพิมพ์ ซ่ ึงมีเคลือบนา้ มันไว้

Printing Technology for Journalism


แม่ พิมพ์ ระบบการพิมพ์ พืน้ ราบ

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ การพิมพ์ ออฟเซตเป็ นการพิมพ์ โดยอ้ อม คือ เป็ นการพิมพ์ ท่ ีมีการถ่ ายทอดภาพจากแม่ พิมพ์ ไปสู่ผ้ายาง แบลงเกตที่ห่อหุ้มรอบโมยางก่ อน (blanket cylinder) ทาให้ การถ่ ายทอดหมึกเป็ นไปอย่ างสม่าเสมอ จากนัน้ จึงจะถ่ ายทอดภาพบนกระดาษโดยแรงกดของโมพิมพ์

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ระบบออฟเซต เครื่ องพิมพ์ ระบบออฟเซตแบ่ งตามขนาด แบ่ งได้ ดังนี ้ 1. ออฟเซตขนาดเล็ก 2. ออฟเซตขนาดตัดสี่

3. ออฟเซตขนาดตัดสอง 4.ออฟเซตขนาดตัดหนึ่ง

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ออฟเซต 1. ออฟเซตขนาดเล็ก เป็ นเครื่ องพิมพ์ ขนาดเล็ก พิมพ์ กระดาษตัง้ แต่ ขนาด 10”x15” ถึงขนาด 13”x17” มีอุปกรณ์ ในการทาน้ อย ไม่ ย่ ุงยาก ใช้ ง่าย เหมาะสาหรั บงานพิมพ์ ขนาดเล็ก เช่ น หัวจดหมาย หนังสือเวียน แผ่ นโฆษณา ไม่ เหมาะกับงานพิมพ์ สอดสี หรื อสี่สี เพราะระบบยังไม่ มีความเที่ยงตรงพอ

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ออฟเซต

ออฟเซตขนาดเล็ก

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ออฟเซต 2. ออฟเซตขนาดตัดสี่ เป็ นเครื่ องพิมพ์ ขนาดใหญ่ พิมพ์ กระดาษขนาดตัง้ แต่ 15”x21” หรื อ 18”x25” มีอุปกรณ์ ในการพิมพ์ มากขึน้ มีความ เที่ยงตรงมากขึน้ ระบบพ่ นหมึกและนา้ ที่ดี สามารถพิมพ์ งาน ได้ เกือบทุกชนิด ทัง้ สีเดียวและหลายสี เหมาะสาหรั บพิมพ์ หนังสือยกเล่ ม โปสเตอร์ ขนาดกลาง งานพิมพ์ ท่ ีมี จานวน ไม่ เกินครั ง้ ละ 5,000 ชุด Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ออฟเซต 2. ออฟเซตขนาดตัดสี่ ที่เรี ยกว่ าขนาดตัดสี่ เพราะใช้ พิมพ์ กระดาษขนาด 15.25”x21.50” ที่เกิดจากการตัดแบ่ งกระดาษแผ่ นใหญ่ ขนาด 31”x43” เป็ น 4 ส่ วนได้ พอดี ซึ่งเมื่อนากระดาษ ขนาด 15.25”x21.50” ไปพิมพ์ และพับแล้ วจะได้ หนังสือ ขนาด 7.50”x10.25” ซึ่งเรี ยกว่ าขนาด 8 หน้ ายก

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ออฟเซต

ออฟเซตขนาดตัดสี่

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ออฟเซต 3. ออฟเซตขนาดตัดสอง เป็ นเครื่ องพิมพ์ ใหญ่ กว่ าขนาดตัดสี่เกือบเท่ าตัว สามารถพิมพ์ ได้ ขนาดประมาณ 25”x36” หรื อบางแบบพิมพ์ ได้ ถึงประมาณ 28”x40” เหมาะสาหรั บการพิมพ์ ทางการค้ า เช่ น หนังสือยก โปสเตอร์ แผ่ นโฆษณา และงานพิมพ์ ทุกชนิด ที่เรี ยกว่ าขนาดตัดสองเพราะใช้ กระดาษขนาด 31”x43” ที่นามาตัดเป็ น 2 ส่ วนได้ ขนาด 21”x30” Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ออฟเซต

ออฟเซตขนาดตัดสอง

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ออฟเซต 4. ออฟเซตขนาดตัดหนึ่ง เป็ นเครื่ องพิมพ์ ชนิดป้อนเป็ นแผ่ นขนาดใหญ่ ที่สามารถพิมพ์ กระดาษขนาด 30”x40” หรื อใหญ่ กว่ าได้ มีอุปกรณ์ ช่วยในการพิมพ์ มากขึน้ เหมาะสาหรั บการพิมพ์ หนังสือ โปสเตอร์ และบรรจุภัณฑ์ ที่มีปริ มาณมากๆ มีใช้ น้อยกว่ าขนาดตัดสี่และขนาดตัดสอง

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ออฟเซต

ออฟเซตขนาดตัดหนึ่ง

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ระบบการพิมพ์ ออฟเซตเป็ นระบบการพิมพ์ ท่ ีมีผ้ ูนิยม ใช้ กันอย่ างกว้ างขวางมากที่สุด เพราะให้ คุณภาพการพิมพ์ สูง และราคาไม่ สูงมาก ใช้ ได้ ทัง้ แบบป้อนกระดาษม้ วนและป้อน แผ่ น ซึ่งขึน้ อยู่กับจานวนแผ่ นเป็ นสาคัญ ค่ าใช้ จ่ายในการพิมพ์ ขึน้ อยู่กับจานวนสีท่ ีพิมพ์ กระดาษจะผ่ านแม่ พิมพ์ ตามจานวนสี เหมาะสาหรั บพิมพ์ สมุดหนังสือ ใบปลิว โปสเตอร์ ใบเสร็ จ

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ ลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์ ท่ ีควรพิมพ์ ด้วยระบบการพิมพ์ ออฟเซต - พิมพ์ จานวนตัง้ แต่ 3,000 แผ่ นขึน้ ไป - มีภาพประกอบและงานประเภทตาราง กราฟ - พิมพ์ ภาพสี่สี หรื อพิมพ์ หลายๆ สี - ต้ องการความประณีต สวยงาม - ต้ องการคุณภาพและความรวดเร็ ว

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ

ที่มา : http://press.payap.ac.th/ ตัวอย่ างการพิมพ์

1Printing สี Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ ราบ

ที่มา : http://press.payap.ac.th/

ตัวอย่ างการพิมพ์ 2 สี

Printing Technology for Journalism


เครื่ องพิมพ์ ระบบออฟเซท

ที่มา : http://www.sriaksorn.com/machine/machinery-2.htm Printing Technology for Journalism



การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน ระบบการพิมพ์ ท่ ีแม่ พิมพ์ มีส่วนที่จะใช้ พิมพ์ เป็ นภาพนูน สูงขึน้ มาจากแม่ พิมพ์ ส่ วนที่นูนสูงขึน้ มา เมื่อได้ รับหมึกแล้ ว จะสามารถพิมพ์ กระดาษได้ โดยตรงทันที ระบบการพิมพ์ ระบบนี ้ จัดได้ ว่าเป็ นระบบการพิมพ์ ท่ ีเก่ าแก่ ท่ ีสุด แต่ ยังมีใช้ มาจน ปั จจุบัน

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน เป็ นการพิมพ์ ยุคเริ่ มต้ นของมนุษย์ ซึ่งการพิมพ์ หนังสือ สมัยแรก ๆ ช่ างพิมพ์ จาเป็ นต้ องใช้ วิธีการแกะไม้ ( Wood Cut ) หลักการของการพิมพ์ ในระบบนี ้ คือการสร้ างแม่ พิมพ์ ให้ มีระดับแตกต่ างกันระหว่ างตัวภาพพืน้ แม่ พิมพ์ โดยให้ ตัวภาพ มีความสูงกว่ าพืน้ การสร้ างภาพบนแม่ พิมพ์ จาเป็ นต้ องให้ ภาพ หรื อตัวอักษร มีลักษณะเป็ นด้ านกลับ ( Reverse ) ซึ่งถ่ ายทอด ให้ ภาพบนชิน้ งานพิมพ์ มีลักษณะเป็ นด้ านตรง Printing Technology for Journalism


แม่ พิมพ์ ระบบการพิมพ์ นูน

ที่มา : (ศิริพงศ์ พยอมแย้ ม,2530, หน้ า 14) Printing Technology for Journalism


แม่ พิมพ์ ระบบการพิมพ์ นูน

ที่มา : http://eduit.pn.psu.ac.th/

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน ชนิดของระบบแม่ พิมพ์ พืน้ นูน ระบบแม่ พิมพ์ พืน้ นูน สามารถแบ่ งได้ 2 ระบบดังนี ้ 1. ระบบเลตเตอร์ เพรส (letterpress) 2. ระบบเฟลกโซกราฟฟี (flexography)

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน ระบบเลตเตอร์ เพรส เป็ นระบบการพิมพ์ ท่ ใี ช้ ตัวพิมพ์ แต่ ละตัวอักษร ที่หล่ อด้ วยโลหะผสม (alloy) มาจัดเรี ยงให้ เป็ นข้ อความ ตามที่ต้องการ แล้ วนาไปพิมพ์ บนเครื่ องพิมพ์ ได้ โดยตรง ในการพิมพ์ โดยทั่วไปจะใช้ ตัวเรี ยงโลหะต่ อกัน เป็ นข้ อความ ตัวเรี ยงจะมีความสูง 0.918 นิว้ หน่ วยที่ใช้ วัดขนาดความสูงของตัวเรี ยงคือ พอยท์ (point) ขนาดตัว เรี ยงหนังสือโดยทั่วไปมีขนาด 19.5 พอยท์ Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ระบบเลตเตอร์ เพรส เครื่ องพิมพ์ ระบบเลตเตอร์ เพรสแบ่ ง 3 ชนิด ดังนี ้ 1. เครื่ องพิมพ์ ชนิดพลาเทน (platen press) เป็ น เครื่ องพิมพ์ ขนาดเล็ก ป้อนทีละแผ่ น ขนาดกระดาษที่ใช้ พิมพ์ ใหญ่ สุดประมาณ 10”x15” ทั่วไปเรี ยกว่ า “แทนตีธง” ขับเคลื่อนด้ วยมอเตอร์ ไฟฟ้า และป้อนกระดาษอัตโนมัติ

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน เครื่ องพิมพ์ ชนิดพลาเทน (platen press)

ที่มา : http://eduit.pn.psu.ac.th/ Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ระบบเลตเตอร์ เพรส 2. เครื่ องพิมพ์ ชนิดแท่ นนอน (flat-bed cylinder press) เครื่ องพิมพ์ ชนิดนีม้ ีความสามารถในการพิมพ์ ใหญ่ กว่ าชนิดพลาเทน และพิมพ์ งานประเภทพืน้ ตาย และสกรี นได้ คุณภาพดีกว่ า

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน เครื่ องพิมพ์ ชนิดแท่ นนอน (flat-bed cylinder press)

ที่มา : http://eduit.pn.psu.ac.th/ Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ระบบเลตเตอร์ เพรส 3. เครื่ องพิมพ์ ชนิดโรตารี (web-fed rotary letterpress press) กระดาษที่ใช้ พิมพ์ ป้อนอย่ างต่ อเนื่อง แม่ พิมพ์ จึงไม่ สามารถวางอยู่บนแท่ นในแนวราบหรื อ แนวตัง้ ตัวเรี ยงจะโค้ งติดอยู่กับโมแม่ พิมพ์ โดยรอบตาม รู ปร่ างของโมแม่ พิมพ์

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน เครื่ องพิมพ์ ชนิดโรตารี (web-fed rotary letterpress press)

ที่มา : http://eduit.pn.psu.ac.th/ Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน ชนิดของเครื่ องพิมพ์ ระบบเลตเตอร์ เพรส 3. เครื่ องพิมพ์ ชนิดโรตารี พิมพ์ ได้ เร็ วกว่ า เครื่ องพิมพ์ เลตเตอร์ เพรสชนิดป้อนเป็ นแผ่ นมาก นิยมใช้ พิมพ์ แคตาล็อก โฆษณา ธนบัตร การ์ ด และงานพิมพ์ ปริ มาณมากๆ ไม่ เหมาะสาหรั บงานพิมพ์ จานวนน้ อยๆ

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน การพิมพ์ ธนบัตรประกอบด้ วยการพิมพ์ ภาพและ ลวดลายต่ าง ๆ ด้ วยกรรมวิธีการพิมพ์ ๒ แบบ คือ 1. การพิมพ์ ออฟเซตแห้ ง (Dry offset) 2. การพิมพ์ อินทาลโย (Intaglio) หรื อเรี ยก ตามลักษณะลวดลายที่ได้ จากการพิมพ์ ว่าการพิมพ์ เส้ นนูน นอกจากนีย้ ังมีการพิมพ์ อีกขัน้ ตอนหนึ่ง ก่ อนการผลิตเป็ นธนบัตรสาเร็ จรู ป คือ การพิมพ์ เลขหมาย และลายเซ็น ซึ่งใช้ การพิมพ์ เลตเตอร์ เพรสส์ (Letterpress) Printing Technology for Journalism


ตัวอย่ างงานพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน การพิมพ์ สีพืน้ เป็ นงานขัน้ ตอนแรกของการพิมพ์ ธนบัตร โดยใช้ เครื่ องพิมพ์ ท่ ีสามารถพิมพ์ ภาพได้ ทงั ้ สองด้ านในเวลา เดียวกัน ทาให้ บางส่ วนของลวดลายที่ตัง้ ใจออกแบบไว้ ในตาแหน่ งตรงกันทัง้ ด้ านหน้ าและด้ านหลังของธนบัตร ซ้ อนทับกันสนิท หรื อประกอบขึน้ เป็ นลวดลายที่สมบูรณ์ ซึ่งเป็ นลักษณะต่ อต้ านการปลอมแปลงอย่ างหนึ่ง Printing Technology for Journalism


ตัวอย่ างงานพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน

เครื่ องพิมพ์ สีพนื ้

แผ่ นพิมพ์ ธนบัตรที่ผ่านการพิมพ์ สีพนื ้ ด้ านหน้ า

ที่มา : http://www.bot.or.th/ Printing Technology for Journalism


ตัวอย่ างงานพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน

เครื่ องพิมพ์ เส้ นนูน

แม่ พมิ พ์ เส้ นนูน

ที่มา : http://www.bot.or.th/ Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน การพิมพ์ เลขหมายและลายเซ็น แผ่ นพิมพ์ ท่ ีพิมพ์ ภาพและลวดลายสีพืน้ และเส้ นนูนแล้ ว จะ ผ่ านการตรวจสอบคุณภาพอย่ างละเอียด เพื่อคัดแยกธนบัตรที่ มีข้อบกพร่ องออกไปทาลาย ส่ วนธนบัตรที่มีคุณภาพตาม มาตรฐานจะส่ งไปพิมพ์ เลขหมายและลายเซ็นต่ อไป การพิมพ์ เลขหมายและลายเซ็นใช้ การพิมพ์ เลตเตอร์ เพรสส์ เพื่อควบคุมจานวนธนบัตรออกใช้ โดยเครื่ องพิมพ์ จะมี ระบบควบคุมและตรวจสอบการเปลี่ยนเลขหมายในแต่ ละรอบ การพิมพ์ ดังนัน้ เลขหมายที่กากับบนธนบัตรแต่ ละฉบับที่เป็ น แบบและชนิดราคาเดียวกันจะไม่ ซา้ กันเป็ นอันขาด สาหรั บ Printing Technology for Journalism ลายเซ็นบนธนบัตรทุกฉบับจะเป็ นลายเซ็นของรั ฐมนตรี ว่าการ


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน ลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์ ท่ ีควรพิมพ์ ด้วยระบบการพิมพ์ พืน้ นูน - มีจานวนพิมพ์ ไม่ เกิน 2,000 – 3,000 ชุด - ไม่ ต้องการคุณภาพสูงมาก หรื อไม่ ต้องการรายละเอียด ของภาพมาก - มีภาพประกอบหรื อตารางที่ต้องใช้ แม่ พิมพ์ ท่ ีเป็ นบล็อกไม่ มาก - ไม่ เป็ นงานพิมพ์ หลายสี สี่สีหรื อสอดสี เพราะจะเสียเวลา ในการดาเนินการพิมพ์ มาก และไม่ สวยงาม - ใช้ เวลาในการเรี ยงพิมพ์ มาก - มีงบประมาณในการพิมพ์ จากัด Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน เครื่ องพิมพ์ ระบบเฟลกโซกราฟฟี ระบบเฟลกโซกราฟฟี เป็ นระบบการพิมพ์ พืน้ นูนแบบเดียวกับระบบเลตเตอร์ เพรส แต่ ใช้ แม่ พิมพ์ ยางที่ เป็ นแผ่ นติดรอบโมพิมพ์ และใช้ วัสดุพิมพ์ ท่ ีเป็ นม้ วนป้อนเข้ า เครื่ องพิมพ์ อย่ างต่ อเนื่อง แม่ พิมพ์ จะสัมผัสโดยตรงกับวัสดุท่ ีใช้

Printing Technology for Journalism


การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ นูน ลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์ ท่ ีควรพิมพ์ ด้วยระบบเฟลกโซกราฟฟี - ไม่ ต้องการคุณภาพสูง - มีจานวนพิมพ์ มาก - ไม่ ต้องการรายละเอียดของภาพมาก - เป็ นระบบที่มีความประหยัดมาก หากพิมพ์ จานวน ตัง้ แต่ 100,000 ขึน้ ไป เพราะแม่ พิมพ์ แผ่ นเดียว ใช้ งานได้ กว่ าล้ านชุด - ประหยัดเวลา Printing Technology for Journalism


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.