ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
LOGO
บทที่ 4
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ และการตัดสิ นใจ
วิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ วิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 2
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการและการตัดสิ นใจ
แนวคิดและองค์ ประกอบ การจัดการ การตัดสิ นใจ
สารสนเทศเพือ่ การจัดการและการตัดสิ นใจ กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ 3
แนวคิดและองค์ ประกอบ 1. แนวคิดของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการและการตัดสิ นใจ องค์การส่ วนใหญ่ มักต้องการใช้สารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานด้านการจัดการ ตามหน้าที่งานของธุ รกิจ ตลอดจนมีการใช้สารสนเทศเพื่อสนับสนุ นการตัดสิ นใจของ ผูบ้ ริ หารแต่ละระดับ ให้มีความถูกต้องและแม่นยายิง่ ขึ้น ดังนั้น องค์การจึงควรพัฒนา • ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS) • ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (Decision Support System : DSS) เพื่อช่วยสนับสนุนด้านสารสนเทศทั้งภายในและภายนอกวิสาหกิจ
4
แนวคิดและองค์ ประกอบ 2. องค์ ประกอบของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการและการตัดสิ นใจ การสื่ อสาร (Communication)
ระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์ ข้อมูล เพือ่ การจัดการและ (Data Analysis) การตัดสิ นใจ
ฐานข้ อมูล (Database) 5
การพัฒนากลยุทธ์ (Strategy Development)
แนวคิดและองค์ ประกอบ 2. องค์ ประกอบของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการและการตัดสิ นใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและตัดสิ นใจ มีองค์ประกอบ ดังนี้ 2.1 ฐานข้ อมูล (Database) หมายถึง หน่วยเก็บและรวบรวมข้อมูลที่มีประโยชน์ สามารถ เรี ยกใช้ขอ้ มูลได้ทุกเวลาที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการ ผ่านระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) 2.2 การสื่ อสาร (Communication) หมายถึง เครื่ องมือที่ใช้รับ-ส่ งข่าวสาร เพื่อสรรหา ข้อมูลมาจัดเก็บในฐานข้อมูล และนามาใช้ประโยชน์ในครั้ งต่อไป เช่น โทรศัพท์ หรื อ ระบบอินเทอร์เน็ต เป็ นต้น
6
แนวคิดและองค์ ประกอบ 2. องค์ ประกอบของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการและการตัดสิ นใจ
2.3 เครื อข่ ายข้ อมูล (Data Network) หมายถึง การเชื่อมโยงระบบประยุกต์และ ฐานข้อ มู ล เข้าด้ว ยกัน และช่ ว ยให้ค อมพิ ว เตอร์ สื่ อ สารข้อ มู ลถึ งกัน ได้ภายใต้ร ะบบ เครื อข่ายข้อมูลเดียวกัน 2.4 การวิเคราะห์ ข้อมูล (Data Analysis) หมายถึง กระบวนการที่ใช้วิเคราะห์และ ประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศเพื่อตัดสิ นใจ โดยใช้ตวั แบบและวิธีการทางสถิติ 2.5 การพัฒนากลยุทธ์ (Strategy Development) หมายถึง กระบวนการกาหนดกลยุทธ์ ด้านระบบสารสนเทศที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ธุรกิจ ตลอดจนสภาพแวดล้อมที่เป็ นอยูใ่ น ขณะนั้น 7
การจัดการ องค์การจาเป็ นต้องใช้ระบบสารสนเทศเพื่อช่วยในการจัดการงานด้านต่างๆ เช่น การจัดการการผลิต การตลาด การเงิน และทรัพยากรมนุษย์ เป็ นต้น จึงจาเป็ นต้องเรี ยนรู้ และเข้าใจหลักการจัดการ
การจัดการ (Management)
ประสิ ทธิภาพ (Efficiency)
โดยใช้ หลักการวัดผล
ประสิ ทธิผล (Effective)
รูปแสดงการวัดผลประสิ ทธิภาพ และประสิ ทธิผล 8
การจัดการ ความหมาย การจั ด การ (Management) คื อ กระบวนการประสานงาน เพื่ อ ช่ ว ยให้ บ รรลุ วัตถุประสงค์อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency) และประสิ ทธิผล (Effective) ประสิ ทธิภาพ (Efficiency) วัดได้จากทรัพยากรที่ใช้และ ผลผลิตที่ได้ ใช้ทรัพยากรน้อยและได้ผลผลิตมากกว่าเดิม ถือว่ามีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิผล (Effective) วัดได้จากความสามารถบรรลุเป้ าหมายขององค์กรในระยะยาว มุ่งเน้นที่จุดสิ้ นสุ ดของการดาเนินงานว่าได้ผลตามที่ต้ งั ไว้หรื อไม่
9
การจัดการ หน้ าที่ของการจัดการ (Function of management) แบ่งในลักษณะที่เป็ นขั้นตอน ดังนี้
การวางแผน (Planning) การควบคุม (Controlling)
การนา (Leading) 10
กระบวนการ/หน้ าที่ ของการจัดการ
การจัดการองค์กร (Organizing) การจัดบุคคลเข้าทางาน (Staffing)
การจัดการ หน้ าที่ของการจัดการ (Function of management)
การวางแผน (Planning) เป็ นการก าหนดเป้ าหมาย กลยุ ท ธ์ กรอบแนวคิ ด กระบวนการ และการประสานงานในกิจกรรมต่างๆ ในองค์การรวมไปถึง การพัฒนา ภารกิจ (Mission) การคาดคะเนเหตุการณ์ปัจจุบนั เหตุการณ์อนาคต และแนวโน้ม การกาหนดวัตถุประสงค์ และการเลือกกลยุทธ์ที่ใช้
การจัดการองค์ กร (Organizing) เป็ นการกาหนดกิจกรรมที่ จะต้องทา บุคลากรผูร้ ับผิดชอบ อานาจหน้าที่ กลุ่มงาน รวมทั้งสายการบังคับบัญชา เช่น การกาหนดลักษณะเฉพาะของงาน (Work Specialization) และ การกาหนดแผนก ในโครงสร้างขององค์กร (Organization Structure) 11
การจัดการ หน้ าที่ของการจัดการ (Function of management)
การจัดบุคคลเข้ าทางาน (Staffing) เป็ นการจัดวางบุคคลให้เหมาะสม กับงาน ทั้งด้านคุณภาพบุคคลและปริ มาณแรงงาน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบุคคลอย่าง ต่อเนื่อง การนา (Leading) หรือการสั่ งการ เป็ นกระบวนการจัดการให้ สมาชิกในองค์กรทางานร่ วมกันได้ดว้ ยวิธีการต่างๆ เช่น วิธีสร้างภาวะความเป็ นผูน้ าของผูบ้ ริ หาร การจูงใจ การติดต่อสื่ อสารในองค์กร และการ ทางานเป็ นทีม เป็ นต้น การควบคุม (Controlling) เป็ นการกาหนดเกณฑ์และมาตรฐานงาน เพื่อตรวจสอบและ ประเมิ นผลงาน โดยการควบคุมจะครอบคลุมถึง พฤติกรรมบุคคลในองค์กร การเงิ น การปฏิบตั ิการ และ ข้อมูลข่าวสาร 12
การจัดการ สรุปหน้ าที่ของการจัดการ (Function of management) สิ่งนาเข้ า (Input)
ทรัพยากรมนุษย์ เงิน ทรัพยากรทางกายภาพ (วัตถุดิบ เครื่ องจักร วิธีการ) ทรัพยากรข้อมูล
ผลลัพธ์ (Output)
รูปแสดงระบบการจัดการโดยรวม 13
ประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผล คุณภาพ ความพอใจของลูกค้า
การจัดการ ผู้จัดการ (Manager) และผู้บริหาร (Executive)
การบริ หารหรื อการจัดการในองค์การเกี่ยวข้องกับบุคลากร 3 ระดับ คือ
1. ผู้บริหารระดับสู ง รับผิดชอบด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ โดยจัดทาแผนระยะยาว เช่น นโยบายการเงิน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็ นต้น 2. ผู้จัดการระดับกลาง รับผิดชอบด้านการจัดการเชิงกลวิธี โดยจัดทาแผนระยะกลางที่ สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ ซึ่ งอยูใ่ นระดับหน่วยธุรกิจหรื อแผนก 3. ผู้จัดการระดับล่ าง รับผิดชอบด้านการจัดการเชิงปฏิบตั ิการ โดยมีหน้าที่ควบคุมดูแลการทางานของผูป้ ฏิบติงานให้ เป็ นไปตามแผนเชิงกลวิธี และเน้นการสร้างผลงานที่เป็ นรู ปธรรม 14
การตัดสิ นใจ การจัดการและการตัดสิ นใจมีความสัมพันธ์กนั อย่างใกล้ชิด และถือเป็ นหน้าที่ของผูบ้ ริ หารในการใช้ขอ้ มูลจากระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจ การจัดการ (Management)
การตัดสิ นใจ (Decision Making)
ข้ อมูลจากระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
ผู้บริหาร
รูปแสดงความสั มพันธ์ ของการจัดการและการตัดสิ นใจ 15
การตัดสิ นใจ ความหมายของการตัดสิ นใจ การตัดสิ นใจ (Decision Making) คือ กระบวนการที่ ใช้แก้ปัญหาที่ เกิ ดจากการ ดาเนินการด้านต่างๆ ของธุรกิจ ซึ่ งมีข้ นั ตอนการตัดสิ นใจดังนี้
ระบุปัญหาที่ตอ้ งการแก้ไข เลือกวิธีแก้ปัญหา เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการสร้างแบบจาลองการตัดสิ นใจ ระบุทางเลือกที่ได้จากแบบจาลองการตัดสิ นใจ ประเมินข้อดีและข้อเสี ยของแต่ละทางเลือก เลือกและปฏิบตั ิตามแนวทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุด ระบบสารสนเทศ จะให้ ข้อมูลเพือ่ สนับสนุนในทุกๆ ขั้นตอนการตัดสิ นใจ
16
การตัดสิ นใจ แบบจาลองการตัดสิ นใจและการแก้ปัญหา Herbert Simon : พัฒนาแบบจาลองการตัดสิ นใจ โดยแบ่งเป็ น 3 ขั้นตอน George Huber : เพิ่มแบบจาลองการตัดสิ นใจเป็ นแบบจาลองการแก้ปัญหา อีก 2 ขั้นตอน รวมเป็ น 5 ขั้นตอน ดังนี้
รูปแสดงแบบจาลองการตัดสิ นใจและแก้ ปัญหา 17
18 18
การตัดสิ นใจ แบบจาลองการตัดสิ นใจและการแก้ปัญหา (ต่ อ) ขั้นตอนที่1การกาหนดปัญหา (Intelligent Phase) เป็ นขั้นตอนในการกาหนดหรื อนิยามปั ญหา และโอกาสทางธุรกิจที่เกิดขึ้น โดยรวบรวมข้อมูลที่สัมพันธ์กบั สาเหตุและขอบเขตของปั ญหา และคานึงถึงข้อจากัดทางด้านทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อมของธุรกิจ การกาหนดปัญหา (Intelligence Phase) Organizational objectives : กำหนดวัตถุประสงค์ขององค์กร
Search and scanning procedures : ศึกษำและค้นหำข้อมูลอะไร Data collection : เก็บรวบรวมข้อมูลอย่ำงไร Problem Identification : ระบุปัญหำที่ทำให้เกิดวัตถุประสงค์ขององค์กร Problem ownership : กำหนดใครเป็ นเจ้ำของปัญหำ Problem classification : จำแนกประเภทของปัญหำ Problem statement : ระบุปัญหำแยกตำมประเภทของปั ญหำและเสนอวิธีแก้ปัญหำ 19
ตัวอย่ าง การกาหนดปัญหา (Intelligence Phase) กรณี ธุรกิจโรงภาพยนต์ การกาหนดปัญหา (Intelligence Phase) Organizational objectives : ต้องกำรเพิ่มยอดขำยบัตรชมภำพยนต์ Search and scanning procedures : ศึกษำพฤติกรรมกำรชมภำพยนต์ของลูกค้ำแต่ละวัย Data collection : เก็บข้อมูลพฤติกรรมกำรชมภำพยนต์ของลูกค้ำโดยกำรแจกแบบสอบถำม Problem Identification : ยอดกำรจำหน่ำยบัตรชมภำพยนต์ลดลงอย่ำงต่อเนื่อง Problem ownership : แผนกวิเครำะห์แผนกำรตลำด
Problem classification : ปัญหำที่ทำให้ยอดขำยตัว๋ ลดลง คือ ด้ำนสิ นค้ำ ด้ำนเศรษฐกิจ และด้ำนลูกค้ำ Problem statement : ด้ านสิ นค้ า : คุณภำพของภำพยนต์ที่เข้ำฉำย ควรมีเนื้อหำน่ำสนใจ สนุกสนำน เหมำะสมกับรำคำตัว๋ ด้ านเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจแย่ทำให้ประชำชนประหยัดกำรใช้จ่ำยที่ไม่จำเป็ น ควรมีโปรโมชัน่ กระตุน้ กำร ใช้จ่ำย เช่น กำรลดรำคำตัว๋ จัดให้มีกำรชิงโชค เป็ นต้น ด้ านลูกค้ า : มีพฤติกรรมกำรชอบภำพยนต์ที่หลำกหลำย ควรจัดให้มีกำรฉำยภำพยนต์หลำยแนวเพื่อให้ คลอบคลุมกับควำมต้องกำรของลูกค้ำ 20
การตัดสิ นใจ แบบจาลองการตัดสิ นใจและการแก้ปัญหา (ต่ อ) ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบ (Design Phase) เป็ นขั้นตอนการพัฒนาทางเลือกการ แก้ปัญหา โดยตั้งสมมติฐาน กาหนดเงื่อนไข วิเคราะห์หาทางเลือก และพัฒนาทางเลือก ต่างๆ ขึ้น การออกแบบ (Design Phase) Formulate a model: สรุ ปทำงเลือกหรื อโมเดลที่จะนำมำใช้มีกี่วธิ ี Set choice : กำหนดทำงเลือก Search Alternatives : ค้นหำทำงเลือก Predicate outcomes : ระบุผลที่คำดไว้ 21
ตัวอย่าง การออกแบบ (Design Phase) การออกแบบ (Design Phase) Formulate a model: โมเดลสำหรับกำรเพิ่มยอดขำยมี 3 วิธี Set choice / Search Alternatives / Predicate outcomes : ทางเลือกที่ 1 : ลดรำคำบัตรชมภำพยนต์ 30% ผลที่คำด คือ ปริ มำณกำรขำยบัตรเพิ่ม แต่อำจทำให้ยอดขำยโดยรวมลดลง ทางเลือกที่ 2 : จัดให้มีกำรชิงโชคจำกหำงบัตรภำพยนต์ ผลที่คำด คือ กระตุน้ ยอดขำยบัตร แต่ใช้งบประมำณจัดหำของรำงวัลในกำรชิงโชคจำนวนมำก ทางเลือกที่ 3 : จัดให้มีกำรฉำยภำพยรต์เฉพำะกลุ่ม เช่น หนังเด็ก หนังเก่ำ ผลที่คำด คือ ส่ งผลให้กลุ่มลูกค้ำที่ชื่นชอบภำพยนต์เฉพำะกลุ่มเหล่ำนี้ มำชมภำพยนต์ที่โรงหนัง มำกขึ้น
22
การตัดสิ นใจ แบบจาลองการตัดสิ นใจและการแก้ปัญหา (ต่ อ) ขั้นตอนที่ 3 การเลือก (Choice Phase) เป็ นขั้นตอนในการเลือกชุดของทางเลือกที่จะ นามาใช้ในการแก้ปัญหา และ ทาการทดลองกับทางเลือกนั้นก่อน และเลือกทางที่เลือก สมเหตุสมผลที่สุด การเลือก (Choice Phase) Solution to the model : วิธีเลือกทำงเลือก Sensitivity analysis : วิเครำะห์ผลกระทบจำกกำรเลือกทำงเลือก Selection of the best (Good) alternative : เลือกทำงเลือกที่ดีที่สุด Plan for implementation : วำงแผนกำรนำไปใช้ 23
ตัวอย่าง การเลือก (Choice Phase)
การเลือก (Choice Phase) Solution to the model : ต้องเลือกทำงเลือกที่เพิ่มยอดขำยได้มำกที่สุด และกระทบค่ำใช้จ่ำยน้อย ที่สุด Sensitivity analysis : กำรจัดให้มีกำรฉำยภำพยนต์เฉพำะกลุ่มจะไม่กระทบต่อรำยได้ และยังช่วย กระตุน้ ให้กลุ่มลูกค้ำที่ชื่นชอบภำพยนต์เฉพำะกลุ่มเหล่ำนี้ให้มำชมภำพยนต์ที่โรงหนังมำกขึ้นด้วย Selection of the best (Good) alternative : ดังนั้น เลือกทำงเลือกที่ 3 จัดโรงหนังบำงโรงเฉพำะ กลุ่ม เช่น หนังเด็ก และหนังเก่ำ Plan for implementation : จัด Campaign เทศกำลฉำยภำพยนต์หำชมยำก โดยภำพยนต์ที่นำมำ ฉำย คือ หนังเด็ก และหนังเก่ำ ระยะเวลำโครงกำร 1-31 เมษำยน 2554
24
การตัดสิ นใจ แบบจาลองการตัดสิ นใจและการแก้ปัญหา (ต่ อ) ขั้นตอนที่ 4 การนาไปปฏิบัติ (Implementation Phase) เป็ นขั้นตอนในการนาทางเลือก ที่เลือกไว้มาปฏิบตั ิจริ งเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น การนาไปปฏิบัติ (Implementation Phase) Implementation of solution : นำทำงเลือกที่เลือกไว้มำใช้เพื่อแก้ปัญหำจริ ง
ตัวอย่าง การนาไปปฏิบัติ (Implementation Phase การนาไปปฏิบัติ (Implementation Phase) Implementation of solution : จัดเทศกำลฉำยภำพยนต์หำชมยำก โดยภำพยนต์ที่นำมำฉำย คือ หนังเด็ก และหนังเก่ำ ระยะเวลำโครงกำร 1-31 เมษำยน 2554 25
การตัดสิ นใจ แบบจาลองการตัดสิ นใจและการแก้ปัญหา (ต่ อ) ขั้นตอนที่ 5 การตรวจสอบ (Monitoring Phase) เป็ นขั้นตอนที่ผตู ้ ดั สิ นใจทาการ ประเมินผลของทางเลือกที่นามาใช้ในการแก้ปัญหา หากผลลัพธ์ที่ได้ไม่เป็ นที่น่าพอใจ ต้องพิ จารณาถึ งสาเหตุ ว่าเกิ ดจากขั้นตอนใด หรื อ ขาดสารสนเทศส่ วนใด เพื่อ นามา ปรับปรุ งการตัดสิ นใจแก้ปัญหาอีกครั้ง (Feedback)
26
การตัดสิ นใจ การจาแนกประเภทการตัดสิ นใจ
การตัดสิ นใจ ไม่ มโี ครงสร้ าง การตัดสิ นใจกึง่ โครงสร้ าง
การตัดสิ นใจแบบมีโครงสร้ าง 27
การตัดสิ นใจ การจาแนกประเภทการตัดสิ นใจ แบ่งการตัดสิ นใจของผูจ้ ดั การหรื อผูบ้ ริ หาร เป็ น 3 ประเภท ดังนี้ การตัดสิ นใจแบบมีโครงสร้ าง (Structured Decision) มีข้ นั ตอนการตัดสิ นใจไว้เป็ นอย่างดี และใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็ นประจา โดยวิธีการมาตรฐาน ใช้กบั การทางานของผูจ้ ดั การระดับ ล่างในองค์กร การตัดสิ นใจแบบไม่ มีโครงสร้ าง (Unstructured Decision) มีข้ นั ตอนการตัดสิ นใจที่อาศัย ประสบการณ์ และใช้กบั ปั ญหาที่มีลกั ษณะคลุมเครื อซับซ้อน และเป็ นปั ญหาที่ไม่เคยทาการ แก้ไขมาก่อน ใช้กบั การทางานของผูบ้ ริ หารระดับสูงในองค์กร การตัดสิ นใจแบบกึ่งโครงสร้ าง (Semi-Structure Decision) มี ข้ นั ตอนการตัดสิ นใจแบบ มาตรฐาน สาหรับปั ญหามีโครงสร้าง และใช้ประสบการณ์สาหรับการตัดสิ นใจแบบไม่มี โครงสร้าง ใช้กบั การทางานของผูจ้ ดั การระดับกลางในองค์กร 28
การตัดสิ นใจ การจาแนกประเภทการตัดสิ นใจ
รูปแสดงประเภทการตัดสิ นใจตามระดับของผู้บริหาร 29
การตัดสิ นใจ สรุปการตัดสิ นใจ การจัดการวัตถุดิบ การผลิต การตลาด การจัดจาหน่าย การเงิน การบัญชี การทรัพยากรมนุษย์
สรุ ปข้อมูลการขาย รายงานการผลิต สรุ ปกาไรขาดทุน ผลวิจยั การตลาด ฯลฯ
นโยบาย แนวโน้มของธุรกิจ การลงทุนเพิ่มเติม แผนการดาเนินงาน คิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ฯลฯ
กิจกรรมทางธุรกิจ
สารสนเทศ
การตัดสิ นใจทางธุรกิจ
รู ปแสดงแบบจาลองแนวทางการใช้สารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจ 30
สารสนเทศเพือ่ การจัดการและการตัดสิ นใจ สารสนเทศเพือ่ การจัดการและการตัดสิ นใจ เป็ นสารสนเทศที่ได้จากการสรุ ปข้อมูลจากฐานข้อมูลการดาเนิ นงานขององค์การ เพื่อให้ เห็นภาพรวมและแนวโน้มทางการเงิน การตลาดและการผลิตขององค์การ ซึ่ งอยูใ่ นความ สนใจของผูบ้ ริ หารระดับสู ง คุณลักษณะทีด่ ขี องสารสนเทศเพือ่ การจัดการและการตัดสิ นใจ ช่วยให้ทราบสถานการณ์ปัจจุบนั ปัญหาการดาเนินงาน โอกาสของธุรกิจ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของธุรกิจ ผลการดาเนินงานของธุรกิจ แผนงานหรื อโครงการใหม่ในอนาคต สารสนเทศจากภายนอก เช่น ข้อคิดเห็นต่างๆ และข้อมูลคู่แข่ง 31
สารสนเทศเพือ่ การจัดการและการตัดสิ นใจ ประเภทสารสนเทศเพื่อการจัดการและการตัดสิ นใจ มี 5 ประเภท ดังนี้ 1. รายงานตามกาหนดการ (Schedule Reports) รายงานที่ผลิตขึ้นตามงวดเวลาหรื อตามตารางเวลาที่วางไว้ เช่น รายงานรายวัน รายงาน รายสัปดาห์ หรื อรายงานรายเดือน เป็ นต้น 2. รายงานตัวชี้วัดหลัก (Key - Indicator Reports) รายงานสรุ ปถึงกิจกรรมวันก่อน หน้า เพื่อใช้เป้ นแบบฉบับของการเริ่ มต้นวันใหม่ เช่น รายงานระดับสิ นค้าคงเหลือ 3. รายงานตามคาขอ (Demand Reports) รายงานที่ใช้นาเสนอสารสนเทศตามคาร้อง ขอของผูใ้ ช้ เช่น รายงานสถานะของผลิตภัณฑ์เฉพาะรายการ 4. รายงานตามยกเว้ น (Exception Reports) รายงานที่ผลิตขึ้นอย่างอัตโนมัติเมื่อเกิด เหตการณ์ผิดปกติ หรื อเกิดความต้องการพิเศษ เช่น รายงานสั่งซื้ อสิ นค้าเพิ่ม 5. รายงานเจาะลึกในรายละเอียด (Drill-down Reports) รายงานที่ ช่วยสนับสนุ น รายละเอียดที่เพิ่มขึ้นภายใต้สถานการณ์หนึ่ ง เช่น ยอดขายรวมของบริ ษทั ยอดจาแนก ตามแผนกงาน และยอดขายจาแนกตามพนักงานขายของแต่ละแผนก 32
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ กระบวนการทางธุ รกิ จ ของระบบสารสนเทศเพื่ อ การจั ด การและ การตัดสิ นใจ เกิดจากการทางานร่ วมกันของระบบสารสนเทศ 4 ระบบ คือ
1. ระบบประมวลผลธุรกรรม (Transaction Processing System : TPS) 2. ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (Management Information System : MIS) 3. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (Decision Support System : DSS)
4. ระบบสนับสนุนผู้บริหาร (Executive Support System : ESS)
33
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 1. ระบบประมวลผลธุรกรรม (Transaction Processing System : TPS)
เป็ นระบบประยุก ต์ข้ นั พื้ น ฐานของธุ ร กิ จ ที่ มุ่ ง เน้น วิ ธี ก ารประมวลผลธุ ร กรรม รายการค้า หรื อข้อมูลการปฏิบตั ิงานประจา ซึ่ งก็คือ รายการเปลี่ยนแปลงจากการ แลกเปลี่ยนทางธุ รกิจ เช่น รายการขายประจาวัน, รายการสั่งซื้ อสิ นค้าหรื อวัตถุดิบ, การฝากถอนเงินจากธนาคาร เป็ นต้น ผูใ้ ช้ระบบประมวลผลธุ รกรรม จาเป็ นต้องเข้าใจพื้นฐาน ของการดาเนิ นงานทางธุ รกิจ หน้าที่งานทางธุ รกิจ ซึ่ งมักจะ เกี่ ย วกับ การออกเอกสารบัน ทึ ก บัญ ชี และการเชื่ อ มโยง ข้อมูลระหว่างหน่วยงาน และองค์การภายนอก
34
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 1. ระบบประมวลผลธุรกรรม (Transaction Processing System : TPS) ตัวอย่าง ระบบประมวลผลธุรกรรมการเบิกเงินจาก ATM
Master File
ธุรกรรม การประมวลผล PRINTER
Update Master File ใบบันทึกรายการ 35
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 2. ระบบสารสนเทศเพื่ อ การจั ด การ (Management Information System : MIS)
คือ ระบบที่ ใช้สนับสนุ นการทางานของผูบ้ ริ หารระดับล่างและระดับกลางในการ นาเสนอรายงาน ข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลเฉพาะด้าน ข้อมูลในอดี ตช่วยงานด้านวางแผน ควบคุม ตัดสิ นใจ โดยนาข้อมูลจาก TPS มาประมวลผลลักษณะของสารสนเทศที่ได้ จะเป็ นรายงานสรุ ปค่าสถิติต่าง ๆ โดยมีจุดมุ่งหมาย คือ ประสิ ทธิภาพเบื้องต้ นของการดาเนินงานด้ านการตลาด การ ผลิต การเงิน และหน้ าทีอ่ นื่ ๆ ของธุรกิจ
36
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 2. ระบบสารสนเทศเพื่ อ การจั ด การ (Management Information System : MIS) ระบบประมวลผลธุรกรรม TPS แฟ้ มรับคาสัง่ ซื้อ
ระบบประมวล ผลคำสัง่ ซื้อ
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ MIS แฟ้ มสารสนเทศ เพื่อการจัดการ ขายสิ นค้า
แฟ้ มผลิตสิ นค้า
ระบบวำงแผน วัตถุดิบ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ
ต้นทุนการผลิต รายงาน ผลิตภัณฑ์
แฟ้ มบัญชี
ระบบบัญชี แยกประเภท
ค่าใช้จ่าย
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ 37
ผูบ้ ริ หาร ระดับล่าง
ผูบ้ ริ หาร ระดับกลาง
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 2. ระบบสารสนเทศเพื่ อ การจั ด การ (Management Information System : MIS) ระบบประมวลผลธุรกรรม
ระบบสำรสนเทศ ทำงกำรตลำด ระบบสารสนเทศ ทางการเงิน
ระบบสารสนเทศ ทางการผลิต ฐานข้อมูลรวม
ระบบสารสนเทศ อื่นๆ
การเชื่อมโยงในฐานข้ อมูลของระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ 38
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ
2. ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (Management Information System : MIS) ผูข้ าย เอกซ์ทราเน็ต
อินทราเน็ต
ลูกจ้าง
ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย ธุรกรรมในลูกโซ่ อุปทานและอื่นๆ
TPS และ ERP
ฐานข้อมูล ดาเนินงาน 39
ฐานข้อมูล ภายนอก
ฐานข้อมูล ภายใน MIS
DSS
ฐานข้อมูล MIS
รายงานตามคาขอ รายงานตัวชี้วดั หลัก รายงานตามกาหนดการ
การไหลของสารสนเทศในระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
ESS ระบบ สารสนเทศ พิเศษ
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 3. ระบบสนั บ สนุ น การตั ด สิ นใจ (Decision Support System : DSS)
หลังจากองค์การ ได้มีการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้ลดต้นทุนการจัดหา ลง ส่ งผลให้สมรรถนะการใช้งานเพิ่มขึ้ น จึ งนาไปสู่ การสร้ างระบบสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการตัดสิ นใจ ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ คือ ระบบที่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลและตัวแบบเพื่อใช้ แก้ปัญหากึ่งโครงสร้างและปั ญหาไม่มีโครงสร้าง เฉพาะเรื่ องที่ตดั สิ นใจ ระบบจะช่วย ผูบ้ ริ หารระดับสู งตัดสิ นใจในการดาเนินงานโดยเลือกทาในสิ่ งที่ถูกต้อง (do the right things) ขณะที่ TPS และ MIS จะช่วยทาสิ่ งต่างๆให้ถกู ต้อง (do things right)
40
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 3. ระบบสนั บสนุ นการตั ด สิ นใจ (Decision Support System : DSS)
โครงสร้ างและส่ วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ ระบบจัดการ ฐานข้ อมูล
ระบบจัดการ ความรู้
ระบบสารสนเทศ เพือ่ การจัดการและ การตัดสิ นใจ
ส่ วนต่ อ ผู้ใช้ ข้นั ปลาย ประสานงานผู้ใช้ 41
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 3. ระบบสนั บ สนุ น การตั ด สิ นใจ (Decision Support System : DSS) โครงสร้ างและส่ วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
1. ระบบจัดการฐานข้ อมูล (Database Management System) จะจัดเก็บข้อมูลที่ ไหลเวียนจากหลายๆ แหล่ง และนามาสกัดเป็ นข้อมูลเพื่อเข้าสู่ ฐานข้อมูลของ DSS หรื อ คลังข้อมูล หรื อนาเข้าจากฐานข้อมูลรวมในเวลาที่ตอ้ งการ 2. ระบบจัดการตัวแบบ (Model Management System) จัดเก็บตัวแบบที่สมบูรณ์และ สร้างแม่พิมพ์ตวั แบบที่จาเป็ นต่อการใช้งานระบบ
3. ส่ วนต่ อประสานกับผู้ใช้ (User Interface) เป็ นการสื่ อสารระหว่างผูใ้ ช้ระบบ ซึ่ งมี ความยืดหยุน่ และมีเครื่ องมืออานวยความสะดวกให้ใช้งานง่าย 42
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 3. ระบบสนั บ สนุ น การตั ด สิ นใจ (Decision Support System : DSS) โครงสร้ างและส่ วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
4. ผู้ใช้ ข้ันปลาย (End User) คือ บุคคล ผูซ้ ่ ึ งเผชิญหน้ากับปั ญหาหรื อการตัดสิ นใจ มี 2 ระดับ คือ ระดับผูจ้ ดั การและระดับเจ้าหน้าที่ผเู ้ ชี่ยวชาญ เช่น นักวิเคราะห์การเงิน เป็ นต้น 5. ระบบจัดการความรู้ (Knowledge Management System) ใช้สาหรับแก้ปัญหากึ่ง โครงสร้างและไม่มีโครงสร้างที่มีความซับซ้อน ต้องการความรู ้ความชานาญมาช่วยหา คาตอบของปั ญหา เมื่อนามาใช้กบั DSS จะเป็ น ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจอัจฉริ ยะ (Intelligent Decision Support System) เช่น ใช้ในงานประมาณราคาสิ่ งก่อสร้าง
43
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 3. ระบบสนั บ สนุ น การตั ด สิ นใจ (Decision Support System : DSS) กระบวนการทางานของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
เริ่ ม แรกระบบสนับ สนุ นการตัด สิ น ใจจะน าเข้าข้อ มู ล จาก Data Warehouse Knowledgebase เพื่ อ น ามาประมวลผลร่ ว มกับ ตัว แบบ มี ก ารดึ ง ความรู ้ จ าก ฐานความรู ้ มาเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ หลังจากนั้น จึ งทาการสะสมความรู ้ ที่ได้ และ ประมวลผลกลับคืนสู่ ฐานข้อมูลขององค์การ
44
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 3. ระบบสนั บ สนุ น การตั ด สิ นใจ ระบบ (Decision Support System : DSS)
ฟังก์ชนั เอกซ์เซล
สำรสนเทศอื่นๆ
ข้อมูลภายใน และภายนอก
ระบบจัดกำร ข้อมูล
ระบบจัดกำร ตัวแบบ ระบบจัดกำร ควำมรู้
คลังข้อมูล
ฐานความรู้ ขององค์กร
45
ตัวแบบ คณิ ตศำสตร์ ตัวแบบสัง่ ทำ
ส่วนต่อประสำน กับผูใ้ ช้ ผูจ้ ดั กำร และงำน
ปัญหา
คำตอบ
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 4. ระบบสนับสนุนผู้บริหาร (Executive Support System : ESS) ผูบ้ ริ หารระดับสูงขององค์การอาจต้องการรายงานพิเศษ เพื่อใช้สนับสนุนการตัดสิ นใจ เชิงกลยุทธ์ ระบบสนั บ สนุ น ผู้ บ ริ ห าร (ESS) หรื อ ระบบสารสนเทศเพื่ อ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง (Executive Information System : EIS) คือ ระบบสารสนเทศที่ใช้สนับสนุ นงานด้านการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารระดับอาวุโส หรื อคณะกรรมการบริ ษทั ในบางครั้งอาจใช้สาหรับสนับสนุ นการตัดสิ นใจเชิ งกลวิธี ของผูบ้ ริ หารระดับกลาง และเจ้าหน้าที่ระดับอื่นได้ดว้ ย โดยชี้ ให้เห็ นถึ งทิ ศทางใหม่ และการติดตามความก้าวหน้าของบริ ษทั 46
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ 4. ระบบสนับสนุนผู้บริหาร (Executive Support System : ESS) วิสัยทัศน์ ของระบบสนับสนุนผู้บริหาร จะแตกต่างจากระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ (DSS) ในแง่ของการใช้งาน DSS จะมุ่งให้ผใู ้ ช้ตอบคาถาม ด้วยวิธีการจาลองที่หลากหลายรู ปแบบ ESS จะมุ่งให้ผบู ้ ริ หารถามคาถามในส่ วนความคาดหมายขององค์การ
47
กระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ สรุ ปกระบวนการทางธุรกิจของระบบสารสนเทศ
ระบบสนับสนุน ผู้บริหาร ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ ระบบสารสนเทศ เพือ่ การจัดการ
ระบบสนับสนุน การตัดสิ นใจ ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ ระบบประมวลผล ธุรกรรม
รูปแสดงการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการและตัดสิ นใจ 48
เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ เทคโนโลยีที่นิยมนามาใช้งานร่ วมกับระบบสารสนเทศเพื่อ การจัดการและตัดสิ นใจ 1. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจกลุ่ม (Group Decision Support System : GDSS) 2. ห้ องตัดสิ นใจ (Decision Rooms)
3. ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) 4. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems) 5. ความเป็ นจริงเสมือน (Virtual Reality)
49
เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ 1. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจกลุ่ม (Group Decision Support System : GDSS)
เป็ นประเภทหนึ่ ง ของ DSS แต่ ใ ช้ส าหรั บ ผูต้ ัด สิ น ใจเป็ นกลุ่ ม สนับ สนุ น การ แลกเปลี่ยน กระตุน้ ระดมความคิด และแก้ปัญหาขัดแย้งภายในกลุ่ม ตัวอย่างการนา GDSS ไปประยุกต์ใช้ เช่น การประชุมทางไกล การลงคะแนนเสี ยง และการสอบถามความคิดเห็น เป็ นต้น
จาแนกรู ปแบบการตัดสิ นใจเป็ น 2 รู ปแบบ คือ 1. เมื่อสมาชิกของกลุ่มตัดสิ นใจอยูใ่ นที่เดียวกัน 2. เมื่อสมาชิกของกลุ่มอยูต่ ่างสถานที่กนั เรี ยกว่า กลุ่มเสมือน (Virtual Group) 50
เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ 1. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจกลุ่ม (Group Decision Support System : GDSS)
คุณลักษณะของ GDSS ที่ลบล้างการปฏิบตั ิหน้าที่ของกลุ่มแบบเดิมที่ มกั เกิดความ ขัดแย้งในกลุ่ม มีดงั นี้ 1. การไม่ ระบุชื่อผู้นาเข้ าข้ อมูล เช่น การประเมินผูจ้ ดั การ 2. การลดพฤติกรรมกลุ่มด้ านการคัดค้ าน โปรแกรม GDSS จะให้คียข์ อ้ มูลได้ เพียงครั้งเดียว ช่วยให้สามารถกาจัดพฤติกรรมกลุ่มที่ส่งผลเสี ยต่อการตัดสิ นใจ 3. การสื่ อสารทางขนาน การจัดการประชุม สมาชิกทุกๆ คนจะสามารถออก ความคิดเห็นในเวลาเดียวกัน
51
เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ 1. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจกลุ่ม (Group Decision Support System : GDSS)
รู ปแบบของ GDSS ในระยะแรก เป็ นการประชุมแบบเผชิญหน้าภายในห้องตัดสิ นใจ (Decision Room) ระยะต่อมา เป็ นการประชุมแบบเสมือนบนระบบเครื อข่าย (Virtual Workgroup) ซึ่ ง ก่อให้เกิดการประชุม 3 รู ปแบบใหม่ ดังนี้ รู ปแบบ 1 เครือข่ ายการตัดสิ นใจเฉพาะที่ (The Local Area Decision Network)
ใช้ในกรณี ผตู ้ ดั สิ นใจอยูภ่ ายใต้อาคารเดียวกัน หรื ออยูใ่ นพื้นที่เดียวกัน และ มีความถี่ของการตัดสิ นใจบ่อยครั้ง 52
เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ 1. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจกลุ่ม (Group Decision Support System : GDSS) รู ป แบบ 2 การประชุ ม ทางไกล (Teleconference) ใช้ในกรณี ผตู ้ ดั สิ นใจอยูห่ ่ างไกลคนละพื้นที่ หรื อ คนละประเทศ และมี ความถี่ ของการ ตัดสิ นใจต่า รู ปแบบ 3 เครือข่ ายตัดสิ นใจบริเวณกว้ าง (The Wide Area Decision Network)
ใช้ในกรณี ผูต้ ดั สิ นใจอยู่ห่างไกลคนละพื้นที่ หรื อคนละประเทศ และมี ความถี่ ของการ ตัดสิ นใจสู ง ทาให้ทีมงานทัว่ โลกสามารถปฏิบตั ิงานร่ วมกัน เพื่อแก้ปัญหาเดียวกันได้ 53
เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ ห้ องตัดสิ นใจ (Decision Rooms)
รู ปตัวอย่ าง Decision Rooms of US Air Force
54
เป็ นห้องที่ติดตั้งอุปกรณ์อานวยความ สะดวก ที่ อ ยู่ ภ ายใต้ ก ารท างานของ ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจกลุ่ม ซึ่ ง มั ก อยู่ ภ ายในอาคารเดี ย วกั น กั บ ผู ้ ตัด สิ น ใจ เป็ นระบบที่ อ าจเน้ น การ โต้ ต อบด้ ว ยวิ ธี เ ผชิ ญ หน้ า เพื่ อ การ จัดการประชุ มทีไ่ ด้ ประสิ ทธิผล ต้ น ทุ น การติ ด ตั้ งระบบและการ ดาเนินงานมักจะสู ง
เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เป็ นระบบที่ลอกเลียนแบบคุณลักษณะอันชาญฉลาดของมนุ ษย์ ที่ประกอบด้วยสาขา ย่อยหลากหลายสาขา เช่น Robotics วิทยาการหุ่นยนต์ ใช้ควบคุมเครื่ องจักรที่ซบั ซ้อนและอันตราย Vision System ระบบภาพ ใช้ร่วมกับ Robotics เพื่อให้หุ่นยนต์สามารถมองเห็น จัดเก็บ และประมวลผลภาพได้ Natural Language Processing การประมวลภาษาธรรมชาติ ใช้ประมวลคาสั่งภาษา พูด ภาษาใดภาษาหนึ่ งเพื่อความเข้าใจภาษา และการติดต่อสื่ อสาร
Neural Networks โครงข่ ายประสาท เป็ นระบบที่ยนิ ยอมให้คอมพิวเตอร์ ได้รับรู้และ แสดงแบบแผนแนวโน้ ม ต่ า งๆ ใช้ กั บ งานซื้ อขายหลัก ทรั พ ย์ ซื้ อขายเงิ น ตรา ต่างประเทศ เพื่อระบุถึงแนวโน้มราคา 55
เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) Learning Systems ระบบการเรี ยนรู้ ช่วยให้คอมพิวเตอร์ ได้เรี ยนรู ้จากข้อผิดพลาด และจากประสบการณ์ในอดีต ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems) เป็ นระบบคอมพิวเตอร์ ที่ สามารถแนะนาและกระทาการดังผูเ้ ชี่ ยวชาญเฉพาะสาขา นั้นๆ เช่น แพทย์ วิศวกร ช่างเทคนิค เป็ นการสร้างเครื่ องมือเพื่อจับความรอบรู้และเชี่ยวชาญเฉพาะทาง และสะสมความรู้ นั้นภายใต้ฐานความรู ้ อี กทั้งยังรวบรวมกฎ กระบวนการและความสัมพันธ์ ซึ่ งต้อง ติดตามผลเพื่อการบรรลุมูลค่าเพิ่มอันเนื่องมาจากการใช้ระบบ 56
เทคโนโลยีและระบบสารสนเทศอืน่ ๆ ความเป็ นจริงเสมือน (Virtual Reality) เป็ นการจาลองความจริ งและสภาพแวล้อมที่ถูกคาดการณ์ข้ ึนด้วยแบบจาลอง 3 มิติ โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์สร้างแบบจาลอง 3 มิติข้ ึน โลกเสมือน คือ การแสดงสัดส่ วนเต็มที่สัมพันธ์กบั ขนาดของมนุ ษย์ในรู ปแบบ 3 มิติ เช่ น ตัว แบบอาคาร โครงกระดู ก หรื อ ฉากอาชญากรรมที่ ส ามารถเคลื่ อ นไหวได้ โต้ตอบได้ และแบ่งปั นการใช้งานได้ ระบบจะถูกนามาใช้ กับงานด้ านฝึ กอบรม ด้ านการทหาร การแพทย์ และการศึ กษา เป็ นต้น
57
แบบฝึ กหัด
1. เพราะเหตุใด ธุรกิจจึงต้องมีพฒั นาการด้านระบบสารสนเทศตามยุคสมัย 2. บทบาทของผูบ้ ริ หารด้านข้อมูลข่าวสาร และด้านการตัดสิ นใจมีความ เกี่ยวข้องกันอย่างไร 3. เทคโนโลยีความจริ งเสมือน มักถูกนามาประยุกต์ใช้กบั งานด้านใดบ้าง ยกตัวอย่างอธิ บายประกอบ
58