วิถีแห่งความรู้แจ้ง

Page 1



วิถีแหงความรูแจง (พระปราโมทย ปาโมชฺโช แนะนําการปฏิบัติวิปสสนา)

1 วิถีแหงความรูแ จง


ความในใจ ผูเ ขียนไดเขียนหนังสือเรื่อง “วิถีแหงความรูแจง ๒” ไวเมื่อ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๕ เมื่อเวลาผานมาผูเขียนเห็นสมควรปรับปรุงหนังสือเรือ่ งนี้ใหสมบูรณยงิ่ ขึ้น เพื่อประโยชนแกเพือ่ นนักปฏิบัติทั่วไป พระปราโมทย ปาโมชฺโช ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๙

2 วิถีแหงความรูแ จง


ใจความ ๑. สิ่งใดคือจุดมุงหมายของพระพุทธศาสนา – ความพนทุกขสิ้นเชิง ๒. ความทุกขคืออะไร – คือ (๑) ความไมสบายกายและความไมสบายใจ (๒) ความทนอยูไมไดของสิ่งปรุงแตงทั้งปวง (๓) ความอึดอัดขัดของหนัก หนวงและดิ้นรนของจิตดวยอํานาจของความอยากในเวทนาและความ ยึดถือในขันธ และ (๔) อุปาทานขันธ/ชาติ/รูปนาม/กายใจเปนทุกขโดยตัว ของมันเอง ไมวา จิตจะมีความอยากและความยึดถือหรือไมกต็ าม ๓. ความทุกขเกิดจากอะไร – เกิดจาก (๑) ความไมสมอยาก (๒) ความอยาก หรือตัณหา และ (๓) ความไมรอู ริยสัจจ ๔. ทางแหงความดับทุกข – ทางเดียวสําหรับการดับทุกขสิ้นเชิงคือมรรคมี องค ๘ หรือศีลสมาธิปญญา ยอลงมาเปนการเจริญสติ หรือการตาม สังเกตการณกายใจของตน จนเกิดปญญาเขาใจความเปนจริงวา กายกับใจ เปนตัวทุกข จิตก็จะหมดตัณหา อุปาทาน (ตัณหาทีร่ ุนแรง) ภพ (การทํา กรรมทางใจ) ชาติ (ความไดมาซึ่งรูปนาม/อายตนะ) และปลอยวางทุกข (รูป นาม) โดยอัตโนมัติ ๕. การเจริญสติคืออะไร - คือการระลึกรู (ขอ ๖) ถึงสภาวธรรม (ขอ ๗) ทีก่ ําลัง ปรากฏ (ขอ ๘) ตามความเปนจริง (ขอ ๙) ๖. การระลึกรูทําอยางไร – ตองหมั่นตามรูรูปนาม/กายใจเนืองๆ จนจิตจดจํา สภาวะของรูปนามไดแลว สติจะเกิดขึ้นเองเมือ่ รูปนามที่จิตรูจ ักแลวปรากฏ ขึ้น ศัตรูของการระลึกรูที่ถูกตองไดแกความสุดโตงสองดาน คือการหลง ตามกิเลสไปแสวงหาอารมณทางทวารทัง้ ๖ และการบังคับกดขมกายใจ ของตนเอง 3 วิถีแหงความรูแ จง


๗. สภาวธรรมคืออะไร – คือรูปธรรมและนามธรรมที่ประกอบกันขึ้นเปน รางกายจิตใจอันเปนกองทุกขนี้ ไมใชสงิ่ ที่เปนความคิดฝนหรือจินตนาการ เอาเอง ๘. ที่กําลังปรากฏหมายถึงอะไร - หมายถึงสภาวธรรมที่ปรากฏเปนอารมณ ปจจุบันในขณะจิตตอหนานี้ ผูปฏิบัติตอ งไมหนวงอาลัยถึงสภาวธรรมใน อดีต และไมกังวลถึงสภาวธรรมในอนาคต ๙. ตามความเปนจริงหมายถึงอะไร – หมายถึงรูลักษณะของสภาวธรรมตรง ตามที่มันเปน (เปนไตรลักษณ) และไมเขาไปแทรกแซงสภาวะเหลานั้นดวย ความอยาก(ตัณหา) และความเห็นผิด (ทิฏฐิ) ๑๐. ระลึกรูแลวไดอะไร – (๑) ไดความอยูเปนสุขในปจจุบันของจิตผูรู ผูต ื่น ผู เบิกบาน (๒) ไดความละอายและเกรงกลัวตอบาป (๓) ไดความสมบูรณ แหงศีล (๔) ไดความตั้งมั่นของจิตหรือสัมมาสมาธิ (๕) ไดสัมมาทิฏฐิ เขาใจตนเอง เขาใจผูอ ื่น และเขาใจธรรม (๖) ไดความเบาบางจางคลายจาก ความยึดถือทั้งหลาย (๗) ไดความหลุดพนและ (๘) ไดความรูเ กี่ยวกับธรรม แหงความหลุดพน

4 วิถีแหงความรูแ จง


๑. จุดมุงหมายของพระพุทธศาสนา ๑.๑ พระพุทธศาสนาเปนศาสตรที่มุงตอบปญหาที่วา ทําอยางไรเราจะเขาถึง ความพนทุกขอยางสิ้นเชิงได ๑.๒ คนทัง้ หลายมักมองขามเรือ่ งความพนทุกข แตมุงความสนใจไปที่การ แสวงหาความสุข เพราะไมรูความจริงวารางกายจิตใจนี้เปนกองทุกขแทๆ ไมมีทาง ทําใหเกิดความสุขถาวรไดจริง ยิ่งดิ้นรนหาความสุขหรือหนีความทุกขมากเพียงใด จิตใจก็ยิ่งมีภาระและความทุกขมากขึ้นเพียงนั้น เพราะไมวา จะดิ้นรนเพียงใด ความสุขทีไ่ ดมาก็ไมเคยเต็มอิ่มหรือมิฉะนั้นก็จืดจางไปอยางรวดเร็วเสมอ ความสุข เหมือนสิ่งที่รอการไขวควาชวงชิงอยูขา งหนา เหมือนๆ จะควาได แตกจ็ ะหลุดมือไป รออยูขางหนาตอไปอีก เปนเครื่องยั่วและเรงเราใหเกิดการดิ้นรนอยูต ลอดเวลาโดย หวังที่จะไดครอบครองความสุขอันถาวรใหได ๑.๓ แทจริงความสุขที่พวกเราเที่ยวแสวงหานั้นเปนเพียงภาพลวงตาที่ไขวควา ไมถึง เรามักคิดวาถาไดสิ่งนัน้ ถามีสิ่งนี้ ถาไมเจอสิ่งโนนก็จะมีความสุข เราไปหลง วาความรู ทรัพยสินเงินทอง ครอบครัว ญาติมิตร ชื่อเสียง อํานาจ ความสนุกสนาน สุขภาพ ฯลฯ คือตัวความสุข เราเอาแตดนิ้ รนแสวงหาความสุขโดยไมรจู ักความสุขที่ แทจริง ๑.๔ พระพุทธศาสนาไมไดสอนใหแสวงหาความสุขชนิดที่เปนภาพลวงตานั้น แตสอนใหเรียนรูทกุ ขซึ่งเปนความจริงของชีวิต มีแตพระพุทธศาสนาเทานัน้ ที่ตอบ ปญหาเรื่องทุกขไวโดยตรง รวมทั้งบอกสาเหตุของความทุกข และบอกวิธีปฏิบัติเพื่อ 5 วิถีแหงความรูแ จง


ความพนทุกขสิ้นเชิงเอาไวดว ย ถาเราศึกษาเรื่องทุกขจนเมื่อใดเขาถึงความพนทุกข เมื่อนัน้ จะไดพบกับความสุขอันเต็มบริบรู ณปรากฏอยูตอหนาตอตานี้ทนั ที ๑.๕ บางคนอาจมองเลยไปอีกวา พระพุทธศาสนามองโลกแงรายเกินไป คือ มองวาชีวติ มีแตความทุกข ประเด็นนี้ตอ งขอแขวนไวกอนเปนการชั่วคราว เพราะถา อธิบายกันในขณะนีก้ ็จะกลายเปนขอถกเถียงทางปรัชญาไป เพียงอานหนังสือเลมนี้ ใหจบแลวลงมือเรียนรูทุกขตามแนวทางที่พระพุทธเจาทรงสอนไว ก็จะเห็นความ จริงไดโดยไมตองเสียเวลาถกเถียงกันเลย

๒. ความทุกขคืออะไร ๒.๑ พระพุทธศาสนามองความทุกขไวอยางลึกซึ้งและหลายแงมุม มากกวา ความทุกขที่พวกเรารูจักกันทั่วๆ ไป กลาวคือ ๒.๑.๑ ทุกขเวทนา คือความทุกขทั่วไปที่พวกเรารูจกั กันอยูแลว ไดแก ความทุกขกายทุกขใจนั่นเอง สําหรับผูที่ไมเคยเจริญสติอาจรูสกึ วา นานๆ ทุกขเวทนาจึงเกิดขึ้นสักครั้งหนึ่ง แตผูที่เจริญสติอยูจะพบวา ทุกขเวทนา เกิดขึ้นบอยมาก เชนถาเรามีสติรูกายอยู จะพบวาความทุกขเหมือนสัตวรายที่ วิ่งตามทํารายเราอยูต ลอดเวลา ทําใหตองคอยเปลีย่ นอิริยาบถ ตองกิน ตองดื่ม ตองขับถาย ตองอาบ ตองเช็ดลาง ตองเกา ตองหายใจเขา ตองหายใจออก ฯลฯ แทบไมไดหยุดพักเลย บางคราวมีความปวยไขอันเปนความบีบคั้นที่รนุ แรง และทายทีส่ ุดเมื่อหมดกําลังวิ่งหนีทุกข เราก็จะถูกความทุกขทํารายเอาจนตาย 6 วิถีแหงความรูแ จง


ยามใดที่ทกุ ขเวทนาบรรเทาลง เราจะรูสกึ วาเปนสุข แตไมนานเลย ความ ทุกขก็ตามมาทันอีกคราวหนึ่งหากมีสติรูอยูที่จิตใจก็จะพบวา จิตของเราเกิด ความเครียดขึ้นแทบตลอดเวลา ยามใดมีความเครียดนอยลงก็รูสึกเปนสุข ยาม ใดมีความเครียดมากขึ้นก็รูสึกเปนทุกข ๒.๑.๒ ทุกขลักษณะ ทุกขชนิดนี้ไมใชความทุกขในความหมายทั่วไปที่ ใครๆ ก็รูจัก แตมันเปนลักษณะทั่วไปของสิ่งที่เปนสังขาร(คือรางกายจิตใจและ สิ่งปรุงแตงทั้งหลาย) ที่วา สังขารทัง้ หลายไมอาจคงทนอยูไดตลอดไป ดังนัน้ ตามความหมายนี้ กระทั่งความสุขก็มีลักษณะเปนทุกขเชนกัน คือมีความทน อยูไมได เรื่องทุกขลักษณะนี้จะเห็นชัดขึน้ เมือ่ ไดลงมือเจริญสติแลว ในชั้นนี้ จึงควรทราบไวเพียงนี้กอน ๒.๑.๓ ทุกขเพราะตัณหา ทุกขชนิดนี้เปนทุกขที่เกิดขึ้นกับคนและสัตว ทั้งหลายอยูแทบจะตลอดเวลา แตหาผูมองเห็นไดนอ ยนัก สวนนักปฏิบตั ิพอจะ มองเห็นทุกขชนิดนีไ้ ด โดยเฉพาะอยางยิง่ ผูเ จริญสติโดยใชอารมณในฝาย นามธรรม ซึ่งจะเห็นวา “สมุทัยเปนเหตุใหเกิดทุกข คือเห็นวาหากจิตเกิดความ อยาก(ตัณหา) และความยึดถือ(อุปาทานคือตัณหาที่มีกําลังกลา)ในรูปนามและ อารมณทั้งหลายแลว จิตจะเกิดความทุกขคือความอึดอัดขัดของทั้งหลายขึ้นมา ทันที หากจิตปราศจากความอยากและความยึดถืออารมณ จิตจะไมทุกข แต กลับจะทรงตัวอยูอยางเดนดวง มีสภาพรู ตื่น เบิกบานและมีความสุขอยูโ ดยตัว ของมันเอง ผูปฏิบัตทิ ี่จิตเกิดปญญาเต็มทีใ่ นระดับนีจ้ ะมีสมาธิบริบูรณ คือจิต จะตั้งมั่นอยูไดโดยไมตองระวังรักษาอีกตอไป อันเปนภูมิธรรมในระดับพระ อนาคามีนนั่ เอง ทานที่เขาถึงภูมิธรรมขั้นนี้บางทานจะเกิดความนิ่งนอนใจไม 7 วิถีแหงความรูแ จง


ขวนขวายปฏิบัติตอไป เพราะมีจิตที่ตั้งมั่นเดนดวงนั้นเปนทีพ่ ึ่งที่อาศัยอัน ปลอดภัยและมีความสุขมากอยูแ ลว ๒.๑.๔ ทุกขสัจจหรือขันธคือทุกข ทุกขชนิดนี้เปนทุกขที่ลึกซึ้งที่สุด ผูที่ เขาใจความทุกขชนิดนี้อยางแจมแจงเทานั้นจึงจะพนจากการเวียนวายตายเกิด ได เพราะการรูจักเพียงทุกขเวทนาเปนเรือ่ งสามัญที่ใครๆ ก็รูจัก การรูจ ักทุก ขลักษณะก็เปนสิ่งทีผ่ ูเจริญวิปส สนากรรมฐานแมเมื่อยังเปนปุถุชนอยูก ็รูจัก การรูจักทุกขเพราะตัณหาก็ยังไมใชปญญาที่ถงึ ทีส่ ุด เพราะยังเห็นวาจิต บางอยางเปนสุขและจิตบางอยางเปนทุกข อยางมากที่สุดก็เขาถึงธรรมไดใน ระดับพระอนาคามี เพราะจิตมีปญญาเขาใจวาถาเกิดความอยากและความ ยึดถือ จิตจึงจะเปนทุกข จิตจึงพอใจที่จะตั้งมั่นไมแสวงหาอารมณภายนอกอัน เปนที่ตั้งแหงความอยากและความยึดถือ แตกลับหันมายึดมั่นในตัวจิตที่เปนผูร ู ผูตื่นผูเบิกบานเสียเอง ตอเมือ่ เจริญวิปสสนากรรมฐานตอไปจนปญญาแกรอบถึงทีส่ ุดอยาง แทจริง จึงจะเห็นทุกขสัจจอยางแจมแจงวา ขันธหรือรูปนามหรือกายใจนั่น แหละคือทุกข จะมีความอยากและความยึดมั่นหรือไม รูปนามนี้กเ็ ปนทุกขอยู โดยตัวของมันเองอยูแลว นอกจากทุกขไมมีสิ่งใดเกิดขึ้น และนอกจากทุกขไม มีสิ่งใดดับไป ไมใชวา กายนี้จิตนี้เปนทุกขบางเปนสุขบาง หากแตเปนทุกข ลวนๆ เลยทีเดียว เพียงแตทุกขมากหรือทุกขนอยเทานั้นเอง เมื่อปญญาแกรอบ จนเขาใจวาขันธเปนทุกขแลว ก็เปนอันเขาใจอริยสัจจแจมแจง คือรูวา เพราะมี สมุทัยจึงเกิดทุกข และเพราะไมรูทุกขจึงเกิดสมุทัย เกิดเปนวัฏจักรที่หมุนวน อยางไมมที ี่สิ้นสุด ตอเมื่อรูแจงทุกขจนปลอยวางทุกขไดแลว สมุทัยก็เปน 8 วิถีแหงความรูแ จง


อันดับไปโดยอัตโนมัติ และนิโรธหรือนิพพานจะปรากฏแจมแจงอยูตอ หนา ตอตา วัฏจักรก็เปนอันคว่ําทําลายลงในขณะนั้นเอง ผูเห็นแจงวาขันธหรือรูปนามเปนทุกข(มีวิชชา-ละอวิชชาได) จะสามารถ ปลอยวางความยึดถือในขันธหรือรูปนามลงไดอยางเด็ดขาดและหมดจด เหลือ แตสภาวะที่เปนทุกข แตไมมีผทู ุกข ทําใหความอยาก(ตัณหา-อุปาทาน)ที่จะให “รูปนามของเรา” เปนสุขและปราศจากทุกข หมดไปโดยอัตโนมัติ จิตจึงหมด ความดิน้ รนหรือการทํางานทางใจ(สังขาร/ภพ/กรรมภพ)ที่จะแสวงหาความสุข และหลีกหนีความทุกข จิตจะปลอยวางและไมหยิบฉวยรูปนาม(ชาติ)ใดๆ ขึ้นมาเปนตัวตนของตนอีก และเห็นถึงสภาวะแหงนิพพานคือความสิ้นทุกข เพราะจิตพรากหรือสํารอกออกจากกิเลสและขันธไดดวย การเจริญสติปฏฐานเปนทางสายเดียวทีจ่ ะทําใหเรารูแจงถึงสัจจธรรม เหลานี้ได และเมื่อเขาใจแจมแจงในความจริงดังกลาวนี้แลว จิตก็จะคลายความ อยากและความยึดถือในสิ่งอืน่ ๆ ที่จิตไปรูเขาเปนลําดับๆ จนถึงขั้นปลอยวาง ความยึดถือในทุกขคือกายและจิตไดในที่สุด ๒.๒ ความทุกขที่พระพุทธเจาทรงสอนใหมุงปฏิบัติเพื่อใหพนไป ไดแกขันธ นี่เอง เมื่อใดละอวิชชาคือความไมรูทุกขลงไดเพราะเห็นความจริงแทวา รูปนามมี ลักษณะเปนของไมเที่ยง เปนทุกข(ลักษณะ) หรือเปนอนัตตา จิตจะสลัดคืนทุกข (ขันธ/รูปนาม/กายใจ)ใหกับโลกทันที และไมหยิบฉวยทุกขหรือรูปนามใดๆ ขึ้นมา อีก สวนทุกขเวทนาทางกายในชาติปจจุบันเปนเรือ่ งที่หลีกเลี่ยงไมได จําเปนตอง แกไขผอนปรนตามสถานการณเปนคราวๆ ไป โดยอยูในสภาพที่วา “แมกายทุกข 9 วิถีแหงความรูแ จง


แตใจไมทุกขดวย” ตอเมือ่ สิ้นขันธและไมมีขันธใหมเกิดขึ้นนั่นแหละ จึงเขาถึงความ พนทุกขอยางสิ้นเชิงไดอยางสมบูรณแบบ

๓. ความทุกขเกิดจากอะไร ๓.๑ สําหรับบุคคลและสัตวทั่วไปแลวมักรูสึกวา ความไมสมอยากทําใหเกิด ทุกข เชนอยากเปนหนุมสาวแลวตองแกก็ทุกข อยากแข็งแรงแลวตองเจ็บปวยก็ทุกข อยากเปนอมตะแลวตองตายก็ทุกข อยากไดแลวไมไดก็ทุกข ไมอยากไดแลวตองไดก็ ทุกข แตถาปรารถนาสิ่งใดก็ไดสิ่งนั้นจะรูสึกวาเปนสุข ๓.๒ สําหรับผูปฏิบตั ิจะเห็นความจริงไดลึกซึ้งยิ่งขึ้นไปวา ความอยากตางหาก ที่ทําใหเกิดทุกข เพราะความอยากทําใหจิตตองดิน้ รนทํางานหนักทั้งวันทั้งคืนเพือ่ จะ ให “เรา” เปนสุขและพนจากความทุกขทั้งปวง ถาปราศจากความอยาก จิตก็ไมตอง ดิ้นรนกระวนกระวาย มีแตความสุขสงบอยูในตัวเองเทานัน้ ๓.๓ สําหรับผูร ูแจงอริยสัจจแลวจะพบวา ขันธนั่นแหละเปนตัวทุกขโดยตัว ของมันเอง จะมีความอยากหรือไม ขันธก็เปนทุกขตลอดเวลาอยูแลว แตเพราะ อวิชชาหรือความไมรูแจงวาขันธเปนทุกข กลับไปคิดวากายนี้ใจนี้เปนทุกขบางเปน สุขบาง จึงเกิดสมุทัยคือความอยากจะใหกายใจเปนสุขถาวร หรืออยากใหกายใจพน ทุกขถาวร แลวเกิดความดิน้ รนทางใจ กอเปนความทุกขมาเผารนจิตใจอยูแทบ ตลอดเวลา แมเมือ่ รางกายนี้แตกสลายลง ความไมรูก็จะกระตุนใหจิตปรุงขันธใหม ขึ้นมาเปนภาระใหตอ งแบกรับทุกขตอไปอีก ดังนัน้ ความไมรูอริยสัจจหรืออวิชชา หรือความไมรูความจริงของรูปนามนี้แหละ จึงเปนรากเหงาของความทุกขอยาง 10 วิถีแหงความรูแ จง


แทจริง เพราะทําใหเกิดการหยิบฉวยรูปนามอันเปนกอนทุกขขึ้นมาถือไว แลวเกิด การดิน้ รนทางจิตใจตั้งมากมายเพื่อจะขจัดความทุกขออกจากรูปนาม และหา ความสุขมาใหรูปนาม ตลอดจนกอใหเกิดขันธใหมสืบตอไปอยางไมมีที่สิ้นสุด จึงกอ เกิดเปนความทุกขซ้ําซอนที่ไมรูจักจบสิ้นไดเลย

๔. ทางแหงความดับทุกข ๔.๑ เมื่อทราบแลววาความทุกขเกิดจากอะไร ยอมไมเปนการยากที่จะทําความ เขาใจวา ความดับทุกขเกิดขึ้นไดอยางไร ซึ่งก็ไมมีอะไรมากไปกวาการดับอวิชชา หรือความไมรูอริยสัจจ โดยเฉพาะอยางยิง่ ความไมรูทุกขหรือความไมรคู วามเปนจริง ของรูปนาม/กายใจวาไมใชตัวตนของตน อันเปนตนเหตุใหเกิดตัณหาหรือความ ทะยานอยากที่จะแสวงหาความสุขและหลีกหนีความทุกขทมี่ ากระทบกายใจของตน การรูความเปนจริงของรูปนามเปนเรื่องสําคัญมาก สมดังพระพุทธวัจนะที่วา “เมื่อรู ตามความเปนจริงยอมเบื่อหนาย เมือ่ เบือ่ หนายยอมคลายกําหนัด (โลภะ/ตัณหา) เมื่อ คลายกําหนัดยอมหลุดพน เมือ่ หลุดพนยอมรูว าหลุดพนแลว ชาติ (ความเกิด) สิน้ แลว พรหมจรรย (การศึกษาปฏิบัตธิ รรม) อยูจ บแลว” ๔.๒ วิธีทจี่ ะทําใหจิตรูสภาวธรรมตามความเปนจริงที่ตรงไปตรงมาทีส่ ุดก็คือ การมีสติ ระลึกรู สภาวธรรม ทีก่ ําลังปรากฏ ตามความเปนจริง (ในบทความนี้ สติ หมายถึงสัมมาสติซึ่งตองเกิดรวมกับสัมมาสมาธิและสัมมาทิฏฐิหรือปญญาเสมอ แต ที่ไมไดแยกแยะรายละเอียดในชั้นนี้ ก็เพราะตองการใหผูแรกสนใจพระพุทธศาสนา ศึกษาไดโดยไมซับซอนนัก) นี่เปนเหตุผลที่ตรงไปตรงมาทีส่ ุดแลว ทํานองเดียวกับ เมื่อเราอยากรูจักตัวจริงของใครสักคนหนึ่ง เราก็ตองหมั่นตามรูพฤติกรรมของเขาไป 11 วิถีแหงความรูแ จง


เนืองๆ โดยปราศจากอคติ จึงจะรูจักและเขาใจผูนนั้ ไดตรงตามความเปนจริง ทั้งนี้ พระพุทธเจาทรงยืนยันวา การเจริญสติรรู ูปนาม/กายใจนี้แหละคือทางสายเดียวทีจ่ ะ นําไปสูความบริสุทธิ์ เพราะสามารถถอดถอนตัณหาและทิฏฐิ (ความเห็นผิดจาก ความจริง) ตลอดจนความยินดียินรายในโลกเสียได ทั้งนี้คําวาโลกก็หมายถึงรูปนาม/ กายใจนั่นเอง ๔.๓ พวกเราบางคนอาจสับสนกับแนวความคิดทีว่ าการเจริญสติรรู ูปนาม/กาย ใจคือทางแหงความดับทุกข เพราะไดยนิ คําสอนที่วา ทางปฏิบัติเพื่อความดับทุกข ไดแกการเจริญอริยมรรคมีองค ๘ รวบยอลงมาก็คอื การศึกษาปฏิบัติในเรื่องศีล สมาธิ และปญญา สิ่งที่ไดยนิ มานี้ถูกตองเชนกัน แตควรทําความเขาใจใหยิ่งขึน้ ไปอีกวา การเจริญอริยมรรคหรือการรักษาศีล การทําสมาธิ และการเจริญปญญา ชนิดไหนที่ เกื้อกูลตอความรูแจง และชนิดไหนไมเกื้อกูลตอความรูแจง ๔.๔ แทจริงการบําเพ็ญคุณงามความดีทงั้ หลาย เปนสิ่งที่พระพุทธเจาทรงยก ยอง พระองคเองก็ทรงบําเพ็ญบารมีมามากมายกอนที่จะตรัสรู( เขาใจธรรมตามความ เปนจริงดวยพระองคเอง) เชนทรงบําเพ็ญทานอยางยิ่งยวดเมือ่ เสวยพระชาติเปนพระ เวสสันดร บางชาติทรงถือศีลแบบยอมสละชีวิต บางชาติทรงทําสมาธิจนไดอภิญญา ๕ เมือ่ สิ้นชีพแลวไดไปเกิดในพรหมโลก บางชาติเชนพระชาติที่เปนมโหสถบัณฑิต ก็ทรงสะสมปญญาบารมีอยางยิง่ ยวด แตเหตุใดพระองคจงึ ไมทรงตรัสรูพ ระอนุตตร สัมมาสัมโพธิญาณในพระชาติเหลานัน้ กลับมาทรงตรัสรูเ อาในพระชาติสุดทาย และ ทรงตรัสรูด วยการเจริญธัมมานุปสสนาสติปฏฐานในอริยสัจจบรรพ จริงอยูถา พระองคไมทรงบําเพ็ญพระบารมีใหเต็มเปยม พระองคยอ มไมสามารถตรัสรูไดดวย พระองคเอง แตถาทรงบําเพ็ญพระบารมีโดยไมทรงเจริญสติ พระองคกท็ รงตรัสรู ไมไดเชนกัน ทั้งนี้เพราะการบําเพ็ญบารมีทั้งหลาย เปนการปรับพื้นฐานทางจิตใจ 12 วิถีแหงความรูแ จง


ของพระองคใหพรอมสําหรับการแสวงหาหนทางเจริญสตินนั่ เอง ตัวอยางเชน เพราะ พระองคเคยฝกสละพระโอรสธิดาและพระชายาเพื่อพระโพธิญาณในพระชาติทเี่ ปน พระเวสสันดรมาแลว จึงทรงเขมแข็งพอที่จะสละพระนางพิมพาและพระราหุลซึง่ เปนที่รักยิง่ เพือ่ ไปแสวงหาพระโพธิญาณ เปนตน ๔.๕ การทําความดีทั้งหลาย ทั้งทาน ศีล สมาธิ และการเจริญปญญาบางระดับ ไมไดเกื้อกูลตอการรูธรรม เพียงแตนําความสุขมาใหดวยกุศลวิบากหรือผลแหงความ ดีเทานั้น และบางกรณีเมื่อทําความดีอยู จิตกลับพลิกไปเปนอกุศลก็ไดดวย ตัวอยางเชน ๔.๕.๑ การทําทาน หากทําโดยไมประกอบดวยสติปญญาก็อาจเปนการ พอกพูนกิเลสใหหนาหนักยิ่งขึน้ เชนทําไปดวยมิจฉาทิฏฐิวา "เรา" ทําทานแลว เมื่อ "เรา" เกิดในชาติตอไป "เรา" จะไดเสวยผลทานนี้ หรือ “เรา” จะไดบรรลุ มรรคผลนิพพานเพราะการทําทานนี้ หรือทําไปดวยความโลภวา เราทําทานนี้ ขอใหไดรบั ดอกผลมากมายอยางนี้ๆ เปนตน ๔.๕.๒ การถือศีล หากไมมีสติปญญากํากับยอมเปนการงายที่ผูถือศีลจะ ถือศีลบําเพ็ญพรตอยางงมงาย(สีลัพพตปรามาส) เชนหลงผิดวา การบําเพ็ญขอ วัตรที่กดขมจิตใจมากๆ จะทําใหกิเลสเบาบางลง หรือยิ่งถือศีลก็ยิ่งพอกพูน กิเลส เชนเกิดมานะมากขึ้น คือเกิดความสําคัญมัน่ หมายวา เราดีกวาคนอืน่ เพราะเราถือศีล สวนคนอืน่ เลวกวาเราเพราะไมมศี ีล เปนตน ๔.๕.๓ การทําสมาธิ หากไมประกอบดวยสติปญญา ยิ่งทําสมาธิ จิตก็ยิ่ง นอมเขาหาความสงบหรือความสุขสบายจนลืมเนือ้ ลืมตัว หรือเกิดมิจฉาทิฏฐิ คือความเห็นผิดมากขึ้นๆ ดวยอํานาจของโมหะและราคะ เชนทําสมาธิแลวเกิด 13 วิถีแหงความรูแ จง


ความเคลิบเคลิ้มขาดสติ หรือเกิดนิมิตตางๆ มากมาย บางคนถึงขนาดเห็น" นิพพาน"เปนบานเมืองหรือเปนดวงแกว บางคนเกิดความรูความเห็นตางๆ แลวหลงภูมิใจอยูกับความรูเ หลานั้น และบางคนจะรูสึกวาจิตเปนอัตตาคือเปน สิ่งที่บังคับควบคุมใหอยูในอํานาจได เปนตน ๔.๕.๔ การเจริญปญญา หากไมประกอบดวยปญญาสัมมาทิฏฐิก็จะเกิด ความผิดพลาดในการเจริญปญญาไดมากมาย เชนผูท ี่จําแนกไมออกระหวาง สมถกรรมฐานกับวิปส สนากรรมฐาน ก็เปนการงายที่จะหลงทําสมาธิแลวคิด วากําลังเจริญปญญาอยู เชน บางทานมุง ใชความคิดพิจารณาสัตว บุคคล ตัวตน เรา เขา วัตถุสิ่งของ ผูคน ฯลฯ ใหเปนไตรลักษณ การกระทําเหลานั้นเปนเพียง การทําสมถกรรมฐาน เปนไปเพื่อความสงบของจิต บางครัง้ แทนที่จะเกิดความ สงบ กลับเกิดความฟุง ซานในธรรมแทนก็ได บางทานยิ่งคิดพิจารณาไตร ลักษณ มานะอัตตากลับยิ่งพอกพูนขึ้นก็มี ทั้งนี้เพราะไตรลักษณนั้น คิดเอา ไมได แตตองประจักษชัดถึงสภาวะที่แทของรูปธรรมและนามธรรม ดวยความ มีสติ และดวยจิตที่มคี วามตั้งมัน่ (สัมมาสมาธิ) จึงจะเห็นไตรลักษณดว ยปญญา ไดจริง และบางทานแทนที่จะเจริญปญญาดวยการรูร ูปนาม กลับพยายามสราง หรือพยายามไปรูความวางหรือมหาสุญญตาแทนรูปนาม เพราะไมทราบวาการ เจริญวิปสสนากรรมฐานตองใชรูปนามเปนอารมณ แตกลับคิดวาการสลัดทิ้ง รูปนามแลวไปรูความวางเปนทางลัดในการปฏิบัตธิ รรม เปนตน ๔.๖ การทําความดีที่เกื้อกูลตอการรูธรรม ตองเปนการทําดีที่เกือ้ กูลตอการ เจริญสติทถี่ ูกตอง หรือเจืออยูดว ยสติปญญาในขณะที่ทําความดีนั้น เชน

14 วิถีแหงความรูแ จง


๔.๖.๑ การทําทาน ควรมีสติปญญากํากับจิตใจของตนไว ทั้งกอนทํา ระหวางทํา และหลังทํา หากเปนการกระทําดวยศรัทธาที่ประกอบดวยปญญา ทําแลวตนเองหรือผูอ ื่นไมเดือดรอนก็ควรทําตามความเหมาะสม หรือทําแลว จิตใจแชมชื่นเบิกบาน ก็มีสติระลึกรูความสุขความเบิกบานนัน้ ไป การทําทาน จึงเปนเครือ่ งมือฝกการเจริญสติไดเหมือนกัน แตถา ทําดวยความเมาบุญดวย อํานาจโลภะและโมหะ ทานนัน้ ก็ไมเกื้อกูลใดๆ ตอการเจริญสติ ๔.๖.๒ การรักษาศีล ศีลบริสุทธิ์ไดยาก หากไมมีสติกํากับอยูทจี่ ิต แต หากมีสติกํากับรูอยูท ี่จิตใจตนเอง ศีลชนิดที่เรียกวา “อินทรียสังวรศีล” ยอม เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ กลาวคือเมื่อโทสะเกิดขึ้นก็มีสติรูวาโทสะเกิดขึ้น โทสะ ยอมครอบงําจิตไมได ศีลขอ ๑ ก็เกิดขึ้นเต็มบริบูรณเพราะจิตไมคิดฆาหรือทํา รายใคร ถาโลภะเกิดขึ้นแลวมีสติรูทัน ยอมไมทําผิดศีลขอ ๒ และขอ ๓ โดย อัตโนมัติ เปนตน ๔.๖.๓ การทําสมาธิ สัมมาสมาธิหรือความตั้งมั่นของจิตเปน องคประกอบหนึ่งของอริยมรรคมีองค ๘ ดังนั้นสมาธิในพระพุทธศาสนาจึง ตองประกอบดวยองคมรรคอื่นๆ ดวย เชนตองมีสติและปญญากํากับอยูเสมอ สมาธิที่ขาดสติปญญา เปนสมาธิที่ใหความสุขหรือของเลนอืน่ ๆ ไดก็จริง แต ไมมีประโยชนตอ การเจริญสติ เพราะจิตไมตั้งมั่นในการรูกายรูใ จไดจริง และ เมื่อจิตไมตั้งมั่น ศีลและปญญาก็ไมอาจเกิดใหบริบูรณได ๔.๖.๔ การเจริญปญญา การเจริญปญญาที่ถูกถวนสมบูรณทสี่ ุดจะกลาว ในหัวขอเกี่ยวกับการเจริญสติตอไป สวนในหัวขอนี้จะกลาวเฉพาะการเจริญ ปญญาในขั้นตน ไดแกการศึกษาปริยัติสัทธรรม ซึง่ ชาวพุทธแมจะเปนนัก 15 วิถีแหงความรูแ จง


ปฏิบัติก็ไมควรทอดทิ้ง อยางนอยควรเรียนใหรูหลักการขั้นพืน้ ฐานของ พระพุทธศาสนาไวบาง มิฉะนั้นอาจกลายเปนผูน บั ถือลัทธิศาสนาอื่นๆ ทั้งที่ คิดวาตนเปนชาวพุทธก็ได ๔.๗ การเจริญศีล สมาธิ ปญญา ซึ่งดูวามีหลายอยางนั้น ถาเจริญสติไดถูกตอง ศีล สมาธิและปญญาจะเกิดขึน้ เอง เชนในหนังสืออรรถกถาธรรมบท กลาวถึงภิกษุ รูปหนึ่งไปทูลลาสิกขาจากพระพุทธเจาเพราะรักษาศีลจํานวนมากไมไหว พระพุทธเจาทรงสอนใหทานเจริญสติแทนการตามรักษาศีลจํานวนมาก ทานทําแลว สามารถทําศีลของทานใหบริสทุ ธิ์บริบูรณได ทัง้ ยังบรรลุมรรคผลนิพพานไดดว ย หรือหากเรามีสติจนสามารถระลึกรูสภาวธรรมที่กาํ ลังปรากฏไดจริงๆ ในขณะนัน้ เรา จะเกิดสัมมาสมาธิโดยอัตโนมัติ คือจิตจะเกิดความตั้งมั่นแลวมีสติระลึกรูสภาวธรรม ที่กําลังปรากฏโดยไมหลงเขาไปแทรกแซง สิ่งที่ตามมาก็คอื ปญญาที่รลู ักษณะของรูป และนาม คือรูถงึ ความเปนไตรลักษณของรูปและนาม และรูไดแมกระทั่งอริยสัจจ ๔ ปญญาเหลานี้เกิดจากการเจริญสติดวยจิตที่มีสัมมาสมาธิทั้งสิ้น ดังนั้นจะ กลาววา การปฏิบัติตามทางแหงความพนทุกข จะตองเจริญอริยมรรคมีองค ๘ ก็ได ยอลงมาเปนการเจริญไตรสิกขาคือศีล สมาธิและปญญาก็ได หรือถายอลงใหถงึ ที่สุด การเจริญสตินั้นแหละคือการเจริญไตรสิกขาและมรรคมีองค ๘

๕. การเจริญสติคืออะไร ๕.๑ ดังที่ไดกลาวแลววา รากเหงาของความทุกขในทัศนะของพระพุทธศาสนา คือความไมรูความจริงของทุกขคือรูปนาม/ขันธ/กายใจ อันเปนตนเหตุใหเกิดความ อยาก(ตัณหา) ความยึดถือ(อุปาทาน)และความดิ้นรนทางใจ(ภพ)เพื่อจะใหกายใจนี้ 16 วิถีแหงความรูแ จง


เที่ยง เปนสุข และบังคับไดตามใจปรารถนา ความดิ้นรนนั้นทําใหเกิดความทุกขทาง ใจซ้ําซอนขึ้นมาอีกชัน้ หนึ่ง นอกเหนือจากความทุกขของรูปนาม/ขันธ/กายใจที่เปน ทุกขโดยตัวของมันเองอยูแลว หากสามารถรูเ ห็นความจริงของรูปนาม/ขันธ/กายใจ ไดวาเปนของไมเทีย่ ง เปนทุกขและไมใชตัวตนของตนที่บงั คับได จนจิตปลอยวาง ความยึดถือกายใจ จิตจะหมดความอยาก ความยึดถือและความดิ้นรนทางใจโดย อัตโนมัติ ความทุกขทางใจเพราะความอยาก ความยึดถือและความดิน้ รนก็จะหมดไป จิตจะเปนอิสระจากขันธ พรากออกจากขันธอันเปนกองทุกข และเขาถึงสันติสุขอัน แทจริงหรือนิพพาน ดังนัน้ การจะทําลายรากเหงาของความทุกขจึงตองมีวิชชาหรือ ปญญา ทําลายความไมรูความเปนจริงของรูปนาม/ขันธ/กายใจ อันเปนตนเหตุของ ความทุกขลงไปใหได ๕.๒ การทําปญญาหรือความรูใหเกิดขึน้ นั้น พวกเราเคยชินที่จะเรียนรูดวย วิธีการเกาๆ ไดแก (๑) การรับถายทอดความรูหรือประสบการณของผูอนื่ ดวยการ อานและการฟง และ (๒) การขบคิดใครครวญในเรือ่ งนัน้ ๆ ซึง่ วิธีการทัง้ ๒ นี้ใชได สําหรับการเรียนรูวิชาการอื่นๆ แตการทําความเขาใจหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จําเปนตองอาศัยการหาความรูโ ดยอีกวิธีการหนึง่ เพิ่มเติมจาก ๒ วิธีแรกคือ (๓) การ เฝาสังเกตปรากฏการณของรูปและนามตามความเปนจริง ทั้งนี้เพราะการรับฟง ความรูข องทานผูอ ื่นใหเราไดเพียงความจํา สวนการคิดก็ใหเราไดเพียงความคิด ทั้ง ความจําและความคิดอาจไมใชความจริงก็ได แตทั้งนี้ในเบือ้ งตน เราตองศึกษา หลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจาดวยการอานและการฟง แลวนํามาขบคิด ใครครวญเพื่อใหรูถงึ แนวทางของการเฝาสังเกตปรากฏการณของรูปและนามได อยางถูกตองตอไปเสียกอน

17 วิถีแหงความรูแ จง


๕.๓ การแสวงหาความรูด วยการอาน การฟง และการคิด เปนเรือ่ งธรรมดาๆ ที่ พวกเรารูจกั กันดีอยูแลว ในที่นจี้ ึงจะขามไปกลาวถึงการแสวงหาความจริงดวยการ เจริญสติ อันไดแก การเฝาสังเกตปรากฏการณของรูปและนาม โดย การระลึกรู (ขอ ๖) ถึงสภาวธรรม (ขอ ๗) ที่กาํ ลังปรากฏ (ขอ ๘) ตามความเปนจริง (ขอ ๙)

๖. การระลึกรูทําอยางไร ๖.๑ มนุษยโดยทัว่ ไปสามารถระลึกรูปจจุบันอารมณ(อานเพิม่ เติมในขอ ๘)ได อยูแลวตามธรรมชาติ เชนในขณะนี้ยืน หรือเดิน หรือนั่ง หรือนอนก็ทราบได ในขณะนีม้ ีความสุข หรือความทุกข หรือเฉยๆ ก็ทราบได ในขณะนี้มีความรัก โลภ โกรธ หลง สงสัย ฟุงซาน หดหู เกียจคราน ศรัทธา วิรยิ ะ หรือมีความสงบ ฯลฯ ก็ ทราบได แตมนุษยมีจุดออนสองประการคือ (๑) มนุษยมักละเลยที่จะรูปจจุบัน อารมณ เพราะมัวแตหลงอยูกับเรือ่ งราวอันเปนความคิด หรือหลงอยูกับสิ่งที่ไปรูไป เห็นทั้งหลาย จนลืมกายลืมใจที่กําลังปรากฏในปจจุบันของตนเอง และ (๒) มนุษย มักรูอารมณเหลานัน้ ดวยความหลงผิด คือแทนที่จะเห็นปรมัตถอารมณซึ่งเปนของ จริง(อานเพิ่มเติมในขอ ๗) กลับเห็นแตอารมณบญ ั ญัติอนั เปนความคิดฝนของตนเอง เชนคิดวาเรายืน เราเดิน เรานัง่ เรานอน ทัง้ ที่ความจริงแลวรูปหรือกอนธาตุตางหากที่ ยืนเดินนัง่ นอน หรือคิดวาเรากําลังโลภโกรธหลง ทั้งที่ความจริงแลวนามหรือจิต ตางหากทีก่ ําลังโลภโกรธหลง ทั้งนีเ้ พราะมองไมเห็นปรมัตถอารมณหรือสภาวธรรม ที่แทจริงคือรูปกับนาม แตคุนเคยวากายนี้ใจนี้คือตัวเราซึ่งเปนอารมณบญ ั ญัติหรือสิ่ง ที่คิดเอาดวยความเห็นผิดเทานัน้ เอง 18 วิถีแหงความรูแ จง


แมกระทั่งพวกเรานักปฏิบัติก็มักนึกไมถึงดวยวา การเจริญสติที่แทจริงก็คอื การ ใชจิตใจที่เปนธรรมชาติธรรมดานีเ้ อง ไปรูปรมัตถอารมณที่กําลังปรากฏเปนปจจุบัน อารมณ แตมักเกิดความเขาใจผิดวา การเจริญสติหรือการระลึกรูนั้น เปนสภาพอะไร อยางหนึ่งที่พิเศษเหนือธรรมดา ดังนัน้ แทนที่จะใชจิตใจธรรมดาไปรูอ ารมณ พวกเรา กลับพยายามสราง "รู" แบบผิดธรรมดาขึ้นมาแทน และอารมณกรรมฐานที่ใชอยูก็ไม คอยถูกตองนักดวย หัวขอนี้จะกลาวถึงลักษณะของจิตที่เหมาะแกการเจริญวิปสสนา ซึ่งเปนจิตที่มี สติ สัมมาสมาธิ และปญญา หรือที่นักปฏิบัติบางทานเรียกวาจิตรูนั่นเอง ๖.๒ การบงชี้สภาวะวา การมีสติ หรือการมี รู ที่ถกู ตองเปนอยางไรนัน้ เปน เรือ่ งยากมาก เพราะเพียงแตเราเติมความคิดเห็นของเราลงไปวามันเปนอยางนัน้ อยาง นี้ เราก็จะเริ่มเขาใจผิดทันที แตหากเรามาพูดกันถึงสภาวะของการรูที่ไมถูกตอง เสียกอน (ซึ่งลวนแตเกิดจากตัณหาหรือความอยาก และทิฏฐิหรือความเห็นผิด ทั้งหลาย) เราก็จะเขาใจถึงสภาวะรูที่ถูกตองไดไมยากนัก สภาวะผิดพลาดที่สําคัญ ไดแก ๖.๒.๑ รู ไมใชไมรู (เผลอ/ลืมตัว) ๖.๒.๑.๑ สภาวะรู เปนสิ่งที่ตรงขามกับสภาวะไมรู อันไดแกความ เหมอ ความเผลอ ความลืมตัว ความใจลอย หรือความฝนกลางวัน นั่นเอง เปนสภาวะของการปลอยจิตใจใหหลงเพลิดเพลินไปตามอารมณ ทางตา หู จมูก ลิ้น และกาย แมกระทั่งเพลินไปในโลกของความคิดฝน และจินตนาการของตนเอง ตัวอยางเชนเมื่อตามองเห็นรูปบางอยางแลว เกิดจําไดวา นั่นเปนรูปผูหญิงสวย/ผูชายหลอ ก็มัวหลงเพลินมองตาม 19 วิถีแหงความรูแ จง


อยางลืมเนือ้ ลืมตัว หรือเมื่อนัง่ อยูคนเดียว ก็ใจลอยคิดฟุงซานไปเรื่อยๆ โดยบางคราวก็ทราบถึงเรื่องราวที่คิด แตบางคราวก็ไมรูชัดวาคิดเรือ่ ง อะไร เปนตน ๖.๒.๑.๒ สภาวะที่เรียกวาเผลอหรือลืมตัวนี้ เปนสภาวะที่เราลืม รางกายของตนเองเหมือนกับวามันหายไปจากโลก รวมทั้งลืมจิตใจของ ตนเอง คือในขณะนัน้ จิตใจจะมีสุขหรือทุกข จะดีหรือชัว่ อยางไรก็ไม สามารถจะรูได กลาวไดวาในเวลาที่เราเผลอหรือขาดสตินั้น เราไม สามารถรูก าย เวทนา จิต และธรรมไดนนั่ เอง ๖.๒.๑.๓ ขณะใดที่เราเผลอ แลวเกิดรูตวั วากําลังเผลออยู ขณะนั้น ความเผลอจะดับไป และจะเกิดสภาวะของความรูต ัวขึ้นมาแทนที่ทันที ดังนัน้ เพียงแครูวา กําลังเผลอ ก็เกิดการรูทถี่ ูกตองแลว ๖.๒.๒ รู ไมใชคิด ๖.๒.๒.๑ สภาวะรู ไมเหมือนกับสภาวะคิด ในขณะที่คิดนั้น เรารู เรือ่ งที่กําลังคิดเปนอยางดี แตเราลืมตัวเองคลายกับเวลาที่เผลอนั่นเอง การรูเปนการตามสังเกตปรากฏการณตา งๆ ตามทีม่ ันเปนจริง ในขณะที่ การคิด เปนการคาดวาความจริงมันนาจะเปนอยางไร (แตทงั้ นี้หากมีกิจ จําเปนตองคิด เชนตองคิดเพื่อการเรียนหรือการทํางาน เราก็ตองคิดไป ตามหนาทีข่ องตน)

20 วิถีแหงความรูแ จง


๖.๒.๒.๒ นักปฏิบัตจิ ํานวนมากไมเขาใจการเจริญสติ โดยมี ความสําคัญผิดวาการคิดหรือการตรึกตรองเรือ่ งกายและใจตนเอง วา "เปนอสุภะ ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา หรือเปนรูปนาม" เปนการทํา วิปสสนา แทจริงการเจริญสติหรือการเจริญวิปสสนาจะตองรู สภาวธรรมที่กําลังปรากฏตามความเปนจริง ไมใชการคิดถึงสภาวธรรม นั้นๆ เพราะความคิดของปุถชุ นยอมปนเปอนดวยอคติเสมอๆ หรือคิดอยู ในจุดยืนของความเห็นผิดหรือมิจฉาทิฏฐิชนิดตางๆ เชนคิดวา “รางกาย นี้ไมเที่ยงแตจิตนี้เที่ยง พอรางกายนี้ตายลงจิตก็ออกจากรางไปเกิดใหม” หรือคิดวา “ตัวเรามีอยู แตพอตายลงก็สญ ู ไปเลย” เปนตน การคิดพิจารณาไมใชวิปสสนา ดังที่หลวงปูเทสก เทสรังสี ซึง่ เปน ศิษยอาวุโสสูงรูปหนึ่งของหลวงปูมั่น ภูริทัตโต ไดสอนไววา "การคิด พิจารณากายวาเปนอสุภะก็เพื่อแกนิวรณ (เปนสมถะ) การคิดพิจารณา ความตาย (มรณสติ) และการคิดพิจารณากายวาเปนธาตุเปนขันธ ก็เพื่อ แกอาการของจิตบางอยาง (เปนสมถะ) เชนกัน ตอเมื่อใดปฏิบัติจนถึงจิต ถึงใจตนเอง จึงไดแกนสารของการปฏิบตั ิธรรม" นอกจากนี้หลวงพอพุธ ฐานิโยก็เนนย้ําเสมอวา “สมถะเริ่มเมือ่ หมดความตั้งใจ วิปสสนาเริ่มเมือ่ หมดความคิด” และหลวงปูดูลย อตุโลก็สอนไววา “คิดเทาไรก็ไมรู หยุดคิดถึงจะรู” ซึ่งก็ตรงกับพระปริยัติธรรมทีร่ ะบุวา “อุทยัพพยญาณ อันเปนวิปส สนาญาณเบื้องตนนั้นตองปลอดจากความคิด” ๖.๒.๒.๓ ขณะใดที่เราคิด แลวเกิดรูตัววากําลังตัง้ อกตั้งใจคิดอยู ขณะนั้นความคิดจะดับไป และจะเกิดสภาวะของความรูตวั ขึ้นมาแทนที่ ทันที ดังนัน้ เพียงแครูวากําลังคิด ก็เกิดการรูที่ถูกตองแลว 21 วิถีแหงความรูแ จง


๖.๒.๓ รู ไมใชการตั้งทาปฏิบตั ิ ๖.๒.๓.๑ รูไมมีการตั้งทากอนจะรู แตนกั ปฏิบัติเกือบรอย ละรอย เมือ่ คิดจะปฏิบัติธรรมก็ตองรีบตั้งทาปฏิบัติ เพราะไปแปล ความหมายของ "การปฏิบัติ" วาเปน "การกระทํา" ทั้งที่การปฏิบัติ นั้นไมตองทําอะไรมากกวาการรูรูปนามที่ปรากฏเขาไปตรงๆ ตาม ธรรมชาติธรรมดา เชนเดียวกับเมื่อเราตองการดูภาพตรงหนา เราก็ แคลืมตาขึน้ ดูเทานั้น หรือเมื่อถูกยุงกัดจนเกิดความคัน เราก็แค รูสึกวาคันเทานัน้ สภาวะรูทเี่ ปนธรรมชาตินนั้ เรามีอยูแลว แต เพราะไมเขาใจหลักการเจริญสติ เราจึงตั้งทาปฏิบตั ิ เหมือนนักวิ่ง ๑๐๐ เมตรที่กําลังเขาเสนสตารท คือเกร็งทั้งกายและจิตใจ แทนที่ จะรูอารมณที่ปรากฏเฉพาะหนาไปอยางสบายๆ ตามธรรมชาติ ธรรมดา ๖.๒.๓.๒ เมื่อคิดปฏิบัติธรรม นักปฏิบัติมักบังคับใจตนเอง และเริ่มสรางพฤติกรรมของจิตบางอยาง เชนการใชสติจองมองดู จอภาพในใจของตน แลวเที่ยวควานหา (scan) อยูในจอภาพ นั้น เพื่อหาอะไรสักอยางเอามาดู หรือการสงจิตออกไปนิ่งอยู ขางหนา แลวคอยดูสิ่งที่กําลังปรากฏขึน้ สิ่งเหลานีเ้ ปนความ ผิดพลาดอยางยิ่ง เพราะเปนการปฏิบัติไปดวยตัณหาคือความ อยากจะปฏิบัติธรรม และทิฏฐิคือความเห็นผิดวาการปฏิบัติธรรม จะตองทําอยางนัน้ อยางนี้ เพื่อให "เรา" รูธ รรม

22 วิถีแหงความรูแ จง


๖.๒.๓.๓ เมื่อคิดปฏิบัติธรรม นักปฏิบัติบางทานทีน่ ิยมใช รูปหรือกายเปนอารมณกรรมฐาน มักเริม่ ดวยการแทรกแซง พฤติกรรมตามธรรมชาติของกาย เชนเมือ่ คิดจะรูลมหายใจก็เขา ไปควบคุมจังหวะการหายใจ เมื่อคิดจะรูค วามเคลือ่ นไหวของ รางกายก็ไปกําหนดจังหวะการเคลือ่ นไหวของมือ เทา และทอง บาง การกระทําเหลานี้ไมผิด ถาเปนการทําสมถะหรือตองการใช กายเปนจุดเริ่มตนของการปฏิบัติกอนพัฒนาไปสูการรูที่แทจริง แตถาจงใจกอพฤติกรรมทางกายโดยคิดวานั่นคือการเจริญสติ และรูไมทันตัณหาและทิฏฐิทกี่ ําลังครอบงําจิตจนกอพฤติกรรม ดังกลาวขึน้ มา นั่นก็เปนความผิดพลาดทีร่ ายแรงมากอีกประการ หนึ่ง ๖.๒.๓.๔ ความจริงแลวถาเราจะเจริญสติหรือ รู อยาง สมบูรณแบบที่สุด เราไมจําเปนตองตัง้ ทาอะไรเลย ไมวาทางจิต หรือทางกาย เชนเมือ่ ตาเห็นรูปก็รูรูป(สี)นั้น หากจิตเกิดปฏิกิริยา ยินดียนิ รายตอรูปก็รทู ันอีก หรือขณะนี้อยูในอิริยาบถใดก็รูไปเลย เชนเมื่อยืนอยูกร็ ูวาวัตถุกอนนี้ยืนอยู ยืนแลวเมื่อยอยากเปลีย่ น อิริยาบถก็รูทันความอยากของตนเอง รูทนั แลวจะเปลี่ยนอิริยาบถ เพราะมันจําเปนก็ได หรือจะไมเปลี่ยนอิริยาบถเพื่อดูความจริง ของทุกขเวทนาไปกอนก็ได หรือนัง่ อยูเฉยๆ เกิดความคิดแลวรูวา จิตคิดก็ได หรือเมื่อคิดแลวจิตเกิดกุศลหรืออกุศลอยางใดก็รูไปเลย ก็ได เปนตน

23 วิถีแหงความรูแ จง


๖.๒.๓.๕ อยางไรก็ตาม หากนักปฏิบัติคนใดไมสามารถรู ปจจุบันอารมณไปตามธรรมชาติธรรมดาไดก็ไมตองตกใจ ใน เบื้องตนจะตั้งทาปฏิบัติเสียกอนก็ได เชนถาจิตฟุงซานนักก็ทํา ความสงบเขามากอน แตตองระวังอยาใหเคลิ้มลืมตัว และอยาให เครียดขึ้นได ใหรูอารมณอนั ใดอันหนึง่ ไปอยางสบายๆ จะเปน อารมณอะไรก็ได แมกระทั่งการรูคาํ บริกรรมก็ได เมื่อจิตใจสงบ สบายแลวจึงคอยระลึกรูความเปลี่ยนแปลงของจิตใจไปตาม ธรรมชาติธรรมดาอีกชั้นหนึ่ง หรืออาจจะเริ่มจากการรูทองพอง ยุบ รูการเดินจงกรม รูการเคลือ่ นไหวมือเปนจังหวะ ฯลฯ รวม ความแลวในเบื้องตนจะทํากรรมฐานใดก็ได แลวจึงคอยพัฒนา ไปสูการรูแ บบไมตั้งทา หรือไมจงใจตอไป ๖.๒.๓.๖ ขณะใดที่เราตัง้ ทาปฏิบัติ แลวเกิดรูตัววากําลังตัง้ ทา ขณะนัน้ การตัง้ ทาจะดับไป และจะเกิดสภาวะของความรูต ัว ขึ้นมาแทนที่ทันที ดังนัน้ เพียงแครูวา กําลังตั้งทา ก็เกิดการรูที่ ถูกตองแลว ๖.๒.๔ รู ไมใชกําหนดรู ๖.๒.๔.๑ รูไมใชการกําหนดรู หรือการตรึกพิจารณาถึง อารมณวา เปนรูปนาม แตเปนการระลึกรู (มนสิการ) ปจจุบัน อารมณไปตามธรรมชาติธรรมดา นักปฏิบัติจํานวนมากคิดวา รูคือ การกําหนดรู เพราะมักไดยินคําพูดเกี่ยวกับการกําหนดรูร ูปนาม หรือการกําหนดรูปจจุบันอารมณ จึงคิดวา การรูตองมีการกระทํา 24 วิถีแหงความรูแ จง


คือการกําหนด หรือการพิจารณาดวย ดังนั้นพอรูอ ารมณแลวจึงรีบ บริกรรมตอทายการรูทันที เชนยกหนอ ยางหนอ โกรธหนอ เสียง หนอ ฯลฯ นี่คือการบริกรรมไมใชการรู (เบื้องตนอาจจําเปน สําหรับบางทานที่ตอ งบริกรรมกอน แตพงึ ทราบวาจะหยุดการ ปฏิบัติอยูเพียงขั้นการตามบริกรรมไมได เพราะยังไมใชวิปสสนา) หรือบางทานนิยมการพิจารณากํากับซ้ําลงไปอีกชัน้ หนึ่ง ซึ่งก็ ไมใชการรูเชนกัน เชนเมือ่ ตาเห็นรูปตามธรรมชาติแลว ก็จงใจ พิจารณารูปซ้ําลงไปอีก วา "รูปนี้เปนเพียงสี ไมใชสัตว บุคคล ตัวตน เรา เขา ฯลฯ" หรือพิจารณาวา "สีเปนรูป รูเปนนาม" อัน เปนการกระทําดวยความจงใจกําหนด และเปนการกระทํา ตามหลังการรูอารมณที่เปนปจจุบัน จึงยังไมใชการรูที่บริสทุ ธิ์ตาม ธรรมชาติธรรมดา ๖.๒.๔.๒ แทจริงคําวา “สติ” ในพระไตรปฎกแปลวา ความระลึกได และพระอภิธรรมอธิบายเพิ่มเติมวา สติมีความไม เลื่อนลอยเปนลักษณะ รวมทัง้ บอกดวยวา สติมีการจําสภาวธรรม ไดแมนยําเปนเหตุใกลใหเกิด แตพวกเราชั้นหลังชอบไปแปลคําวา สติวา “การกําหนดรู” ทั้งที่การกําหนดไมใชความระลึกได แต เปนการจงใจกระทําสิ่งบางสิง่ ที่เกินจากการรูดวยอํานาจบงการ ของโลภเจตนา และเจือดวยทิฏฐิวาการกําหนดคือการเจริญ วิปสสนา ทั้งที่การกําหนดนัน้ เจือดวยความคิดซึ่งจะเปนวิปสสนา ไปไมไดเลย อีกอยางหนึ่งการกําหนดนอกจากจะไมใชสติแลว ยัง ไมไดเปนเหตุใกลใหสติเกิดดวย แตการตามรูสภาวธรรมเนืองๆ 25 วิถีแหงความรูแ จง


หรือการเจริญสติปฏฐานตางหาก ที่เปนเหตุใหจิตจดจํา สภาวธรรมคือรูปนามไดแมนยําแลวเปนเหตุใกลใหสติเกิดขึ้น ๖.๒.๔.๓ ขณะใดที่เรากําหนดรู แลวเกิดรูตัววากําลังจงใจ กําหนดรู ขณะนั้นการกําหนดรูจะดับไป และจะเกิดสภาวะของ ความรูตวั ขึ้นมาแทนที่ทันที ดังนัน้ เพียงแครูวา กําลังกําหนดรู ก็ เกิดการรูทถี่ ูกตองแลว ๖.๒.๕ รู ไมใชเพง ๖.๒.๕.๑ รูไมใชการเพง แตนกั ปฏิบัติจํานวนมากชอบเพง แมแตคนที่ไมชอบทําสมถะเพราะอยากเจริญวิปส สนาอยางเดียว ก็มักเพงโดยไมรูทันจิตใจของตนเอง แทจริงการเพงเปนสภาวะที่ สืบเนื่องมาจากการจงใจและการตั้งทาปฏิบัติ คือพอคิดถึงการ ปฏิบัติก็จงใจปฏิบัติ แลวเกิดการตัง้ ทาปฏิบัติ มีอาการสํารวมกาย ใจเขามาใหมั่นคง ถัดจากนั้นจึงเพงหรือจดจองอยางเอาเปนเอา ตายตออารมณทั้งหลาย เปนผลใหลืมตัว และบางคนจิตใจดานชา ไมสามารถเกิดปฏิกริ ิยาตอบสนองตออารมณตามที่ควรจะเปน หรือบางคนจงใจเพงรูปจนลืมนาม จะรูส ึกวาสิ่งทั้งปวง เคลื่อนไหวเกิดดับแสดงไตรลักษณได ยกเวนแตมสี ภาวะ บางอยางที่นิ่งวางคงที่อยู กลายเปนเห็นวาสิ่งทัง้ ปวงตกอยูใตไตร ลักษณ ยกเวนจิตเทานั้นที่เที่ยง หรือบางคนจงใจเพงนามคือ ชองวาง แลวไปหลงแชอยูกับความวางนัน้ ไมสามารถเจริญปญญา ตอไปได หรือบางคนพอรูกเิ ลสใดก็เพงใส พอกิเลสนั้นดับไป 26 วิถีแหงความรูแ จง


(เพราะเหตุของมันดับ) ก็เกิดความสําคัญผิดวา เราสามารถดับ กิเลสไดทุกครั้ง หรือบางคนพอรูอ ารมณแลว ก็หลงเพงจองเอาสติ ตามจี้อารมณที่เคลื่อนหนีลึกเขาไปภายใน นี่ก็เปนการเพง เหมือนกัน แตเปนการตามเพงความปรุงแตงที่เคลือ่ นไหวไดใน จิตใจตนเอง อนึ่งการเพงนี้ถาไมจงใจรุนแรงเกินไป ก็ทําใหจิตสงบเปน การทําสมถะหรือสมาธิไดเชนกัน แตมกั ไมใชสัมมาสมาธิซึ่ง จําเปนสําหรับการทําวิปสสนา ๖.๒.๕.๒ วิธีทําความรูจักกับการเพงไมยากเลย ลองยก นิ้วหัวแมมือของตนเองขึ้นมา แลวเพงจองใหจิตใจจดจออยูท ี่นิ้ว นั้นอยางเดียว เพียงไมนานจะรูสึกวา เราเห็นแตนิ้วหัวแมมือ เทานัน้ เพราะจิตจดจออยูที่จุดเดียวนั้นดวยความจงใจอันเกิดจาก โลภะ ในขณะนั้นเห็นแตนิ้ว กายจะเปนอยางไรก็ไมทราบ เวทนา คือความรูส ึกจะสุขหรือทุกขก็ไมทราบ จิตจะเปนกุศลหรืออกุศลก็ ไมทราบ จิตเคลื่อนไปอยูที่หัวแมมือก็ไมทราบ รวมความแลวจะ ทราบไดเฉพาะหัวแมมือ แตไมทราบ กาย เวทนา จิต ธรรม ขอให ผูปฏิบัติจําสภาวะของการเพงไวใหดี เวลาที่เจริญสติรูอารมณที่ เปนรูปธรรมหรือนามธรรม ก็ใหสังเกตรูท ันใจตนเอง อยาใหหลง ไปเพงจองรูปหรือนามนั้นเหมือนที่จองหัวแมมือตนเอง มิฉะนั้น จะเปนการหลงทําสมถะ ทั้งทีค่ ิดวากําลังทําวิปสสนาคือรูร ูปนาม อยู ๖.๒.๕.๓ ขณะใดที่เราเพง แลวเกิดรูตวั วากําลังเพงอยู ขณะนั้นการเพงจะดับไป และจะเกิดสภาวะของความรูตวั ขึน้ มา 27 วิถีแหงความรูแ จง


แทนที่ทันที ดังนั้นเพียงแครูวา กําลังเพง ก็เกิดการรูท ี่ถูกตองแลว อยางไรก็ตามสําหรับผูที่จิตติดสมถะมากนั้น แมรวู าเพงอยู การ เพงก็ไมคลายออก แตหากรูทนั จิตวาอยากเลิกเพง ก็อาจหลุดออก จากการจมแชในอารมณเพราะการเพงได หากยังไมหลุดอีกก็อาจ ตองอาศัยอุบายเขาแกไข ดวยการใหลืมการปฏิบัตเิ สียชั่วคราว เมื่อจิตหลงไปสูอารมณอื่นเชนหลงไปในเรือ่ งราวที่คิดแลว การ เพงจะดับลงโดยอัตโนมัติ แลวคอยรูทันวาหลงไปแลว จิตก็จะเกิด การรูที่ถูกตองขึน้ ได การที่ตองกลาวถึงอุบายแกการเพง ทั้งทีผ่ ูเขียนไมนิยมการ ใชอุบาย แตนิยมใหปฏิบัติไปตามหลักการของวิปส สนาคือการรู รูปนามตามความเปนจริง ก็เพราะผูป ฏิบตั ิจํานวนมากติดการเพง จนแทบถอนตัวไมขนึ้ และไมอาจหลุดออกจากการเพงไดเปน สิบๆ ป จึงจําเปนตองหาอุบายมาใชเพือ่ แกปญหาเฉพาะหนา ซึ่ง หลักการสําคัญของอุบายแกการเพงก็คอื การเปลี่ยนอารมณจาก อารมณเดิมที่ติดอยู เพียงเทานีจ้ ิตก็หลุดออกจากการเพงไดแลว ๖.๒.๖ รู ไมใชนอม ๖.๒.๖.๑ รูไมใชการนอม เพราะอาการนอมก็เปนอีกอาการ หนึ่งที่นักปฏิบัติจํานวนมากชอบทํากัน มันเปนการเสแสรงแกลง ทําขึ้นมาเมื่อคิดวาจะปฏิบัติธรรมเชนเดียวกับการเพง เพียงแตการ เพงมุงจะรูอ ารมณอนั เดียวใหชัดและพยายามตรึงอารมณนั้นไว สวนการนอมเปนการหลีกหนีอารมณเขาหาความสงบสุข เคลิบเคลิม้ ลืมเนือ้ ลืมตัว เพราะตองการใหจิตสงบ กลายเปนการ 28 วิถีแหงความรูแ จง


ปฏิบัติดวยโลภะ จนจิตเกิดราคะเพลิดเพลินในความสงบสุข หรือ เกิดความซึมเซาคือถีนมิทธะขึ้น วันใดซึมไดที่หรือเคลิ้มไดที่ก็ สําคัญผิดวาวันนัน้ ปฏิบัติดี วันใดปฏิบัติแลวไมซึมหรือเคลิ้มก็ เสียใจวาวันนั้นปฏิบตั ิไดไมดี การนอมจิตนี้นักปฏิบัติบางทานจะ มีอุปกรณชวยคือการเปดเทปธรรมะคลอไปดวยระหวางนัง่ สมาธิ จะชวยนอมจิตใหซึมไดที่คือครึ่งหลับครึ่งตื่นไดโดยเร็ว ๖.๒.๖.๒ ขณะใดที่เรานอมจิตเขาหาความสงบ แลวเกิดรูตวั วากําลังนอมจิตอยู ขณะนั้นการนอมจะดับไป และจะเกิดสภาวะ ของความรูตัวขึ้นมาแทนที่ทันที ดังนั้นเพียงแครูวา กําลังนอม ก็ เกิดการรูทถี่ ูกตองแลว ๖.๒.๗ รู ไมใชจงใจรูอะไร ๖.๒.๗.๑ รูไมใชจงใจจะรูอะไร ดังนัน้ ถานักปฏิบัติคนใด ถามวา ทีส่ อนใหรนู ั้น ควรจะรูอะไร หรือควรจะรูตัวทั่วพรอมคือ รูทั้งตัวตัง้ แตปลายผมถึงพื้นเทา ผูที่ยังสงสัยเชนนี้แสดงวายังไม รูจักการรูท ี่แทจริง เพราะการรูแทจริงนัน้ ไมมีความจงใจวาจะ เลือกรูสงิ่ หนึ่งแลวไมรับรูสิ่งอืน่ ๆ เนื่องจากความจงใจเหลานัน้ เปนไปเพราะตัณหาและทิฏฐิลว นๆ ๖.๒.๗.๒ การรูคือสภาพที่จิตตื่นขึ้นจากโลกของความคิด ความฝน ทั้งนี้คนสวนใหญจะตื่นเฉพาะรางกายแตใจยังหลับฝน อยางที่เรียกวาฝนกลางวัน ภาวะรูคือภาวะที่จิตตื่นจากความฝน 29 วิถีแหงความรูแ จง


จิตมีความตื่นตัวพรอมที่จะรับรูอารมณทงั้ ปวงทีเ่ ขามากระทบทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เมื่อรูอารมณแลว ก็พรอมที่จะ เกิดปฏิกิรยิ าตอบสนองตออารมณนั้นตามธรรมชาติ และ ยิ่งกวานั้นก็คือ สามารถรูเ ทาทันปฏิกิริยาตอบสนองเหลานั้นได เปนอยางดีดวย รูช นิดนี้ไมมคี วามจงใจวาจะตองรูอารมณใด แต อารมณใดปรากฏทางทวารใดก็รูอารมณนั้นอยางถูกตองเปน ปจจุบัน โดยไมหลงไปกับอารมณนั้น นีแ่ หละคือความรูตวั ทัว่ พรอม ไมใชพยายามรูตัวทั้งตัว เพราะนัน่ เปนความจงใจกระจาย ความรูสึกไปจับที่กายทั้งกาย ๖.๒.๗.๓ ขณะใดที่เราจงใจ แลวเกิดรูตวั วากําลังจงใจอยู ขณะนั้นความจงใจจะดับไป และจะเกิดสภาวะของความรูตวั ขึ้นมาแทนที่ทันที ดังนัน้ เพียงแครูวา กําลังจงใจ ก็เกิดการรูที่ ถูกตองแลว ๖.๓ สรุปแลว ขณะใดพยายามจะรู หรือแสวงหาการรูที่ถูกตอง หรือแมกระทั่ง การพยายามรักษารูใหตอเนือ่ ง(ดูขอ ๖.๖) ขณะนัน้ เราจะพลาดไปสูความหลงผิด ทันที เพราะการกระทําใดๆ ทีเ่ กินจากการรูตามปกติ อันเปนการกระทําดวยอํานาจ ของตัณหาและทิฏฐินั่นแหละ เปนเครื่องปดกั้นความสามารถในการระลึกรูอารมณ ซึ่งมีอยูแลวเอาไวอยางสนิททีส่ ุด ดังนั้นไมควรพยายามทํารูใหถูกตอง ขณะใดรูวา รู ผิด ขณะนัน้ จะเกิดการรูที่ถูกตองโดยอัตโนมัติ แตมีนักปฏิบัติจํานวนมากทีเดียวที่แม จะไดฟงคําสอนเกี่ยวกับการเจริญสติหรือการระลึกรู แตก็ยังปฏิเสธที่จะระลึกรู สภาวธรรมที่กําลังปรากฏไปตามธรรมชาติ เพราะมีความคิดเอาเองวา ตนเองยังมีบุญ วาสนานอยขอทําบุญทําทานไปกอน หรืออินทรียต ัวนั้นตัวนี้ยังออนเกินไป หรือยัง 30 วิถีแหงความรูแ จง


ไมสมดุลกัน จะตองพัฒนาอินทรียกอ น เชนจะตองเพิ่มปญญาใหสมดุลกับศรัทธา เพิ่มสมาธิใหสมดุลกับวิริยะ ทั้งนี้เพราะไมทราบวา หากเจริญสติหรือรูไดแลว นั่น แหละจะทําใหอินทรียทั้งหลายแกกลายิ่งขึ้นและสมดุลกันดวย ๖.๔ สภาวะรูที่ถูกตองจะเกิดไดงาย ดวยการเกื้อกูลของสติและสัมมาสมาธิ กลาวคือ ๖.๔.๑ หากจิตสามารถจดจําสภาวธรรมตางๆ ไดแมนยํา เชนจําสภาวะ ของความรัก โลภ โกรธ หลง ปติ สุข ฯลฯ ไดแมนยํา เมือ่ สภาวะเหลานั้น ปรากฏขึน้ ก็จะเกิดสติรูเทาทันอยางรวดเร็วเพราะเคยรูเคยประจักษชัดอยูกอน แลว สวนสภาวธรรมใดไมรูจกั คุนเคย ก็ตองใชเวลาเรียนรูไปชวงหนึง่ กอน จน จิตจดจําสภาวะนั้นไดแมนยําแลว จึงเกิดสติรูไดงา ย ๖.๔.๒ หากจิตมีสัมมาสมาธิ จะชวยใหสภาวะรูถูกตองงายขึน้ จิตที่มี สัมมาสมาธิคือจิตมีลักษณะตั้งมั่นทรงตัวไมหวั่นไหวเลื่อนไหลไปตามอารมณ ที่ปรากฏทางทวารทั้ง ๖ (ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ) มีความสงบระงับคือไมฟูหรือ แฟบไปตามอารมณ มีความเบาสบายแตไมใชเบาหวิวเหมือนจะลอยไปใน อากาศ มีความออนโยนนุมนวลไมแข็งกระดางแกรงเกร็ง มีความพรอมและ ความวองไวที่จะรับรูอารมณไมถูกกดขมใหนิ่งเฉยซึมทื่อหรือเคลิบเคลิ้มติด สุขเหมือนคนติดยาเสพติด และมีความซื่อตรงตอหนาที่การรูอ ารมณโดยไม เขาไปแทรกแซงอารมณ เหมือนผูพิพากษาที่ทํางานโดยไมลําเอียงเขาขาง โจทกหรือจําเลย จิตที่มีสัมมาสมาธิสามารถเกิดขึ้นไดไมยาก หากเขาใจธรรมชาติที่วา จิต ปกติธรรมดาที่ไมถูกอารมณครอบงํา หรือนัยหนึง่ จิตที่มีศลี นั่นแหละคือจิตที่มี 31 วิถีแหงความรูแ จง


สัมมาสมาธิอยูในตัวเอง อยางไรก็ตามหากจิตของผูใ ดยังไมมสี ัมมาสมาธิจริงๆ ก็สามารถฝกฝนอบรมได โดยในเบื้องตนใหตั้งใจรักษาศีลภายนอกเสียกอน คือรักษาศีล ๕ และศีล ๘ เปนตน จากนัน้ จึงฝกฝนจิตใหมีศีลภายในดวยการ ฝกสมาธิ อันไดแกการมีสติระลึกรูอารมณอันเดียวโดยตอเนือ่ ง อารมณนั้นจะ เปนอะไรก็ไดที่ไมยั่วกิเลส เชน การกําหนดลมหายใจ การกําหนดจังหวะเดิน จงกรม การกําหนดจังหวะเคลือ่ นไหวมือ การกําหนดความเคลื่อนไหวของ ทอง และการกําหนดคําบริกรรม เปนตน ใหจงใจกําหนดรูอ ารมณนั้นอยาง สบายๆ อยาเครงเครียดหรือตัง้ ใจมากนัก ถึงตรงนี้จติ มีทางแยกที่จะดําเนินไป ได ๒ ทางคือ ๖.๔.๒.๑ หากโมหะหรือโลภะเขาแทรก จิตจะเกิดความออนแอ นอมเขาหาความสงบสบาย เกิดความเคลิบเคลิ้มบาง เกิดนิมติ ตางๆ บาง นี้เปนทางของมิจฉาสมาธิ ๖.๔.๒.๒ หากในขณะที่กําหนดรูอ ารมณอยูนนั้ ผูป ฏิบัติมีสติ ตื่นตัวอยูเ สมอๆ ถาจิตขาดสติทิ้งอารมณกรรมฐานเผลอไปคิดเรือ่ งอื่นก็ รูทัน หากจิตเกิดการเพงอารมณก็รูทัน หากจิตสักวารูอ ารมณก็รูทัน ทั้งนี้ ธรรมชาติจิตของบุคคลทั่วไปมักฟุงซานหลงไปตามอารมณนั้นบาง อารมณนบี้ าง โดยไมรูเทาทัน จึงตองหัดรูอารมณอนั เดียวกอน พอจิต เคลื่อนจากอารมณนั้นก็ใหคอยรูทนั ดวยวิธีนี้เอง ในเวลาไมนานผู ปฏิบัติก็จะเริ่มรูทนั จิตใจที่สงสายไปตามอารมณตางๆ พอรูท ัน จิตก็หยุด การสงสายแลวตั้งมัน่ อยูโ ดยไมไดบังคับ ถัดจากนัน้ เมื่อมีอารมณใด ปรากฏ จิตก็จะรูทันโดยสักวารู คือไมเขาไปแทรกแซงหรือหลงและ ไหลตามอารมณนั้นไป 32 วิถีแหงความรูแ จง


หากจะกลาววาอาการกําหนดรู( ดวยตัณหาและทิฏฐิ) เปน เครือ่ งมือของการทําสมถะ สวนอาการระลึกรูหรือรูทัน(อยางสักวารู) เปนเครื่องมือของการทําวิปสสนา ก็กลาวได ๖.๕ หากจะจําแนกสภาวะรูอ อกใหแจมชัดก็สามารถกลาวไดวา รู คือการเจริญ อริยมรรคมีองค ๘ นั่นเอง กลาวคือ ๖.๕.๑ จิตรูเปนจิตทีต่ ั้งมั่น เปนตัวของตัวเองไมถูกความยินดียินรายตอ อารมณใดๆ ครอบงํา นั่นคือจิตที่มีสัมมาสมาธิ ๖.๕.๒ จิตรูเปนจิตทีว่ องไวควรแกการงาน คือเมื่ออารมณกระทบทาง ทวารใด สัมมาสติจะระลึกรูสภาวธรรมทีก่ ําลังปรากฏตามความเปนจริงทันที ๖.๕.๓ จิตที่ตั้งมั่นเปนสัมมาสมาธิจะเปนจิตที่รูตัว ซึ่งความรูต ัวนั้นเปน ตัวสัมมาทิฏฐิหรือสัมปชัญญะ (ชนิดทีเ่ รียกวาอสัมโมหสัมปชัญญะ) แตถาจิต ไมตั้งมั่น จิตจะเลื่อนไหลตามอารมณ ถูกอารมณครอบงําและไมรูตัว เมื่อไม รูตัวก็ไมสามารถรูสภาวธรรมตามความเปนจริงไดแจมชัด ไมเห็นความเกิดดับ ของรูปนาม และไมเห็นอริยสัจจ ดังนัน้ จึงกลาวไดวา สัมมาสมาธิเปนเหตุใกล ใหเกิดปญญา ๖.๕.๔ จิตที่มีสติ สมาธิ ปญญาอบรมอยู ยอมมีความคิดที่ถูกตองหรือ สัมมาสังกัปปะ และสงผลใหสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะและสัมมาอาชีวะ บริบูรณดว ย 33 วิถีแหงความรูแ จง


๖.๕.๕ การพากเพียรเจริญสติอยูนั้น ยอมเปนการคุมครองอินทรียอ ัน เปนการปดกั้นบาปอกุศลทั้งปวง และเปนการทําใหกุศลธรรมทั้งหลายเจริญ ขึ้น นี้คอื สัมมาวายามะ ๖.๖ ในเมือ่ การรูคอื การเจริญอริยมรรค ดังนัน้ เราควรทราบวา กิจตอการรูหรือ การเจริญอริยมรรคไดแกการทําใหเจริญ หรือทําใหเกิดบอยๆ คือใหมีสติบอยที่สุด แตทั้งนี้ไมไดหมายความวาใหมีสติยาวนานที่สุดเปนนาที เปนชั่วโมง หรือเปนวัน เพราะสติเองเปนเจตสิกธรรมที่เกิดดับไปทีละขณะพรอมกับจิต ดังนั้นเราจะทําสิง่ ที่ ไมเที่ยงใหเที่ยงอยูน านๆ ไมได แตทําใหเกิดบอยๆ ได เหตุใกลที่ทําใหสติเกิดบอยก็ คือการสามารถจดจําสภาวะของธรรมะตางๆ ไดมากและแมนยํา (ตองจําตัวสภาวะ ได ไมใชจาํ ชือ่ และลักษณะตามตําราไดเทานั้น) เมือ่ สภาวธรรมอันใดเกิดขึ้น สติจึง สามารถระลึกรูเทาทันไดอยางรวดเร็ว จนรูไดบอ ยแบบถี่ยิบ แลวอกุศลก็จะมีโอกาส เกิดนอยลงตามลําดับ จนหมดโอกาสเกิดในที่สุด ๖.๗ การฝกใหจิตรูจักและจดจําสภาวธรรมไดมากและแมนยํา สามารถกระทํา ไดดวยการรูอ ารมณอันใดอันหนึ่งที่เกี่ยวเนื่องดวยกายหรือจิต ซึ่งบรรดากรรมฐาน ทั้งหลายทีส่ อนกันอยูในยุคนี้ สวนมากก็ใชเปนเบือ้ งตนในการเรียนรูสภาวธรรมได เชนการรูล มหายใจ การรูทองพองยุบ การทําจังหวะในการเดินจงกรม การทําจังหวะ ในการเคลือ่ นไหวมือ การรูอริ ยิ าบถ ๔ การบริกรรมพุทโธ การรูเวทนา และการตาม รูจิต เปนตน เพียงแตพวกเราตองปรับคุณภาพของการรูอ ารมณกรรมฐานเหลานี้ เล็กนอย เพราะคุณภาพของการรูที่แตกตางกันยอมใหผลที่แตกตางกัน ซึ่งสวนมาก ในยุคนี้เพือ่ นนักปฏิบัติมักทําไดเพียงการเพงตัวอารมณและนอมจิตไปสูการทําสม ถกรรมฐานโดยไมรตู ัว ตัวอยางคุณภาพของการรูอ ารมณกรรมฐานที่มผี ลแตกตางกัน ก็เชน 34 วิถีแหงความรูแ จง


๖.๗.๑ การรูลมหายใจ หากรูลมหายใจแลวเกิดเคลิบเคลิ้มขาดสติก็ใช ไมได หากเพงจนจิตแนบเนียนอยูกับลมหายใจก็เปนการทําสมถกรรมฐาน หากเห็นกายหายใจอยูโดยมีจิตเปนผูดอู ยูต างหากก็เปนการเจริญวิปสสนา กรรมฐานดวยการรูก าย และหากหายใจแลวจิตหลงไปคิดก็รู หลงไปเพงลม หายใจก็รู เปนสุขก็รู เปนทุกขก็รู เฉยๆ ก็รู เกิดกุศลก็รูและเกิดอกุศลก็รู เหลานี้ เปนการหัดรูสภาวธรรมในฝายนามธรรม อันเปนตนทางใหเกิดสติในการ เจริญวิปสสนากรรมฐานดวยการดูจิตตอไป ๖.๗.๒ การรูทอ งพองยุบ หากรูท องพองยุบแลวเกิดเคลิบเคลิ้มขาดสติก็ ใชไมได หากเพงจนจิตแนบเนียนอยูกบั ทองก็เปนการทําสมถกรรมฐาน หาก เห็นกายไหวอยูโดยมีจิตเปนผูด ูอยูตา งหากก็เปนการเจริญวิปสสนากรรมฐาน ดวยการรูก าย และหากรูทองพองยุบแลวจิตหลงไปคิดก็รู หลงไปเพงทองก็รู เปนสุขก็รู เปนทุกขก็รู เฉยๆ ก็รู เกิดกุศลก็รูและเกิดอกุศลก็รู เหลานีเ้ ปนการ หัดรูสภาวธรรมในฝายนามธรรม อันเปนตนทางใหเกิดสติในการเจริญ วิปสสนากรรมฐานดวยการดูจิตตอไป ๖.๗.๓ การทําจังหวะในการเดินจงกรม หากเดินจงกรมแลวเกิด เคลิบเคลิม้ ขาดสติกใ็ ชไมได หากเพงจนจิตแนบเนียนอยูกบั เทาหรือรางกายที่ เดินอยูก็เปนการทําสมถกรรมฐาน หากเห็นกายเดินอยูโดยมีจติ เปนผูด ูอยู ตางหากก็เปนการเจริญวิปสสนากรรมฐานดวยการรูกาย และหากเดินอยูแลว จิตหลงไปคิดก็รู หลงไปเพงก็รู เปนสุขก็รู เปนทุกขก็รู เฉยๆ ก็รู เกิดกุศลก็รู และเกิดอกุศลก็รู เหลานี้เปนการหัดรูสภาวธรรมในฝายนามธรรม อันเปนตน ทางใหเกิดสติในการเจริญวิปสสนากรรมฐานดวยการดูจิตตอไป 35 วิถีแหงความรูแ จง


๖.๗.๔ การทําจังหวะในการเคลื่อนไหวมือ หากตามรูมอื แลวเกิด เคลิบเคลิม้ ขาดสติกใ็ ชไมได หากเพงจนจิตแนบเนียนอยูกบั มือก็เปนการทําสม ถกรรมฐาน หากเห็นกายเคลือ่ นไหวอยูโ ดยมีจิตเปนผูดอู ยูต างหากก็เปนการ เจริญวิปสสนากรรมฐานดวยการรูกาย และหากเคลื่อนไหวมือแลวจิตหลงไป คิดก็รู หลงไปเพงก็รู เปนสุขก็รู เปนทุกขก็รู เฉยๆ ก็รู เกิดกุศลก็รูและเกิด อกุศลก็รู เหลานี้เปนการหัดรูสภาวธรรมในฝายนามธรรม อันเปนตนทางให เกิดสติในการเจริญวิปสสนากรรมฐานดวยการดูจติ ตอไป ๖.๗.๕ การบริกรรมพุทโธ หากบริกรรมแลวเกิดเคลิบเคลิ้มขาดสติก็ใช ไมได หากบริกรรมจนจิตแนบเนียนอยูก ับคําบริกรรมก็เปนการทําสมถกรรม ฐาน หากบริกรรมแลวเห็นกายยืนเดินนัง่ นอนอยูโดยมีจิตเปนผูดอู ยูตา งหากก็ เปนการเจริญวิปสสนากรรมฐานดวยการรูกาย และหากบริกรรมแลวจิตหลง ไปคิดก็รู หลงไปเพงก็รู เปนสุขก็รู เปนทุกขก็รู เฉยๆ ก็รู เกิดกุศลก็รูและเกิด อกุศลก็รู เหลานี้เปนการหัดรูสภาวธรรมในฝายนามธรรม อันเปนตนทางให เกิดสติในการเจริญวิปสสนากรรมฐานดวยการดูจติ ตอไป แมอารมณกรรมฐานอื่นก็เทียบเคียงคุณภาพของการรูและผลที่เกิดขึ้น ไดเชนเดียวกับอารมณที่กลาวมาเปนตัวอยางนีน้ ั่นเอง ๖.๘ ในขอ ๖.๒ ไดกลาวถึงสภาวะที่ไมใชรูไปแลว ในขอนีจ้ ะไดกลาวถึง องค ธรรมของจิตที่เปนจิตรู อันเปนเครือ่ งชวยตรวจสอบไดอีกชัน้ หนึ่งวา การรูในขณะนี้ ถูกตองแลวหรือไม องคธรรมดังกลาว เชน

36 วิถีแหงความรูแ จง


๖.๘.๑ จิตรูไดแกจิตที่เปน มหากุศลจิต ชนิดที่ประกอบดวยปญญา (ญาณสัมปยุตต) และเกิดขึ้นเองโดยไมตอ งชักชวนหรือหาทางทําใหเกิดขึ้น (อสังขาริก) ดังนัน้ ๖.๘.๑.๑ ขณะใดจิตมีอกุศล ขณะนั้นยังไมมีจิตรู ๖.๘.๑.๒ ขณะใดจิตมุงใชกําลังมากกวาปญญา เชนออกแรงดิ้นรน หาทางละทุกขหรืออกุศล หรือดิ้นรนรักษาสุขหรือกุศล ขณะนั้น ยังไมมีจิตรู ๖.๘.๑.๓ ขณะใดมีความพยายามอยางหนึ่งอยางใดที่จะทําใหจิตรู เกิดขึ้น ขณะนั้นพลาดจากรูเสียแลว เพราะจิตรูนั้น ยิ่งอยากยิง่ ไมได ยิ่งแสวงหายิ่งไมเจอ ๖.๘.๒ จิตรูเปนเพียงจิตที่มนสิการ คือกระทําอารมณไวในใจ หรือทําใจ ใหรูอารมณเทานั้น ไมใชเผลอ คิด ตัง้ ทา กําหนด เพง ฯลฯ (ดูขอ ๖.๒) สภาวะ ของมนสิการนัน้ เปนการรูที่ ไรน้ําหนัก บางเฉียบ และเงียบกริบ ไมมคี วามจง ใจหรือเจตนาจะรูดว ยอํานาจของตัณหาและทิฏฐิใดๆ ทั้งสิ้น ๖.๘.๓ จิตรูตองประกอบดวยโสภณสาธารณเจตสิก หรือสภาวธรรมที่ เกิดรวมกับจิตที่ดีงาม องคธรรมที่นํามาสังเกตจิตไดงายไดแก ๖.๘.๓.๑ อโลภะ คือจิตในขณะนั้นไมมีความอยาก ความโลภ หรือความกระหาย แมแตในการแสวงหาธรรม ถาขณะใดจิตเกิดความ 37 วิถีแหงความรูแ จง


อยากปฏิบตั ิ จงใจปฏิบัติ หรือพอใจในความสุขและกุศล ขณะนั้นมีโล ภะ จิตดวงนั้นไมใชจติ รูที่ถูกตอง ๖.๘.๓.๒ อโทสะ คือจิตในขณะนั้นไมมีความขุนของขัดเคืองใน อารมณใดๆ ถาขณะใดจิตเกลียดทุกขหรืออกุศลเชนเกลียดความฟุงซาน ของจิต แลวพยายามละทุกขหรืออกุศลนั้น ขณะนั้นมีโทสะ จิตดวงนั้น ไมใชจิตรูท ี่ถูกตอง ๖.๘.๓.๓ ความเปนกลางในอารมณ (ตัตรมัชฌัตตตา) คือจิต ปราศจากความยินดียินราย ไมมีอคติตออารมณคอื ไมพยายามรักษา อารมณบางอยาง หรือพยายามละอารมณบางอยาง ถาขณะใดจิตหลง ยินดียนิ ราย หรือกวัดแกวงไปตามความยินดียนิ รายตออารมณ ขณะนัน้ จิตไมเปนกลาง จิตดวงนั้นไมใชจิตรูที่ถูกตอง ๖.๘.๓.๔ ความสงบระงับ (ปสสัทธิ) คือเมื่อจิตรูอ ารมณใดก็รดู วย ความสงบระงับ ไมแสสายดิ้นรนไปตามอารมณนั้นๆ แมตัวอารมณที่ เปนความรูสึกตางๆ เมื่อถูกรูแลวก็สงบระงับเพราะไมถูกเติมเชื้อให ฟุงซานหรือดิ้นรนมากขึ้น หากจิตรูอารมณแลวเกิดความแสสายตางๆ จิตดวงนัน้ ไมใชจิตรูท ี่ถูกตอง ๖.๘.๓.๕ ความเบา (ลหุตา) คือจิตรูจะเบาสบาย ไมมีน้ําหนักใดๆ เกิดขึ้นเพราะการรูอ ารมณแมแตนอย ขณะใดปฏิบัติแลวเกิดความหนัก หรือมีนา้ํ หนักขึ้นในใจแมแตเพียงเล็กนอย (ทั้งนี้รวมถึงน้าํ หนักที่ติดลบ 38 วิถีแหงความรูแ จง


คือความรูส ึกเบาหวิวผิดธรรมชาติทงั้ หลายดวย) แสดงวาพลาดจากรูเสีย แลว จิตดวงนั้นไมใชจิตรูที่ถูกตอง ๖.๘.๓.๖ ความออนโยนนุมนวล (มุทุตา) คือจิตรูจะเปนจิตที่ ออนโยนนุมนวล ไมแข็ง ไมกระดาง ถาปฏิบัติแลวเกิดความรูสึกแข็ง กระดาง แสดงวาพลาดจากรูเสียแลว จิตดวงนั้นไมใชจิตรูที่ถูกตอง ๖.๘.๓.๗ ความควรแกการงาน (กัมมัญญตา) คือจิตรูเปนจิตที่ พรอมสําหรับการเจริญวิปสสนา ไมถกู เจือปนครอบงําดวยนิวรณใดๆ (แตถานิวรณเกิดขึ้นก็สามารถรูชัดและเอานิวรณนั่นแหละมาเปนทุกข สัจจที่ถูกรู คือมีนวิ รณ รูน ิวรณ แตนิวรณไมครอบงําจิต แบบนี้ก็ใชได เหมือนกัน) แตหากจิตถูกครอบงําดวยนิวรณ จิตดวงนั้นไมใชจิตรูที่ ถูกตอง ๖.๘.๓.๘ ความคลองแคลว (ปาคุญญตา) คือจิตรูจะมีสติปราด เปรียวคลองแคลว ขณะใดรูสกึ เฉื่อยเนือย ซึมเซา เกียจคราน แสดงวา พลาดจากรูเสียแลว จิตดวงนัน้ ไมใชจิตรูท ี่ถูกตอง ๖.๘.๓.๙ ความซื่อตรง (อุชุกตา) คือจิตจะทําหนาทีร่ ูอารมณอยาง ซื่อๆ ตรงๆ ไมทําหนาที่เกินกวาการรูอ ารมณ หากจิตไมทําหนาทีร่ ูไป อยางซื่อๆ ตรงๆ แตพยายามเสพยหรือแทรกแซงอารมณดวยอํานาจของ กิเลส จิตดวงนั้นไมใชจิตรูที่ถูกตอง .๘.๔ จิตรูเ ปนจิตที่ประกอบดวยสัมปชัญญะ / ปญญา / ปญญินทรีย / อโมหะ คือ สามารถเจริญวิปส สนาอยูโดยรูชัดวา จะทําอะไร (จะเจริญสติ) เพือ่ อะไร (เพื่อความ 39 วิถีแหงความรูแ จง


เขาใจสภาวธรรมตามความเปนจริง) จะทําอยางไร (จะตามรูป จจุบันอารมณตาม ความเปนจริง) และจะเจริญสติอยูดวยความรูสึกตัว ไมหลงไมเผลอตามอารมณใดๆ ไปดวยอํานาจของโมหะ รวมทั้งตองมีปญ  ญารูและเขาใจลักษณะของสภาวธรรมที่ กําลังปรากฏเปนอารมณของวิปสสนากรรมฐานนัน้ ดวย วามีลักษณะไมเที่ยง เปน ทุกข หรือเปนอนัตตาอยางใดอยางหนึง่ หากจิตมีสติรูสภาวธรรมเฉยๆ โดยขาด ปญญาที่จะเขาใจลักษณะของสภาวธรรมนั้น ก็ยงั ไมใชจิตรูท ี่จะเจริญวิปสสนาได อยางแทจริง

๗. สภาวธรรมคืออะไร ๗.๑ การเจริญสติคอื การรูทุกขหรือรูปนาม/กายใจ เพื่อถอดถอนความเห็นผิด วารูปนาม/กายใจเปนตัวตนของตน และในที่สุดจะเกิดการปลอยวางความยึดถือรูป นาม/กายใจอันเปนกองทุกขไดอยางเด็ดขาด ดังนั้นการเจริญสติที่ถูกตองจะตอง ระลึกรูถงึ สภาวะของรูปนาม ไมใชการรูน ิพพาน หรือรูอารมณบัญญัตอิ ันเปนสิ่งที่ เราคิดฝนขึ้นมาเอง ทั้งนี้แมแตการคิดถึงรูปนามวามีลักษณะเปนไตรลักษณก็ยงั เปน อารมณบญ ั ญัติ เพราะไมใชการรูสภาวะของรูปนามและไมใชการเห็นลักษณะของ รูปนามนัน้ ๗.๒ ตัวรูปนาม/กายใจนี้แหละคือสภาวธรรมที่สติจะตองระลึกรู และปญญา จะตองทําความเขาใจลักษณะของสภาวะนั้น นอกเหนือจากสติปญญาแลวเครือ่ งมือ ที่ใชในการรูร ูปนามก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจธรรมดาๆ นี้เอง กลาวคือตัว รูปธรรมนัน้ รูไดดวยตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ สวนนามธรรมรูไดดวยใจ 40 วิถีแหงความรูแ จง


๗.๓ การรูร ูปทําไดทกุ ๆ ทวารดังนี้คอื ๗.๓.๑ รูปที่เรารูไดดว ยตานัน้ มีมากมายนับไมถวนวากี่แสนกี่ลานรูป เชนผูหญิง ผูช าย เด็ก คนแก เสือ ลิง ปลา นก ทะเล แมน้ํา ภูเขา ตนไม ดอกไม อัญมณี ฯลฯ แตในจํานวนรูปที่นับจํานวนไมถวนนั้น เอาเขาจริงสิ่งที่ตา มองเห็นก็คือสีเทานัน้ เอง แลวอาศัยสัญญาคือความจําไดหมายรูเ ขามาปรุงแตง จิต จึงเกิดการจําแนกวา กลุมสีอยางนี้เรียกวาผูหญิง ผูชาย … อัญมณี สีจึง เปนรูปตัวจริงที่เรารูไ ดดวยตา ๗.๓.๒ รูปที่รูไดดวยหูคือเสียง รูปที่รูไดดวยจมูกคือกลิ่น รูปที่รูไดดวย ลิ้นคือรส รูปที่รูไดดว ยกายมี ๓ ชนิดคือ ธาตุไฟหรือความเย็น-รอน ธาตุดิน หรือความออน-แข็ง และธาตุลมหรือความตึง-ไหว ๗.๓.๓ รูปที่รูไดดวยใจมีจํานวนมากกวารูปทีร่ ูไดดวยตา หู จมูก ลิ้น และกาย ไดแกปสาทรูป ๕ หรือประสาทสําหรับรับสัมผัสทางตา หู จมูก ลิ้น และกาย กับรูปละเอียดหรือสุขมุ รูป ๑๖ เชนรูปคือสารอาหาร รูปที่กําหนดเพศ รูปคือการเคลื่อนไหวกายและวาจาเพื่อสือ่ ความหมาย เปนตน ๗.๔ สิ่งทีร่ ูไดดวยใจนอกจาก รูปจํานวนมาก (๒๑ รูป) ตามขอ ๗.๓.๓ แลว ยัง มีอีกหลายอยางคือ (๑) เจตสิก ๕๒ ชนิด เชน สุข ทุกข อุเบกขา ความจําไดหมายรู โลภะ โทสะ โมหะ ปติ ศรัทธา วิริยะ ปญญา ฯลฯ (๒) จิต คือธรรมชาติที่รูอารมณ ๘๙ หรือ ๑๒๑ ดวง (๓) นิพพาน และ (๔) บัญญัติธรรม หรือสิ่งที่เปนความคิดความ ฝนซึ่งไมมตี ัวจริง (อางอิงอภิธมั มัตถวิภาวินี) ใจจึงเปนอายตนะที่รูอารมณได กวางขวางหลากหลายที่สุด 41 วิถีแหงความรูแ จง


๗.๕ ถาจะกลาวอยางงายๆ การเจริญสติจะตองระลึกรูอารมณปรมัตถซึ่งเปน ตัวแทหรือตัวจริงของธรรมชาติ ไมใชไปรูสิ่งที่คดิ นึกเอาเอง(บัญญัตธิ รรม) เชนเมื่อ เราเขาใกลกองไฟ ความรอนทีร่ ูไดทางกายนั่นแหละคืออารมณปรมัตถ สวนคําพูดวา รอนๆ เปนสมมุติบัญญัติ ผูปฏิบัติมีหนาที่รูถงึ ความรอนที่มากระทบกาย ไมใชไปใช ความคิดวาไฟเปนของรอน เหมือนไฟกิเลสหรือไฟนรก เปนตน นอกจากนี้ จําเปนตองทราบดวยวาอารมณชนิดใดรูไดทางทวารใด เชนถาจะรูอ ริ ิยาบถ ๔ คือรู รูปยืน เดิน นั่ง นอน จะตองรูด ว ยใจ ไมใชรูดว ยตาหรือดวยกาย เปนตน ๗.๖ หากผูปฏิบัติสามารถรูร ปู นามอันเปนอารมณปรมัตถไดแลว จะสามารถ ถอดถอนความเห็นผิดวามีสัตว บุคคล ตัวตน เรา เขาลงได เพราะอารมณปรมัตถที่ใช ในการเจริญวิปสสนามีแตรูปกับนามซึ่งไมใชสัตว บุคคล ตัวตน เรา เขา บรรดาสัตว บุคคล ตัวตน เรา เขา ลวนแตเกิดจากการคิดหรือการบัญญัตเิ อากลุมของรูปนามมา เปนสัตว บุคคล ตัวตน เรา เขาทั้งสิ้น ๗.๗ ในทางปฏิบัติจริงมีประเด็นเกี่ยวกับสภาวธรรมที่ควรทราบอีกบางอยาง คือ ๗.๗.๑ จิตยอมรูอ ารมณทั้งที่เปนปรมัตถและบัญญัติ จะเจาะจงเลือกรู อยางหนึ่งอยางใดตามความอยากไมได ดังนั้นขณะใดจิตระลึกรูอารมณ ปรมัตถก็รทู ัน ขณะใดจิตรูอารมณบัญญัติก็รูทัน เพราะแมแตพระอรหันตทาน ก็ยอมรูอ ารมณทั้ง ๒ ชนิด ไมใชรูเฉพาะอารมณปรมัตถอยางเดียว

42 วิถีแหงความรูแ จง


๗.๗.๒ ในการเจริญวิปสสนานั้น ผูปฏิบัติจะเริ่มตนดวยการมีสติระลึกรู รูปหรือนามอยางใดกอนก็ไดแลวแตความถนัด โดยจะเลือกเจริญสติปฏ ฐาน บรรพใดกอนก็ได และไมจําเปนตองรูร ูปนามหรือเจริญสติปฏ ฐานใหครบทุก อยาง หากผูปฏิบัติพยายามทําสติปฏฐานทุกฐาน/ทุกบรรพ นอกจากจะไม ไดผลแลว ยังจะเกิดความฟุงซานเพราะความจับจดในการปฏิบัติไดดวย ทั้งนี้ พระพุทธเจาทรงสอนใหรู “กายในกาย” “เวทนาในเวทนา” “จิตในจิต” และ “ธรรมในธรรม” คือใหรูรูปบางอยาง เวทนาบางอยาง จิตที่เปนกุศลและ อกุศลบางอยาง และธรรมเพียงบางอยาง เมื่อเขาใจรูปนามบางอยางนัน้ แลว ก็ จะเขาใจรูปนามอืน่ ทั้งหมดดวย นีเ้ ปนการศึกษาวิจัยรูปนาม(ธรรมวิจัย)อยางมี การสุมตัวอยาง อันเปนกระบวนการศึกษาที่ลา้ํ สมัยมาก ตัวอยางเชนถาเห็นแจงวารูปยืนรูปเดินรูปนั่งรูปนอนไมใชตวั เรา ก็จะรู แจงวารูปทั้งหมดไมใชตัวเรา และถาเห็นวาจิตที่หลงกับจิตที่รูสึกตัวเปนสิ่งไม เที่ยงและบังคับไมได ก็จะรูแจงวาจิตทัง้ หมดไมเทีย่ งและบังคับไมไดดว ย ๗.๗.๓ แมในเบื้องตน ผูปฏิบตั ิอาจตองจงใจระลึกรูสภาวธรรมอยาง หนึ่งอยางใดเปนเครือ่ งรูเครื่องอยูของจิต(วิหารธรรม)ไปกอนก็จริง แตในขั้นที่ สติพัฒนามากขึ้นจนเปนสติอัตโนมัติแลว ผูปฏิบัติจะเลือกรูอ ารมณไมได หาก มีอารมณปรากฏทางทวารใดสติก็รูชัดทางทวารนั้น โดยจิตจะระลึกรู รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หรือธัมมารมณ หรือรู กาย เวทนา จิต หรือธรรม ไปตาม ธรรมชาติทีละขณะ มิหนําซ้ําผูป ฏิบัติยังจะไดพบความจริงดวยวา จะบังคับให จิตรูเฉพาะอารมณใดอารมณหนึ่งไมได เพราะจิตเองก็เปนอนัตตาคือเปนของ ที่บังคับเอาตามใจอยากไมได

43 วิถีแหงความรูแ จง


๘. ที่กําลังปรากฏหมายถึงอะไร ๘.๑ การมีสติระลึกรูส ภาวธรรมทั้งหลายนั้น มีหลักสําคัญวา ตองรูสภาวธรรม คือรูปนามที่กําลังปรากฏเปนปจจุบันเทานั้น ไมใชตามคิดถึงสิ่งที่ลวงมาแลว หรือคิด ล้ําไปถึงสิง่ ที่ยังมาไมถึง ทัง้ นีพ้ ระพุทธศาสนาเนนการทําประโยชนในปจจุบันเปน สําคัญ ดังที่พระศาสดาทรงแสดงไวในภัทเทกรัตตสูตร (พระไตรปฎก ๑๔/๕๒๗) ความวา บุคคลไมควรคํานึงถึงสิ่งที่ลวงแลว ไมควรมุงหวังสิ่งที่ยังไมมาถึง สิ่งใดลวงไปแลว สิ่งนั้นก็เปนอันละไปแลวและสิ่งที่ยังไมมาถึง ก็เปนอันยังไม ถึง ก็บุคคลใดเห็นแจงธรรมปจจุบนั ไมงอนแงน ไมคลอนแคลนในธรรมนัน้ ๆ ได บุคคลนั้นพึงเจริญธรรมนั้นเนืองๆ ใหปรุโปรงเถิด พึงทําความเพียรเสียในวันนี้แหละ ใครเลาจะรูความตายในวันพรุง เพราะวาความผัดเพีย้ นกับมัจจุราชผูมเี สนาใหญนนั้ ยอมไมมีแกเราทัง้ หลาย พระมุนีผสู งบยอมเรียกบุคคลผูมีปรกติอยูอยางนี้ มีความเพียร ไมเกียจครานทัง้ กลางวันและกลางคืน นัน้ แลวา ผูมีราตรีหนึ่งเจริญ ฯ ๘.๒ คําวารูปนามทีก่ ําลังปรากฏในปจจุบันมีความหมายดังนีค้ ือ

44 วิถีแหงความรูแ จง


๘.๒.๑ รูปนั้นตองเปนรูปที่กําลังปรากฏในปจจุบันจริงๆ เชนรูรูปที่กาํ ลังยืน หยุดนิ่ง หรือรูรูปที่กาํ ลังเคลื่อนไหว เปนตน ๘.๒.๒ นามนั้นตองตามรูอ ยางกระชั้นชิดถึงนามที่เพิ่งดับไปสดๆ รอนๆ เปนปจจุบันสันตติคือตอเนือ่ งกับปจจุบัน ไมใชนามที่กําลังปรากฏใน ปจจุบันจริงๆ ทัง้ นี้เพราะธรรมดาของจิตยอมรูอ ารมณไดเพียงครัง้ ละอยาง เดียว ในขณะที่จิตรูอารมณอนั ใดอันหนึ่งจึงไมสามารถจะรูต ัวจิตเองได เชน ขณะที่รูรปู นั่งอยูนนั้ จิตเกิดหลงไปคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ในขณะนั้นจิตจะลืมรูป นั่งเกิดเปนโมหมูลจิตชนิดฟุง ซาน อาจจะหลงคิดอยู ๕ นาทีแลวจึงเกิดความ ระลึกได(สติ)วาหลงไปแลว ในขณะที่ระลึกไดวาเมื่อกี๊หลงไปแลว ในขณะนั้น ความหลงจะดับไปแลว เปนตน หรือโกรธเพื่อนมา ๕ นาทีแลว จึงเกิดระลึกได วากําลังโกรธอยู ความโกรธจะดับลงในทันทีที่รู อยางนี้ก็ใชได ไมใชโกรธ เพื่อนเมื่อวานนี้แลวมาวันนีเ้ พิง่ นึกไดวา โกรธ จากนั้นก็นั่งเสียใจวาไมนาโกรธ เพื่อนเลย อาการเชนนี้ลวนแตไมเปนปจจุบัน คือขณะที่โกรธเมื่อวานนี้ก็ไมรู ขณะนี้กําลังเสียใจทีโ่ กรธเพื่อนก็ไมรูอีกเพราะมัวคิดถึงเรือ่ งเมื่อวาน หรือพอ นึกไดวาโกรธเพื่อนไปเมื่อวาน ก็คิดวาจะตองไปงอเพือ่ นสักหนอย จากนั้นก็ กังวลวาเราไปงอแลวเขาจะคืนดีไหมหนอ นี่กเ็ ปนความกังวลในปจจุบันที่เรา ไมรูทัน เพราะมัวไปคิดถึงอนาคตเสียแลว ๘.๓ ธรรมดาของจิตยอมรูอ ารมณไดทลี ะอยางเทานั้น และหนาที่ของผู ปฏิบัติก็คือการระลึกรูอารมณที่กําลังปรากฏในปจจุบัน(สําหรับรูป)หรือใน ปจจุบันสันตติ(สําหรับนาม) อยาพยายามหนวงอารมณที่เปนอดีตไวดนู านๆ เพราะกลัววาจะไมเห็นไตรลักษณ ตัวอยางเชนเมื่อตาเห็นสีกลุมหนึ่งก็ใหรสู ี นั้นตามทีม่ ันเปนจริง เพราะสีนั้นเปนปจจุบันอารมณที่เรียกวารูปารมณ ตอมา 45 วิถีแหงความรูแ จง


สัญญาเกิดจํารูปไดวา นั่นเปนรูปคนรักของเรา จิตเกิดความชอบใจอันเปนราคะ ขึ้น ความชอบใจนัน้ เปนอารมณใหมที่รูดวยใจ(ธัมมารมณ) หนาที่ของผูปฏิบัติ คือรูเ ขาไปที่สภาวะของความชอบใจที่กําลังปรากฏนั้น ไมใชยอนกลับไปคิด พิจารณารูปคนรัก วาเปนปฏิกูลอยางนัน้ อยางนีเ้ พื่อละราคะ เพราะรูปคนรัก กลายเปนอดีตไปแลว สวนราคะเปนอารมณปจจุบันที่กําลังแสดงความตั้งอยู และดับไปใหเรารูได เปนตน ๘.๔ เมื่อกลาววาใหเรารูอารมณปจจุบัน บางคนอาจเกิดความสับสนวา ถาเชนนัน้ ชาวพุทธคงไมสามารถวางแผนงานในอนาคตได การคิดเชนนี้ไม ถูกตอง ในยามใดเรามีหนาที่ตอ งวางแผนงานก็ตองวางแผนงาน แมแต พระพุทธเจาทานก็ทรงพิจารณาลวงหนาทุกเชาวา วันนี้ทานควรแสดงธรรม โปรดใคร ดวยเรื่องอะไร โปรดแลวจะเกิดผลอยางไร นับวาทานเปนนัก วางแผนชัน้ เลิศ คือ (๑) ทรงกําหนดบุคคลเปาหมาย (๒) กําหนดวิธีการ (๓) กําหนดเนือ้ หาธรรมที่จะสื่อสารกับผูนนั้ และ (๔) พิจารณาถึงผลประโยชนที่ บุคคลนั้นจะไดรับดวย ผูปฏิบตั ิตองรูจักเลือกใชธรรมใหถูกกาละเทศะ ยามใด มีหนาที่วางแผนก็ตอ งวางแผน มีหนาที่เรียนก็ตองเรียน มีหนาที่ทํางานก็ตอง ทํางาน จุดใดควรเจริญสติก็เจริญสติ จุดใดตองใชสมาธิในการทํางานก็ใช สมาธิ จุดใดควรใชความคิดพิจารณาไตรตรองก็ตองใชความคิด ไมใชเจริญสติ รวดเดียวโดยไมรูจักทําความสงบใจหรือใชความคิดพิจารณาตามหนาทีข่ อง ตน ๘.๕ มีขอ ควรสังเกตประการหนึ่งก็คือ คําวา “ปจจุบัน” นั้น ไมได หมายถึงวันนี้ ชั่วโมงนี้ นาทีนี้ หรือแมกระทั่งวินาทีนี้ แตหมายถึง การระลึกรู 46 วิถีแหงความรูแ จง


รูปที่กําลังปรากฏตอหนาตอตาในขณะจิตนี้ หรือการรูนามที่เพิ่งดับไปสดๆ รอนๆ ซึ่งการรูนั้นเปนเวลาทีส่ ั้นที่สุดจนทําอะไรมากเกินกวารูไมได

๙. ตามความเปนจริงหมายถึงอะไร ๙.๑ ขอ ๖ ของบทความนี้มุงทําความเขาใจวา จิตทีร่ ไู ดถูกตองนั้นมีสภาพ อยางไร ขอ ๗ เปนการทําความเขาใจเกีย่ วกับสภาวธรรมซึ่งเปนสิ่งที่ถกู รู ขอ ๘ เปน การชีว้ าการรูตอ งรูสภาวธรรมที่เปนปจจุบันอารมณ สวนหัวขอนี้เปนเรื่องที่วาเมือ่ รู สภาวธรรมที่เปนปจจุบันอารมณไดแลว ตองระลึกรูสภาวธรรมนั้นตามความเปนจริง ตรงตามทีก่ ําลังเปนอยู โดย (๑) ไมเขาไปดัดแปลงและแทรกแซงอารมณ (ดังมี สาระสําคัญในขอ) ๙.๒ – ๙.๓) (๒) ไมเขาไปปรุงแตงจิตที่ไปรูอารมณเหลานัน้ (ดังมีสาระสําคัญ ในขอ ๙.๔) และ (๓) ตองรูลกั ษณะของอารมณรปู นามนัน้ ตรงตามคําสอนของ พระพุทธเจา (ดังมีสาระสําคัญในขอ ๙.๕) ๙.๒ การดัดแปลงอารมณ ผูปฏิบัติจํานวนมากชอบดัดแปลงรูปนามอันเปน อารมณกรรมฐานใหแตกตางไปจากสภาวะปกติ ที่สําคัญมี ๒ ประการคือ (๑) การ พยายามหนวงอารมณใหชาลง และ (๒) การแบงซอยหรือเพิม่ ขั้นตอนรายละเอียด ของอารมณใหมากขึ้น กลาวคือ ๙.๒.๑ ผูปฏิบัติจํานวนมากพยายามหนวงอารมณใหชาลง เชนพยายาม เคลื่อนไหวชาๆ โดยหวังวาสติจะตามรูสภาวะอันแชมชานั้นไดทัน แทจริงแม 47 วิถีแหงความรูแ จง


จะเคลื่อนไหวใหชาเพียงใด กิเลสก็ไมไดชาตามการเคลือ่ นไหวนั้นไปดวย เชน บางคนเดินกาวละ ๕ นาที แมจะตามเพงจองอาการเคลื่อนไหวไดชดั เจน แต กลับไมเห็นความจริงวา จิตในขณะนั้นถูกโลภะคือความอยากปฏิบัติธรรม ครอบงําอยู หรือไมรูวาในเวลา ๕ นาทีนั้น จิตขาดสติคือคลาดเคลื่อนไปจาก การรูไปสูการคิดหลายสิบครัง้ แลว หรือแมจิตจะไมขาดสติคลาดเคลื่อนไปจาก อารมณนนั้ แตจิตก็กําลังเพงจองดูอารมณจนแนบสนิทอยูกบั อารมณเชนมือ เทา และทอง อันเปนการทําอารัมมณูปนิชฌานซึง่ เปนการทําสมถกรรมฐาน ไมใชวิปสสนากรรมฐานอยางที่คิดจะทํา เปนตน ๙.๒.๒ ผูป ฏิบัติบางทานแบงซอยหรือเพิม่ ขั้นตอนรายละเอียดของ อารมณใหถี่ขึ้น เชนเมื่อจะรูลมหายใจก็รกู ารกระทบของลมตัง้ แตจะงอยปาก หรือปลายจมูก ไลเรือ่ ยไปตามการเคลื่อนของลมจนถึงทอง โดยกําหนดฐาน ลมไวหลายๆ ฐาน หรือการทําจังหวะการเดินใหมีขั้นตอนหลายๆ ขั้น เปนตน การกระทําดังกลาวเปนผลดีในการผูกมัดจิตไวกับอารมณ ซึง่ ก็คือวิธีการเจริญ สมถกรรมฐานเพื่อใหจิตสงบอยูกับอารมณกรรมฐาน เมือ่ ปฏิบัติดวยวิธีการ เชนนี้แลว จิตก็มักเกิดปติหรือนิมิตอันเปนผลจากการเจริญสมถกรรมฐาน แต ผูปฏบัติมกั หลงคิดวาตนเกิดปญญาหรือญาณ เพราะนึกวาตนกําลังเจริญ วิปสสนาอยู เปนตน ๙.๓ การแทรกแซงสภาวธรรม การเจริญวิปสสนานัน้ เราทําเพือ่ ใหเกิดปญญารู ความจริงของสภาวธรรมคือรูปนาม ไมไดทําเพือ่ ใหเกิดความสุข ความสงบ หรือ ความดี แตผูปฏิบัตสิ วนมากกลับไมตองการความจริง ดังนัน้ เมื่อรูสภาวธรรมแลวก็ มักพยายามแทรกแซงปรุงแตงสภาวธรรมอันเปนปจจุบันอารมณนนั้ ใหสุข ใหสงบ ใหดี ดวยวิธีการตางๆ คือ 48 วิถีแหงความรูแ จง


๙.๓.๑ เมือ่ รูอ กุศลธรรมก็พยายามละ เชนเมื่อพบวาจิตฟุงซาน ก็พยายาม บริกรรมพุทโธบาง บริกรรมฟุงซานหนอบาง เพื่อใหหายฟุงซาน เมื่อพบวาจิต มีกามราคะก็พยายามพิจารณาอสุภะบาง เมื่อพบวาจิตมีโทสะก็พยายามแผ เมตตาบาง หรือเมื่อพบวาจิตเปนทุกขก็พยายามละทุกขนั้นดวยวิธีการตางๆ บาง ฯลฯ การกระทําเหลานี้เกิดไดจากหลายสาเหตุ เชน ๙.๓.๑.๑ เพราะเกิดความเห็นผิดเนื่องจากเคยไดยนิ คําสอนวา ให ละความชัว่ บาปทั้งปวง พอพบเห็นอกุศลธรรมจึงพยายามละ หารูไมวา การเจริญวิปสสนานัน้ เลยขัน้ การละบาปและการเจริญกุศลมาแลว แต เปนขั้นการทําจิตใหผองแผวเหนือดีเหนือชัว่ จึงตองรูสภาวะและ ลักษณะของทัง้ อารมณที่ดีและชั่วดวยความเปนกลาง ไมใชรักอันหนึง่ เกลียดอันหนึ่ง หรือบางทานตีความคําสอนของพระศาสดาคลาดเคลื่อน เชนอานมหาสติปฏฐานสูตร ธัมมานุปส สนาสติปฏฐาน นีวรณบรรพ แลวเขาใจวาพระศาสดาทรงสอนใหรูและละนิวรณดวย จึงเขาใจผิดวา การเจริญสติที่แทจริงมีทงั้ การรูและการละสภาวธรรม จะรูอ ยางเดียว ไมได ๙.๓.๑.๒ เพราะไมทราบวา กิจตอทุกขสัจจไดแกการรู ไมใชการ ละ เมื่อพบทุกขจึงพยายามละทุกข อันเปนการกระทําที่สอดคลองกับ จิตใจที่รักสุขเกลียดทุกข ๙.๓.๑.๓ เพราะไมเขาใจหลักการเจริญวิปสสนาที่ใหรูสภาวธรรม ตรงตามความเปนจริง จนรูว าธรรมทั้งหลายไมใชสัตว บุคคล ตัวตน เรา 49 วิถีแหงความรูแ จง


เขา และบังคับเอาตามใจอยากไมได เมือ่ รูความจริงแลวจิตจึงปลอยวาง แลวพนทุกขไดดวยการปลอยวาง ๙.๓.๑.๔ เพราะคุนเคยกับการทําสมถะ หรือคิดวาการปฏิบัตธิ รรม คือการทําความสงบเทานัน้ สมถะใหความสุขไดประณีตยิ่งกวากามสุข ผูทําสมถะมีความสงบในจิตใจบาง เกิดความรูความเห็นตางๆ เปนเรือ่ ง สนุกและนาภูมิใจบาง จึงเปนที่นิยมยกยองกันมากในหมูนักปฏิบัติ ดังนัน้ พอพบธรรมอันใดเปนขาศึกตอความสงบ จึงพยายามละธรรมอัน นั้น ๙.๓.๒ เมือ่ รูกุศลธรรมก็พยายามรักษาหรือพัฒนาใหดียิ่งขึ้น โดยหวังวา เมื่อพัฒนาใหดีไดอยางตอเนือ่ งแลว จิตจะหลุดพนในสักวันหนึ่งขางหนา เพราะพระอรหันตคอื "คนที่จติ ใจดีเลิศนิรันดร" ทัศนะเชนนี้ผิดพลาดมาก เพราะจิตก็ดี กุศลเจตสิกก็ดี เปนสังขารทัง้ สิ้น ยอมมีความแปรปรวนและ บังคับบัญชาไมได เมื่อรูความจริงเชนนีแ้ ลวตางหาก จิตจึงปลอยวางความยึด มั่นจิต แลวหลุดพนเพราะความไมถือมัน่ ไมใชหลุดพนเพราะทําจิตทีไ่ มเที่ยง ใหเที่ยงได หรือทําจิตที่เปนทุกขใหเปนสุขได หรือทําจิตที่เปนอนัตตาใหอยู ในอํานาจบังคับได ๙.๔ การปรุงแตงจิต การจะรูร ปู นามไดตรงตามความเปนจริงนั้น นอกจาก จะตองไมดัดแปลงอารมณรูปนามแลว ยังตองไมดัดแปลงจิตที่ไปรูอารมณรูปนาม ดวย แตนกั ปฏิบัติเกือบรอยละรอยเมื่อคิดจะปฏิบัติธรรม มักจะเริ่มตนดวยการ ดัดแปลงจิตใหผิดธรรมดาเสียกอนจึงจะเริ่มจงใจรูร ูปนาม หรือไมยอมรูรูปนามเลยก็ มี ตัวอยางการดัดแปลงจิตก็เชน 50 วิถีแหงความรูแ จง


๙.๔.๑ การขมจิตใหนิ่ง ผูปฏิบตั ิเกือบทั้งหมดเมื่อคิดจะปฏิบัติธรรมก็ มักจะเริ่มตนดวยการดัดแปลงจิตใหตางไปจากสภาวะปกติ โดยการทําจิตให นิ่งหรือสงบสํารวมผิดความเปนจริง แทจริงเราเจริญวิปสสนาก็เพื่อรูความเปน จริงของกายและใจ หากไปดัดแปลงจิตใจใหตางไปจากสภาวะปกติเสียแลว จะ เห็นความจริงของจิตใจไดอยางไร มีแตจะนอมจิตเขาหาความนิ่ง ซึง่ แมจะเห็น สิ่งอื่นที่จติ ไปรูเขาแสดงไตรลักษณใหดูได แตกลับรูสึกวาตัวจิตเองนิ่ง สงบ ไมเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง และไมแสดงไตรลักษณใดๆ เลย จึงไมอาจละ ความเห็นผิดวาจิตเปนตัวตนของตนได สักกายทิฏฐิจึงไมขาดและผูปฏิบัติไม อาจบรรลุโสดาปตติผลได ๙.๔.๒ การทําจิตใหวาง นักปฏิบัติบางทานไดยนิ ครูบาอาจารยกลาววา “เมื่อปฏิบตั ิไปถึงทีส่ ุดแลว จิตจะวางจากกิเลสและวางจากขันธ” ก็มุงตรงเขา หาความวางเลยทีเดียว ดวยการประคองจิตใหนิ่งและปรุงแตงความวางขึ้นมา อันเปนการพยายามเลียนแบบปลายทางของการปฏิบัติ โดยไมคํานึงวา พระพุทธเจาทรงสอนตนทางของการปฏิบัติดวยการใหรูรูปนาม/กายใจ ตอเมือ่ เขาใจความเปนจริงของรูปนามและปลอยวางความถือมั่นในรูปนามไดแลวนั่น แหละ จิตจึงเขาถึงความวางจากกิเลสและวางจากขันธในที่สุด การจงใจทําจิต ใหวางอยางมากที่สุดก็เปนเพียงการทําจิตใหรูชองวาง (อากาสานัญจายตนะ) หรือรูค วามไมมีอะไรเลย (อากิญจัญญายตนะ) ซึ่งเปนเพียงการทําสมถกรรม ฐานเทานัน้ บางทานจิตถึงกับสวาง ปลอดโปรง คงที่อยูอ ยางนัน้ นานๆ จน สําคัญผิดวาบรรลุพระอรหันตแลวก็มี ทัง้ ที่จิตยังหลงปรุงแตงภพที่วางเปลา แลวติดอยูใ นภพนั้นนั่นเอง 51 วิถีแหงความรูแ จง


แทจริง “จิตวางจากกิเลส” เพราะมีปญ  ญาเห็นแจงในรูปนามจนหมด ความยึดถือในรูปนาม และกิเลสตัณหาไมสบชองที่จะเกิดไดอีก จิตจึงสามารถ รูรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะและธัมมารมณใดๆ ก็ไดโดยไมตองเลี่ยงการรู อารมณอนื่ ๆ ไปรูเ ฉพาะความวาง สวน “จิตวางจากขันธ” นั้น ไมใชไมใหรู ขันธ แตทั้งที่รูขนั ธอยูนั่นแหละ กลับรูแจงแทงตลอดวาขันธเปนของวางจาก ความเปนสัตวบุคคลตัวตนเราเขา ๙.๔.๓ การละทิ้งจิต นักปฏิบัติบางทานพยายามละทิ้งจิตดวยวิธีการ ตางๆ เชน(๑) การเพงรูป ดวยการรูการเคลื่อนไหวของกายโดยละทิ้งความ สนใจจิต แทนที่จะแยกรูปนามโดยเห็นวา “รูปเคลื่อนไหว ใจเปนผูร ”ู กลับ เอาสติแนบเขากับรูปจนนิ่งสนิทหมดความคิดนึกปรุงแตง นั่นคือการเพง อารมณหรืออารัมมณูปนิชฌานอันเปนการทําสมถกรรมฐานนัน่ เอง การเพงรูป นั้นเมือ่ เพงจนถึงที่สดุ จะไดจตุตถฌานหรือฌานที่ ๔ เมือ่ ประกอบกับความไม สนใจนาม จิตจะพลิกเขาอสัญญสัตตาภูมิ คือดับสัญญาลงได จิตก็ดับลงใน ขณะนั้นเหลือแตรางกายแข็งทื่ออยู ดังที่เรียกกันวาเปนพรหมลูกฟกนั่นเอง บุคคลที่ฝก กรรมฐานแนวนี้เมือ่ จิตถอดถอนออกมาสูโลกภายนอกแลว จะ สามารถเห็นโลกวางเปลาจากความเปนตัวตนไดเหมือนกัน เพราะเมื่อรูเห็นสิ่ง ใดก็ไมคิดเติมความสําคัญหมายใดๆ ลงในการรู บางทานคิดวาตนเองสําเร็จ เปนพระอรหันตแลวเพราะไมมีกิเลสใดๆ เกิดขึน้ เลย แตนั่นไมใชสภาวะของ ความหลุดพนจริงๆ เพราะเปนสภาวะความวางจากความเปนตัวตนที่จิตปรุง แตงขึ้น เปนการขมกิเลสไดชั่วคราวดวยการเพงรูป จนจิตติดตรึงอยูในอารมณ นิ่งโดยไมตองเพงเทานั้น จึงรูส ึกวาหมดกิจแลวเพราะไมตองเพงไมตอ ง กําหนดอีกตอไปแลว นอกจากนี้สภาวะของรูปนามยังแยกออกเปนสองสวน 52 วิถีแหงความรูแ จง


คือสวนของจิตภายในถูกทําใหกลวง/วางเปลาและไมรับรู ในขณะที่จิตหลง แนบนิ่งอยูกับอารมณภายนอก เมื่อใดทีก่ ําลังจากการเพงลดลง กิเลสจะกําเริบ รุนแรงกวาคนปกติหลายเทานัก การละทิ้งจิตยังทําไดอีกวิธีหนึ่ง ไดแก (๒) การเพิ่มแรงกดดันใหจิตจน เครียดสุดขีด แลวจิตจะสลัดตัวหนีทุกขออกไปปรุงแตงความวางขึน้ มา แลว เขาไปอยูกบั ความวางนั้นโดยไมสนใจที่จะรูจิตเลย วิธีนี้ทําไดหลายอยางเชน (ก) การกําหนดอารมณตอเนื่องกันไมใหขาดสายจนจิตเครงเครียดสุดขีด และ (ข) การปฏิบัติอยางหักโหมเชนนั่งหรือเดินตอเนือ่ งกันทั้งวันทั้งคืนคราวละ หลายๆ วัน เมื่อเกิดความเครียดถึงขีดสุด บางทานถึงกับเกิดอาการผิดปกติทางจิต หรือเกิดการเจ็บปวยทางกาย แตบางทานจิตจะหลบออกไปหาความวาง ภายนอกเพื่อหนีทุกขซึ่งปรากฏอยูที่จิต จนนึกวาจิตหลุดพนแลวเพราะจิตหลุด ออกไปอยูภ ายนอก จิตจะสวางไสวอยูภายนอก มีความสบายเบิกบาน เห็นโลก ภายนอกวางเปลาจากความเปนตัวตน แตไมเห็นจิตตนเอง จะรูสึกวาภายใน กลวงและจิตไมอาจยอนเขามาดูภายในได มีแตไปหลงสบายอยูภายนอก เทานัน้ ผูท ี่ปฏิบัติแนวนี้บางทานจิตมักจะปรุงความเมตตาขึน้ มา แลวอยูกับ ความเมตตานั้น ๙.๔.๔ การพยายามเพิ่มประสิทธิภาพในการรู เกิดจากความไมมั่นใจวา การตามรูเ พียงเทานีจ้ ะไดผลเพียงพอแกการรูธรรม จึงตองพยายามเพิม่ ประสิทธิภาพของการรับรูน ั้น ดวยวิธีการตางๆ เชน 53 วิถีแหงความรูแ จง


๙.๔.๔.๑ การชวยคิดพิจารณาสภาวธรรมที่กําลังถูกรูนั้น เชนเมื่อรู โทสะก็พยายามคิดวาโทสะไมดี นําความทุกขมาให โทสะมีโทษมาก อยางนัน้ อยางนี้ เปนตน ๙.๔.๔.๒ การเพงจองอยางเอาเปนเอาตายตอสภาวธรรมนั้น เพื่อ จะรูไดชัดเจนยิ่งขึ้น หรือเพือ่ เพงใหดับ หรือบางทีถึงกับตามจองจนลืม ตัวถลําเขาไปในจิตสวนลึกซึ่งในขณะนั้นยังรูอ ารมณอันนัน้ ไดอยู แต เปนการรูแ บบคนที่ชะโงกดูสิ่งของในน้าํ จนตนเองตกน้ําแลวยังไมรูตวั วาตกน้ํา ก็มี ๙.๔.๔.๓ การเพิ่มคุณธรรมแบบปรับสมดุล เกิดจากการคิดวาเรา ยังขาดคุณธรรมอยางนั้นอยางนี้ เชนขาด ทาน ศีล หิริ โอตตัปปะ สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ เนกขัมมะ ศรัทธา สติ วิริยะ ปติ ปสสัทธิ สมาธิ อุเบกขา ปญญา ฯลฯ และจะตองเพิ่มคุณธรรมเหลานั้นใหเพียงพอและ สมดุลกับคุณความดีอื่นๆ เสียกอนจึงจะเจริญสติได แทจริงถามีความรู ความเขาใจ(มีสัมมาทิฏฐิ)จนรูจ ักเจริญสติไดแลว คุณธรรมฝายดี ทั้งหลายจะเกิดขึ้นไดโดยงาย หากมุงเพิม่ บารมีตา งๆ โดยละเลยการ เจริญสติ ก็เหมือนคนที่เตรียมเสบียงเพือ่ เดินทางไกล แตไมยอมกาวเทา ออกจากบานสักที อีกกี่ปก็ไปไมถึงจุดหมายที่หวังไว ๙.๕ ตองรูส ภาวะและลักษณะของรูปนามนั้นตรงตามคําสอนของพระพุทธเจา การรูตามความเปนจริงตองรูต รงกับคําสอนของพระพุทธเจา ไมใชรตู รงสภาวะที่ คาดคะเนเอาเอง หรือตรงตามที่อาจารยสอนแตขัดหรือแยงกับคําสอนของ พระพุทธเจา กลาวคือ 54 วิถีแหงความรูแ จง


๙.๕.๑ สภาวะที่สติระลึกรู รูปนามที่สติไประลึกรูน ั้นตองมีสภาวะตรง ตามคําสอนในทางพระพุทธศาสนา เชนสติมีลักษณะเปนความระลึกไดไมใช การกําหนด ปญญาหรือวิปสสนาญาณเปนความรูจ ริงของจิตไมใชอาการ แปลกๆ ทางรางกาย และทุกขเปนความรูส ึกทุกขไมใชรูปธรรมเปนดวงกลมๆ สีแดง เปนตน ๙.๕.๒ ลักษณะที่ปญญารู หากสติระลึกรูส ภาวธรรมไดถูกตอง จิตจะ เกิดอาการรู ตื่น และเบิกบานดวยขณิกสมาธิขึ้นมาเองชั่วขณะ และอารมณรูป นามจะตองแสดงไตรลักษณอยางใดอยางหนึ่งใหจติ เห็น เชนรูปแสดงความ เปนทุกขและความเปนธาตุใหเห็น และนามแสดงความไมเที่ยงและการบังคับ ไมไดใหเห็น โดยเฉพาะนามธรรมในฝายอกุศลจะตองดับทันทีที่สติเกิดขึ้ ๙.๖ เหตุผลที่ตองรูสภาวธรรมตามความเปนจริงก็เพราะวา เราจําเปนตองรู ความเปนจริงของสภาวธรรมเหลานั้น ไมใชตองการดัดแปลงหรือควบคุม สภาวธรรมเหลานัน้ ทั้งนี้ตามหัวขอที่ ๓ และ ๔ ของบทความนี้ก็ไดกลาวไวแลววา ความไมรจู ักสภาวธรรมตามความเปนจริงหรืออวิชชา ทําใหเกิดตัณหาอันเปนเหตุ แหงทุกข หากทําลายความไมรูเสียได ตัณหาและทุกขจะไมมีโอกาสเกิดขึ้นไดอีก ๙.๗ การพยายามเขาไปแทรกแซงการรูสภาวธรรมจะกอใหเกิดความหลงผิด หนักยิ่งขึน้ เชนเมื่อกิเลสคือความฟุงซานเกิดขึ้น แลวผูปฏิบัติพยายามละกิเลสนั้น ดวยการบริกรรมวา "ฟุงซานหนอๆ" ไมนานความฟุงซานก็จะดับไปได (เพราะการ บริกรรมไปยับยั้งความคิดอันเปนตนตอของความฟุงซาน) ผูป ฏิบัติก็จะเกิด ความสําคัญผิดวา กิเลสเปนสิ่งที่บังคับควบคุมได (เปนอัตตา) หรือจิตนี้เปนตัวตน 55 วิถีแหงความรูแ จง


ของเราทีส่ ั่งไดตามใจชอบ(เปนอัตตา) ยิง่ ปฏิบัติยงิ่ ชํานาญในการเพงจองหรือ บริกรรมแกกิเลส ความหลงผิดก็ยิ่งพอกพูนกอใหเกิดมานะอัตตามากกวาเกาเสียอีก รวมทั้งไมมีโอกาสรูข อเท็จจริงวา ธรรมใดเกิดจากเหตุ ถาเหตุดับธรรมนั้นก็ดับ กลายเปนวาเราดับธรรมนั้นไดตามใจชอบเพราะเราฝก "วิปสสนา" จนเกงแลว ๙.๘ โดยธรรมดาของปุถุชนแลว อกุศลจิตยอมเกิดอยูแทบตลอดเวลา สวน กุศลจิตเกิดขึ้นนอยมาก เชนเรามักนัง่ ใจลอยทีละนานๆ อาจจะเปนชัว่ โมงๆ (ดวย อํานาจของโมหะ) จึงเกิดระลึกรูทันวากําลังใจลอยอยู ขณะใจลอยนั้นจิตเปนอกุศล แตขณะที่มีสติรูทันและความใจลอยดับไปโดยอัตโนมัตินนั้ จิตเปนกุศลเรียบรอย แลว (ทันทีที่เกิดสติ/รู อกุศลจะดับไปเอง เมือ่ มีสติ/รู จึงไมมอี กุศลจะใหละ แตสิ่งที่ ถูกละไปไดแกอนุสยั หรือกิเลสที่ซอนลึกอยูในจิตใจ ดวยเหตุนี้แหละ หนาที่ของเรา จึงมีเพียงการรู ไมตอ งละกิเลส เพราะในขณะที่มีสติบริบูรณนนั้ ไมมีกิเลสจะใหละ แมแตความทุกขก็ไมตองไปคิดละมัน หากมันมีเหตุมันก็เกิด หากหมดเหตุมันก็ดับ หนาที่ของเราคือรูทุกขเทานัน้ ก็พอแลว) จุดออนของผูเจริญสติก็คือจับหลักการเจริญ สติไดไมแมนยํา จิตจึงพลิกไปเปนอกุศลอีกไดในพริบตาเดียว คือพอเกิดความรูตวั เพียงวับเดียว แลวก็อาจหลงคร่าํ ครวญถึงอดีตวา "ตายละ เราหลงมาตัง้ ชั่วโมงหนึง่ แลว อยางนี้จะเอาดีในทางธรรมไดอยางไร" หรือเกิดหวงกังวลถึงอนาคตวา "ทํา อยางไรเราจะไมหลงไปเหมือนที่เคยหลงมาแลว" การพยายามทําอะไรมากกวารูไ ป ตามธรรมดาทีละขณะๆ นี้แหละ เปนความผิดพลาดอยางสําคัญทีเดียว ๙.๙ การรูน ั้น หากบริสุทธิ์บริบูรณถงึ ขีดสุดจะมีสภาพที่เรียกวา "สักวารู" เปน สภาวะรูอ ารมณที่กาํ ลังปรากฏตามความเปนจริงอยางแทจริง โดยไมเติมแตงสิ่งใดลง ในการรับรูนั้นแมแตนอย เชน (๑) ไมเติมความจงใจที่จะคิดคํานึงถึงสภาวธรรม (อารมณ) นั้นๆ วา "นี้คือรูป นีค้ ือนาม ชือ่ นี้ๆ ทํากิจอยางนี้ มีผลอยางนี้ มีเหตุใกล 56 วิถีแหงความรูแ จง


อยางนี้ เปนของไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตัวตน ไมงาม และที่กําลังรูอยูนี้ก็เปนสักวา รู" และ (๒) ไมเติมความจงใจที่จะหมายรูจิตแมแตนอย ๙.๑๐ เจตนจํานงหรือความจงใจหรือโลภเจตนาทีจ่ ะหมายรู(อารมณ)ของใจ ซึ่งครอบคลุมทั้งการหมายรูอ ารมณและการหมายรูจิตนี้เอง เปนอาหารหรือเปนปจจัย ใหเกิดการกระทํากรรมหรือกอพฤติกรรมทางใจ (และพฤติกรรมทางกายในขั้น ตอมา) ที่เรียกวา "การปฏิบัติธรรม" หรือ "การทํากรรมฐาน" ขึ้น สิ่งที่อยูเบือ้ งหลังของการเกิดความจงใจก็คือตัณหาหรือความอยากจะให “กายใจ ของเรา” มีความสุขและพนจากทุกขอยางถาวร สิ่งที่อยูเบือ้ งหลังตัณหาก็คืออวิชชาโดยเฉพาะอยางยิง่ (๑) ความไมรทู ุกข คือ ความไมรวู า “รูปนามนี้ไมเที่ยง เปนทุกข ไมใชตวั เราของเรา หากแตเปนสมบัติของ โลก” จึงเกิดความอยากจะให “กายใจของเรา” นีม้ ีแตความสุขและพนทุกขถาวร และ (๒) ความไมรสู มุทัย คือไมรูวาการดิ้นรนหนีความทุกขและหาความสุขดวยการ แสวงหาอารมณทเี่ พลิดเพลินพอใจบาง ดวยการบังคับกายบังคับใจบาง และดวยการ หลีกเลี่ยงการกระทบอารมณบาง จะกอภพ กอชาติ และกอทุกขขึ้นมา (นักปฏิบัติ สวนมากจะมียางใยแหงความยึดจิต จึงอยากให “จิตของเราหลุดพน” จึงตองเที่ยว แสวงหาธรรมเรือ่ ยไป โดยไมรูวาการดิน้ รนแสวงหานั้นเองคือความปรุงแตงฝายดี หรือปุญญาภิสังขาร หรืออัตตกิลมถานุโยค ซึ่งมีรากเหงามาจากอวิชชาเชนเดียวกับ ความปรุงแตงฝายชัว่ หรืออปุญญาภิสังขาร หรือกามสุขัลลิกานุโยคนัน่ เอง) ความปรุงแตงเหลานี้ไดปดบังธรรมอันบริสุทธิ์ที่ปราศจากตัวตน (นิพพาน) ไว โดย ปดกั้นญาณทัสสนะของผูปฏิบัติไวไมใหประจักษถึงนิพพานอันเปนอมตธาตุที่ ปรากฏเต็มบริบูรณอยูตอหนาตอตาได 57 วิถีแหงความรูแ จง


๙.๑๑ อาการ “สักวารู” นั้นเกิดเพราะปญญา ซึ่งมีหลายระดับคือ (๑) จิตมี ปญญารูทนั ความสุดโตงสองดานคือการหลงตามกิเลสไปแสวงหาอารมณภายนอก กับการเพงจองบังคับกายบังคับใจตนเอง (๒) จิตมีปญญารูเ ทาทันความยินดียนิ รายที่ เกิดขึ้นเมือ่ มีการกระทบอารมณทางทวารทั้ง ๖ และที่สําคัญก็คือ (๓) จิตมีปญ  ญาเขา ใจความเปนจริงของอารมณทั้งปวงวาเปนของชั่วคราว เชนสุขก็ชั่วคราว ทุกขก็ ชั่วคราว ดีก็ชั่วคราว ชั่วก็ชั่วคราว จิตก็หมดความอยากไดอารมณอันหนึง่ แลวเกลียด ชังอารมณอีกอันหนึง่ มีความเปนกลางตออารมณทั้งปวง เขาถึงการสักวารู คือสิง่ ใด ปรากฏใหรูก็รูไปดวยความไมยินดียนิ ราย เพราะมีปญญา(สังขารุเปกขาญาณ)รูเ ทา ทันวาความปรุงแตงทุกอยางเปนของชั่วคราว ๙.๑๒ เมือ่ ปราศจากความจงใจที่จะหมายรูอารมณแตรูอารมณ(ปรมัตถ) และ ปราศจากความจงใจที่จะหมายรูจิตแตรูจติ ก็จะสามารถรูอารมณและจิตไดตรงตาม ความเปนจริง ในทีส่ ุดปญญาก็จะแกรอบคือเกิดการรูทุกขหรือเกิดความรูแทในขันธ เบื้องตนจะเกิดความรูแทวา “ขันธไมใชเรา เราไมใชขันธ ไมมีตัวเราในขันธหรือใน สิ่งอื่นนอกจากขันธ” นี้คือปญญาเบือ้ งตนอันเปนภูมิธรรมของพระโสดาบันนัน่ เอง เมื่อตามรูร ปู นามตอไปอีกก็จะเกิดปญญาเห็นวา “เมื่อใดจิตเกิดตัณหาคือความ ทะยานอยากในรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะ(กามคุณอารมณ) หรือแมแตเกิดตัณหาที่ จะคิดถึงกามคุณอารมณ เมือ่ นัน้ ความทุกขทางใจจะเกิดขึ้น เมื่อใดจิตไมเกิดตัณหา เมื่อนัน้ จิตจะมีความสงบสุขอยูใ นตัวเอง” ผูมีปญญาขัน้ กลางนี้จะพอใจในความสงบ ของจิต เห็นจิตที่สงบระงับจากกิเลสตัณหาเปนจุดหรือเปนเกาะแหงความพนทุกข กลางทะเลแหงสังสารวัฏ จึงหมดความแสสายดิ้นรนออกไปแสวงหากามคุณอารมณ จิตมีสมาธิบริบูรณคอื ทรงตัวตัง้ มั่นเดนดวงอยูโ ดยไมตองรักษา นี้เปนภูมิธรรมของ พระอนาคามี 58 วิถีแหงความรูแ จง


เมื่อตามรูร ปู นามตอไปอีกจนมีอินทรียแกรอบถึงที่สดุ แลวจริงๆ ก็จะ “รูทุกข” อยางแจมแจงในฉับพลันทันใด คือจะพบเห็นวา “จิตนั้นเองเปนธรรมชาติอันหนึ่ง ซึ่งยังตกอยูใตอํานาจของไตรลักษณ จะเอาเปนทีพ่ ึ่งที่อาศัยใดๆ ไมไดเลย” บางทาน ที่มีศรัทธากลาจะเห็นความไมเที่ยงของจิต บางทานที่มีสมาธิกลาจะเห็นความเปน ทุกขของจิต และบางทานที่มีปญ  ญากลาจะเห็นความเปนอนัตตาของจิต ฉับพลันจิตก็ สลัดคืนจิตสูธรรมชาติเพราะรูแ จงแลววาจิตเองเปนกอนทุกขลวนๆ ไมใชของดีของ วิเศษอยางที่เคยรูสึกและหวงแหนถนอมรักษามาแตเดิม การรูทุกขอยางแจมแจงนี้เองทําใหสมุทัยคือตัณหาถูกละโดยอัตโนมัติ และ ฉับพลันธรรมอยางหนึ่งซึ่งมีลักษณะเปนความสงบสันติ ปราศจากกิเลสและ ปราศจากขันธ วางจากตัวตนและความปรุงแตงอยางแทจริง ก็จะปรากฏเต็มบริบูรณ อยูตอหนาตอตานัน้ เอง นี้คอื ทีส่ ุดแหงทุกข คือนิโรธ คือนิพพาน อนึ่งจิตทีบ่ ริสุทธิ์กับนิพพานเปนธรรมคนละอยางกัน คือจิตที่บริสุทธิ์เปนธรรมชาติรู ที่ปราศจากตัวตน ไรรูปลักษณ ขนาด ขอบเขตและที่ตั้ง แตก็ยังเปนสิ่งที่ตกอยูใ น กลุมธรรมที่ตองเกิดดับ สวนนิพพานซึ่งเปนธรรมที่บริสุทธิ์ ปราศจากตัวตน ไร รูปลักษณ ขนาด ขอบเขตและที่ตั้งเชนกัน แตนิพพานเปนอารมณที่จิตไปรูเขาโดยไม มีผูครอบครองเปนเจาของนิพพาน และพนจากความเกิดดับ ๙.๑๓ สภาวะ “สักวารู” อันเกิดจากปญญาเขาใจความเปนจริงของรูปนาม จน เกิดความเปนกลางตอรูปนาม จะสงผลใหเขาถึงความสลัดคืนรูปนามและถึงที่สุด แหงทุกขได สมดังคําสอนของพระบรมศาสดาที่ประทานแกทานพระพาหิยะวา ดูกร พาหิยะ ในกาลใดแล เมื่อทานเห็นจักเปนสักวาเห็น เมื่อฟงจักเปนสักวาฟง 59 วิถีแหงความรูแ จง


เมื่อทราบจักเปนสักวาทราบ เมื่อรูแจงจักเปนสักวารูแจง ในกาลนั้น ทานยอมไมมี ในกาลใด ทานไมมี ในกาลนั้น ทานยอมไมมีในโลกนี้ ยอมไมมีในโลกหนา ยอมไมมใี นระหวางโลกทัง้ สอง นี้แลเปนทีส่ ุดแหงทุกข ฯ (พาหิยสูตร พระไตรปฎกเลมที่ ๒๕/๔๙)

๑๐. ระลึกรูแลวไดอะไร ๑๐.๑ ผูปฏิบัติจํานวนมากเมือ่ ไดยินคําสอนวา "ใหมีสติระลึกรูสภาวธรรมที่ กําลังปรากฏตามความเปนจริง" แลวอาจเกิดความสงสัยวา การปฏิบัตเิ พียงเทานีจ้ ะมี ประโยชนอะไรในเมื่อการปฏิบัติที่ยากลําบากกวานี้ ยังไมชว ยใหรูธรรมได แทจริง การเจริญสติรูรูปนามหรือสติปฏฐานเปนสิ่งวิเศษอัศจรรยทสี่ ุด วิเศษถึงขนาดที่ พระพุทธเจาทรงยืนยันวา นีเ้ ปนทางสายเดียวที่นาํ ไปสูความบริสุทธิ์ได และไดผลเร็ว ดวย บางคนภายใน ๗ วัน บางคนภายใน ๗ เดือน และบางคนภายใน ๗ ป ก็มี ๑๐.๒ พวกเราไมจาํ เปนตองจินตนาการวาการเจริญสติมีประโยชนอยางใดบาง เพราะพระศาสดาทรงประทานคําชี้แนะไวแลวดังตอไปนี้คือ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อ (๑) สติสัมปชัญญะมีอยู (๒) หิริและโอตตัปปะชื่อวามีเหตุสมบูรณ ยอมมีแกบุคคลผูส มบูรณดว ยสติและ สัมปชัญญะ เมื่อหิริและโอตตัปปะมีอยู 60 วิถีแหงความรูแ จง


(๓) อินทรียสังวรชือ่ วามีเหตุสมบูรณ ยอมมีแกบุคคลผูสมบูรณดวยหิริและ โอตตัปปะ เมื่ออินทรียสังวรมีอยู (๔) ศีลชือ่ วามีเหตุสมบูรณ ยอมมีแกบุคคลผูสมบูรณดวยอินทรียสังวร เมื่อศีลมีอยู (๕) สัมมาสมาธิชอื่ วามีเหตุสมบูรณ ยอมมีแกบุคคลผูสมบูรณดวยศีล เมื่อ สัมมาสมาธิมีอยู (๖) ยถาภูตญาณทัสนะชื่อวามีเหตุสมบูรณ ยอมมีแกบุคคลผูส มบูรณดว ยสัมมาสมาธิ เมื่อยถาภูตญาณทัสนะ มีอยู (๗) นิพพิทาวิราคะชื่อวามีเหตุสมบูรณ ยอมมีแกบุคคลผูสมบูรณดวย ยถาภูตญาณทัสนะ เมื่อนิพพิทาวิราคะมีอยู (๘) วิมุตติญาณทัสนะชื่อวามีเหตุสมบูรณ ยอมมีแกบุคคลผูส มบูรณดว ยนิพพิทา วิราคะ (สติสูตร พระไตรปฎกเลมที่ ๒๓/๑๘๗) ๑๐.๓ จากพระพุทธวัจนะดังกลาวจะเห็นไดวา บรรดาคุณความดีชั้นเลิศทั้งหลาย จะสมบูรณได ก็เพราะความมีสติสัมปชัญญะเปนตนเหตุ กลาวคือ ๑๐.๓.๑ หิริและโอตตัปปะ (ไดแกความละอายตอการทําบาปและความ เกรงกลัวตอผลของการทําบาป) เมื่อใดมีสติสัมปชัญญะ ยอมรูเ ทาทันการเกิดขึ้น ของกิเลสทั้งหลาย และรูถึงพิษภัยของกิเลสวานําใหเกิดการกระทําผิดทางกาย ทางวาจา และทางใจ รวมทัง้ กอใหเกิดความทุกขความเดือดรอนมาสูจ ิตใจ อยางไร จิตใจยอมละอายที่จะทําบาปและเกรงกลัวตอผลของบาป โอกาสที่จะ ทําอกุศลกรรมหนักๆ จึงไมมี อนึ่งหิริและโอตตัปปะนี้เปนเทวธรรม คือเปน ธรรมที่ทาํ คนใหเปนเทวดาได 61 วิถีแหงความรูแ จง


๑๐.๓.๒ อินทรียสังวร (ไดแกความสํารวมตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ ที่ เมื่อกระทบรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ(สัมผัสทางกาย)และธัมมารมณแลว หากไมสํารวมระวัง บาปอกุศลก็จะครอบงําจิตได) ผูใดมีสติสัมปชัญญะ มีความ ละอายและความเกรงกลัวตอบาปแลว ยอมเกิดความสํารวมระวังอินทรียโดย อัตโนมัตทิ ีเดียว อนึง่ การมีสติระลึกรูสภาวธรรมเมือ่ ตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ กระทบอารมณนเี้ อง ก็คือการเจริญวิปสสนากรรมฐานที่ตรงไปตรงมาที่สุดแลว ๑๐.๓.๓ ศีล (ไดแกความเปนปกติของจิต) เมือ่ มีสติสัมปชัญญะรูเทาทัน การกระทบอารมณทางทวารทั้ง ๖ อยู จิตยอมไมถกู อกุศลครอบงํา พนจากความ ยินดียนิ รายตออารมณ จิตก็เขาถึงความเปนปกติธรรมดาหรือศีล ซึ่งจิตที่เปน ปกตินี้เองมีคุณสมบัติคือความผองใส (ประภัสสร) จิตจะมีลักษณะรู ตืน่ และ เบิกบานมีสมาธิโดยอัตโนมัติ ซึ่งหากเคยพบจิตอยางนี้จะทราบดีวา สามารถอยู เปนสุขในปจจุบันไดเปนอยางดี อนึง่ ศีลสามารถสงผลใหมคี วามสุข มีโภค ทรัพย และถึงนิพพานได เพราะจิตยิ่งเปนปกติเทาใด ความปรุงแตงยิ่งนอยลง เทานัน้ หากจิตพนความปรุงแตง จิตยอมสามารถรูอารมณนพิ พานซึ่งอยูเหนือ ความปรุงแตงได ๑๐.๓.๔ สัมมาสมาธิ (ไดแกความตั้งมัน่ ของจิต ซึง่ ไดกลาวไวแลวในขอ ๖.๔ ของบทความนี้) โดยธรรมชาติแลว จิตที่มีศลี นั่นแหละเปนจิตที่มี สัมมาสมาธิ และจิตที่มีสัมมาสมาธิก็คือจิตที่มีศีล เพราะศีลกับสัมมาสมาธิเปน เครือ่ งขัดเกลาสงเสริมซึ่งกันและกัน เหมือนการลางมือขวาดวยมือซาย และลาง มือซายดวยมือขวา อนึ่งการเจริญสัมมาสมาธินี้เมือ่ ทําใหมาก ยอมสงผลใหผู ปฏิบัติบางทานเขาถึงความสงบในระดับฌานได ซึง่ ใหความสุขในปจจุบัน และ 62 วิถีแหงความรูแ จง


สงผลใหผนู ั้นเขาถึงกําเนิดในพรหมโลกไดดวยหากยังไมเขาถึงนิพพานในชีวิต นี้ ๑๐.๓.๕ ยถาภูตญาณทัสนะ (ไดแกการมีความรูค วามเขาใจเกี่ยวกับรูป นามถูกตองตามความเปนจริง ภูตในที่นหี้ มายถึงรูปนาม/ขันธ ๕ ไมใชผีตาม ความหมายในภาษาไทย) การรูเห็นความจริงเปนสวนของปญญา ซึง่ ปญญามี สัมมาสมาธิเปนเหตุใกลใหเกิด คือเมื่อจิตตั้งมั่นเปนกลางและมีสติระลึกรู อารมณ (รูปนาม) ก็จะเห็นรูปนามตามความเปนจริง ไมใชตามที่อยากจะใหเปน (ดวยตัณหา) หรือตามที่คิดวานาจะเปน (ดวยทิฏฐิ) ๑๐.๓.๖ นิพพิทาวิราคะ (ไดแกความเบือ่ หนายคลายกําหนัด) เมื่อรูจักรูป นามตามความเปนจริงแลว จิตยอมเกิดนิพพิทาคือความเบือ่ หนายเอือมระอาตอ รูปนามทั้งหลาย เพราะเห็นความไมมีสาระแกนสาร สภาวะของนิพพิทาไมใช ความเบือ่ อยางโลกๆ ที่เปนการเบื่อทุกขแตอยากไดสุข นิพพิทานั้นเห็นทั้งทุกข และสุข ทั้งดีและชั่ว ทั้งหยาบและละเอียด ทั้งภายในและภายนอกนาเอือมระอา เสมอกัน เมื่อเกิดนิพพิทาแลวจิตยอมหมดความดิน้ รนทะยานอยากที่จะปฏิเสธทุกข หรือแสวงหาสุข เมือ่ เจริญสติตอ ไปจิตจะเขาถึงความเปนกลางตอรูปนามอยาง แทจริง แลวรูชดั ในรูปนามวา (๑) ในธรรมชาติไมมสี ัตว บุคคล ตัวตน เรา เขา มี แตรูปธรรมและนามธรรม (๒) รูปธรรมและนามธรรมมีลักษณะเปนไตรลักษณ คือไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตาหรือไมอยูในบังคับของใคร (๓) รูปธรรมและ นามธรรมมีเหตุปจจัยใหเกิด แปรปรวนไปตามเหตุ และถาเหตุดับมันก็ดับ (๔) ความยึดถือในรูปธรรมและนามธรรมจะนําทุกขมาให และ (๕) เมื่อปญญาแก รอบถึงที่สดุ ก็จะรูวา รูปนามนัน่ แหละคือทุกข นี้คอื การรูทุกขอยางแจมแจง และ 63 วิถีแหงความรูแ จง


ทําใหรูแจงอริยสัจจดวยวา “เพราะมีสมุทัยจึงเกิดทุกข เพราะไมรูทุกขจึงเกิด สมุทัย” ทุกขกับสมุทัยอิงอาศัยกันเกิดดับสืบเนื่องกันไปอยางไมมีที่สนิ้ สุด แต “เพราะรูท ุกขแจมแจงจึงละสมุทัย เพราะความดับไมเหลือของสมุทัยจึงแจง นิโรธหรือนิพพาน นีเ้ องคือมรรค” นี้เปนที่สุดแหงทุกข อนึง่ นิพพานนัน่ แหละ คือวิราคธรรม คือธรรมอันสิ้นตัณหา สรุปแลวเมื่อจิตเปนกลางตอสังขาร จนรูแ จงอริยสัจจแลว จิตจะกาว กระโดดอยางฉับพลันไปสูความหลุดพน โดยผูปฏิบัติไมไดจงใจจะใหเปนไป เชนนั้น คือพอวางขันธ ๕ ก็ไดประจักษนิโรธ หรือนิพพาน หรือวิสังขาร หรือ วิราคะ อันเปนจุดหมายปลายทางของการปฏิบัติธรรมในทางพระพุทธศาสนา อยางปจจุบันทันดวน ๑๐.๓.๗ วิมุตติญาณทัสนะ (ไดแกความรูแจงเกี่ยวกับสภาวธรรมแหง ความหลุดพนจากเพลิงทุกขและเพลิงกิเลส) เมือ่ ปลอยวางรูปนามจนแจง นิพพานแลว ผูปฏิบตั ิจะเกิดความรูความเขาใจเกีย่ วกับกระบวนการหลุดพน และเขาใจถึงสภาวะของนิพพานดวย คือพบวานิพพานเปนสภาวธรรมที่วางจาก กิเลสและขันธ แตไมใชความวางเปลาแบบความขาดสูญ(อุทเฉททิฎฐิ) ใน ขณะเดียวกันก็ไมใชภพชนิดหนึ่งที่เทีย่ งแทถาวรทีจ่ ิตปรุงแตงขึ้น(สัสสตทิฎฐิ) นิพพานเปนสภาวธรรมที่เต็มบริบูรณอยูต ลอดเวลา สงบสงัดสันติ บริสุทธิ์ไมมี สิ่งใดปรุงแตงได และปลอดภัยจากการรบกวนทั้งปวง ผูปฏิบัติทไี่ ดพบอารมณนิพพานดวยการบรรลุมรรคผลถึง ๔ ครั้งแลว ยอมพนทุกขพนกิเลสสิ้นเชิง เพราะจิตหลุดพนจากอาสวะเหมือนลูกไกที่เจาะ ทําลายเปลือกไขออกมาไดแลว ไมมีทางยอนกลับเขาในเปลือกไขไดอีก ไดรับ 64 วิถีแหงความรูแ จง


อิสรภาพและบรมสุขอันเนื่องจากจิตหมดแรงเคนของตัณหา หมดภาระที่จะตอง ดิ้นรน และพนจากความเสียดแทงทั้งปวง มีความสุขอยูในทุกอิริยาบถ ทั้ง กลางวันและกลางคืน ทั้งหลับและตื่น อนึ่งผูท ี่เคยพบนิพพานแลวในขณะที่เกิด มรรคผล อาจพบนิพพานไดอีกเพื่อเปนเครือ่ งอยูเปนสุขในปจจุบันดวย ๒ วิธีการคือ (๑) การไมมนสิการ (ใสใจ) ถึงสังขารทัง้ หลาย พอจิตวางอารมณที่ เปนสังขารก็จะไปรูอ ารมณนพิ พาน หรือ (๒) การมนสิการถึงอารมณนพิ พาน โดยตรง ทัง้ ๒ อยางนี้เปนประโยชนสุขในปจจุบันที่ไดมาดวยการเจริญสติ เทานัน้ ๑๐.๔ สรุปแลว สตินี้แหละยิ่งเกิดบอยยิง่ ดี และนอกจากการเจริญสติปฏฐานคือ การมีสติรรู ูปนามแลว ก็ยอมไมใชทางหรืออริยมรรคที่แทจริง คําสอนใดที่มุงปรุง แตง (กุศล) เพือ่ แกความปรุงแตง (อกุศล) คําสอนนั้นเปนไปเพื่อความเนิ่นชา (แตอาจ จําเปนในเบื้องตนสําหรับบางคน) คําสอนใดใหเจริญสติรูทนั ความปรุงแตง(ทัง้ กุศล และอกุศล)จนพนจากความปรุงแตง(ทัง้ กุศลและอกุศล) คําสอนนั้นเปนทาง(มรรค) ตัดตรงเขาถึงความพนทุกขสิ้นเชิง(นิโรธ/นิพพาน) ครูบาอาจารยพระปาทั้งหลายซึ่งเปนพอแมครูอาจารยของผูเ ขียน เชน หลวงปู ดูลย อตุโล หลวงปูเ ทสก เทสรังสี หลวงพอพุธ ฐานิโย และหลวงปูสุวจั น สุวโจ เปน ตน ทานก็เนนนักหนาใหผูเขียนเจริญสติคือรูไว บางทานยกหัวใจคําสอนของหลวงปู มั่น ภูริทัตตเถระ มาสอนผูเ ขียนวา หลวงปูมั่นทานสอนวา "ทําสมาธิ (ความสงบ) มากก็เนิ่นชา คิดพิจารณามากก็ฟุงซาน สิง่ สําคัญทีส่ ุดของการปฏิบัติคอื การเจริญสติ ในชีวิตประจําวัน จะเดินจงกรมก็ตองเดินดวยความมีสติ จะนั่งสมาธิกต็ องนัง่ ดวย ความมีสติ ทําสิ่งใดก็ตองทําดวยความมีสติ เพราะเมือ่ ใดมีสติเมื่อนั้นมีความเพียร 65 วิถีแหงความรูแ จง


เมื่อใดขาดสติเมื่อนั้นขาดความเพียร" ผูเ ขียนก็ไดอาศัยคําสอนของพอแมครูอาจารย ดังกลาวนี้เปนแนวทางปฏิบัติตลอดมา (๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๙) บันทึกทายเลม วัฏฏะ – “เพราะมีสมุทัยจึงเกิดทุกข เพราะไมรทู ุกขจึงเกิดสมุทัย...” วิวัฏฏะ – “เพราะรูท ุกขแจมแจงจึงละสมุทัย เพราะความดับไมเหลือของสมุทัยจึง แจงนิโรธ//”

66 วิถีแหงความรูแ จง



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.