ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
LOGO
บทที่ 3
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
วิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ วิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 2
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
3
การวางแผนระบบสารสนเทศ การได้มาซึ่งระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบ เทคนิคการใช้แผนภาพกระแสข้อมูล เทคนิคการใช้แผนภาพกระแสงาน
การวางแผนระบบสารสนเทศ 1. แนวคิด (Concept) ของการวางแผนระบบสารสนเทศ การคาดการณ์ ผลลัพธ์ของการนาระบบมาใช้ โดยกาหนดวิธีปฏิบตั ิ เพื่อให้สามารถใช้ ระบบสารสนเทศให้บรรลุเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้
โดยต้องกาหนดแผนกลยุทธ์ ขององค์การก่ อน ก็คื อการวางแผนการดาเนิ นงาน ทัว่ ไปของธุ รกิ จ จากนั้นจึ งนาแผนกลยุทธ์ขององค์การที่ ได้มาใช้กาหนดแผนกล ยุทธ์ดา้ นระบบสารสนเทศ ผลที่ได้ คือ แผนกลยุทธ์ดา้ นระบบสารสนเทศที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ องค์การ ซึ่ งช่วยให้ทราบถึงระบบที่ ตอ้ งการพัฒนาและ ลาดับความสาคัญก่อนหลัง 4
การวางแผนระบบสารสนเทศ แนวคิด (Concept) ของการวางแผนระบบสารสนเทศ กาหนดแผนกลยุทธ์ขององค์การ (การวางแผนการดาเนินงานทัว่ ไปของธุรกิจ)
กาหนดแผนกลยุทธ์ดา้ นระบบสารสนเทศ (นาแผนกลยุทธ์ขององค์การมาเป็ นตัวกาหนด) ผลลัพธ์
แผนกลยุทธ์ดา้ นระบบสารสนเทศ ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ขององค์การ 5
การวางแผนระบบสารสนเทศ 2. กระบวนการวางแผนระบบสารสนเทศ ขั้นตอนที่ 1 กาหนดเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ ขั้นตอนที่ 2 วางแผนสิ่ งแวดล้อม (สิ่ งแวดล้อมภายในองค์การและสิ่ งแวดล้อมภายนอกองค์การ ) ขั้นตอนที่ 3 การจับประเด็นกลยุทธ์ (เลือกทิศทางองค์การ ) ขั้นตอนที่ 4 การกาหนดนโยบาย (จัดทาแผนปฏิบตั ิงาน) ขั้นตอนที่ 5 การกาหนดขั้นตอนการทางาน 6
การวางแผนระบบสารสนเทศ ก ร ะ บ ว น ก า ร ว า ง แ ผ น ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ มี 5 ขั้ น ต อ น ดั ง นี้
ขั้นตอนที่ 1 กาหนดเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ เพื่อนามาใช้เป็ นแนวทางการวางแผนใน ขั้นตอนต่อไป โดยบุคลากรทุกฝ่ ายงานต้องเข้าใจตรงกันและสามารถปฏิบตั ิงานได้ตามแผน ที่วางไว้ ขั้นตอนที่ 2 วางแผนสิ่ งแวดล้ อม เป็ นการค้นหาผลกระทบ ที่มีต่อแผนระยะยาวของการนา ระบบสารสนเทศมาใช้ สิ่ ง แวดล้อ มภายในองค์การ เช่ น ความสามารถของบุ คลากรในการใช้ระบบ สารสนเทศ สิ่ งแวดล้อมภายนอกองค์การ เช่น การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีฮาร์ ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ ค่าใช้จ่าย 7
การวางแผนระบบสารสนเทศ ขั้นตอนที่ 3 การจับประเด็นกลยุทธ์ เลือกทิศทางที่องค์การจะก้าวไปในอนาคต และนา ทิศทางที่เลือกมาตั้งเป็ นประเด็นกลยุทธ์ ขั้น ตอนที่ 4 การก าหนดนโยบาย ใช้น โยบายเป็ นแนวทางปฏิ บ ัติ ง าน เพื่ อ ให้สามารถ ดาเนินงานด้านระบบสารสนเทศได้ตามแผนกลยุทธ์ ขั้นตอนที่ 5 การกาหนดขั้นตอนการทางาน นานโยบายมาแตกย่อยเป็ นวิธีและขั้นตอนการ ปฏิบตั ิงาน และควบคุมการทางานของผูป้ ฏิบตั ิงาน
8
การได้ มาซึ่งระบบสารสนเทศ
1. การจัดซื้อซอฟต์ แวร์ เชิงพาณิชย์ จากผูผ้ ลิต และผูจ้ าหน่ายซอฟต์แวร์ ในท้องตลาด ซอฟต์แวร์สาเร็ จรู ป 2. การใช้ บริการภายนอก โดยมีการจัดจ้างองค์กรภายนอก ให้ทาการพัฒนาระบบ สารสนเทศที่ตอ้ งการให้ 3. การพัฒนาระบบขึน้ ใช้ งานเองในองค์ การ ผ่านทางกิ จกรรมด้านการพัฒนาระบบ (System Development Activities) โดยมีการสร้างทีมงานพัฒนาระบบเอง
9
การพัฒนาระบบสารสนเทศ การสร้างระบบงานใหม่หรื อการปรับเปลี่ยนระบบงานเดิมที่มีอยูแ่ ล้ว ให้ส ามารถท างานเพื่ อ แก้ปั ญ หาการด าเนิ น งานทางธุ ร กิ จ ได้ต ามความต้อ งการของ ผูใ้ ช้งาน รู ปแบบของวงจรการพัฒนาระบบ
10
Waterfall Adapted Waterfall Evolutionary Incremental Spiral
SDLC แบบ Waterfall แบบ Waterfall แบบ Waterfall มีหลักการเปรี ยบเสมือนกับน้ าตก ซึ่ งไหลจากที่สูงลงที่ต่า และ ไม่สามารถย้อนกลับได้ การพัฒนาระบบงานด้วยหลักการนี้ จะต้องมี การวางแผนที่ดี เพื่อป้ องกันการ ผิด พลาดให้ ไ ด้ม ากที่ สุ ด ซึ่ งท าได้ย าก ยกเว้น กรณี ที่ ร ะบบนั้น มี รู ป แบบการ พัฒนาระบบที่ดีอยูแ่ ล้ว จุดอ่อนของระบบนี้ คือ หากมีขอ้ ผิดพลาดเกิดขึ้นที่ข้ นั ตอนก่อนหน้านี้ แล้ว ไม่ สามารถย้อนกลับไปแก้ไขได้
11
SDLC แบบ Waterfall
12
SDLC แบบ Adapted Waterfall พัฒนามาจากแบบ Waterfall โดยในแต่ละขั้นตอนสามารถแก้ไขข้อผิดพลาดหรื อสามารถ ย้อนกลับได้
13
SDLC แบบ Evolutionary พัฒนาระบบงานจนเสร็ จสิ้ นใน Version ที่ 1 ก่อน จากนั้นจะพิจารณาถึงข้อดีขอ้ เสี ยใน Version ที่ 1 และนาข้อดีขอ้ เสี ยเหล่านั้นมาพัฒนาระบบในVersion ที่ 2 และ Version ต่อๆ ไป Analysis
Analysis
Analysis Design
Design
Version 3 Version 2
14
Implementation
Implementation
Implementation
Version 1
Design
SDLC แบบ Incremental มีลกั ษณะคล้ายคลึงแบบ Evolutionary แต่มีขอ้ แตกต่างกันตรงที่ตวั Product (ระบบ) ที่พฒั นาขึ้นจะเป็ นส่ วนแรกเท่านั้น และพัฒนาในส่ วนที่ 2 และส่ วน อื่น ๆ เพิ่มเติมเพื่อ Product (ระบบ) ที่สมบูรณ์
Analysis Design Implementation Part 1 15
Analysis Design Implementation Part 2 Part 1
Analysis Design Implementation Part 3 Part 2
Part 1
SDLC แบบ Spiral มีลกั ษณะเป็ นวงจรวิเคราะห์ – ออกแบบ – พัฒนา – ทดสอบ (Analysis – Design - Implementation – Testing) และจะวนกลับมาในแนวทางเดิมไป เรื่ อยๆ จนกระทัง่ ได้ Product ที่สมบูรณ์ การพัฒนาระบบงานแบบ Spiral จะมีความยืดหยุน่ มากที่สุดเพราะระยะเวลาในการทา แต่ละขั้นตอนจะสั้นหรื อยาวก็ได้ และบางขั้นตอนอาจถูกข้ามไปก็ได้
16
การพัฒนาระบบสารสนเทศ 3. วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) คือ กระบวนการทางความคิด (Logical Process) ในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ แก้ปัญหาทางธุรกิจและตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้ ภายในวงจรนี้จะแบ่งกระบวนการพัฒนาออกเป็ นระยะ (Phase) ได้แก่ ระยะการวางแผน (Planning Phase) ระยะการวิเคราะห์ (Analysis Phase) ระยะการออกแบบ (Design Phase) ระยะการสร้างและพัฒนา (Implementation Phase)
17
การพัฒนาระบบสารสนเทศ วงจรการพัฒนาระบบ (SDLC) แบ่งเป็ น 7 ขั้นตอน 1. ค้นหาและเลือกสรรโครงการ (Project Identification and Selection) 2. จัดตั้งและวางแผนโครงการ (Project Initiating and Planning) 3. วิเคราะห์ระบบ (Analysis)
4. ออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) 5. ออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) 6. พัฒนาและติดตั้งระบบ (System Implementation) 7. ซ่อมบารุ งระบบ (System Maintenance) 18
การพัฒนาระบบสารสนเทศ System Development Life Cycle : SDLC ระยะการวางแผน (Planning Phase)
ระยะการวิเคราะห์ (Analysis Phase) ระยะการออกแบบ (Design Phase)
ระยะการสร้ างและพัฒนา (Implementation Phase)
19
การพัฒนาระบบสารสนเทศ System Development Life Cycle : SDLC 1.
ค้ นหาและเลือกสรรโครงการ (Project Identification and Selection)
กิจกรรม ตัวอย่างแผนภาพเครื่องมือและเทคนิคทีใ่ ช้ 1 . ค้ น ห า โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ที่ ตารางเมตริ กซ์ (Matrix Table) เห็นสมควรได้รับการพัฒนา 2. จาแนกและจัดลาดับโครงการ 3. เลือกโครงการที่เหมาะสมที่สุด
20
การพัฒนาระบบสารสนเทศ 2. เริ่มต้ นและวางแผนโครงการ (Project Initiating and Planning) กิจกรรม 1. เริ่ มต้นโครงการ 2. เสนอแนวทางเลือกในการนาระบบ ใหม่มาใช้งาน 3. วางแผนโครงการ
21
ตัวอย่างแผนภาพเครื่องมือและเทคนิคทีใ่ ช้ เทคนิคการรวบรวมสารสนเทศและข้อเท็จจริ ง (Fact-Finding and Information Gathering) เทคนิคการวิเคราะห์ตน้ ทุนและผลกาไร (Costbenefit Analysis) PERT Chart Gantt Chart
การพัฒนาระบบสารสนเทศ 3. วิเคราะห์ ระบบ (System Analysis) กิจกรรม 1. ศึกษาขั้นตอนการทางานของระบบเดิม 2. กาหนดความต้องการในระบบใหม่จาก ผูใ้ ช้ระบบ 3. จาลองแบบขั้นตอนการทางาน 4. อธิบายขั้นตอนการทางานของระบบ
22
ตัวอย่างแผนภาพเครื่องมือและเทคนิคทีใ่ ช้ เทคนิคการรวบรวมสารสนเทศและข้อเท็จจริ ง (Factfinding and Information Gathering) แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล (E-R Diagram) พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ตัวต้นแบบ (Prototyping) ผังงานระบบ (System Flowchart) เครื่ องมือช่วยในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ (CASE Tools)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ 4. ออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design)
กิจกรรม 1. ออกแบบแบบฟอร์ มข้ อ มู ล และ รายงาน (Form/Report) 2. ออกแบบ User Interface 3. ออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ
23
ตัวอย่างแผนภาพเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล (ERDiagram) พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ตัวต้นแบบ (Prototyping) เครื่ องมื อช่วยในการวิเคราะห์ และออกแบบ ระบบ (CASE Tools)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ 5. ออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) กิจกรรม ตัวอย่างแผนภาพเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ 1. ออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) 2. ออกแบบ Application แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล (ER – Diagram) พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ตัวต้นแบบ (Prototyping) เครื่ องมือช่วยในการวิเคราะห์และ ออกแบบระบบ (CASE Tools) 24
การพัฒนาระบบสารสนเทศ 6. พัฒนาและติดตั้งระบบ (System Implementation) กิจกรรม ตัวอย่างแผนภาพเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ 1. เขียนโปรแกรม (Coding) โปรแกรมช่วยสอน (Computer Aid Instruction: CAI) 2. ทดสอบโปรแกรม (Testing) ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการฝึ กอบรม 3. ติดตั้งระบบ (Installation) (Computer-based Training: CBT) 4. จัดทาเอกสาร (Documentation) ระบบการฝึ กอบรมผ่านเว็บ (Web-based 5. ฝึ กอบรม (Training) Training: WBT) 6. บริ การให้ความช่วยเหลือหลังการ โปรแกรมแก้ไขข้อผิดพลาด (Debugging ติดตั้ง (Support) Program) 25
การพัฒนาระบบสารสนเทศ 7. ซ่ อมบารุ งระบบ (System Maintenance) กิจกรรม 1. เก็บรวบรวมคาร้องขอให้ปรับปรุ งระบบ 2. วิเคราะห์ขอ้ มูลคาร้องขอเพื่อการปรับปรุ ง 3. ออกแบบการทางานที่ตอ้ งการปรับปรุ ง 4. ปรับปรุ งระบบ
26
ตัวอย่างแผนภาพเครื่องมือและเทคนิค ทีใ่ ช้ แบบฟอร์มแจ้งข้อผิดพลาดของระบบ
เทคนิคการใช้ แผนภาพกระแสข้ อมูล แผนภาพกระแสข้ อมูล (Data flow Diagram) แผนภาพกระแสข้อมูล คือ เครื่ องมือช่วยวิเคราะห์ระบบเชิงโครงสร้าง เพื่อแสดงทิศ ทางการส่ งผ่านข้อมูลในระบบความ สัมพันธ์ระหว่างข้อมูลรั บเข้าและส่ งออกกับ กระบวนการ สื่ อ ถึ ง วิ ธี ก ารท างาน แต่ ไ ม่ สื่ อ ถึ ง วิ ธี ก ารประมวลผลของระบบ มีองค์ประกอบคือ Data Flow, Data Store,Process และ External Entity
27
เทคนิคการใช้ แผนภาพกระแสข้ อมูล สั ญลักษณ์ ทใี่ ช้ ในแผนภาพกระแสข้ อมูล
28
เทคนิคการใช้ แผนภาพกระแสข้ อมูล ระดับของแผนภาพ การเขียนแผนภาพกระแสข้อมูลมี 3 ระดับ คือ 1. แผนภาพบริ บท (Context Diagram) แสดงถึงภาพรวมและขอบเขตของระบบงาน โดยเขียนสัญลักษณ์ Process 1 Process ที่แทนระบบงานทั้งระบบไว้กลางหน้ากระดาษ และกากับด้วยเลข 0 และเขียน External Entity รอบๆ Process ใช้ลูกศรแทน Data Flow เพื่อเชื่อมต่อ Process และ External Entity โดยจะไม่แสดง Data Store ณ ระดับนี้ ดัง ตัวอย่าง ระบบแนะนาหนังสื อในธุรกิจพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
29
/
0
3030
เทคนิคการใช้ แผนภาพกระแสข้ อมูล 2. แผนภาพระดับศูนย์ (Data Flow Diagram Level 0) แสดงรายละเอียดของ กระบวนการหลักในแผนภาพบริ บท หรื อนารายละเอียดใน กระบวนการหลักมาขยายให้ชดั เจนขึ้น โดยเพิ่มรายละเอียด Data Store และ Data Flow ที่เชื่อมต่อ Process กับ Data Store ซึ่ งจะใช้หมายเลขอ้างอิงตั้งแต่ 1.0 ขึ้นไป ดัง ตัวอย่าง ระบบแนะนาหนังสื อในธุรกิจพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
31
เทคนิคการใช้ แผนภาพกระแสข้ อมูล 2.0
1.0 D1
3.0
4.0
5.0 D2
6.0
D3
D4
D2 7.0 32
ภาพแสดง Data Flow Diagram Level 0
เทคนิคการใช้ แผนภาพกระแสข้ อมูล
3. แผนภาพระดับหนึ่ง (Data Flow Diagram Level 1) ใช้ขยายรายละเอียด ของ กระบวนการย่อยให้ชดั เจนขึ้น จานวนแผนภาพระดับสอง จะขึ้ นกับความจาเป็ นที่ จะต้องแตกกระบวนการย่อยของแผนภาพระดับหนึ่ ง ใช้หมายเลข 1.1, 1.2, ... หรื อ 2.1, 2.2, ... กากับ ดังตัวอย่าง ระบบแนะนาหนังสื อในธุรกิจพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิ กส์
33
2.1
2.2
ภาพแสดง Data Flow Diagram Level 1 ของขั้นตอนการเข้ าสู่ ระบบ 3434
เทคนิคการใช้ แผนภาพกระแสงาน แผนภาพกระแสงาน (Work Flow Diagram) คือ เครื่ องมือที่ใช้ในการสื่ อสารระหว่างผูพ้ ฒั นาระบบและผูใ้ ช้ระบบ และใช้แสดงถึง ทิศทางกระแสงานที่เกิดขึ้นในระบบ โดยใช้สัญลักษณ์ (Symbol) หรื อสัญรู ป (Icon) ที่ สื่ อความหมายต่อ ผูใ้ ช้ โดยอาจเขียนในลักษณะ Input Process Output เพื่อวิเคราะห์ กระแสงานภายในระบบ ดังตัวอย่าง กระบวนการอนุมตั ิสินเชื่อ
35
เทคนิคการใช้ แผนภาพกระแสงาน
Credit Approval Process Work Flow Diagram กิจกรรมบทที่ 3 : ให้นกั ศึกษาอธิบายขั้นตอนการทางานของ Work Flow Diagram ที่กาหนดให้ 36
แบบฝึ กหัด
1. การจัดซื้ อซอฟต์แวร์ เชิงพาณิ ชย์ขององค์กรขนาดเล็กจะต้องพิจารณาสิ่ งใดบ้าง 2. ข้อได้เปรี ยบของการใช้บริ การภายนอก เพื่อการพัฒนาระบบสารสนเทศขึ้นใช้ ในองค์การ คืออะไร 3. อธิ บายขั้นตอนการพัฒนาระบบ แบบ SDLC ทั้ง 7 ขั้นตอน 4. เทคนิ คแผนภาพกระแสข้อมูลมักใช้ในขั้นตอนใดของการพัฒนาระบบ และมี ประโยชน์ต่อผูใ้ ช้และทีมงานพัฒนาระบบอย่างไร
37