3 minute read

The Wound

Next Article
Popcult

Popcult

Dining: “I know that she is furious. I remember my mom crying and saying to me that ‘Getting a girl pregnant is better than this.’ I was confused and don’t know what to do, smoldering, feeling sad and guilty, but I don’t know what it went wrong. And, I didn’t change anything, just living my life like nothing happened.”

“รู้ว่าเขาโกรธมาก โกรธมากๆ จ�ำได้ว่าแม่ร้องไห้แล้วพูดกับเราว่า ‘ไปท�ำผู้หญิงท้องยังรู้สึกดีกว่านี้เลย’ ตอนนั้นสับสนมากไม่รู้จะท�ำยังไง มันจุกอกไปหมด ทั้งเสียใจทั้งรู้สึกผิด แต่ก็ไม่รู้ว่าเราผิดอะไร แต่สุดท้ายก็ไม่ได้เปลี่ยนอะไรนะ ใช้ชีวิตไปเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น”

Advertisement

The Wounded

This project is composed of 3 stories on 3 pictures, which is the interpretation of violence in difference kinds, by interviewing about things I’ve engaged with and arranging damaged stuffs, leaving the violent clue. Also, I chose the actual set to take these photos, in the form of stage photography, to convey the atmosphere and feeling of this project, the domestic violence. It has been overlooked, seen as usual thing in many people’s lives, or seen as the little thing that isn’t deserved to receive attention. Moreover, this seemed-to-be-little thing fairly creates gigantic effect to victim, because there is nobody who can be responsible for that anymore.

I started the process by searching and interviewing for information, then I selected the worth collection of information and divide them into 3 stories. Since the content is quite sensitive and can make both offender and victim uncomfortable, but, fortunately, these interviewees understand the meaning I would like to convey and are welcome to get the content interviewed and pictures taken at the actual set. Since I decided to divide my process duration into 3 parts, which I spent each part on each story deeply and understandably to reach out the best outcome. However, I thought of destroying everything on the set to interpret the considerable damage at first, but there are still limitations of using the actual set, so I changed my decision to damage some parts that stand out meaningfully, and thought that the actual set will attract audiences’ mood and feeling as well.

Each part took around a month to be done. This project is a combination of fun and stress, due to the content that is challenging and difficult to complete, and the aim of it is to illustrate audiences meaning I wanted to convey, which is satisfying to me to reach it. I did my best and could say that I wholly stepped out of my safe zone, in regard to I was lucky to see understanding everywhere; teammates, interviewees, and family, who are pleased to help me anytime, and I’m feeling thankful for them. Lastly, the main reason for this project is to remind me of the past, don’t forget the pain that was happened and unintentionally cause it to others. Most importantly, I hope the audiences will realize and understand the violence in this project, and if you are a person who has been through this situation too, please know that you are not the only one.

ผลงานภาพชุดนี้มีทั้งหมด 3 เรื่อง 3 ภาพ ซึ่งเป็นการตีความความรุนแรงในหลากหลายลักษณะจากการสัมภาษณ์ที่ตนเองมีประสบการณ์ร่วม ผ่านการจัดวาง สิ่งของที่พังเสียหายเสมือนร่องรอยความรุนแรงที่หลงเหลืออยู่และเลือกใช้พื้นที่จริงในการถ่ายเพื่อต้องการให้ผู้ชมรู้สึกถึงบรรยากาศและเข้าถึงอารมณ์ความรู้สึก ของงานได้มากขึ้นซึ่งถ่ายทอดออกมาในรูปแบบ Stage Photography ทั้งนี้เพื่อสื่อให้เห็นถึงประเด็นความรุนแรงในครอบครัวซึ่งถูกมองข้ามหรือเห็นว่าเป็น ความคุ้นชิน มองว่าเรื่องเหล่านั้นเป็นเรื่องเล็กเกินกว่าที่จะให้ความสนใจ และทุกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเกิดจากสภาวะไม่สมประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของครอบครัว ความรุนแรงที่ดูเป็นเรื่องเล็กน้อยพวกนี้สร้างผลกระทบค่อนข้างใหญ่กับผู้ถูกกระท�ำ เพราะในทุกเรื่องไม่มีใครสามารถรับผิดชอบความรู้สึกแย่นั้นได้อีกแล้ว

เราเริ่มกระบวนการท�ำงานจากการสัมภาษณ์และค้นคว้าเพื่อเก็บชุดข้อมูลไว้ก่อน เมื่อได้ข้อมูลที่เราเห็นว่ามีความน่าสนใจมากในระดับนึง ก็ท�ำการเลือกบท สัมภาษณ์และข้อมูลที่มีอยู่ออกมา 3 เรื่อง เราโชคดีมากที่เจ้าของเรื่องเข้าใจความหมายที่เราต้องการสื่อเพราะเนื้อหาที่มีความเปราะบางอาจสร้างความไม่ สบายใจให้กับทั้งผู้ที่สร้างผลกระทบและได้รับผลกระทบ แต่พวกเขายินดีเล่าเหตุการณ์และอนุญาตให้ถ่ายท�ำในสถานที่จริงได้เลย การท�ำงานในช่วงแรกจึงเป็น ไปอย่างราบรื่น อีกส่วนหนึ่งคือเราตัดสินใจแบ่งเวลาการท�ำงานออกเป็น 3 ช่วง คือค่อยๆ ท�ำทีละเรื่อง เพราะเรารู้สึกอยากลงลึกและเข้าใจในแต่ละเรื่องที่ท�ำ ออกมาจริงๆ ในตอนแรกเราตั้งใจที่จะท�ำลายของทุกอย่างที่อยู่ในเซ็ตเพื่อให้แสดงร่องรอยความรุนแรงให้ได้มากที่สุด แต่ด้วยข้อจ�ำกัดของการถ่ายในสถานที่จริง ท�ำให้เราไม่สามารถท�ำแบบนั้นได้ จึงตัดสินใจว่าจะท�ำลายแค่บางส่วนและเลือกที่จะให้ความหมายกับการท�ำลายนั้นๆ แทน และเราคิดว่าการถ่ายท�ำในสถานที่ จริงจะสร้างอารมณ์และความรู้สึกให้กับผู้ชมได้มากกว่า

เราใช้เวลากับแต่ละเรื่องประมาณ 1 เดือน เป็นการท�ำงานที่สนุกปนความกดดัน ด้วยเนื้องานที่ค่อนข้างจะยากและท้าทายความสามารถของเราเอง โจทย์คือจะ ท�ำยังไงให้ผู้ชมเห็นความหมายที่เราต้องการจะสื่อ และผลที่ออกมาก็เป็นที่น่าพอใจส�ำหรับเรามากแล้ว เราคิดว่าเราท�ำเต็มความสามารถและพูดได้ว่าเราก้าว ออกจาก Safe Zone ได้อย่างเต็มที่แล้ว ทั้งหมดเราถือว่าเราโชคดีที่เจอแต่ความเข้าใจ ตั้งแต่ทีมเพื่อนที่ไปท�ำงานด้วยกันจนถึงเจ้าของเรื่องและครอบครัว ทุก คนน่ารักและเต็มที่ในการช่วยเหลือมากๆ เรายินดี ดีใจและขอบคุณที่ได้ท�ำงานร่วมกับทุกคน สุดท้ายแล้วเหตุผลหลักที่เราตั้งใจท�ำงานชิ้นนี้ออกมาก็เพื่อเตือนสติ ตัวเราเองในฐานะคนที่เคยผ่านเรื่องราวเหล่านี้มาก่อนว่าอย่าเผลอลืมความรู้สึกเจ็บปวดที่เกิดขึ้นจนเผลอตัวไปสร้างบาดแผลให้กับคนอื่นต่อไปอีกและหวังอย่าง ยิ่งว่าใครก็ตามที่ได้รับชมผลงานชิ้นนี้จะเข้าใจความรุนแรงเล็กๆ เหล่านี้ได้มากขึ้น และถ้าใครคนนั้นเป็นคนที่เจอเรื่องราวประเภทเดียวกันก็ขอให้รู้ว่าไม่ใช่แค่คุณ คนเดียวที่มีประสบการณ์เลวร้ายแบบนั้น

Living: “‘We are all we have,’ is my mother’s classic sentence, but I felt we are apart in different worlds, our signals aren’t connected anymore. Until the day of actually being apart arrives, I thought that the truth might be we should have each other than I thought, then it wouldn’t turn out like this.”

“‘เรามีกันอยู่แค่นี้นะ’ ประโยคคลาสสิคของแม่เลย แต่ตอนนั้นเหมือนเขากับเราอยู่กันคนละโลกเลย เหมือนสัญญาณของเรามันจูนกันไม่ติดอีกต่อไปแล้ว จนวันที่ ส่งตัวแม่ไปก็มานั่งคิดว่าหรือจริงๆ แล้ว เราควรมีกันมากกว่านี้ไม่งั้นทุกอย่างก็คงไม่เป็นแบบนี้รึเปล่า”

Seeing: “I’ve never thought that the misunderstanding will let him speak out that sentence, ‘Don’t you go changing your family name if you’ve done this?’ I was stunned at that time, and I felt like being his child is being his bondage. Looking around anywhere is a place of father’s stuff and place. Nothing to say but I’m disappointed.”

“ไม่เคยคิดว่าเรื่องเข้าใจผิดมันจะท�ำให้เขาพูดประโยคนั้นออกมา ‘ท�ำแบบนี้เปลี่ยนนามสกุลไปเลยดีมั้ย’ จังหวะนั้นเราช็อคไปเลย ความรู้สึกตรงนั้น เหมือนความเป็นลูกของเราเป็นพันธนาการของเขาเลย มองไปตรงไหนก็มีแต่ของของพ่อ ที่ของพ่อ เสียใจมาก ไม่รู้จะพูดยังไง ก็นั่นแหละ เสียใจ”

This article is from: