Ch_5

Page 1

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ

LOGO


บทที่ 5

ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

วิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ วิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 2


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ สารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ

3


การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management) การบริหารทรัพยากรมนุษย์ หรือ การบริหารงานบุคคล (Personnel Management) หมายถึง กระบวนการในการสรรหา คัดเลือก และบรรจุบุคคลที่เหมาะสมเข้า ทางานในจานวนที่เพียงพอ และเหมาะสมรวมทั้งการบารุ งรักษา ด้วยการเพิ่มพูนความรู ้ ความสามารถให้ทนั สมัยอยู่เสมอ โดยครอบคลุมกระบวนการที่ มีความเกี่ ยวข้องกับ บุคคลตั้งแต่ 1. ก่อนการบรรจุลกู จ้างเข้าทางาน 2. การเกษียณอายุพนักงาน 3. การให้ลกู จ้างออกจากงาน เพื่อนาไปสู่ ความสาเร็ จขององค์กร ตามเป้ าหมายที่วางไว้ 4


การบริหารทรัพยากรมนุษย์ องค์ ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1. ผู้บริ หาร คือ ผูท้ ี่ มีหน้าที่ ดา้ นจัดสรรทรั พยากรที่ ใช้ในองค์การ แบ่งเป็ น ผูบ้ ริ หารระดับสู ง ผูบ้ ริ หารกลาง และผูบ้ ริ หารล่าง 2. การบริ หาร คื อ การผสมผสานทั้งความรู ้ และประสบการณ์ในการจัดการ คือ การวางแผน การจัดการองค์กร การจัดคนเข้าทางาน การนาหรื อการสั่งการ และการ ควบคุม 3. ทรั พยากรมนุ ษย์ เป็ นปั จจัยแห่ งความสาเร็ จขององค์การถูกมองเป็ น ทุน ด้านมนุ ษย์ (Human Capital) เป็ นส่ วนหนึ่ งของทุนทางปั ญญา ที่สามารถเพิ่มมูลค่าได้ เมื่อระยะเวลาผ่านไป

5


การบริหารทรัพยากรมนุษย์ วัตถุประสงค์ ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1. เพื่อสรรหาและคัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเข้ามาทางานใน องค์การ (Recruitment and Selection : การสรรหา) 2. เพื่อใช้คนให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด (Utilization : การใช้ ประโยชน์ ) 3. เพื่ อ บ ารุ งรั ก ษาพนั ก งานที่ มี ค วามสามารถให้ อ ยู่ กั บ องค์ ก ารนานๆ (Maintenance : การธารงรักษา) 4. เพื่อพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถ (Development : การพัฒนา)

ที่มา : http://www.hrtothai.com 6


การบริหารทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1. การออกแบบการวิเคราะห์ และการวิเคราะห์ เพือ่ จัดแบ่ งตาแหน่ งงาน (Task Specialization Process) กาหนด คาบรรยายลักษณะงาน (Job Description) และ ข้อกาหนดตาแหน่งงาน หรื อคุณสมบัติของบุคคล (Job Specification) 2. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Planning) กาหนดอัตรา กาลังคน คุณลักษณะของกาลังคน 3. การสรรหาและการคัดเลือกพนักงาน (Recruitment and Selection Process) การสรรหา (Recruitment) คือ กระบวนการในการแสวงหาและจูงใจผูส้ มัคร งานที่ มีความสามารถเข้ามาทางาน เริ่ มต้นตั้งแต่การแสวงหาคนเข้าทางานและสิ้ นสุ ด เมื่อบุคคลได้มาสมัครงานในองค์การ การคัดเลือก(Selection) คื อ กระบวนการที่ องค์กรใช้เครื่ องมื อต่างๆ มา ดาเนินการพิจารณาคัดเลือกผูส้ มัครจานวนมากให้เหลือตามจานวนที่องค์กรต้องการ ที่มา : http://www.hrtothai.com 7


การบริหารทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (ต่ อ) 4. การปฐมนิ เ ทศบรรจุ พ นั ก งานและการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน (Induction or Orientation and Appraisal Process) การวัดและการประเมินผลการ ปฏิ บ ัติง านในรอบระยะเวลาหนึ่ งๆ แล้วเปรี ย บเที ย บกับ เป้ าหมาย หรื อ มาตรฐานที่ กาหนดไว้ล่วงหน้า 5. การฝึ กอบรมและการพัฒนา (Training and Development Process) เพิ่มพูนความรู ้ และทักษะที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิงาน 6. กระบวนการทางด้ านสุ ข ภาพ ความปลอดภั ย และแรงงานสั มพันธ์ (Health, Safety Maintenance Process and Labor Relation) 7. การใช้ วินัยควบคุมตลอดจนการประเมินผล (Discipline Control and Evaluation Process) ที่มา : http://www.hrtothai.com 8


สารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ สารสนเทศเพื่อการบริ หารทรั พยากรมนุ ษย์ หมายถึง สารสนเทศที่ ได้จาก การประมวลผลของระบบสารสนเทศเพื่ อ การบริ หารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ (Human Resources Information System : HRIS) มักเกิดขึ้นซ้ าๆ เป็ นวัฏจักร เริ่ มตั้งแต่การ สรรหา และ ว่ าจ้ างบุคคลให้ ทางาน จนบุคคลนั้น พ้ นสภาพ จากการเป็ นพนักงานบริ ษทั จึ งนับว่าสารสนเทศที่ ได้รับจาก การประมวลผล จะมีความสัมพันธ์กบั กิจกรรมการบริ หารทรัพยากรมนุษย์อย่างชัดเจน

9


สารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ จาแนกประเภทของผู้ใช้ สารสนเทศได้ 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 ผู้ใช้ ภายในธุรกิจ ประกอบด้วยลูกจ้างผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่ ในหน่วยงาน ต่างๆของธุรกิจ ตลอดจนผูบ้ ริ หารระดับต่างๆ ขององค์การ ประเภทที่ 2 ผู้ใช้ ภายนอกของธุรกิจ ประกอบด้วย สหภาพแรงงาน หน่ วยงาน รั ฐ บาล ตลาดแรงงาน ตลอดจนธุ ร กิ จ อื่ น ๆ ซึ่ งสนใจใช้ข ้อ มู ล ขององค์ ก ารในการ เปรี ยบเทียบข้อมูลด้านต่างๆ อาทิเช่น อัตราเงินเดือนและความต้องการแรงงาน เป็ นต้น

จาแนกประเภทสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ได้ 3 ประเภท คือ 1. สารสนเทศเชิงปฏิบัตกิ าร 2. สารสนเทศเชิงกลวิธี 3. สารสนเทศเชิงกลยุทธ์ 10


สารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ สารสนเทศเชิงปฏิบัติการ 1. สารสนเทศด้ านการคัดเลือก เช่น ผลการสัมภาษณ์ผสู้ มัครรายชื่อผูส้ มัครที่ ผ่านการคัดเลือก และจดหมายแจ้งผูส้ มัคร 2. สารสนเทศด้ านการบรรจุเข้ ารั บตาแหน่ งงาน เช่น สถิติการเข้ามอบตัว คาสัง่ บรรจุ และแต่งตั้งบุคลากร 3. สารสนเทศด้ านประวัติบุคลากร เช่น ประวัติส่วนตัวของบุคลากรและ ประวัติการทางาน ข้อมูลทักษะ ความชานาญ 4. สารสนเทศด้ านการประเมินผลการปฏิบัติงาน เช่น ข้อมูลผลงานและผลการ ปฏิบตั ิงานของบุคลากรวิธีการที่ใช้วดั และประเมินผล รวมทั้งรายงานการประเมินผลการ ปฏิบตั ิงาน 5. สารสนเทศด้ านการจ่ ายเงินเดือน เช่น โครงสร้างเงินเดือนอัตราเงินเดือน อัตราภาษีเงินได้ ข้อมูลค่าลดหย่อนและรายได้หลังหักภาษี ที่ปรากฏอยูใ่ นสลิปเงินเดือน และรายงานต่างๆ 11


สารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ สารสนเทศเชิงกลวิธี 1. สารสนเทศด้ านการสรรหา เช่น แหล่งจัดหางาน ประวัติและคุณสมบัติ ของผูส้ มัครงาน รายงานสถิติ ผูส้ มัครงาน 2. สารสนเทศด้ านการวิเคราะห์ งาน เช่น Job Description & Job Specification ใช้ในการควบคุมตาแหน่งและประเมินเงินเดือน 3. สารสนเทศด้ านการควบคุมตาแหน่ ง เช่น โครงสร้างตาแหน่งงาน บัญชี รายชื่อ ตาแหน่งงานและตาแหน่งงานว่าง 4. สารสนเทศด้ านการสวัสดิการและผลประโยชน์ เช่น รายงานค่าใช้จ่าย ค่าสวัสดิการ ค่าตอบแทนและเงินชดเชย รายงานการใช้สิทธิ และรายงานผลประโยชน์ 5. สารสนเทศด้ านการพัฒนาและฝึ กอบรม เช่น แผนการฝึ กอบรม รายชื่อ หลักสู ตร รายชื่อวิทยากร รายชื่อผูเ้ ข้ารับการอบรม ค่าใช้จ่ายในการฝึ กอบรม รวมทั้ง ผลสาเร็ จสาหรับการฝึ กอบรม 12


สารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ สารสนเทศเชิงกลยุทธ์ 1. สารสนเทศด้ านการวางแผนอัตรากาลัง ประกอบด้วยแผนอัตรากาลังคน ในระยะยาวใช้ส าหรั บวางแผนความก้าวหน้าในงานอาชี พ และวิเคราะห์ อตั รา หมุนเวียนแรงงาน 2. สารสนเทศด้ านการเจรจาต่ อรองแรงงาน เกิดจากการที่ผบู ้ ริ หารเจรจา ต่อรองกับสหภาพแรงงาน เพื่อความสัมพันธ์อนั ดีต่อกันระหว่างบุคคล ** สารสนเทศที่เป็ นผลลัพธ์จากระบบหนึ่งจะเป็ นข้อมูลนาเข้าของอีกระบบหนึ่ง

13


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ Human Resources Information System : HRIS ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ มีความสามารถในการรวบรวม จัดเก็บ แบ่งแยก นาเสนอข้อมูล ประมวลผล และเผยแพร่ ข้อมูลที่หลากหลายสาหรับการบริ หารทรัพยากรบุคคลในองค์กรได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิผลโดยมีวตั ถุประสงค์หลักคือ 1) เพื่อวางแผนความต้องการทรัพยากรบุคคลขององค์กร 2) การอบรมและพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลเพื่ อ เพิ่ ม ความช านาญ และ ประสิ ทธิภาพในการทางาน 3) การกาหนดนโยบาย แผนงาน หรื อโครงการที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรมนุษย์ ที่มา : http://www.mbaknol.com 14


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

องค์ ประกอบของระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1. ระบบงานวางแผนกาลังคน (Man Power Planning) 2. ระบบงานทะเบียนประวัติ (Central Database) 3. ระบบการตรวจสอบเวลา (Time Attendance) 4. ระบบงานด้ านการคานวณเงินเดือน (Payroll) 5. ระบบประเมินผลการปฏิบัตงิ าน (Performance Evaluation) 6. ระบบงานพัฒนาและฝึ กอบรมบุคลากร (Training and Development) 7. ระบบงานสวัสดิการต่ างๆ (Welfare) 8. ระบบการสรรหาบุคลากร (Recruitment) ที่มา : http://www.hrtothai.com 15


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

1. ระบบงานวางแผนกาลังคน (Man Power Planning) ระบบงานวางแผนกาลังคน (Man Power Planning) แสดงให้เห็นถึงความ เคลื่อนไหวของอัตรากาลัง อัตราการเข้า – ออกของบุคลากร และพยากรณ์ความต้องการ บุ ค ลากรขององค์ ก รในอนาคต ให้ ส อดคล้อ งกั บ จ านวนแรงงานที่ ว่ า งงานใน ตลาดแรงงาน ผูบ้ ริ หารระดับสู งจะค้นคืนสารสนเทศภายนอกผ่านอิ นเทอร์ เน็ต และสารสนเทศ ภายในผ่านอินทราเน็ต แล้วนาเข้าข้อมูลผ่านโปรแกรมสาเร็ จรู ปการวางแผนอัตรากาลังคน เมื่อประมวลผลจะได้สารสนเทศในรู ปแบบของแผนอัตรากาลังคน เทคโนโลยีที่นามาใช้ คือ โปรแกรมส ำเร็ จ รู ป กำรวำงแผนอัตรำกำลัง คน ระบบ อินทรำเน็ต และระบบอินเทอร์เน็ต 16


กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ

ภาพที่ 1 กระบวนการทางธุรกิจของระบบการวางแผนอัตรากาลังคน 17


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

2. ระบบงานทะเบียนประวัติ (Central Database) ระบบงานทะเบียนประวัติ (Central Database) ช่วยในการเก็บข้อมูลด้าน ประวัติส่วนตัวของบุ คลากร ประวัติการทางาน ฯลฯ รวมถึ งการบรรจุ เข้าทางานซึ่ ง ระบบอื่นๆ สามารถดึงข้อมูลไปใช้ร่วมกันได้  น าข้อ มู ล จากแฟ้ มผูส้ มัค รที่ ผ่ า นการคัด เลื อ กมาบัน ทึ ก เพื่ อ บรรจุ เ ข้า ท างานใน ตาแหน่งงานที่รับสมัคร  ปรับสถานะตาแหน่งงานจากตาแหน่งงานว่างมาเป็ นตาแหน่งที่ได้รับการบรรจุแล้ว  ออกคาสั่งบรรจุบุคลากรเพื่อแจ้งให้ฝ่ายงานต่างๆ ทราบ พร้อมทั้งออกบัตรประจาตัว ให้แก่บุคคลผูเ้ ข้ารับการบรรจุ  เทคโนโลยีที่นามาใช้ คื อ โปรแกรมสาเร็ จรู ปงานทะเบี ยนประวัติ หรื อโปรแกรม สาเร็ จรู ปงานบุคลากร และระบบอินเทอร์เน็ต 18


กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ

ภาพที่ 2 กระบวนการทางธุรกิจในส่ วนบรรจุเข้ารับตาแหน่งและทะเบียนประวัติบุคลากร 19


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

3. ระบบการตรวจสอบเวลา (Time Attendance) ระบบการตรวจสอบเวลา (Time Attendance) ระบบจะดึงเวลาจากเครื่ องรู ด บัตร มาเปรี ยบเทียบกับตารางเวลาทางานปกติของพนักงาน แล้วรายงานความผิดพลาด ที่เกิดขึ้นออกมา เช่น การขาดงาน, การมาสาย, การลา, หรื อการทางานล่วงเวลา เป็ นต้น  เมื่อถึงเวลำสิ้ นเดือนระบบจะออกรำยงำนกำรบันทึกเวลำกำรทำงำน รำยงำนประวัติ กำรลำ รำยงำนกำรทำงำนล่วงเวลำ และรำยงำนสรุ ปเวลำกำรทำงำน เพื่อนำส่ งผูบ้ ริ หำร พิจำรณำ และจัดเตรี ยมกำรจ่ำยเงินเดือนต่อไป  เทคโนโลยี ที่ น ามาใช้ คื อ โปรแกรมส ำเร็ จ รู ป บัน ทึ ก เวลำกำรท ำงำน, ระบบ อินเทอร์ เน็ต ฮำร์ ดแวร์ ต่ำงๆ เช่น เครื่ องรู ดบัตร และเครื่ องสแกนลำยนิ้วมือ

20


กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ

ภาพที่ 3 กระบวนการทางธุรกิจในส่ วนการบันทึกเวลาการทางาน การลางานและการทางานล่วงเวลา 21


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

4. ระบบงานด้ านการคานวณเงินเดือน (Payroll) ระบบงานด้ านการคานวณเงินเดือน (Payroll) ช่วยในการบริ หารเงินเดือน ค่าตอบแทน และภาษี โดยที่ระบบจะทาการคานวณอัตโนมัติ สำรสนเทศที่ได้ คือ รำยงำนสรุ ปกำรจ่ำยเงินเดือน ใบจ่ำยเงินเดือน เทคโนโลยีที่นามาใช้ คือ โปรแกรมสำเร็ จรู ประบบเงินเดือน, ระบบโอนเงิน ผ่ำนทำงอินเทอร์ เน็ต

22


กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ

ภาพที่ 4 กระบวนการทางธุรกิจในส่ วนการจ่ายค่าจ้างและเงินเดือน 23


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

5. ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Evaluation) ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Evaluation) ช่วยในการ กาหนดมาตรฐานในการประเมินผล ช่วยในการบันทึก คานวณผลลัพธ์ และสรุ ปการ ประเมินผลของบุคลากร ในเรื่ องการขึ้นเงินเดือนและการเลื่อนขั้นตาแหน่ง สำรสนเทศที่ได้ คือ รำยงำนกำรประเมินผลกำรปฏิบตั ิงำน รำยงำนกำรปรับ เงินเดือน และรำยงำนตำรำงสถิติคะแนนประเมินผลจำแนกตำมต้นสังกัด เทคโนโลยี ที่ น ามาใช้ คื อ โปรแกรมส ำเร็ จ รู ป ส ำหรั บ ประเมิ น ผลกำร ปฏิบตั ิงำน ระบบประเมินผลกำรปฏิบตั ิงำนทำงอิเล็กทรอนิกส์

24


กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ

25

ภาพที่ 5 กระบวนการทางธุรกิจในส่ วนการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

6. ระบบงานพัฒนาและฝึ กอบรมบุคลากร (Training and Development) ระบบงานพัฒนาและฝึ กอบรมบุคลากร (Training and Development) เป็ น ระบบที่ ช่วยในการวางแผนการพัฒนาบุคลากร โดยจะศึ ก ษาข้อ มูล จากการประเมิ น ผลการปฏิ บัติ การวิเ คราะห์ ง านและ ตาแหน่งงาน รวมทั้งข้อมูลทักษะความสนใจของแต่ละบุคคล เพื่อนามาจัดทาแผนการ ฝึ กอบรมหลังจากนั้นจึงดาเนิ นการฝึ กอบรมบุคลากรตามโครงการที่วางไว้ เทคโนโลยีที่นามาใช้ คือ โปรแกรมพัฒนาบุคลากร, การฝึ กอบรมทาได้โดย ใช้โ ปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ช่ว ยสอน (CAI) หรื อการเรี ย นรู้ ท างอิ เล็กทรอนิ ก ส์ (E-learning) ตัวอย่ างกรณีศึกษา : เตรี ยมพบกับแนวโน้มเวอร์ ชวลคลาสรู มในการพัฒนา บุคคลของ SCG 26


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

กิจกรรม 5.1 จากกรณีศึกษา : เตรี ยมพบกับแนวโน้มเวอร์ ชวลคลาสรู มในการพัฒนา บุคคลของ SCG จงตอบคาถามต่ อไปนี้ 1. SCG นาเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบสารสนเทศใดบ้างมาใช้ในการพัฒนา และฝึ กอบรมบุคลากร 2. จากเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศในข้อ 1 สามารถนามาพัฒนาบุคลากรของ SCG ได้อย่างไร 3. นักศึกษาจะนาแนวคิดของ SCG ไปประยุกต์ใช้กบั องค์กรอย่างไร

27


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

7. ระบบงานสวัสดิการต่ างๆ (Welfare) ระบบงานสวัสดิการต่ างๆ (Welfare) ช่วยในการเก็บบันทึกและบริ หารงาน ข้อ มู ล เกี่ ย วกับ การจัดสวัส ดิ ก ารต่ า งๆ เช่ น ค่ ารั ก ษาพยาบาล, เงิ นกู้, การเบิ ก วัส ดุ อุปกรณ์ต่างๆ เป็ นต้น สำรสนเทศที่ ไ ด้ คื อ รำยงำนกำรขอใช้สิ ท ธิ และรำยงำนกำรเบิ ก จ่ ำ ยค่ ำ สวัสดิกำร เทคโนโลยีทนี่ ามาใช้ คือ โปรแกรมสำเร็ จรู ปด้ำนสวัสดิกำรและผลประโยชน์

28


ภาพที่ 6 กระบวนการทางธุรกิจในส่ วนการใช้สิทธิ เบิกค่าสวัสดิการและผลประโยชน์ 29


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

8. ระบบการสรรหาบุคลากร (Recruitment) ระบบการสรรหาบุคลากร (Recruitment) เป็ นระบบที่ บนั ทึกข้อมูลการ สมัครงาน สามารถสร้างแบบฟอร์ มการทดสอบ, แบบฟอร์ มสาหรับการสัมภาษณ์งาน ได้ และเมื่อพนักงานผ่านการคัดเลือกแล้ว ก็สามารถโอนข้อมูลเข้าสู่ ระบบรวมได้โดย อัตโนมัติ ตัวอย่างกรณีศึกษา : สมัครงำนออนไลน์โตอูฟ้ ู่ ใช้เทคโนโลยีจบั คู่คนกับงำน

นอกจากนี้ ยัง สามารถน าเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาช่ ว ยในการคั ด เลื อ ก บุคลากร (Selection) ได้ อีกด้ วย เช่น การนาสังคมออนไลน์ (Social Network) มา ประยุกต์ใช้ เช่น ใช้ Facebook ในการประเมินคุณลักษณะที่บุคคลพึงมี (Competency) โดยดูจาก นิ สัยใจคอ บุคลิกลักษณะ ความเชื่ อ วิธีคิด ทัศนคติ และสังคม จากการใช้ Facebook เป็ นต้น (ที่มา : Facebook เครื่ องมือการประเมิน Competency ของผูส้ มัคร? ; http://www.hrcenter.co.th) 30


ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารทรัพยากรมนุษย์

กิจกรรม 5.2 จากกรณีศึกษา : สมัครงานออนไลน์โตอูฟ้ ู่ ใช้เทคโนโลยีจบั คู่คนกับงาน จงตอบคาถามต่ อไปนี้ 1. เว็บไซต์สมัครงาน JobStreet นาเทคโนโลยีหรื อระบบสารสนเทศใดบ้างมาใช้ใน การสรรหาบุคลากร 2. จุดเด่นของเว็บไซต์สมัครงาน JobStreet ในการนาเทคโนโลยีสารสนเทศหรื อ ระบบสารสนเทศในข้อ 1 มาใช้คืออะไร 3. จงบอกเหตุผลว่าทาไมนักศึกษาจะเลือกใช้เว็บไซต์สมัครงานของ JobStreet ตอบ มา 2 กรณี ทั้ ง กรณี ที่ นั ก ศึ ก ษาเป็ นผู ้ส มั ค รงาน และกรณี ที่ นั ก ศึ ก ษาเป็ น ผูป้ ระกอบการ

31


เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ โปรแกรมสาเร็จรูปทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์ คือ ซอฟต์แวร์ ที่พฒั นาขึ้นเพื่อนามาใช้กบั งานด้านการบริ หาร ทรัพยากรมนุษย์ เช่น - โปรแกรมบันทึกเวลาการทางาน - โปรแกรมการจ่ายเงินเดือน - โปรแกรมการบริ หารทุนด้านมนุษย์

ตัวอย่างโปรแกรมสาเร็ จรู ป ระบบเงินเดือนและบริ หารทรัพยากรมนุษย์

32


เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ อินทราเน็ต (Intranet) อิ น ทราเน็ ต คื อ ระบบเครื อ ข่ า ยที่ พ ัฒ นาขึ้ น ใช้ง านในองค์ก ารบน พื้นฐานของ Internet & WWW โดยใช้เป็ นเครื่ องมือเข้าถึงสารสนเทศใน องค์การ การใช้งานอิ นทราเน็ตจะช่ วยลดปริ มาณกระดาษลง โดยมีการแสดง ข้อมูลบุคลากร ผลประโยชน์ประชาสัมพันธ์ และแบบทดสอบความสามารถบน หน้าจอคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้มีการพัฒนา Newgroups & E-mail เข้าร่ วมด้วย

33


เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นระบบที่ อ ยู่น อกขอบเขตการใช้ง านอิ น ทราเน็ ต โดยมุ่ ง เน้น การ สื่ อสารกับบุคคลภายนอกผ่านอินเทอร์ เน็ต มีการพัฒนาระบบสารสนเทศบนเว็บ โดยมีการสื่ อสารกับบุคลากรจานวนมากตามสถานที่ต่างๆ ในเวลาอันรวดเร็ ว จึง ถือว่า “’งานเป็ นอิสระจากที่ทางาน” โดยมี 5 รู ปแบบ คือ

1. การจัดองค์ การเสมือนจริ ง เป็ นรู ปแบบการจัดองค์การซึ่ งมีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมัยมีการเชื่อมโยงการสื่ อสารระหว่างกัน โดยบุคคล ไม่ จ าเป็ นต้อ งอยู่ ณ สถานที่ เ ดี ย วกัน จึ ง นิ ย มน ามาใช้กับงานด้า นการบริ ห าร ทรัพยากรมนุษย์ผา่ น 2 ระบบ คือ - ระบบประชุมทางไกล (Tele-Conferencing) - ระบบประชุมผ่านวีดิทศั น์ (Video-Conferencing) 34


เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ

Video-Conferencing

35

Tele-Conferencing


เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ทางอิเล็กทรอนิกส์ (ต่ อ) 2. การสรรหาอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นกระบวนการเสาะหา ทดสอบและตัดสิ นใจ ในการว่าจ้างงานขององค์การผ่านเว็บไซต์ทางอินเทอร์ เน็ตมี การใช้ Search Engine ค้นหาและคัดเลือกผูส้ มัคร ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม โดยใช้เครื อข่ายที่กว้างขวางของการ สรรหาออนไลน์ตวั อย่างของเว็บไซต์ คือ monster.com www.jobthai.com www.monster.com

36


เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ทางอิเล็กทรอนิกส์ (ต่ อ) 3. เว็บศู นย์ รวมด้ านการบริ หารทรั พยากรมนุ ษย์ คื อเว็บท่าที่ ประกอบด้วย สารสนเทศจานวนมาก ที่ถูกนามาใช้เป็ นข้อเปรี ยบเทียบ โดยอาจเป็ นเว็บส่ วนตัวหรื อ เว็บสาธารณะก็ได้ ตัวอย่างเว็บไซต์ คือ salary.com

www.salary.com 37


เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ทางอิเล็กทรอนิกส์ (ต่ อ) 4. การเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์ คือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการพัฒนาและฝึ กอบรม บุ คลากร เป็ นรู ปแบบหนึ่ งของการเรี ยนรู ้ รายบุ คคลที่ ใช้อย่างแพร่ หลาย เพื่ออธิ บาย คาสอนผ่านซี ดีรอม อินเทอร์ เน็ต หรื อเครื อข่ายส่ วนตัว โดยผูส้ อนและผูเ้ รี ยนอาจอยูค่ น ละสถานที่ และไม่ตอ้ งใช้หอ้ งเรี ยนในการจัดฝึ กอบรม โดยผ่านเทคโนโลยีการสื่ อสาร

รู ปแบบของการเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์มี 2 รู ปแบบดังนี้ 4.1 การสื่ อสารแบบประสานเวลา (Synchronous Communication) ผูส้ อน และผูเ้ รี ยนอยูใ่ นช่วงเวลาเดียวกันและโต้ตอบกันได้ภายใต้พ้ืนที่ห่างไกลกัน 4.2 การสื่ อสารแบบไม่ ประสานเวลา (Asynchronous Communication) ผูส้ อนและผูเ้ รี ยนอาจอยูค่ นละช่วงเวลาและสถานที่ จึงไม่สามารถโต้ตอบกันได้ทนั ที เช่น ผูเ้ รี ยนเข้าไป Download บทเรี ยนบนเว็บจากนั้นจึงติดต่อผูส้ อนผ่านทางอีเมล์ 38


เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ทางอิเล็กทรอนิกส์ (ต่ อ) 5. การประเมิ น ผลการ ปฏิบัติงานทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็ น การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของ บุ ค ล า ก ร บ น แ บ บ ฟ อ ร์ ม อิ เล็กทรอนิ ก ส์ เช่ น การประเมิ น ผูส้ อนผ่านระบบออนไลน์

39

แบบประเมินผูส้ อนออนไลน์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.