การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ ร่องลึก หลักการพิมพ์ ระบบนี ้ คือ ส่ วนที่เป็ นภาพหรื อตัวหนังสือ จะมีระดับลึกลงไป หมึกพิมพ์ จะขังอยู่ในร่ องลึกซึ่งเป็ นตัวภาพ เมื่อนากระดาษวางทาบบนแม่ พิมพ์ กระดาษก็จะซับหมึก เฉพาะส่ วนที่เป็ นตัวภาพหรื อตัวอักษรขึน้ มาเท่ านัน้ การพิมพ์ ระบบนี ้ ได้ นามาเป็ นแนวทางในการพิมพ์ ท่ ี ต้ องการประณีต เช่ น การพิมพ์ ธนบัตร แสตมป์ การพิมพ์ จาลองงาน ทางศิลปะอย่ างก้ าวหน้ าและแพร่ หลาย ซึ่งเรี ยกว่ า การพิมพ์ ในระบบกราวัวร์ (Gravure)
Printing Technology for Journalism
แม่ พิมพ์ ระบบการพิมพ์ ร่องลึก
ที่มา : (ศิริพงศ์ พยอมแย้ ม,2530, หน้ า 14) Printing Technology for Journalism
แม่ พิมพ์ ระบบการพิมพ์ ร่องลึก
ที่มา : http://eduit.pn.psu.ac.th/ Printing Technology for Journalism
แม่ พิมพ์ ระบบการพิมพ์ ร่องลึก
ที่มา : http://eduit.pn.psu.ac.th/ Printing Technology for Journalism
เครื่ องพิมพ์ ระบบการพิมพ์ ร่องลึก
ที่มา : http://www.rba.gov.au Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ ร่องลึก ระบบกราวัวร์ เป็ นระบบการพิมพ์ แบบแม่ พิมพ์ พืน้ ลึก ระบบหนึ่ง ที่ใช้ กันอย่ างแพร่ หลายในปั จจุบัน แต่ เนื่องจาก แม่ พิมพ์ มีราคาแพง จึงไม่ ค่อยพบเห็นว่ ามีการนามาใช้ พิมพ์ งานทั่วไป ถึงแม้ แม่ พิมพ์ จะมีราคาแพง แต่ ก็สามารถใช้ พิมพ์ ได้ จานวนหลายๆ ล้ านชุด ซึ่งถ้ าต้ องการพิมพ์ จานวนเป็ นล้ านๆ ชุดแล้ วจะถูกมาก นอกจากนีย้ ังมีความละเอียดมากถึง 200-300 เส้ น/นิว้ ทาให้ พิมพ์ งานที่ต้องการความละเอียดได้ ดี
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ ร่องลึก ลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์ ท่ ีควรพิมพ์ ด้วยระบบการพิมพ์ กราวัวร์ - มีจานวนมากกว่ า 5,000 ชุด - ต้ องการพิมพ์ บนกระดาษ พลาสติก หรื อ ฟอยด์ - ต้ องการความละเอียดของภาพมาก
- ต้ องการงานที่มีคุณภาพ
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ ร่องลึก ในปั จจุบันได้ มีการใช้ ระบบการพิมพ์ กราวัวร์ ในสิ่งพิมพ์ ต่างๆ ดังนี ้ - หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร ที่มียอดพิมพ์ มากกว่ า 1,000,000 ฉบับ - บรรจุภัณฑ์ ต่างๆ เช่ น ซองสินค้ า ซองบุหรี่ กระดาษ หรื อพลาสติกห่ อทอฟฟี่ กระดาษห่ อสินค้ าที่ต้องการคุณภาพสูง - พรมปูพืน้ วอลล์ เปเปอร์ แสตมป์ วัสดุส่ ิงทอต่ างๆ Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ ฉลุ การพิมพ์ ระบบนีม้ ีกระบวนการพิมพ์ และการสร้ างแม่ พิมพ์ ที่แตกต่ างจากการพิมพ์ ทัง้ สามระบบข้ างต้ นอย่ างมาก โดยใช้ แม่ พิมพ์ จากวัสดุท่ ีมีลักษณะเป็ นฉาก (Screen) บาง ๆ และหมึก พิมพ์ สามารถทะลุ เช่ น การใช้ ผ้าไนล่ อนขึงกับกรอบ (Frame)
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ ฉลุ จากนัน้ จะใช้ วัสดุทึบสาหรั บปิ ดกัน้ บนฉากนัน้ เพื่อไม่ ให้ หมึกพิมพ์ ผ่านไปในบริ เวณที่ไม่ ต้องการพิมพ์ โดยเปิ ดช่ องว่ างเฉพาะบริ เวณที่ต้องการให้ เกิดภาพ หรื อตัวหนังสือ เมื่อนาหมึกพิมพ์ มาปาดลงไปบนฉาก สีของหมึกพิมพ์ จะทะลุฉากลงไปติดกับชิน้ งาน ( ซึ่งอาจเป็ นกระดาษ โลหะ แก้ ว พลาสติก ผ้ า ฯลฯ ) เฉพาะส่ วนที่เป็ นรู ปภาพหรื อตัวอักษรอย่ างงดงาม
Printing Technology for Journalism
แม่ พิมพ์ ระบบการพิมพ์ ฉลุ
ที่มา : (ศิริพงศ์ พยอมแย้ ม,2530, หน้ า 15) Printing Technology for Journalism
แม่ พิมพ์ ระบบการพิมพ์ ฉลุ
ที่มา : http://eduit.pn.psu.ac.th/ Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ ฉลุ
ที่มา : http://eduit.pn.psu.ac.th/ Printing Technology for Journalism
เครื่ องพิมพ์ ระบบการพิมพ์ ฉลุ
ที่มา : http://www.mekoprint.dk/ Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ ฉลุ ลักษณะของสื่อสิ่งพิมพ์ ท่ ีควรพิมพ์ ด้วยระบบแม่ พิมพ์ ฉลุ - โปสเตอร์ โฆษณาขนาดใหญ่ ท่ ีมีจานวนพิมพ์ ไม่ มาก - พิมพ์ ลวดลายขวดแก้ ว ขวดพลาสติก กระเบือ้ งเคลือบ และวัสดุต่างๆ เกือบทุกชนิด - ผ้ า เสือ้ และสิ่งทอต่ างๆ - แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ - สิ่งพิมพ์ ท่ ีต้องการพิมพ์ จานวนน้ อยแต่ ต้องการ ความสวยงาม เช่ น เมนูอาหาร บัตรอวยพร นามบัตร และงานศิลปะ ภาพพิมพ์ ต่างๆ Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ ระบบแม่ พิมพ์ ฉลุ ตัวอย่ างสิ่งพิมพ์ ด้วยระบบนี ้ คือ ถุงพลาสติก ถุงไอศกรี ม ซองใส่ สินค้ า กระดาษห่ อของ วอลล์ เปเปอร์ ฟอยด์ ต่ างๆ
Printing Technology for Journalism
สรุ ประบบการพิมพ์ ระบบการพิมพ์ พืน้ ราบ เป็ นระบบการพิมพ์ ท่ ีแม่ พิมพ์ มีลักษณะเป็ นแผ่ นราบส่ วน ที่เป็ นแม่ พิมพ์ จะรั บหมึก ส่ วนที่ไม่ ใช้ พิมพ์ จะไม่ รับหมึกโดยการ ใช้ นา้ เข้ าช่ วย เป็ นระบบการพิมพ์ ท่ ีสามารถพิมพ์ งานประณีต คุณภาพสูงและจานวนพิมพ์ มากๆ ได้
Printing Technology for Journalism
สรุ ประบบการพิมพ์ ระบบการพิมพ์ พืน้ นูน เป็ นระบบการพิมพ์ ท่ ีแม่ พิมพ์ มีลักษณะยกสูงขึน้ มาจาก ระดับปกติ เพื่อแยกส่ วนที่ใช้ รับหมึกและไม่ รับหมึกออกจากกัน ให้ คุณภาพทางการพิมพ์ ปานกลาง ไม่ เหมาะกับงานละเอียด และจานวนมาก
Printing Technology for Journalism
สรุ ประบบการพิมพ์ ระบบการพิมพ์ พืน้ ลึก เป็ นระบบการพิมพ์ ท่ ีส่วนที่เป็ นแม่ พิมพ์ จะเป็ น หลุมลึกเล็ก ๆ ลงไปจากระดับปกติของแม่ พิมพ์ หลุมเหล่ านีจ้ ะ ทาหน้ าที่รับหมึกและถ่ ายทอดหมึกลงบนวัสดุพิมพ์ ต่อไป เป็ น ระบบที่พิมพ์ งานได้ ดี มีคุณภาพสูงและเหมาะกับ การพิมพ์ งานจานวนมากๆ
Printing Technology for Journalism
สรุ ประบบการพิมพ์ ระบบการพิมพ์ พืน้ ฉลุ เป็ นระบบการพิมพ์ ท่ ีแม่ พิมพ์ มีลักษณะเป็ นพืน้ ฉลุ ส่ วน ที่ต้องการให้ เป็ นภาพจะเป็ นรู ฉลุ เพื่อให้ หมึกไหลออกไปสู่วัสดุ พิมพ์ ส่ วนที่ไม่ ใช่ ภาพจะทึบตัน เป็ นระบบที่สามารถพิมพ์ ลงบน วัสดุพิมพ์ ได้ ทุกชนิด แต่ ไม่ เหมาะกับงานจานวนมากๆ เพราะทา ได้ ช้า
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ 1. การพิมพ์ โรงผงนูน (thermo graphic printing) 2. การพิมพ์ โรยทอง (bronzing) 3. การเดินทอง (hot stamping) 4. การเจาะกรุ (die cutting) 5. การพิมพ์ หักเส้ นและการเจาะกรุ (scoring and perforating) 6. การพิมพ์ ดุน (embossing) 7. การอาบมัน (varnishing)
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ 1. การพิมพ์ โรยผงนูน (thermo graphic printing) การพิมพ์ โรยผงนูน ใช้ พิมพ์ ด้วยแท่ นระบบ เลตเตอร์ เพรส แล้ วโรยผงนูนซึ่งเป็ นสารเคมีลงบนชิน้ พิมพ์ แล้ ว นาไปอบความร้ อน ผงนูนจะเกาะติดกับหมึกพิมพ์ จับติด กระดาษ เมื่อถูกความร้ อนจะพองตัวขึน้ ทาให้ ภาพ ข้ อความ เส้ นหรื อลวดลายต่ างๆ ที่พิมพ์ นูนสูงขึน้ มา ส่ วนใหญ่ มักจะใช้ กับงานพิมพ์ ท่ ีสาคัญ เช่ น การ์ ดต่ างๆ หรื อประกาศนียบัตร
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ ตัวอย่ างการพิมพ์ โรยผงนูน (thermo graphic printing)
ที่มา : Kaminsky Design. 1993. 7. Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ 2. การพิมพ์ โรยทอง (bronzing) การพิมพ์ โรยทอง เป็ นการพิมพ์ โดยหมึกแห้ งช้ า พิมพ์ เป็ นภาพลวดลายหรื อข้ อความต่ างๆ แล้ วโรยผงโลหะสีทอง ขณะที่หมึกยังเปี ยกอยู่ เพื่อให้ ผงโลหะเกาะติด ผงโลหะที่ใช้ โรยมี หลายชนิด เช่ น ผงเงิน ผงทอง ผงอะลูมิเนียม เป็ นต้ น ปั จจุบันใช้ ผงแววโลหะ (metallic color) ที่มีความ แวววาว ใช้ ง่ายและสะดวกกว่ า แต่ มีราคาแพงกว่ าหมึกพิมพ์ ธรรมดา Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ 2. การพิมพ์ โรยทอง (bronzing) งานพิมพ์ บางแบบนิยมใช้ วัสดุอ่ ืนร่ วมกับหมึกพิมพ์ เช่ น กากเพชร สักหลาด ผงสาลี เป็ นต้ น วิธีนีม้ ีช่ ือ ว่ าฟล็อกกิง้ (flocking) ซึ่งส่ วนใหญ่ จะใช้ ในงานพิมพ์ ท่ ีต้องการให้ มีลักษณะ พิเศษ เช่ น โรยสาลีเป็ นหิมะ โรยผงสักหลาดเป็ นสีแดงใช้ เป็ น เสือ้ ผ้ า ซานตาครอส เป็ นต้ น
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ ตัวอย่ างการพิมพ์ โรยทอง (bronzing)
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ 3. การเดินทอง (hot stamping) การเดินทอง เป็ นการพิมพ์ โดยใช้ แผ่ นทองหรื อโลหะ เปลว (foil) แทนหมึก แผ่ นทองจะมีกาว เมื่อได้ รับความร้ อนและ แรงกดแผ่ นทองจะละลายติดกระดาษ ส่ วนใหญ่ จะใช้ พิมพ์ ใน ระบบเลตเตอร์ เพรส ใช้ พิมพ์ ส่ ิงที่มีค่า เช่ น ตราเครื่ องหมายสัญลักษณ์ การ์ ด วุฒิบัตร หรื อปกหนังสือ เป็ น ต้ น
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ ตัวอย่ างการเดินทอง (hot stamping)
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ 4. การเจาะกรุ (die cutting) การเจาะกรุ การพิมพ์ ลักษณะนีส้ ่ วนใหญ่ ใช้ แท่ นพิมพ์ แบบเพลตเทน โดยใช้ แม่ พิมพ์ เป็ นเส้ นเหล็กคมเป็ นรู ปทรง ต่ างๆ ตามที่ออกแบบไว้ แต่ ยังไม่ ขาดออกจากกัน เนื่องจากมี เนือ้ กระดาษเชื่อมไว้ เป็ นจุดๆ เมื่อต้ องการให้ แยกออกให้ ใช้ แรงดันเพียงเล็กน้ อยก็หลุดออกจากกัน
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ ตัวอย่ างการเจาะกรุ (die cutting)
ที่มา : http://www.schinner.com.au/
ที่มา : http://www.mathias-die.com/ Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ 5. การพิมพ์ หักเส้ นและการเจาะกรุ (scoring and perforating) การพิมพ์ หักเส้ นและการเจาะกรุ เป็ นการพิมพ์ โดยใช้ เส้ นเหล็กแหลมคมฝั งลงบนแม่ พิมพ์ เป็ นระยะเช่ นเดียวกับการ เจาะกรุ ต่ างกันคือใช้ ในกรณีท่ ีต้องการสิ่งพิมพ์ ท่ ีมีรอยปรุ เพื่อ การฉีกหรื อพับงอหรื อเป็ นการทาร่ องรอยไว้ ให้ ฉีก เช่ น คูปอง หรื อแสตมป์ เป็ นต้ น
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ ตัวอย่ างการพิมพ์ หักเส้ นและการเจาะกรุ (scoring and perforating)
ที่มา: Williams. 1993: 149.
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ 6. การพิมพ์ ดุน (embossing) การพิมพ์ ดุน เป็ นการพิมพ์ ท่ ีต้องการเน้ นส่ วนสาคัญให้ นูนขึน้ โดยใช้ แม่ พิมพ์ 2 อัน มีอันหนึ่งนูน อีกอันหนึ่งเว้ าลึกลง ไป ป้อนกระดาษเข้ าตรงกลางแล้ วใช้ แรงกด จากแท่ นพิมพ์ ระบบเลตเตอร์ เพรส เนื่องจากต้ องรั บแรงอัดมากกระดาษที่ใช้ จึงต้ องมีความ หนาพอสมควร ในกรณีท่ ีต้อการให้ นูนเป็ นสีต้องพิมพ์ สอดสีให้ เรี ยบร้ อยก่ อน Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ ตัวอย่ างการพิมพ์ ดุน (embossing)
ที่มา : http://www.pocketfolders.com/
ที่มา : http://www.creativexpress.com/
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ 7. การอาบมัน (varnishing) การอาบมัน เป็ นการพิมพ์ ท่ ีต้องการให้ มีผิวมัน เป็ นพิเศษ เช่ น หน้ าปกหนังสือ แฟ้ม แผ่ นพับ เป็ นต้ น การทาสิ่งพิมพ์ ให้ มีผิวมันมีหลายวิธีดังนี ้ 7.1 ใช้ หมึกพิมพ์ ท่ ีผสมนา้ มันชักเงา 7.2 การพิมพ์ ตรงบนกระดาษที่มีผิวมัน เช่ น กระดาษ อาร์ ตมัน กระดาษอาร์ ตแก้ ว
Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ 7. การอาบมัน (varnishing) 7.3 อาบยูวี (U.V. Coating) เป้นนา้ ยาใช้ อาบ เคลือบปก หรื อสิ่งพิมพ์ ท่ ีต้องการให้ มีผิวมัน (ต้ องเข้ าเครื่ องอาบ ยูวี ก่ อนขึน้ รู ป ) เมื่ออาบนา้ ยาแล้ ว นาไปผ่ านแสงอัลตร้ าไวโอเลต จะทาให้ แห้ ง และมันวาว ปั จจุบันมีการอาบด้ าน แต่ มีราคา แพงกว่ า 7.4 เคลือบพลาสติก (Plastic Laminate) ใช้ เคลือบ สิ่งพิมพ์ ท่ ีต้องการให้ มีความมันและทนทานมากกว่ า การอาบยูวี การเคลือบพลาสติกสามารถป้องกันนา้ ได้ เพราะเป็ นแผ่ นพลาสติกขาวใส ปิ ดทับสิ่งพิมพ์ อีกชัน้ หนึ่ง โดยใช้ ความร้ อนช่ วยให้ ติดแน่ นขึน้ วิธีนีไ้ ด้ งานที่มีคุณภาพดี แต่ มีราคาแพง Printing Technology for Journalism
การพิมพ์ โดยเทคนิคพิเศษ ตัวอย่ างการอาบมัน (varnishing)
Printing Technology for Journalism
กิจกรรม สรุ ปเรื่ อง ระบบการพิมพ์ 4 ระบบ • ลักษณะของแม่ พิมพ์ • หลักการทางาน • ชนิดของเครื่ องพิมพ์ • ข้ อดี ข้ อเสีย
Printing Technology for Journalism