ปปัญจธรรม

Page 1



ปปญจธรรม วศิน อินทสระ

3 ปปญจธรรม


สารบัญ ปปญจธรรม............................................................ ตัณหา.................................................................... มานะ..................................................................... l ปมดอย ปมเขื่อง........................................... l โทษของมานะ............................................... l วิธีละมานะ.................................................... ทิฏฐิ..................................................................... l เหตุเกิดของมิจฉาทิฏฐิ................................. l เหตุเกิดของสัมมาทิฏฐิ................................. หลักการละมิจฉาทิฏฐิ.......................................... ภาคผนวก l นิพพานเปนอนัตตา...................................... l อธิษฐานธรรม.............................................

4 ปปญจธรรม

7 7 12 20 33 48 55 74 74 76 82 85


ปปญจธรรม ปปญจธรรม แปลวา สิ่งที่ทําใหเนิ่นชา หมายถึงอกุศลธรรม 3 อยางคือ ตัณหา มานะ ทิฏฐิ ที่วา “เนิ่นชา” นั้นคือ ทําใหถึงนิพพานชา สิ่งอันเปนอุปสรรคตอการบรรลุนิพพาน ถาในความหมายต่ําลงมา หมายถึงสิ่งที่ทําใหจิตใจฟุงซานสับสน (Mental Difusion) ไมอาจแกปญหาใหตรงตามความเปนจริงได ทําใหยถาภูตญาณทรรศนะเสียไป ยถาภูตญาณทรรศนะ คือความรูเห็นตาม เปนจริงเหมือนคนตาดี มีความรู มองสิ่งตางๆ ในที่แจง ยอมเห็นสิ่งนั้นๆ ตามที่มันเปน แตถาตาไมดีหรืออยูในที่มืดยอมเห็นผิดเพี้ยนไปจากความเปนจริง ตัณหา มานะ และทิฏฐิ 3 ตัวนี้ ก็เชนเดียวกัน ทําใหจิตใจสับสนวุนวาย ยึดมั่นถือมั่น ถือเอาสิ่งผิดวาเปนสิ่งถูก ทํานองเห็นกงจักรเปนดอกบัว หรือเหมือนคนแบกของหนักไว ทําใหเนิ่นชาในการเดินทาง สังสารวัฏนั้นเปนสิ่งยาวไกลสําหรับคนพาลผูไมรูพระสัทธรรม (ทีโฆ พาลาน สํสาโร สทฺธมฺมํ อวิชานตํ 25/23/15) คนพาลหรือคนเขลาชอบแบกเอากอนหินใหญคือ ปปญจธรรมนี้เองไวแลวรองวาหนักจริงหนอๆ แตพอทานผูรูบอกวาใหวางกอนหินลงเสียเถิดแลวทานจะเบา เขากลับคอนนิดหนึ่งแลวตอบวา “ฉันแบกของฉันมานานแลว จะวางทําไม” แลวเขาก็แบกไปรองไปตอไป ชวยไมไดจริงๆ มนุษยเราจะมีความสุขขึ้นอีกมากทั้งสวนตัวและผูที่เกี่ยวของ ถาเขาตั้งใจจริงที่จะลดละตัณหา มานะและทิฏฐิอันเปนตัวมารรายคอยทําลายความสุขและเพิ่มทุกขใหเขาอยูทุกเมื่อเชื่อวัน ขาพเจาขอพูดซ้ําแลวซ้ําอีกวา ศัตรูหมายเลข 1 ของมนุษยคือกิเลส มันเปนสาเชื้อของความทุกขทั้งมวล (ทุกขสมุทัย) แตมนุษยไมคอยตระหนักในเรื่องนี้ มัวสาละวนแกปญหาอันไมตรงเงื่อนปม จึงแกปญหาไมได มนุษยสวนมากอวดดีเกินไป ไมคอยฟงคําของนักปราชญไมคอยยอมเดินตามรอยของพระอริยะ มีพระพุทธเจา เปนตน 5 ปปญจธรรม


จึงระหกระเหินหลงทางในปาดงดิบอันเต็มไปดวยอันตราย กลาวคือ ตัณหา มานะและทิฏฐิของตนๆ เมื่อรวมเขาดวยกันจึงกลายรกชัฏ ยากที่จะสางได นอกจากทานผูดํารงอยูในศีล สมาธิและปญญา ดังพระพุทธพจนที่วา “สีเล ปติฏฐาย นโร สปฺโٛ จิตฺตํ ปฺٛ ฺจ ภาวยํ อาตาป นิปโก ภิกฺขุ โส อิมํ วิชฏเย ชฏํ” แปลวา “นรชนผูมีปญญา ตั้งมั่นอยูในศีลแลว อบรมจิต (สมาธิ) และปญญาใหเจริญ เปนผูมีความเพียรมีปญญารักษาตน เห็นภัยในวัฏฏะ ยอมสางรกชัฏ (มีตัณหา เปนตน) เสียได” (15/20) ปปญจธรรมเลมนี้ สําเร็จลงดวยดี จากการที่คณะศิษยไดทําเทปคําบรรยายทางวิทยุ ถอดเทปทําตนฉบับและพิมพออกเผยแพรอยางที่ทานเห็นอยูนี้ ทําใหพระสัทธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาแพรหลายออกไปสูมวลชนนาอนุโมทนาตอศรัทธ า วิริยะและปญญาของพวกเธอยิ่งนัก ขอใหพวกเธอไดรับการคุมครองโดยธรรม เปนผูแตกฉานในธรรม ประสบความสําเร็จในธรรมตามประสงคจงทุกประการ ขอทานผูอานจงพนจากทุกข โศกโรคภัย เย็นกายสบายใจในที่ทุกสถาน ในกาลทุกเมื่อเทอญ วศิน อินทสระ 4 กุมภาพันธ 2546

6 ปปญจธรรม


ปปญจธรรม สวัสดีทานผูฟงทุกทาน นี่คือรายการธรรมโอสถ จากสถานี วิทยุกระจายเสียง AM STEREO พล.ม.2 ผม-วศิน อินทสระ จะไดมาพบกับทานผูฟงรายการนี้ วันนี้วันที่ 12 ธันวาคม 2541 ไดสัญญากับทานผูฟงไววา วันนี้จะคุยรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องปปญจธรรม ปปญจธรรม คือธรรมเครื่องเนิ่นชา ทําใหเนิ่นชา คืออกุศลที่ทําใหเนิ่นชา คําวาเนิ่นชาหมายความวาไปไดชา ทําใหเดินวนเวียนอยูในสังสารวัฏ ไปนิพพานไดชา กําจัดกิเลสไดชา 3 อยางที่เปนตัวใหญก็คือ ตัณหา มานะ ทิฏฐิ 3 ตัวนี้เมื่อรวมกันแลวถือวาเปนปปญจธรรม สิ่งที่ทําใหการเดินทางไปนิพพานเนิ่นชา

ตัณหา ตามพระพุทธภาษิต ตณฺหา ชเนติ ปุรสิ ํ ตัณหาทําใหคนเกิด และไมทําใหเกิดอยางเดียว ทําใหทุกขดวย ที่วา ตณฺหามาตุกํ ทุกฺขํ ความทุกขมีตัณหาเปนมารดา มีพระพุทธภาษิตที่ยาวๆ ก็มีอยู เชน ตณฺหา ชเนติ ปุริสํ ทีฆมทฺธานสํสรํ ตัณหาทําใหคนเกิด ทําใหทองเที่ยวไปในสังสารวัฏตลอดกาลยาวนาน ใหเปนอยางนั้นบาง ใหเปนอยางนี้บาง ไมอาจจะลวงพนสังสารวัฏไปได บัณฑิตรูตัณหาวามีโทษอยางนี้ เอตมาทีนวํ ฺตวา รูตัณหาวามีโทษอยางนี้ หรือรูตัณหานี้วาเปนสิ่งมีโทษ เปนบอเกิดแหงความทุกขแลว ก็พยายามที่จะเปนผูปราศจากตัณหา ไมถือมั่น มีสติ เวนสิ่งที่ควรเวน โดยเฉพาะอยางยิ่งก็คือเวนชั่ว วีตตณฺโห ปราศจากตัณหา อนาทาโน ไมยึดมั่นถือมั่น มีสติ พูดถึงตรงนี้ ก็นึกถึงที่อาจารยพุทธทาสทานเคยพูดถึงวา ใหตายเสียกอนตาย เขาใจความหมายที่ทานพูด ก็หมายความวาใหฆากิเลสเสียกอนที่จะตาย พุทธภาษิตใน ปุราเภทสูตร ในพระไตรปฎกเลม 25 มีคําหนึ่งวา วีตตณฺโห ปุราเภทา แปลวาเปนผูปราศจากตัณหา กอนที่รางกายจะแตกทําลายไป 7 ปปญจธรรม


อันนี้ทานก็ถือเอาใจความแลวมาพูดอยางงายๆวา ตายเสียกอนตาย ปุราเภทา แปลวากอนที่รางกายจะแตก วีตตณฺโห ใหเปนผูปราศจากตัณหา ก็คือ กิเลสตาย ตายเสียกอนตาย สุภาษิตในคัมภีรธรรมบท กลาววา ตัณหาทําใหคนเรรอนไปสูภพนอยภพใหญ เหมือนลิงในปาเรรอนไปหาผลไมกิน ถาไมมีความอยาก ก็ไมตองเรรอนไป เหมือนคนที่อยากจะไปไหน อยากไปเที่ยวไปดูไปฟง อะไรที่มันจะสนองความอยากทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ตัณหามันนําไป ทําใหเรรอนไป ถาเผื่อตัณหามันไมนําไป ก็ไมตองไปก็ได อยูที่ไหนสบายแลวก็ไมตองไปก็ได ปญหามันอยูที่วาอยากดู อยากเห็น อยากฟง อยากเพลิดเพลินอยูตัณหามันก็พาไป เหมือนลิงในปาที่เรรอนไปหาผลไม ถาเผื่อไมไดตามที่อยากที่ตองการ ความโศกก็เกิดขึ้น ความเสียใจ ความขุนใจ การทะเลาะวิวาทก็เกิดขึ้น อยางที่เกิดขึ้นในสังคมตางๆ ใหเราเห็นอยู เพราะฉะนั้น พระพุทธเจาตรัสสอนไววา เมื่อตัณหาครอบงําผูใด ผูนั้นยอมจะมากมูลไปดวยความโศก ผูใดย่ํายีตัณหาเสียได ความโศกก็ไมมีแกผูนั้น เหมือนหยาดน้ําตกบนใบบัว ใบบัวมันมีคุณสมบัติพิเศษมันไมติดน้ํา น้ําไมติดใบบัว คนทั่วไปใจเหมือนสําลี น้ําหยดลงไปก็จับทันที หรือเอาน้ํามันหยอดลงไปติดทันที ออกยากดวย ไมมีคุณสมบัติเปนใบบัว ผูปฏิบัติธรรม ก็พยายามทําใจใหเปนใบบัว ตัณหาครอบงําไมได ย่ํายีไมได ความโศกก็ตกไป เหมือนหยาดน้ําตก บนใบบัว ยังมีอีกแหงหนึ่งที่พระพุทธเจาทานตรัสไววา ตณฺหาย ชายเต โสโก ความโศกเกิดจากตัณหา ตณฺหาย ชายเต ภยํ ความกลัวหรือภัยก็เกิดจากตัณหา เมื่อพนจากตัณหาแลว ความโศกและความกลัวก็ไมมี 8 ปปญจธรรม


ตัณหายังเปนเหมือนชางผูทําเรือน พระพุทธเจาทานตรัสเอาไว เมื่อตอนตรัสรูใหมๆวา อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯลฯ เราเที่ยวแสวงหาชางผูทําเรือนคือตัณหา เมื่อไมพบจึงตองทองเที่ยวไปในสังสารวัฏ หลายชาติหลายภพ เราไดเห็นแลววาการเกิดบอยๆ เปนความทุกข ดูกอน ตัณหาผูสรางเรือนคืออัตภาพ บัดนี้เราไดเห็นเจาแลว เจาจะทําเรือนอีกไมได ซี่โครงทุกซี่ของเจา เราหักเสียแลว ยอดเรือนของเจา เรารื้อเสียแลว กิจของเราไดถึงธรรมอันอะไรจะปรุงแตงไมได เราถึงความสิ้นตัณหาแลว ขอที่จํางายคือ ทุกฺขา ชาติ ปุนปฺปุนํ การเกิดบอยๆเปนทุกข เกิดทุกครั้ง ทุกขทุกครั้ง การที่ทรงแสวงหานายชางผูทําเรือน คือตัวตัณหา เพื่อจะหาใหพบและก็ประหารเสีย คลายๆตํารวจหาโจร กอนจะตรัสรู พระพุทธเจาก็ทองเที่ยวแสวงหาคําตอบ ปญหาชีวิตวาความทุกขของสัตวโลกเกิดจากอะไร ในที่สุดก็ไดคนพบวา ตัณหานี้เอง เปนตัวสมุทัย คือเปนตนเหตุแหงทุกข อยางในอริยสัจ 4 ตัวตัณหาเปนผูสรางเรือนคืออัตภาพ รางกาย ปราศจากตัณหาแลว ความเกิดก็จะไมมี เพราะตัณหานี้เองทําใหเกิดบอยๆ

พระองคก็ทรงประจักษวา การเกิดบอยๆ เปนความทุกข เพราะเมื่อมีความเกิดแลว สหพันธของความเกิดก็ตามมา คือ ความแก ความเจ็บ และความตาย ความโศกเศราเสียใจ พิไรรําพันตางๆ เพราะปยวิปโยค คือ พลัดพรากจากสิ่งอันเปนที่รัก ดังมีขาวเครื่องบินตก ญาติพี่นองเศราโศกเพียงใด คนตายคนหนึ่ง พี่นองก็เศราโศกหลายคน และก็มีกันทุกวันในเรื่องตองพลัดพรากจากคนอันเปนที่รัก เพราะการจากกันไปบาง เพราะโรคภัยไขเจ็บบาง และคับแคนเพราะอัปปยสัมปโยคบาง คือตองประสบกับสิ่งอันไมนารัก ไมนาพอใจ ความทุกขตางๆก็เกิดตามขึ้นมา เหมือนรถพวงวิ่งตามหัวรถจักร ตรัสวา ทรงบําเพ็ญบารมีตางๆมานานชาติ ก็เพื่อจะไดเห็นและรูจักนายชางคือตัณหาผูสรางเรือนคืออัตภาพนี้ 9 ปปญจธรรม


เมื่อไดเห็นแจมแจงแลว ก็ไดทําลายตัณหาเสียโดยสิ้นเชิง เมื่อตัณหาดับ ความทุกขทั้งมวลก็จะตองดับไปเอง คลายๆไฟที่หมดเชื้อก็มอดไปเอง เรื่องตัณหาเปนเหตุสําคัญใหเกิดทุกขนี้ นักปราชญทั้งหลายก็มีความเห็นพองตองกันทั่วโลก จะตางกันก็แตเพียงทางที่จะกําจัดความทุกขเทานั้นวาจะกําจัดมันอยางไร คําวา “ยอดเรือนของเจาเราหักเสียแลว” ยอดเรือนทานหมายถึงอวิชชา ไมรูจริง เพราะเหตุที่ไมรูจึงทําใหหลงใหลในสิ่งที่ควรเชื่อ ยึดมั่นในสิ่งที่ควรปลอยวาง กลาวโดยเฉพาะก็คือขันธ 5 นี้แหละ คําวา ‘ซี่โครงของเจา เราก็หักหมดแลว’ ซี่โครงนีห้ มายถึงกิเลสทั้งหมด นอกจากอวิชชา เพราะเหตุที่ทรงหักกิเลสนี่เอง จึงไดมีพระนามวา ภควา แปลวา ผูหักก็ได ผูมีโชคก็ได ภควาแปลไดหลายความหมาย ในความหมายวาหักกิเลส เชน ในขอความที่วา ภคราโค ภคโทโส ภคโมโห อนาสโว เปนตน แปลวาทรงเปนผูหักราคะ หักโทสะ หักโมหะ ไดแลวไมมีกิเลสเครื่องดองใจเหลืออยู ทรงหักความชั่วทั้งปวงได จึงไดนามวาภควา นี่เปนขอความในวิสุทธิมรรค เมื่อผม (ผูบรรยาย) ทองเที่ยวอยูในอินเดีย คราวใดที่มีพระสงฆรวมเดินทางไปดวย คนอินเดียบางเมืองไมเคยไดเห็นพระไทย บางคนเคยเห็นแตก็ไมคุนเคย ไมรูวาผูที่แตงตัวแบบนี้เปนใคร เขารูวาเปนนักบวช แตไมรูวาบวชในลัทธิใด ถามีโอกาสเขาก็จะเขามาทักทายปราศรัย ถามวาใครเปนภควาน (อานวา ภะ-คะ-วาน) ของทาน พวกเราก็จะตอบวา พุทธภควาน เขาก็แสดงอาการเขาใจดี คนอินเดียแมสวนใหญจะไมนับถือพุทธศาสนา สวนมากรูจักพระพุทธเจา ยิ่งในหมูนักการศึกษา ก็รูจักพระพุทธเจา และคําสั่งสอนของพระองคดี เพราะคําสอนของพระพุทธเจานั้น เขาจัดเขาเปนปรัชญาอินเดียสายหนึ่งเหมือนกัน เรียกวา Buddis Philosophy ปรัชญาทางพุทธ นอกจากนี้คําวาภควา นอกจากแปลวาหักกิเลสแลวก็ยังมีความหมายในทางยกยองใหเกียรติอยางมากดวย เชน คําวา ภควาติ 10 ปปญจธรรม


วจนํ เสฏฐํ เปนตน แปลวา คําวาภควาเปนคําประเสริฐ เปนคําสูงสุด เปนคําเรียกบุคคลผูควรแกความเคารพในฐานะเปนครู จึงไดนามวา ภควา ในพุทธศาสนาเรา ผูที่ไดนามวาครูหรือบรมครูมีอยูพระองคเดียว คือพระพุทธเจา พระสาวกนอกจากนั้น เชน พระสารีบุตร พระมหาโมคคัลลานะ เปนอาจารยทั้งนั้น ในความ หมายเดิม คําวาครู มีความหมายสูงกวาอาจารย สมัยนี้ก็กลับกันไป ขอที่วาจิตของเราถึงวิสังขารแลว หมายถึงวาไดบรรลุนิพพานที่ไมอยูในขายของสังขาร แตเปนวิสังขารคือ ไมมีปจจัยปรุง ไดบรรลุธรรมที่เปนที่สิ้นตัณหา ก็คือ พระนิพพานนั่นเอง

11 ปปญจธรรม


มานะ มานะ แปลวา ความทะนงตน เปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งในหมูมนุษยเราที่ทําใหมีปญหาตางๆ มากขึ้นในสังคมมนุษย พระพุทธเจาทานตรัสสอน พระนางโรหินีไวตอนหนึ่งวา โกธํ ชเห วิปฺปชเหยฺย มานํ แปลวา บุคคลควรละความโกรธ ควรสละความถือตัว กาวลวงสังโยชนทั้งปวงเสีย ทุกขทั้งหลายก็จะไมตกถึงบุคคลเชนนั้น คือบุคคลที่ไมของในนามรูป และไมมีกิเลสเครื่องกังวล พึงละความโกรธ พึงละมานะเสีย เรื่องมานะ ก็คือความถือตัว ความทะนงตน สวนมานะที่คนทั่วไปใช เชน จะมานะพยายาม ไมใชมานะที่กําลังพูดถึงในที่นี้ เพราะวาเปนคําที่มีความหมายเพี้ยนไปแลว คนไทยเขาใจความหมายไปอีกทางหนึ่ง หมายถึงจะมานะพยายาม แตความหมายในภาษาธรรมะ มานะ คือความทะนงตน ความถือตัว ทานสอนวา ไมใหมีมานะวาสูงกวาเขา เสมอเขา หรือต่ํากวาเขา เพราะเมื่อถือตัววาสูงกวาเขาทําใหดูหมิ่นผูอื่น เมื่อถือตัววาต่ํากวาเขา ก็อาจริษยาเขา แสดงอาการนอยเนื้อต่ําใจ เมื่อถือตัววาเสมอเขาก็อาจเปนเหตุใหแขงดีกัน ชิงกันเปนใหญ หรือยกตนใหเดน ธรรมดามีอยูวา ไมมีใครที่สูงกวาใคร ไมมีใครมีความรูความสามารถสูงกวาผูอื่นโดยประการทั้งปวง อาจจะสูงกวาหรือมีความรูมากกวาในดานใดดานหนึ่ง คือเปนบางเรื่องเทานั้น เชน ก. มีความสามารถกวา ข. ในเรื่องดนตรี แต ข. ก็มีความสามารถมากกวา ก. ในดานการเกษตร เปนตน แมคนที่ทํางานอยูดวยกัน เปนลูกนองของกันและกัน ก็ไมไดหมายความวานายจะมีความสามารถมากกวาลูกนองไปทุกดาน นายอาจมีความสามารถในดานบริหาร แตเมื่อตองพิมพหนังสือราชการ นายอาจจะสูเสมียนพิมพไมได หรือเมื่อตองกวาดสํานักงานลางสวม ตัดหญาที่สนาม นายอาจทําไดดีเทาภารโรงไมได ดังนี้เปนตน

12 ปปญจธรรม


เพราะฉะนั้น คนเรามีความรู ความสามารถกันไปคนละอยาง เมื่อรวมกันเขาจึงจะสามารถนําภาระของสังคมไปได เปรียบเหมือนวาอวัยวะนอยใหญในตัวคนทําใหคนเปนคนอยูได คือวามันทําหนาที่คนละอยาง ฉะนั้นจึงไมควรดูหมิ่นเหยียดหยามกัน ควรเห็นวาทุกคนทําหนาที่ของตัวเพื่อจรรโลงสังคมใหอยูเย็นเปนสุขตอไป โดยปกติสัตวโลกจะมีอัสมิมานะ หรือมานะดวยกันทุกคน ถาพูดโดยปริยายเบื้องสูง ก็หมายถึงวาความสําคัญมั่นหมายวาเปนตัวเรา เปนของเรา อยางที่เรียกกันตามสํานวนจิตวิทยาวาปมเขื่อง หรือ Superior Complex หรือพูดอยางทานบัทเลอร ก็วามีความรูสึกที่จะทําตัวใหเดน ทานบัทเลอรเปนนักจิตวิทยา ศิษยของซิกมันด ฟรอยด เปนชาวเวียนนา ประเทศออสเตรีย ความจริงก็เยอรมนีนั่นแหละ ทานบัทเลอรมีความเห็นวา “มีความรูสึกที่จะทําตัวใหเดน เมื่อใดการทําตนใหเดนนั้นถูกขัดขวางไมใหดาํ เนินไป เมื่อนั้นปมดอยก็เกิดขึ้น” อันที่จริงปมดอยก็ไมใชอะไรอื่น มันก็คือปมเขื่องที่ลดลงนั่นเอง คลายวา ความเย็นก็คือความรอนที่ลดลง คนมีปมดอยในเรื่องใด ไมไดหมายความวา ปมเขื่องในเรื่องนั้นของเขาไมมี แตก็มีอยูนอย จะเห็นวาเมื่อไปเจอคนที่มีปมดอยในเรื่องนั้นกวาเขากลับแสดงปมเขื่องไดทันที

ตัวอยางเชน นักเรียนภาษาอังกฤษ เมื่ออยูตอหนาครูสอนภาษาอังกฤษ เขาก็จะรูสึกดอย เพราะวาความรูในภาษาอังกฤษของเขาสูครูไมได แตพอลับหลังครูอยูในหมูนักเรียนดวยกัน ในชั้นเดียวกัน หรือในชัน้ ที่ต่ํากวา เขากลับแสดงปมเขื่องในเรื่องภาษาอังกฤษ เพราะวาสามารถทําตนใหเดนได อธิบายใหนักเรียนในชั้นที่ต่ํากวา ฟงไดอยางภาคภูมิ นี่แสดงวาปมดอยก็คือ ปมเขื่องที่ลดลงนั่นเอง

13 ปปญจธรรม


กลาวถึงมิตรสหายที่อยูดวยกันไดนาน ตางก็ถูกอกถูกใจกันเหลือเกิน ก็เพราะวาตางฝายตางก็หลอเลี้ยงอัสมิมานะหรือปมเขื่องของกันและกันไวได ถาฝายใดฝายหนึ่งลดตัวลงใหอีโกของอีกฝายหนึ่งเดนขึ้นมามากเทาใดก็จะยิ่งเปนที่รักที่ปรานีของฝาย นั้นมากขึ้นเทานั้น แตถาใครไปขมอัสมิมานะหรือปมเขื่องของเขาเขา โดยที่เขาไมไดยินยอมเอง เขาก็จะตองเจ็บใจ เห็นเปนวาดูถูกกันแลวก็ตองเลิกคบกัน ทานจะเห็นวามานะ มีความหมายในชีวิตมนุษยและสัตวโลกเพียงใด ทานพุทธทาสภิกขุ หรือทานพระธรรมโกษาจารย ไดกลาวไวในหนังสือเรื่องปมเขื่องสวนที่เกี่ยวกับการประกอบกรรมชั่วตอนหนึ่งวา “อัสมิมานะหรือความรูส ึกที่เปนตัว ปมเขื่องนี่เองเปนมูลเหตุสําคัญชั้นรวบยอดของการทําความชั่วและการทําความดี หรือการทําบุญและทําบาป แตมันเปนความตรงกันขามกับการเขาถึงพุทธธรรมหรือนิพพานโดยตรง” ดวยเหตุนี้เอง พระพุทธเจาจึงทรงสอนใหสละมันเสีย เพราะวามันเปนกิเลสอยางหนึ่ง สละเสียไดแลวก็จะมีความสุข อยางที่พระพุทธเจาทรงเปลงอุทานเมื่อตรัสรูใหมๆวา อสฺสมิมานสฺส วินโย เอตํ เว ปรมํ สุขํ สละอัสมิมานะคือความทะนงตนเสียได นั่นแหละเปนบรมสุข คนที่ตองทะเลาะวิวาทกัน รบราฆาฟนกันก็เพราะกิเลสตัวนี้แหละ ถาละมันไดอยางที่พระพุทธเจาและพระอรหันตทั้งหลายละได ก็จะมีความสุขอยางยิ่ง คือไมตองเดือดรอนดวยเรื่องของโลก หรือเรื่องอยางโลกๆที่เปนกันอยู นี่เรื่องของมานะ ซึ่งเปนเรื่องที่เปนปมเขื่องหรือปมดอย ทางพุทธศานาไมใหเราไปคิดวา ดอยกวาเขา เสมอเขา หรือสูงกวาเขา แตใหเปนอยางที่เราเปน วิธีละคือ ไมตองไปเทียบกับใคร ไมตองเอาตนไปเทียบกับใคร ไมตองเอาใครมาเทียบกับตน แลวก็อยูอยางที่เราอยู เปนอยางที่เราเปน 14 ปปญจธรรม


พยายามดวยธรรมฉันทะ ใหธรรมฉันทะเปนตัวกระตุนเราใหเรากาวหนาพยายามไปโดยไมตองใหตนไปเทียบกับใคร ไมตองนําใครมาเทียบกับตัว เปนคนไมมีปม เมื่อผมไดรับเชิญใหโอวาทนักเรียน นักศึกษาในมหาวิทยาลัย เวลาปดภาคเรียน มีครูบาอาจารยเขามาอยูกันแลวขอใหชวยใหโอวาทนักศึกษานิดหนอย ผมก็มักจะพูดเรื่องนี้ ใหทําตัวใหเปนคนไมมีปม ออกไปอยูขางนอก ไปทํางานทําการกับคนขางนอกมีปญหามาก มีการเปรียบเทียบมาก มีเรื่องยุงเหยิง มีการทะเลาะวิวาท ขอใหทําตัวเปนคนไมมีปม คืออยานําตัวไปเทียบกับใคร อยานําใครมาเทียบกับตัว ใหทําอยางที่เราทํา ใหเปนอยางที่เราเปน แตถาจะเทียบก็ใหเทียบกับตัวเองวาเราเมื่อเดือนที่แลวกับเราเดือนนี้ เราอันไหนดีกวา เราเมื่อปที่แลวกับเราปนี้ ไหนดีกวา อยางนี้เปนตน ปมคือ ความคิดชนิดหนึ่ง ซึ่งฝงอยูในจิตใตสํานึกที่ภาษาทางจิตวิทยา เรียกวา Unconscious mind จิตใตสํานึก เมื่อปมไดฝงอยูแมจะตั้งอยูในจิตก็ดี แตวาพฤติกรรมหรือกิริยาอาการ มันจะแพรกระจายออกมาทางกาย ทางวาจา ทางพฤติกรรม คลายๆกับของเหม็น เชน ซากสุนัข มันตั้งอยูที่เดียวก็จริง แตวากลิ่นเหม็นของมันก็จะแผกระจายออกมารอบๆบริเวณที่ซากสุนัขตั้งอยู เพราะฉะนั้น ปมหรือมานะ อยูในจิตของคนก็จริง แตวามันจะแผกระจายออกมาทางกายทางวาจาใหเราพอดูได ถาเปนนักวิเคราะหจิต ก็จะมองเห็นวา พฤติกรรมอยางนี้ออกมาจากจิตอยางไร เพราะฉะนั้น ปมคือ ความคิดชนิดหนึ่ง ซึ่งฝงอยูในจิตใตสํานึก จิตใตสํานึกก็มาจากจิตสํานึก แตวามันจะลงไปฝงอยูในสวนลึกของจิต ที่ภาษาศาสนาเราเรียกวาภวังคจิต หรือภวังควิญญาณ เปนเหตุใหเกิดอารมณตางๆขึ้นในจิตมากมาย มีแพรออกมายังจิตสํานึกหลายประการ เดี๋ยวผมจะโยงลงไปถึงธรรมะสวนลึกๆหนอยก็ได เพราะฉะนั้น ทางจิตวิทยา จึงถือวาปมเปนเหตุนํามาซึ่งความยุงยากแกชีวิต และเปนสิ่งที่แกไดยากดวย เกิดเปนปมคลายๆ ดายที่ขอดกันเปนปมแนน เปนสิ่งที่แกไดยาก 15 ปปญจธรรม


บางคนมีกําลังใจเขมแข็งก็ตัดมันเลย ไมตองแกอะไรมาก แตเนื่องจากวามันเปนสิ่งที่คนรูสึกหวงแหน ดวยอํานาจของมานะคือ กิเลส จะตัดก็ไมกลาตัด จะเอาไวก็ไมกลาคาย เกิดประดักประเดิดขึ้นมา คลายๆกับวาของรอน แตวารูสึกพอใจอรอย ทีนี้มนั รอน จะคายรูสึกเสียดาย จะอมไวก็รอน จะทําอยางไรดี จึงเปนเรื่องที่สรางปมขึ้นในจิตใจ สรางปญหาขึ้นในชีวิต อยูในลักษณะกลืนไมเขาคายไมออก อีกอยางหนึ่งคือคนที่นากลัว คนที่มีความรูจริงก็ไมนากลัว เพราะวาเขารูจริง และรูแจง เขาใจสิ่งตางๆตามที่เปนจริง คนที่ไมรูอะไรเสียเลย ก็ไมนากลัว เพราะวาเขาไมรูอะไร และไมคอยกลาทําอะไรที่เปนการเสี่ยง ก็ไมนากลัว ที่นากลัวจริงๆ คือคนที่รูครึ่งๆกลางๆ เรียกวาฉลาดแกมโง คลายๆกับวาสวางเสียทีเดียว ผีก็ไมหลอก มืดเสียทีเดียวผีก็ไมหลอก แตวาโพลเพล ครึ่งมืดครึง่ สวางผีมันจะหลอก หมายความวาคนที่รูสึกวาถูกผีหลอก มันจะรูสึกในบรรยากาศที่ครึ่งๆกลางๆ ระหวางความสวางกับความมืดโพลเพล เพราะฉะนั้น คนที่รูอะไรก็ใหรูจริงเสีย ก็ไมนากลัว เพราะเขาสามารถวินิจฉัยตามความเปนจริงได แตครึ่งๆกลางๆ ฉลาดแกมโง จะไมทําอะไรเสียเลย ก็กลัวเขาวาโง จะทําไปก็ทําไมไดอยางที่คนฉลาดทํา ก็นากลัว หรือคนโงหวังดี เขาหวังดี แตทําดวยความโง มันก็ทําใหคนที่เขาหวังดีดวย เสียหายมากมาย ผูหลักผูใหญที่มีผูนอยแวดลอมอยู ผูนอยก็หวังดี แตวาผูนอยนั้นโง ก็ทําอะไรไปตามความโงของตัว ทําใหผูใหญเสียหาย ไมรูสึกตัว ไมมีสัมปชัญญะ คือไมรูวาตัวไดทําความเสียหายใหแกผูใหญที่ตัวรักเคารพนับถือ ผูใหญถาไมตั้งอยูในธรรม บางทีก็จะชอบคนโงที่ ประจบประแจง คนโงที่เขาใกลผูใหญก็ประจบประแจง ผูใหญก็โปรด ผูใหญก็ชอบก็รัก บางคนไมประจบอยางเดียว สอพลอดวย ประจบอยางเดียวนั้นเอาดีใสตัว เสนอหนาเพื่อเอาดีใสตัว ถาสอพลอก็คือเอาชั่วใสคนอื่นดวย ผูใหญถาตองการใหเปนผูใหญอยู ใหเปนที่เคารพนับถือก็ตองระวังคนโงหวังดี ตองพยายามทําใหเขาฉลาดขึ้น

16 ปปญจธรรม


มีนิทานฝรั่งที่เขาเลานิทานวาพระราชาแกผาไปทั้งบานทั้งเมือง ก็ไมรู ถูกพอคาหลอกกันทั้งบานทั้งเมือง ถูกพอคาหลอกวา คนที่ฉลาดจะตองเห็นวาเปนการนุงผา พระราชาก็ถูกคนสอพลอ บริวารแวดลอมชวยกันยกยอปอปนวา ผานั้นสวยมาก เพราะถาบอกวาไมเห็นผา เห็นพระราชาแกผา กลัววาตนจะกลายเปนคนโง ก็วาผาผืนนี้สวยมาก ทั้งที่เห็นวาพระราชาแกผา ก็ยังวาสวยเหลือเกิน ดีเหลือเกิน ก็ไปทั้งบานทั้งเมือง โชวผา ก็ไปเจอเด็กซื่อเขา เด็กแกเห็นอยางไรแกก็วาอยางนั้น ก็พูดออกมาดังๆวา พระราชาไมนุงผา แมก็ตองรีบปดปากเด็กแลวเอาออกไปเสีย คนทั้งหลายไดสติขึ้นมาไดสัมปชัญญะขึ้นมา รูตัวออ จริงๆแลวเขาก็เห็นอยางที่เด็กเห็น แตไมกลาพูดวาพระราชาไมนุงผา เพราะกลัววาจะเปนคนโง ก็เลยโงกันไปหมดทั้งเมืองเลย นี่ก็ปมเหมือนกัน ตองการจะรักษาปมเขื่องเอาไว กลัวเขาจะวาโง เปนนิทานคติที่ดี เปนนิทานสอนเด็ก แตความจริงเด็กก็คิดอะไรไมไดมากเทาผูใหญหรอก พูดจากใจที่มีความซื่อตรง ก็พูดตามที่เห็น นิทานอยางนี้ ถาเผื่อผูใหญเอามาคิดก็คิดไดแตกออกไปมากกวาเด็ก เพราะมีประสบการณในชีวิตมาก ทําใหรูอะไรไดละเอียดออกไป คนเราถามีความสมบูรณในตน ปญหาเรื่องปมเดนหรือปมดอยก็จะไมเกิดขึ้น ที่มีปมเขื่องบาง ปมดอยบางก็เพราะวาไมมีความสมบูรณในตน คือยังบกพรองอยู ถาเมื่อใดบรรลุถึงความสมบูรณในตนแลว ความกระตือรือรนเพื่อจะแสดงตนใหเดน หรือมีความรูสึกวาดอย ก็จะดับลงไปทันที ตัวอยางในทางศาสนาของเราก็คือ พระสัมมาสัมพุทธเจาของเรา และพระอรหันตทั้งหลาย ทานมีความสมบูรณในตน คนที่เดินตามรอยพระอริยะ แมจะยังไมมีความสมบูรณในตนเหมือนอยางทาน เพราะวากําลังปฏิบัติอยู กําลังเดินตามทางนั้นอยู แตปมดอยหรือปมเขื่องจะคอยๆลดลงทีละนอยๆ ตามที่ปฏิบัติได เพราะฉะนั้น ผูที่มุงจะละมานะ ก็ตองพยายามเดินตามรอยพระอริยะ ไมวิตกกังวลถึงเรื่องที่ไมจําเปนหรือเรื่องเล็กๆนอยๆ ก็ปลอยมันไปตามกาลเวลา เกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป 17 ปปญจธรรม


ความทุกขบางอยางมันคลายๆหัวสิว อยาไปเลนกับมัน ปลอยมันไป อยางที่ทานอาจารยหลวงพอนรรัตน ราชมานิต บอกวา Let it go ปลอยมันไป และ Get it out เขี่ยมันออกไป สปริงมันออกไปไมตองเก็บมาเปนอารมณ ความวิตกกังวลนี่ มันเกิดขึ้นเพราะวาขมอารมณดอยเอาไว ทานเรียกในทางจิตวิเคราะหวา Auxiety neurosis พจนานุกรมวิทยาศาสตรการแพทย แปลวา โรคประสาทที่เกี่ยวกับความผิดปกติทางอารมณ เนื่องจากความขัดแยงทางใจที่แกไมตก มีความกังวลเปนลักษณะเฉพาะ นานเขามันก็จะเปน Neuroticism แปลวาภาวะที่เปนโรคประสาท ความกังวลนี่ ถาเราไมฆามัน มันจะฆาเราอยางแนนอน เพราะฉะนั้น ถามันเกิดขึ้นกับผูใด ผูนั้นจะตองรีบฆามันเสีย ความทะนงตนหรือมานะ มองในแงของพุทธศาสนา จะเปนอนุสัยตัวหนึ่ง เรียกวา มานานุสัย เปนอนุสัยคือมานะ อนุสัยคือกิเลสที่แฝงอยูลึกๆ เปน Latent passion กิเลสที่แฝงอยูในจิต ถาเกี่ยวกับมานะก็เปน Egoistic tendency เปนความโนมเอียงในทางที่ทะนงตน หรือความถือตัว ทางพุทธศาสนาไดใหกลุมของกิเลสเอาไว 3 ระดับคือ 1. ระดับที่ทําใหแสดงตัวออกมาภายนอก เรียกวาวีติกกมะ ออกมาเปนการฆาประหัตประหาร เปนการลวงละเมิดสิทธิ์ตางๆ ของผูอื่นออกมาทางกาย ทางวาจา 2. ปริยุฏฐานะ กลุมรุมอยูใ นจิตใจ เปนพวกนิวรณ 5 มันไมออกมาขางนอก แตกลุมรุมอยูในจิตใจ มีพฤติกรรมพอใหเห็นได 3. อนุสัย มานะเปนอนุสัยชนิดหนึ่ง อยูลึกมีรากลึก สืบเนื่องมาจากการสะสมของเราเอง อารมณที่สะสมขึ้นในจิต สิ่งที่มากระทบจิต จะเปนรูปเสียงกลิ่นรส โผฏฐัพพะหรืออะไรก็ตาม ที่มันเกิดขึ้นจากจิตแลว สักประเดี๋ยวหนึ่งเราคิดวามันดับไป มันหายไป แตมันไมไดหายไปเลย 18 ปปญจธรรม


มันจะลงไปสะสมกันอยูในสวนลึกของจิต คลายๆเราเห็นน้ําแข็งลอยอยูในน้ํา สวนที่โผลออกมาก็สวนเดียว เปนสวนเล็กนอย แตที่มันอยูใตน้ํามากมายตั้ง 7-8 เทา พฤติกรรมของคน ซึ่งถูกบงการโดยสวนลึกของจิตที่เรียกวา อนุสัยมีมาก ก็สืบเนื่องมาจากการสะสมของเรานั่นเอง ทรรศนะทางตะวันตก เห็นวาความหยิ่งหรือความทะนงตนหรือมานะเกิดเพราะมีปมดอย ก็คือความประสงคที่จะแสดงตนใหเดนแลวมาถูกขัดขวางในหมูหนึ่ง แลวก็มาแสดงความหยิ่งในคนอีกหมูหนึ่ง เราก็เห็นกันอยูทั่วไป เด็กที่ถูกเลี้ยงอยางกดขี่ในครอบครัว ก็จะไปแสดงออกในทางกาวราวกับบรรดาเพื่อนฝูงที่โรงเรียน มิฉะนั้นก็หงอไปเลย คือกลัวใครตอใครไปหมด เปนตน

19 ปปญจธรรม


ปมดอย ปมเขื่อง ปมดอย ปมเขื่อง เปนเรื่องของคนธรรมดาสามัญ โดยทั่วไป ไมใชเรื่องของทานผูที่ฝกจิตดีแลว ซึ่งเอาชนะไดทั้งสองปม ปมก็ไมสามารถจะครอบงําจิตของทานได เพราะวาทานพิจารณาโลกตามแงของความเปนจริง หรือตามธรรมและเปนธรรมาธิปไตย ไมใชตามแงของโลกนิยม คือวาไมไปตามกระแสโลก แตถือธรรมเปนหลักชีวิตอยู ไมตกอยูภายใตคานิยมของโลก เมื่อคนที่ตกอยูภายใตคานิยมของโลก จึงรูสึกดอยและรูสึกเขื่องไปตามกระแสของโลก มีเรื่องเลาในทางจิตวิทยาพูดถึงเรื่องนักประพันธชาวอังกฤษ ชื่อ โกลดสมิธ ทานเปนคนเขียนหนังสือดีมาก มีคนพูดกันวา โกลดสมิธ เขียนหนังสือเหมือนเทพธิดา แตพูดเหมือนคนปญญาออน ทั้งนี้เพราะทานมีปมดอยทางรูปรางลักษณะ คือเปนฝดาษ หนาปรุไปหมด ทานคิดวาหนาตาของทานนารังเกียจ เพราะฉะนั้น เวลาทานพูดกับใครก็พูดดวยความรูสึกกังวล มีปมดอย เวลาทานอยูคนเดียว ทานเขียนหนังสือไดสวยงามมากอยางเทพธิดา สําหรับทานโสเครตีส นักปรัชญาผูยิ่งใหญ หรือปรมาจารยทางปรัชญาของกรีก รูปรางลักษณะของทานไมนาดู พูดกันโดยทั่วไปวา ทานเปนคนขี้เหร แตทานโสเครตีสไมมีปมดอย ทานแสดงสติปญญาไดอยางเต็มที่ และผลงานของทานก็เปนที่กลาวถึงกัน เอามาเลาเรียนกันจนถึงบัดนี้ ทานชอบไปสนทนากับใครตอใครในเอเธนส เปนที่หอมลอมของคนทั้งหลาย ทานไมมีปมดอยทั้งๆที่ลักษณะของทานนาจะมีปมดอย ที่ทานไมมีเพราะทานเปนนักปรัชญา ก็จะมองโลกตามความเปนจริงหรือตามธรรม พิจารณาโลกตามแงของความเปนจริง และเห็นวาในที่สุด ความดีหรือคุณธรรมหรือปญญาจะตองชนะรูปรางลักษณะที่ปรากฏภายนอก แตทานโกลดสมิธ ซึ่งเปนนักประพันธมองโลกตามแงของกระแสโลกตามโลกนิยม และตกอยูภายใตคานิยมของโลก

20 ปปญจธรรม


การมองโลกของคนเราจึงขึ้นอยูกับคุณภาพของจิตวาเขามีคุณภาพของจิตอยางไร ยิ่งเขามีคุณภาพจิตสูงขึ้นมากเทาไหร ละเอียดออนมากเทาไหร เขาก็จะยิ่งมองโลกตามความเปนจริงไดเทานั้น แลวเขาก็ไมตกอยูภายใตคานิยมของกระแสของโลก ทานเหลานี้เปนผูเดินทวนกระแสของโลก เพราะเปนคนที่โลกตองบูชา คนที่โลกบูชาเปนคนที่มีจิตใจเขมแข็ง เดินทวนกระแสของโลกได ไมใชไปตามโลก คนที่เดินตามโลกในที่สดุ ชีวิตก็จมไปในโลกเทานั้นเอง คนที่จะชวยโลกก็คือคนที่เดินทวนกระแสโลก ไมใชเดินตามโลก แลวก็ดึงบุคคลในโลกขึ้นไป ไมใชทําตัวใหกลมกลืนเขาไปกับกระแสโลก ซึ่งเปนการเอาตัวรอดเพียงครั้งคราว ในที่สุดก็ถูกกลืนหายเขาไปในโลก เหมือนในสระหนึ่ง มีดอกบัวขาวเต็มไปหมด ก็เหมือนๆกันหมด ถามีดอกบัวแดงสักดอกหนึ่ง ก็เดนมาก เปนที่เพงดูของคนทั้งหลาย คนที่จะเปนผูนําโลก ไมใชเปนคนที่เดินตามโลก เปนคนที่ทวนกระแสโลก และนําโลกไป ทานดูตัวอยางประวัติของศาสดาทั้งหลาย ประวัติของคนสําคัญทั้งหลาย ไมใชเปนคนที่ตกอยูภายใตคานิยมของกระแสโลก ซึ่งเปนเหตุใหมีปมดอย ปมเขื่อง แตวาเปนคนที่เดินทวนกระแสโลก เหมือนปลาเปนที่วายทวนกระแสน้ํา พระธรรมของพระพุทธเจาก็เปนอยางนั้น มีพระพุทธพจนอยูตอนหนึ่งวา ปฏิโส ตคามิ มีลักษณะทวนกระแสโลก และนําโลกไปในทางที่ถูกที่ควรทีช่ อบ โลกตามปกติมันหอหุมอยูดวยความหลง มหาโมหตโมนทฺเร ถาเผื่อไปตามโลกมันก็หลงไปตามโลก ก็ตองดึงโลกขึ้นไป ทานจึงไดวาโลกุตตระ แปลวาขามขึ้นจากโลก ไมจมอยูในโลก ภิกษุรูปหนึ่งชาววัชชี รูสกึ ตัวเปนคนดอย เพราะความรูสึกหวั่นไหวตอกระแสโลก เพราะฉะนั้น สรุปลงตรงที่วา อยาหวั่นไหวตอกระแสโลกใหมากนัก พยายามตานทานกระแสโลก หมายความวาอยาหมุนไปตามโลก เพราะวาโลกมีปกติหมุนไปสูความยุงเหยิง มันเปนสังวัฏฏะ คือมวนตัวไปสูความเสื่อม 21 ปปญจธรรม


เทียบคําวาสังวัฏฏกัปป แปลวา กัปปเสื่อม วิวัฏฏกัปป แปลวากัปปเจริญ โดยปกติโลกก็หมุนตัวไปสูความยุงเหยิงเปนสังวัฏฏะคือ มวนตัวเขาไปหาความเสื่อม แตวาทางธรรมหรือธรรม มีปกติคลีค่ ลายตัวออกและ เปนวิวัฏฏะ คลี่คลายตัวออกก็คือ ออกจากความยุงเหยิงไมวาจะเปนผูหญิงหรือผูชาย ถาเผื่อวามุงเขาสูธรรม ก็จะคลี่คลายออกจากความยุงเหยิงแมจะอยูในโลก แตก็เปนคนที่อยูเหนือโลกได เปนโลกุตตรชนได อยางเปนฆราวาส พระพุทธเจาตรัสวาเปนไดถึงอนาคามีในเพศฆราวาส ไมวาจะเปนหญิงหรือชาย เพศหญิงหรือชาย เพศคฤหัสถหรือบรรพชิต ก็เปนเพียงรูปแบบภายนอก ไมสําคัญเทากับแบบความเปนอยูแหงชีวิตที่เปนเนื้อในจริงๆที่เรียกวา Inner life คือชีวิตภายใน ซึ่งตรงขามกับ Bodily life ชีวิตภายนอก คือรางกาย เราหรือเขาจะแตงกายอยางไร ไมสําคัญเทากับวาเราปรารถนาอะไร เขาปรารถนาอะไร อยูในใจ ถาเขาปรารถนาความพนทุกขอยูเสมอแลว ก็เรียกไดวาเขาเปนอนาคาริกมุนี แปลวามุนีที่ไมครองเรือน หรืออยางนอยที่สุดก็เปนอาคาริกมุนี คือ มุนีผูครองเรือน ลองเทียบดูกับผูที่ครองเพศเปนบรรพชิตหรือสมณะในรูปแบบภายนอก แตภายในเต็มไปดวยอิจฉาและโลภะ อิจฉาแปลวา ความตองการ อิสสาแปลวาความริษยา พระพุทธเจาตรัสถามวา เขาเปนสมณะไดอยางไร ตามพระบาลีพุทธภาษิตที่วา อิจฺฉาโลภสมาปนฺโน ผูที่พรั่งพรอมไปดวยอิจฉา คือความตองการและโลภะแลว สมโณ กึ ภวิสสฺ ติ เขาจะเปนสมณะไดอยางไร นี่คือ พูดปรารภถึงเรื่องโลก วามันหมุนไปสูความยุงเหยิง เพราะฉะนั้น ในบางแหงพระพุทธเจาจึงตรัสวา น สิยา โลกวฑฺฒโน ไมควรเจริญในโลก บางทีก็ถอดความหมายออกมาวา ไมควรเปนคนรกโลก อยางนั้นก็ได ถาแปลตามตัวก็วาไมควรเปนคนเจริญในโลก หรือวาไมควรจะทําโลกใหรก

22 ปปญจธรรม


สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาสอนไมใหถือชาติถือตระกูล ซึ่งเปนตนเหตุใหเปนมานะ หรือเปนตัวมานะเสียเอง ชาติถทฺโธ กระดางขึ้นเพราะชาติตระกูล ธนถทฺโธ กระดางขึ้นเพราะมีทรัพย โคตฺตถทฺโธ กระดางขึ้นเพราะโคตร แตพระพุทธเจาทานไมใหถือตระกูล ไมใหถือยศศักดิ์ มาเปนมานะ อันเปนเหตุใหยกตนขมผูอื่น แตวาทรงสอนใหถือธรรมเปนหลัก ถือเอาความประพฤติเปนหลัก ใหถอื เอาคุณงามความดีเปนหลัก เปนสิ่งสําคัญอยางที่ตรัสไว ซึ่งปรากฏในสุนทริกสูตร พระไตรปฎกเลม 25 หนา 414 ขอ 359 วา มา ชาติ ปจฺฉ จรณฺจ ปุจฺฉ ทานอยาถามถึงชาติตระกูลเลย จงถามถึงความประพฤติดีกวา กฏฐา หเว ชายติ ชาตเวโท ไฟเกิดจากไมก็ตาม หรือเกิดจากอะไรก็ตาม มันเปนไฟแลวก็ใหสําเร็จประโยชนไดเหมือนกัน เพราะฉะนั้น นีจากุลีโนป มุนิ ธิติมา คนที่เปนมุนีมีปญญา มีความเพียร แมจะเกิดในตระกูลต่ํา อาชานีโย โหติ หิรินิเสโธ แตเปนคนกีดกันบาปไดดวยหิริ ก็เปนอาชาไนยได คือเปนคนที่ฝกแลว อาชานีโยคนที่ฝกแลว สัตวที่เปนอาชาไนยก็คือสัตวที่ฝกแลว ทนฺโต เสฏโฐ มนุสฺเสสุ ในหมูมนุษยดวยกัน มนุษยที่ฝกแลวนั่นแหละเปนมนุษยที่ประเสริฐที่สุด ไมใชสักแตวาเกิดมาเปนมนุษย เกิดมาเปนมนุษยแลววาเปนสัตวประเสริฐไมใช ตองไดรับการฝกแลวดวยธรรมเปนเครื่องฝก พระพุทธเจาทานเปน อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ เปนสารถีผูที่ฝกคนที่สมควรฝกไดอยางยอดเยี่ยมไมมีใครเสมอเหมือน คนฝกชางฝกมา เขาฝกเพื่อประโยชนของเขาเอง เพื่อเขาจะไดใชงาน แตพระพุทธเจาฝกคนเพื่อประโยชนของคนที่ไดรับการฝก ไมใชเพื่อประโยชนของพระองคเอง ประโยชนของพระองคเองนั้นถึงที่สุดแลว ไมมีอะไรที่เปนประโยชนของพระองคเอง ตอไปก็มีชีวิตอยูเพื่อประโยชนของผูอื่น ทานเปนผูที่นาบูชาแคไหน นาเคารพนาบูชาแคไหนอยางไร แตศาสนาจะเจริญก็เพราะการปฏิบัติไมใชการบูชา อยาลืม เดี๋ยวก็ชวนกันบูชากันมากมาย ดอกไมหมดไปไมรูเทาไหร ธูปเทียนหมดไปไมรูเทาไหร แตละวันแตละเดือนแตละปไมรูเทาไหร เอาแตกราบๆไหวๆเอาแตบูชา แตวาปฏิบัติไมเอา อะไรที่ทานสอนไวใหทําอยางนั้นใหเวนอยางนี้ไมเอา ชอบทําแตเรื่องกราบๆไหวๆบูชา 23 ปปญจธรรม


แลวก็ไมปฏิบัติ โปรดอยาลืมวาศาสนาจะเจริญไดก็เพราะการปฏิบัติตามหลักของศาสนา ไมใชเพราะการบูชา เราชวนกันบูชาๆพอกลับมาบานแลวก็เหมือนเดิม ยังแยเหมือนเดิม ยังปฏิบัติสิ่งที่ไมดีอยูเหมือนเดิม ก็ไมมีประโยชนอะไร ผูที่ไมอยูในธรรม ไมสนใจในธรรม ไมปฏิบัติตามธรรม ก็เหมือนกับคนตาบอด แมจะเหยียบลงไปบนไฟที่สองทางก็ไมเห็น อนฺโธ ยถา โชติมธิฏฐเหยฺย เหมือนคนที่อยูกับธรรมแตไมเห็นธรรม ถาคนตาบอดแลว ไฟสองทางก็เหยียบได ทั้งลงไปแลวก็เหยียบไฟที่สองทางนั้นเอง ตาในบอดแลวก็เหยียบย่ําธรรม ดูหมิ่นธรรม ดูถูกธรรม ละเมิดตอกฎแหงธรรม แลวธรรมนั่นแหละจะลงโทษเอา อัสมิมานะ หรือมานะความทะนงตน ทําใหเกิดการแขงขันเอาชนะกันในทุกรูปแบบ ไมวาจะเปนการทํางาน การศึกษาเลาเรียน มีการแขงขันเอาชนะกัน และจะทําใหเครียด เสียสุขภาพจิต คนที่ไมมีการแขงขัน มีจิตเขมแข็งกวาคนที่คิดจะแขงขัน มนุษยเรายังทะเลาะชิงดีชิงเดนกันอยู มีสารัมภะ การแขงขันชิงดีชิงเดนทะเลาะกัน พระพุทธเจาทานเรียกวาสารัมภะ คือการแขงดี ไมใชแขงกันดี แตแขงดีวาใครจะดีกวากัน ใครจะเลวกวากัน เอาชนะกัน ใครจะเดนกวากัน แลวก็เครียดแลวก็โกรธกัน สังคมก็ยั่วยุใหมีการแขงขันดวย เพราะเอาวิถีแหงโลกซึ่งเต็มไปดวยความยุงเหยิงนั้นแหละเขามา ใหเชื้อแกไฟ ใหคนพัฒนาไปดวยการเอาตัณหามาเรง ไมใชเอาธรรมะฉันทะมาเรง คนก็เพิ่มพูนไปดวยตัณหา อยากดี อยากเดน อยากดัง อยากมีชื่อเสียง อยากชนะคนอื่น มันก็พัฒนาไปไมถึงไหนก็วนเวียนอยูแคนี้เอง สังคมก็ยั่วยุไปในทางนั้น แลวเกิดอะไรขึ้นกับสังคม ลองนึกดู ที่ดีกวา ที่เหนือกวา ก็คือไมมีการแขงขัน แตวาชวยเหลือกันใหประสบความสุข ความสําเร็จ ใหกาวหนาไปไดดวยการชวยเหลือกัน แตไมมีการแขงขัน 24 ปปญจธรรม


จะมีคําถามวา คนเยอะแยะไปหมดเลย ตองการสิ่งนั้น เชน ตองสอบแขงขันเขาเรียน สอบแขงขันเขารับราชการ มันเปนระบบที่จําเปนตองทําก็เอาเถอะ เพราะวาคนเปนจํานวนมาก ไมสามารถจะรับเอาไวทั้งหมดได ก็ใหเขาลองทําดู แตในใจผูที่เขาสอบแขงขัน ตองทําใจใหได ไปตั้งแตตน และอนุโมทนาตอผูอื่น ใครที่ไดกด็ ีเราก็อนุโมทนา เราไมไดเพราะความสามารถเราไมถึง ตองทําใจใหอยูก ับธรรมตั้งแตตน ไมตองการ ไดก็ดี ไมไดก็เปนกุศล เราสอนคนใหเขามีธรรมไปตั้งแตเด็ก ก็จะไดมีที่พึ่งไปตัง้ แตเด็ก ไมใชสอนใหเขาอยูกับอธรรมไปตั้งแตเด็ก พอแกแลวถึงจะมาสอนใหเขาอยูกับธรรม เขาอยูไมได ยางเหนียวมันติดมาตั้งแตเด็กจนติดกันเปนปกไปหมดแลว เหมือนยางมะตอย แลวจะมาดึงมันยากเหลือเกิน นอกจากวาคนที่มีวิธีฝกอยางยอดเยี่ยมและตัวของบุคคลผูนั้นเอง ก็ฝกตนอยางยอดเยี่ยม ตามหลักของพระพุทธเจาทานตรัสวา ผูชนะยอมจะประสบเวรหรือกอเวร ผูแพกน็ อนเปนทุกข เมื่อละความชนะและความแพไดแลวก็อยูเ ปนสุข ที่จะละความชนะความแพไดก็ เพราะวาไมแขงขันกับใคร ไมมีการแขงขัน มีแตความเพียรพยายามไปตามความเหมาะสม ไปตามฐานะของตน ไมแขงกับใคร การลดอัสมิมานะเปนสิ่งที่ทําได แตคนสวนมากยึดมัน่ อยูว า ทําไมได คือรูส ึกวา เปนเรื่องที่สูงเกินไป หรือเปนเรื่องที่ไมใชเรื่องของชาวบานหรือของคนธรรมดา แตความจริงสิ่งที่มันจะหมดไป หายไปจากใจของเขานั้น ตองคอยๆลด การปฏิบัติการกระทําอะไรตางๆในทางศาสนานี้ เปาหมายที่สําคัญประการหนึ่งก็คือ ลดอัสมิมานะ ลดความมีตัวตน ที่เรียกวาลดอัตตา แตคนสวนมากก็ยดึ มั่นอยูวาทําไมได ความรูสึกที่ยึดมั่นอยูวาทําไมไดนี้แหละ เปนสิ่งที่กีดขวางความเจริญในวิถีทางของชีวติ อยางรายแรง ทุกๆอยางไมใชเรื่องการลดอัสมิมานะหรืออัตตา ถาเกิดความรูสึกวาเราทําไมได สิ่งนัน้ ก็จะเขามากีดขวางทันที ตอความเจริญในวิถีทางแหงชีวิต คือถูกปดกั้นดวยความรูส ึกที่วาเราทําไมได ถาคิดตรงกันขามวาเราทําได แตเราตองรูจักคิดวา เราทําไดเทาที่เราทําได คืออยาไปคิดแขงขันกับใคร คนนั้นเขาทําไดเทานั้น เราตองทําได คนนัน้ เขาเกงอยางนั้น เราตองเกงเทาเขา อยาไปคิดอยางนั้น เราทําไดเทาที่เราทําได และเราบินไดเทาที่เราบินได เราพูดไดเทาที่เราพูดได เราเปนอยางไร 25 ปปญจธรรม


ใหเรารูจักตนอัตตัญุตา รูจักตนวาเราเปนอยางไร พื้นฐานเราเปนอยางไร เราก็จะทําไดเทาที่เราทําได อยางที่เราทําได อยาไปคิดเทียบกับผูอื่น ความสามารถสูงสุดของเรามีเพียงเทานีแ้ หละ เรายกน้ําหนักไดเทานี้ รถบรรทุกที่ขนาดมันผิดกันมันบรรทุกของไดไมเหมือนกัน ถาเผื่อเอารถบรรทุกของขนาดเล็กไปบรรทุกของขนาดใหญ มันก็พังหมด เราคอยๆขนคอยๆบรรทุกไปตามประสาของรถคันเล็ก ดีกวาทีจ่ ะบรรทุกลงไปเทากับรถบรรทุกใหญ คนที่รถบรรทุกใหญ บางทีกเ็ กินไป เพราะความอยากความปรารถนาความโลภ ทําใหบรรทุกเกินตอไปอีก ของมันก็เรี่ยราดอยูตามถนนบาง ถนนพังบาง ถนนมันแพงจะตายไป สรางดวยเงินที่แพงมาก รถบรรทุกเกินก็เพราะความอยากความตองการเกินขอบเขต เปนกันอยูเสมอ ก็ไมไดนกึ นึกแตเพียงความสําเร็จของตัวเอง นึกแตเพียงวา เราบรรทุกไดสําเร็จไปเทานั้น จะไดไมตองเสียเที่ยว แตเสียถนนนัน้ ไมไดนึก เสียถนนก็คือเสียภาษีอากรของตัวนั่นแหละ คนอื่นที่เขาไมไดทําใหถนนพังเขาก็เสียดวย ไมไดคิดถึงคนอื่น คิดถึงแตตัว ความตองการของตัว ก็อัตตานั่นแหละ อัสมิมานะนัน่ แหละ ไมมีอนัตตาเสียบาง ก็เลยทํารายสังคมโดยไมรูสึกตัววาทําราย ถาทํารายสังคมโดยไมรูสึกตัววาทําราย มันก็ทํารายไปเรื่อยๆ จนสังคมพังยับเยินกันไปหมด คนเราก็ทํานองเดียวกัน คือทําไดเทาที่เราทําได เราทําไดแคนี้ แตอยาลืม อยาขี้เกียจ ไมใชเอาแตขเี้ กียจแลวก็วาเราทําไดแคนี้ ตองขยันหมัน่ เพียร ใชเวลาเปนประโยชนที่สุด ใหสุดความสามารถ ถาเปนรถบรรทุก ก็บรรทุกเทาที่สามารถจะเปนไปได ไมนอยเกินไปจนเสียเทีย่ ว ไมมากเกินไปจนทําใหถนนพัง แลวตัวเองนั่นแหละก็จะพังดวย มานะเกิดขึ้นเพราะการเปรียบเทียบ ถาไมเปรียบเทียบมานะมันก็ไมเกิด เปรียบเทียบเรากับเขา เอามาตรฐานอะไรมาเปรียบเทียบ หรือถาจะเอามาตรฐานของเรา เขาก็ดอ ยเราก็เดน ถาเอามาตรฐานของเขา เขาก็เดน เราก็ดอย ผมเคยยกตัวอยางบอยๆวา คนตัดหญากับอธิบดี มาเปรียบเทียบกันอยางไร ถาเอามาตรฐานของการตัดหญาวาใครตัดไดเกงกวา อธิบดีสูคนตัดหญาไมได แตถา เอามาตรฐานของอธิบดี คือการบริหารงาน คนตัดหญาก็สูไมได พอเราเลิกเปรียบเทียบ มานะก็หมดไป ไมสูงกวาใคร ไมดอยกวาใคร ไมมีใครสูงกวาใคร ไมมีใครดอยกวาใคร ไมเสมอใคร มันไมมีเสมอกัน มันตองมีบางอยางที่ดีกวา และบางอยางที่แยกวา

26 ปปญจธรรม


ความเจริญไมไดหมายความวา เอาสิ่งหนึ่งใหเปนอีกสิ่งหนึ่ง ซึ่งไมใชตัวของมันเอง เราอยากเห็นสิง่ นั้นๆเจริญขึ้นตามวิถีของมันเองเหมือนเราปลูกมะมวงเอาไว เราก็อยากใหมนั เจริญขึ้นมาเปนมะมวง ไมใชใหมนั เจริญเติบโตขึ้นมาเปนทุเรียน ใหมันพัฒนาเปนมะมวงทีด่ ีที่สุด ไมใชเราปลูกมะมวงแลวใหมันเปนทุเรียนที่ดีที่สุด เปนไปไมได ในปา มันเปนปาอยูได ก็เพราะมีพันธุไมหลายหลาก ถามันพัฒนาตัวมันใหดีที่สุดตามพันธุของมัน มันก็เปนปาทีด่ ีที่สุด ที่สมบูรณที่สุด มีไมหลายหลากใหเราชม มีลูกหลายหลากใหเรากิน ในชุมชนก็เหมือนกัน ใครเขาไปทางไหน เกงทางไหนก็พัฒนาตนไปในทางนั้น ไมใชใหพั ฒนาไปเปนอีกอยางหนึ่ง ทานเปนพระก็ตอ งดีอยางพระ ทานจะเปนฆราวาสที่ดีไดอยางไร ชาวบานตองการเห็นพระดีอยางพระ จะไปดีอยางชาวบานก็ไมถูกตอง พัฒนาผิดแนวทาง ถาเปนชาวบานก็ตองดีอยางชาวบาน ถาจะดีอยางพระก็ไมใชทําตัวอยางพระ มันอยูไ มไดคือวาผิดปกติไป ก็ตองเปนฆราวาสที่ดี ลักษณะของฆราวาสที่ดีเปนอยางไร ก็ทําไปอยางนั้น เปนผูหญิงที่ดี เปนผูชายที่ดี เปนอยางไรก็เปนไปอยางนัน้ ไมใชผูชายเขาตองดีอยางนั้นๆ เราก็ดีอยางผูชายดวยก็ไมได ก็ตองดีอยางผูห ญิงนั่นแหละ แตก็ใหดีที่สุดอยางผูหญิง สังคมเราก็อยูไดอยางนี้ เด็กดีอยางเด็กแคนี้ก็พอแลวสําหรับเด็ก ก็ดีไป อยางดี ผูใหญก็ดีอยางผูใ หญ จะใหเด็กดีอยางผูใหญ ผูใหญดีอยางเด็ก มันทําไมได และก็ไมสมควรที่จะทํา ถาเราจะมีการเปรียบเทียบอะไร เราก็เปรียบเทียบกับอุดมคติของเรา เราไมเปรียบเทียบกับคนอื่น เปรียบเทียบอุดมคติของเราวา เวลานีเ้ ราใกลกับอุดมคติหรือวา เรายังหางอุดมคติ ถาเรารูสึกวาเรายังหางอุดมคติ เรารูสึกดอย แตถาเราใกลกับอุดมคติของเราเขาไป เราก็จะรูสึกพอใจ ถาเรารูสึกวาเรายังหางไกลอุดมคติเราก็จะไดเรงพัฒนาไปสูอุดมคติมากขึ้น ผมจะยกตัวอยางเรื่องพระพุทธเจากับปญจวัคคียใหฟง พระพุทธเจาทรงเลิกทุกรกิรยิ าดวยความคํานึงถึงอุดมคติของพระองคมุงสูอุดมคติ พระพุทธเจาเสด็จออกทรงผนวชมีอุดมคติวาเพื่อไปใหถึงพระสัมมาสัมโพธิญาณ ตองตรัสรู ตองรูสัจธรรมใหไดแลวก็จะนํามาชวยเหลือมนุษย นั่นคืออุดมคติของพระองค

27 ปปญจธรรม


เมื่อทําทุกรกิรยิ าเปนอันมากแลว อยางหนักแลว อยางที่เคยตรัสเอาไวในภายหลังกับพระสารีบุตรวา ไมมีสมณพราหมณผูใดจะทําทุกรกิริยาไดยิ่งยวดกวานี้อกี แลว อยางมากที่สุดก็แคทพี่ ระองคทรงทํานี้แหละ แตแลวก็ไมไดบรรลุอะไร พระพุทธเจายังมีเปาหมายเดิม คือจะตองบรรลุ จะตองแสวงหาสัจธรรม อุดมคติของพระองคอยูตรงนั้น การเปลี่ยนเลิกทุกรกิริยามาบําเพ็ญเพียรทางจิต เปนการเปลี่ยนวิธีการ เห็นวาวิธีการเดิมไมไดผลแลว ก็เปลี่ยนมาใชวิธีการใหม คือการบําเพ็ญเพียรทางจิต และก็ไดสําเร็จ พระองคมุงสูอุดมคติ แตปญ  จวัคคียคิดไปอีกอยางหนึ่ง ปญจวัคคียนนั้ ถือตามแบบเดิมวา สังคมสมัยนั้นเขาถือกันวา นักบวชนักพรตฤาษีมุนีทั้งหลายประสบความสําเร็จไดกด็ ว ยการทําทุกรกิริยา คือทําตัวใหลําบากดวยวิธีการตางๆ เพราะฉะนั้น เมื่อพระพุทธเจาเลิกทุกรกิริยา ปญจวัคคียก็คดิ วา พระสมณโคดมไมเอาไหน เลิกบําเพ็ญความเพียรเสียแลว แตที่จริงพระพุทธเจาทานเปลี่ยนวิธีการ แตจุดมุงหมายอุดมคติยังเหมือนเดิม ความคิดที่ตางกัน พระพุทธเจาไมทรงรูสึกวาดอยในการที่ทรงเลิกทุกรกิริยา เพราะพระองคไมเทียบพระองคกับใคร และไมเทียบใครกับพระองค แตวามุงสูอุดมคติ และเทียบกับอุดมคติวาเวลานี้ พระองคยังหางจากอุดมคติอยูมาก แตปญ  จวัคคียนนั้ เทียบกับฤาษีมนุ ีทั้งหลายวา เขาเปนอยูโดยบําเพ็ญทุกรกิรยิ า ประชาชนจึงเลื่อมใส มองดูใหดีก็จะพบวา การกระทําอยางพระพุทธเจานี้เปนความกลาหาญอยางยิ่ง ที่ทรงตัดสินพระทัยเลิกทุกรกิริยา ที่เปนทีน่ ิยมกันอยูใ นสมัยนั้นวาเปนทางของวิมุตติ คือความหลุดพน มีนักบวชนอยนักที่จะกลาเลิกสิ่งที่เคยทํากันมา ไมวาจะเปนเรื่องเล็กเรือ่ งนอยหรือเปนเรื่องใหญ เมื่อกอนนีก้ ารสอบบาลี ซึ่งเปนทางการของพระสงฆ เขาเรียกวา “สอบปาก” ทําในโบสถพระแกว กรรมการจะนัง่ ฟง ผูสอบก็ไปแปลใหกรรมการฟง จับสลากไดประโยคใดก็แปลประโยคนั้น

28 ปปญจธรรม


ตอมาสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ซึ่งเปนนักปราชญใหญของวงการศาสนาของไทย ทานเปนนองชายของรัชกาลที่ 5 ทานเปลี่ยนจากวิธีแปลปากมาสอบโดยการเขียน คือสอบพรอมๆกันทุกรูป โดยการแจกขอสอบให แลวก็เขียนแปล ใหมๆก็มีคนเขาตําหนิเหมือนกันวาไมสมควร คนที่หวั โบราณหนอย แตตอมาก็เห็นผลดี ก็ใชกนั มาอยูจนบัดนี้ ทานกลาที่จะเปลี่ยนแปลง คนที่จะเปนหัวหนาคนตองมีทาที่เปน Existancialist คือเปนคนที่หวั กาวหนา คิดอะไรไปไกล ไมไดคิดอยูเพียงวาเคยทํากันมา แลวก็ทํากันตอไป แตก็ตอ งคิดวา ทําอยางไรมันถึงจะดีกวาทีเ่ คยทํากันมา คนที่มีลักษณะเปนศาสดาทัง้ หลาย เราศึกษาประวัติของทานดู ทานจะมีทาทีเปน Existancialist ทั้งนั้น ทานจะไมพอใจกับสิ่งที่ทํากันอยู ทํากันแลวทํากันอีก แตวามองไมเห็นความกาวหนา หรือมองเห็นผลเสียกันอยูชดั ๆ แตวาไมมใี ครกลาเปลี่ยนแปลง เพราะหวั่นเกรงตอคําติเตียนของคนทั้งหลาย ไมกลาพอที่จะเสี่ยง ทั้งๆที่รวู าเปลี่ยนอาจจะดี แตวาไมกลา เพราะเกรงคําตําหนิครหา หรือยึดอยูกับรูปแบบที่เปนอยู ผมลองตั้งปญหาขึ้นสักขอหนึ่งนะครับ ถาเผื่อวาทานผูใหญในวงการศาสนา ไดฟงแลวหรือทราบแลวลองคิดดูวา (อันนี้เปนแตเพียงขอเสนอ ไมไดคิดอะไรมากนัก) วาเวลานีใ้ นสังคมไทยของเรา มีวันพระอยู 2 วัน คือวันพระมหานิกาย กับวันพระธรรมยุต วันพระมหานิกายก็จะตรงกับปฏิทินที่แพรหลายอยูโดยทั่วไป 8 ค่ํา 15 ค่ํา 8 ค่ํา 15 ค่ํา แตวนั พระธรรมยุตนี่จะหลังวันพระมหานิกายไป 1 วัน ทานคิดตามปกขคณนา คือคํานวณดวงดาวตามวิชาดาราศาสตร ก็จะคลาดเคลื่อนกันไปบาง บางทีแมแตวันมาฆะ วันวิสาขะในบางป ก็เคยมีที่ไมตรงกัน ในสังคมพุทธ ชาวบานก็รูสึกวา ทําไมวันพระของศาสนาพุทธจึงไมตรงกัน วันพระของทางมหานิกายวันหนึ่ง วันพระของธรรมยุตวันหนึ่ง ยิ่งปใหมนี่ยิ่งจะไมตรงกันเปนสวนมาก ถาเผื่อวาจะรวมใหเปนวันเดียวกัน จะเอาแบบธรรมยุต หรือแบบมหานิกาย อยางใดอยางหนึ่งลมเลิกอยางหนึ่งเสียเอาอยางหนึ่งไว ลมเลิกแบบมหานิกาย เอาแบบธรรมยุต หรือธรรมยุตเลิกแบบธรรมยุต มาเอาแบบของมหานิกาย ใหเปนวันพระวันเดียวกัน จะไดหรือไม ควรจะทําหรือไม ถาทําแลวจะมีผลเสียอะไร และผลดีนั้นมีอะไร ก็นาจะลองปรึกษากันดู

29 ปปญจธรรม


เพราะวาสิ่งเหลานี้ ผมคิดวาเปนสมมุติสัจจะ คือเปนสิ่งสมมุติกันขึ้น อยางวันพระของบางศาสนาก็เปนวันพฤหัสก็ได วันอาทิตยก็ได เอาวันใดวันหนึ่ง อันนี้คือเรื่องของศาสดา ความยึดถือก็เปนเรื่องยากทีจ่ ะลมเลิก ถาผูใดที่จะแกไขไดตองกลาหาญมาก ที่จะเสี่ยงตออะไรๆ แตถามีผลดีแลวก็กลาทําก็ดี อันนี้เพียงแตยกมาปรารภขึ้นใหเปนตัวอยาง วาพระพุทธเจาทานทํามาอยางไร ทานกลาหาญเพียงไร ที่จะกลาเสี่ยงกลาเลิก ดวยเรือ่ งวรรณะนั้นเขาถือกันเหลือเกิน แตพระพุทธเจายกเลิกระบบอันนัน้ แลวก็ปกครองสงฆใหเปนตัวอยางวาไมมวี รรณะ วาทานจะมาจากวรรณะไหนก็ตาม ฉันจะตั้งสังคมใหม ทานจะเปนกษัตริยมา เปนพราหมณมา ถามาบวชทีหลังจัณฑาลก็ตองไหวจัณฑาล เห็นไหมครับ ยากมากเลย ทีพ่ ระพุทธเจาทรงทําสําเร็จและยั่งยืนมาจนถึงทุกวันนี้ พระก็ยังถืออันนีก้ นั อยูวา ใครจะมาจากไหนก็ตามใจ คุณจะเปนอะไรมากอนก็ตามใจ ถามาบวชทีหลัง ตองเคารพกราบไหวพระที่บวชกอนตามลําดับพรรษา ก็ยงั่ ยืนมาจนบัดนี้ก็ดี ใครๆก็เห็นวาดี ถูกตองยอมรับ รับได เชน เปนรัฐมนตรีมาบวช อีกคนเปนสามลอมาบวช สามลอบวชมาแลว 20 ป ตองมากราบรัฐมนตรีซึ่งบวชในพรรษานัน้ ทานจะคิดอยางไร แตถาถือระบบวรรณะแบบกอนพระพุทธเจาทรงเลิกเรื่องนี้ ก็ตองนับถือคนที่วรรณะสูง ตองเคารพกราบไหวคนที่วรรณะสูง การที่จะเปนผูนําสังคม จะตองมีลักษณะอยางใด จะตองเปนคนที่เหมือนใบไมรวง หรือจะเปนเหมือนดวงดาว ก็ขอใหลองคิดดูวาถาเหมือนใบไมรวง ก็แลวแตลมจะพัดไป ลมพัดไปทางไหนก็ไปทางนั้น แลวแตกระแสโลกหรือกระแสของคนสวนมาก ไปทางไหนก็ไปทางนั้น คือวาไมไดถือธรรมาธิปไตย แตถือเสียงสวนมาก หรือกระแสสังคมไปทางไหนก็ไปทางนั้น แตคนที่เปนดวงดาว จะโคจรไปตามวิถีของตนตลอดเวลา เที่ยงตรง ยั่งยืนตลอดเวลา คนประเภทนีท้ ี่เปนที่บูชาของโลก ตัวอยางที่เรามองเห็นเยอะแยะไปหมดเลย ในประวัติศาสตรก็ดี ในสังคมทางศาสนาก็ดี คนที่จะเปนที่เคารพบูชาแหงโลก เปนคนทีเ่ ปนเสมือนดวงดาว ไมใชเปนเหมือนใบไมรวง

30 ปปญจธรรม


ในอินเดียนั้น รองจากพระพุทธเจาลงมา ก็คือทานมหาตมะ คานธี ทานก็เดินไปสูอุดมคติตลอดเวลา คือไมคํานึงถึงกระแสของโลก หรือกระแสของสังคม แตจะทวนกระแสถาสิ่งนั้นเปนสิ่งที่ถูกตอง มุงสูธรรมาธิปไตย คนสวนมากถาเผื่อโงก็ผิดได เสียงคนสวนมากไมใชวาจะเปนเสียงสวรรค ถาโงมันก็ทําความเสียหายไดมา อยางที่ในคัมภีรของเราก็พูดถึง ตอนที่พระพุทธเจายกยองพระสารีบุตรวาเปนผูเลิศทางปญญา แลวก็เลาใหฟง วาในสมัยกอนโนน พระสารีบุตรก็เคยเปนหัวหนาลูกศิษย ไดเคยแกปญ  หาตางๆไดแลว ลูกศิษยของอาจารยทานนัน้ ก็รองไหคร่ําครวญกันอยูเปนนานปวาอาจารยตายไป ลูกศิษยก็คดิ วาอาจารยไมไดอะไร ก็เลยไมไดทําสักการบูชา หัวหนาลูกศิษยคือพระสารีบุตรกลับมา ก็มาถามวาอาจารยพูดอะไรบาง ก็บอกวา อาจารยบอกวา นัตถิ กิญจิ ไมมีอะไร พระสารีบุตรคนเดียวที่รูความหมายที่อาจารยพดู รูวาอาจารยไดอากิญจัญญายตนะณาน เพราะบริกรรมวา นัตถิ กิญจิ นี่เปนตัวอยาง คนเปนพันคนรองไหคร่ําครวญอยู แตคนเพียงคนเดียวรูค วามหมายแหงคําพูดแลว ก็ประเสริฐกวา ใจความวาอยางนั้น เพราะฉะนั้น ขอใหมุงเอาความถูกตองหรือธรรมาธิปไตย ทานมหาตมะคานธี ทานก็มงุ อุดมคติเพื่อประชาชน จนถึงกับปฏิญาณวาชาวอินเดียทั้งหมด ยังไมมีเสื้อสูท ทานก็ยังไมสวมเสื้อ แลวก็นุงผาเตี่ยวผืนเดียว และหมผาผืนหนึ่ง แมไปเฝาพระเจายอรชที่ 5 ที่อังกฤษ ไปประชุมโตะกลมที่อังกฤษ ถึงเวลาตองเขาพระราชวังบักกิ้งแฮม ไปเฝาพระเจายอรชที่ 5 คานธี ใสรองเทาหนีบแบบพระ นุงผาเตี่ยวผืนเดียว มีผาหมผืนเดียว เขาไปเฝาได โดยปกติถาเปนคนอื่น ถือวาแตงตัวไมเรียบรอย เขาไมใหเขาเฝา และไมกลาทําอยางนั้น เพราะวามองดูกระแสของโลก โลกเขาไมนยิ ม ทําอยางนัน้ ไมได ไมกลาที่จะทํา แตทา นมหาตมะ คานธี ไมไดมองดูกระแสของโลก แตทานมองดูอุดมคติวา ทานมีอุดมคติเชนนี้ ทานรักษาอุดมคติของทานไว แลวทานก็ทําได พระเจาแผนดินอังกฤษในเวลานั้นก็ไมไดวาอะไร ใครตอใครก็ไมไดวา อะไร เขาเฝาได คานธีคนเดียวที่ทําอยางนี้ได นี่คือลักษณะของมหาบุรุษแทเลยทีเดียว ทานมหาตมะ คานธี จึงไดรับยกยองจากคนอินเดียเปนอันมาก ถาถือตามคํานักปราชญก็ถือวาทานเปนที่ 2 รองจากพระพุทธเจา ทานมหาตมะ คานธี เปนที่ยอมรับของโลกทั้งโลกเลยทีเดียว วาเปนมหาบุรุษของโลกที่หาไดยาก จนทานอัลเบิรต ไอสไตน กลาววา 31 ปปญจธรรม


อีกสัก 100-200 ปขางหนา หลังจากที่ทานมหาตมะ คานธี สิ้นไปแลว คนจะเชื่อหรือไมวาบุคคลเชนทานมหาตมะ คานธี นี่ไดเคยเกิดขึ้นมาในโลกนี้จริง และก็เดินเหินอยูในโลกนี้จริงๆ

32 ปปญจธรรม


โทษของมานะ กอนที่จะพูดถึงรายละเอียดของโทษของมานะ ผมขอเลาเรื่องๆหนึ่ง คือเรื่องของวิฑูฑภะกับวงศศากยะ พระเจาวิฑูฑภะ นี่เปนราชโอรสในพระเจาปเสนทิโกศลกับพระนางวาสภขัตติยา ราชธิดาของทาวมหานาม วงศศากยะ แตพระนางประสูตจิ ากพระมารดาซึ่งเปนนางทาสี รวมความวาเปนลูกของหญิงทาส แตมีพอเปนเจาในศากยวงศ เรื่องพระเจาวิฑูฑภะ เปนเรื่องเกี่ยวกับการลางแคน ที่ศากยวงศทําแกพระองค เรื่องที่พระเจาปเสนทิโกศล ไดพระนางวาสภขัตติยามาเปนมเหสีกน็ ารูทีเดียว ขอนํามาเลาไวแตโดยยอ วันหนึ่งพระเจาปเสนทิโกศล เมืองสาวัตถี ประทับอยูประสาทชั้นบน ทอดพระเนตรไปที่ถนน เห็นภิกษุหลายพันรูป (นี่ตามนัยอรรถกถา) กําลังเดินไปเพื่อฉันอาหารที่บานของอนาถบิณฑิกเศรษฐีบาง ของจุลอนาถบิณฑิกเศรษฐีบาง บานของนางวิสาขาและสุปปวาสาบาง เมื่อพระราชาทรงทราบก็มีพระประสงคจะเลี้ยงพระบาง จึงเสด็จไปเฝาพระศาสดา ทูลนิมนตพระพุทธองคพรอมดวยภิกษุสงฆใหไปเสวยพระกระยาหารที่พระราชนิเวศน 7 วัน พอถึงวันที่ 7 ก็ไดกราบทูลพระพุทธเจาวา ขอใหพระองคและสาวกของพระองค ไดรับอาหารในวังเปนประจํา พระพุทธเจาตรัสตอบวา ธรรมดาพระพุทธเจายอมไมรับอาหารประจําในทีแ่ หงเดียว เพราะวาประชาชนเปนอันมาก หวังการมาของพระพุทธเจา คือตองการใหพระพุทธเจาไปเสวยอาหารที่บานของเขาบาง พระราชาก็ขอใหสงภิกษุรูปหนึ่งมาแทนพระองค พระพุทธเจาทรงมอบหมายหนาที่นี้ ใหเปนของพระอานนท พระราชาทรงเลี้ยงดูพระสงฆดวยพระองคเอง มิไดทรงมอบหมายใหใครเปนเจาหนาที่แทนพระองค ทรงกระทําติดตอกันมาอีก 7 วัน พอวันที่ 8 ก็ทรงลืม เนื่องจากวามิไดทรงมอบหมายใหเจาหนาที่ไว จึงไมมีใครกลาทําอะไร กวาพระองคจะทรงระลึกไดก็เปนเวลานาน พระภิกษุกลับไปเสียหลายรูป ในวันตอมาก็ทรงลืมอีก ภิกษุสวนมากคอยไมไหวจึงไดกลับไปเสีย เหลืออยูจํานวนนอย

33 ปปญจธรรม


ตอมาอีกวันหนึ่ง ก็ทรงลืมอีก ภิกษุกลับไปหมด เหลือแตพระอานนทรูปเดียว เมื่อพระราชาทรงระลึกได ก็เสด็จมา ทอดพระเนตรเห็นแตพระอานนทเทานั้น ที่อยูเพื่อรักษาความเลื่อมใสของตระกูล ทรงเห็นอาหารวางเรียงรายอยูมากมาย แตไมมีพระอยูฉัน วันนัน้ ไดทรงอังคาสคือเลี้ยงพระอานนทเพียงรูปเดียว ทรงนอยพระทัยวาภิกษุสงฆของพระพุทธเจามิไดเอื้อเฟอ มิไดรักษาพระราชศรัทธาของพระองคเลย เมื่ออังคาสพระอานนทเสร็จเรียบรอยแลว ก็เสด็จไปเฝาพระพุทธเจา ทูลใหทรงทราบถึงเรื่องนี้ วาไดจัดแจงอาหารไวสําหรับภิกษุถึง 500 รูป แตมีพระอานนทเพียงรูปเดียวเทานัน้ อยูฉ ัน นอกจากนั้นไมอยู ทําใหของเหลือมากมาย ภิกษุสงฆมิไดเอื้อเฟอ มิไดรักษาพระราชศรัทธาของพระองคเลย พระพุทธเจามิไดตรัสโทษภิกษุสงฆแตประการใดเลย เพราะทรงเขาพระทัยทุกสิ่งทุกอยาง ตรัสกับพระเจาปเสนทิโกศล วา พระสงฆคงจะมิไดคนุ เคยกับราชตระกูล จึงไดกระทําดังนัน้ พระราชามีพระประสงคจะใหภิกษุสงฆ คุนเคยในราชตระกูล ทรงหาอุบายวาควรทําอยางไร ทรงดําริวา หากพระองคเปนพระญาติของพระพุทธเจา ภิกษุคงจะคุน เคย ก็ควรจะขอเจาหญิงแหงศากยวงศมาเปนพระมเหสีสักองคหนึ่ง จึงไดทรงแตงทูตถือพระราชสาสนไปยังกรุงกบิลพัสดุ ขอเจาหญิงองคใดองคหนึ่งมาเปนพระมเหสี ฝายศากยวงศถือตนวา สกุลสูงกวาพระเจาปเสนทิโกศล แตเวลานัน้ แควนโกศลเปนรัฐมหาอํานาจอยู ดูเหมือนวาแควนสักกะของศากยวงศ จะขึ้นกับแควนโกศลดวยซ้ําไป เมื่อเปนอยางนี้ พระเจาปเสนทิโกศลทูลขอเจาหญิง จึงทําความลําบากพระทัยใหแกพวกศากยะไมนอ ย ครั้นจะไมถวายก็เกรงพระราชอํานาจของพระเจาปเสนทิโกศล ครั้นจะถวายก็เกรงสกุลของพวกตนจะปะปนกับเลือดแหงสกุลอื่น ซึ่งต่ํากวาของพระองค มีอัสมิมานะ มานะความทะนงตน เมื่อประชุมปรึกษาเรื่องนีก้ ันนานพอสมควรแลว ทาวมหานามจึงเสนอที่ประชุมวา มีธิดาอยูคนหนึง่ ชื่อวา วาสภขัตติยา เปนลูกของทาสี เธอมีความงามเปนเลิศ พวกเราสมควรใหนางแกพระเจาปเสนทิโกศล ที่ประชุมเห็นชอบ จึงสงนางวาสภขัตติยาไปถวาย พระเจา ปเสนทิโกศลไมทรงทราบ จึงโปรดปรานเปนอันมาก พระราชทาน สตรี 500 ใหเปนบริวาร ตอมาพระนางประสูติพระโอรสพระนาม วิฑูฑภะ

34 ปปญจธรรม

วา


ความจริงกอนจะใหทูตรับพระนางมา พระเจาปเสนทิโกศล ก็ทรงปองกันการถูกหลอกเหมือนกัน แตไมวายถูกหลอก คือทรงกําชับราชทูตไปวา จะตองเปนพระราชธิดา ที่เสวยรวมกับกษัตริย เชนทาวมหานาม ทาวมหานามไมขัดของ ทรงทําทีเปนเสวยรวมกับพระนางวาสภขัตติยา ใหราชทูตดู แตมิไดเสวยจริงๆ คงจะมีแผนใหเกิดเหตุอยางใดอยางหนึ่ง จนเสวยไมได ตองเลิกในทันทีทันใด เชนมีแผนใหมหาดเล็กวิ่งกระหืดกระหอบเขามาทูลวา ไฟไหมพระราชวัง ซึ่งจะตองเลิกเสวยในทันที เพื่อไปดูแลการดับไฟ แมพระนามวิฑูฑภะก็ไดมา โดยฟงมาผิด คือเมื่อพระกุมารประสูติแลว พระเจาปเสนทิโกศลสงราชทูตไปทูลขอพระนามพระกุมารใหมจากพระอัยยิกา พระเจายายพระราชทานวา วัลภา แปลวาเปนที่โปรดปราน แตราชทูตหูตึง ฟงวา วิฑูฑภะ พระเจาปเสนทิโกศลก็ทรงพอพระทัยตอพระนามนัน้ ตอมาเมื่อพระชนมายุได 16 วิฑูฑภะเสด็จเยี่ยมกรุงกบิลพัสดุ ความจริงพระมารดาพยายามทาบทามหลายครั้ง เพราะทรงเกรงพระราชโอรสจะไปทรงทราบความจริงเขา แตพระราชกุมารทรงยืนยันวาจะเฝาพระอัยยิกาใหได พระนางจึงรีบสงสาสนไปลวงหนากอน เพื่อใหพระญาติปฏิบัติตอวิฑฑ ู ภะอยางเหมาะสม แตพระนางก็ผดิ หวัง พระทิฏฐิมานะของพวกศากยะมากเกินไป เปนเหตุใหเกิดเรื่องใหญฆาฟนกันลมตายในภายหลัง เมื่อทราบขาววา วิฑูฑภะกุมาร จะเสด็จเยีย่ มกรุงกบิลพัสดุ ทางศากยวงศก็ประชุมกันวาจะทําอยางไร พวกเขาไมลืมวาพระมารดาของวิฑูฑภะนัน้ เปนธิดาของนางทาสี ตัววิฑูฑภะเอง แมจะเปนพระราชโอรสของพระเจาปเสนทิโกศลก็จริง แตฝาย มารดาวรรณะต่ํา วิฑูฑภะจึงมิไดเปนอุภโตสุชาติ คือเกิดดีทั้งสองฝาย พวกเขาไมสามารถใหเกียรติอยางลูกกษัตริยไ ด จึงจัดแจงสงพระราชกุมารที่พระชนมายุนอ ยกวาวิฑฑ ู ภะออกไปชนบทหมดเปนการชั่วคราว ทั้งนี้เพื่อมิใหตองทําความเคารพบุตรของทาสี เมื่อวิฑูฑภะเสด็จถึง ทางกบิลพัสดุก็ตอนรับพอสมควร พระราชกุมารเที่ยวไปไหวคนนั้นคนนี้ ซึ่งไดรับการแนะนําวาเปน ตาเปนยาย เปนลุง ปา นา อา พี่ เปนตน แตไมมีใครสักคนเดียว ที่ไหวพระราชกุมารกอน เมื่อวิฑูฑภะถาม ผูใหญก็บอกวารุนนองๆ ไดไปตากอากาศในชนบทกันหมด ไมมีใครอยูเลย

35 ปปญจธรรม


วิฑูฑภะก็เก็บเอาความสงสัยไวในใจ พระองคประทับอยูเพียง 2-3 วันก็เสด็จกลับ พกเอาความสงสัยติดพระทัยไปดวยวา เหตุไฉนพระองคจึงไดรับการตอนรับอยางชาเย็นถึงขนาดนั้น ขณะที่เสด็จออกจากวังแลวนั้น บังเอิญนายทหารคนหนึง่ ลืมอาวุธไว จึงรีบกลับไปเอา และเห็นหญิงคนใชคนหนึ่งกําลังเอาน้ําเจือดวยน้ํานมลางแผนกระดานที่วิฑูฑภะประทับ ปากก็พร่ําดาวานี่คือแผนกระดานทีว่ ิฑฑ ู ภะ บุตรของนางทาสีนั่ง การเอาน้ําเจือดวยน้ํานมลางนั้น ถือวาเปนการลางเสนียดจัญไรใหออกไป นายทหารคนนั้นก็สอบถาม นางทาสีคนนัน้ ก็เลาใหฟง นายทหารทราบเรื่องโดยตลอด กลับมาถึงกองทัพก็กระซิบกระซาบบอกเพื่อนๆ เสียงกระซิบนีม่ ันเปนเสียงดัง อะไรที่อยากใหคนเขาเผยแผไปเรื่อยๆ เราก็กระซิบเสียหนอย แลวก็แถมวา “อยาบอกใครนะ” อยางนี้มนั ไปเร็วจนรูกนั ไปทั้งกองทัพ พระราชกุมารทรงทราบดวย เปนครั้งแรกที่ทรงทราบกําเนิดอันแทจริงของพระองค วาสืบสายมาอยางไร ทรงพิโรธมาก อาฆาตพวกศากยะไววา เวลานี้ขอใหพวกศากยะลางแผนกระดานที่เรานั่งดวยน้ําที่เจือดวยนม ถาเมื่อใดเราเสวยราชสมบัติในแควนโกศล เราจะกลับไปลางแคน โดยเอาเลือดในลําคอกษัตริยศากยะลางแผนกระดานนัน้ เมื่อกลับไปถึงเมืองสาวัตถี พวกอํามาตยไดกราบทูลเรื่องทั้งปวงใหพระเจาปเสนทิโกศลทรงทราบ ทรงพิโรธมาก รับสั่งใหถอดพระนางวาสภขัตติยา และวิฑูฑภะออกจากตําแหนงพระมเหสีและพระราชกุมาร ทรงใหริบเครื่องบริหาร และเครื่องเกียรติยศทั้งปวง พระราชทานใหเพียงสิ่งของที่ทาสและทาสีควรจะใชเทานั้น ตอมาอีก 2-3 วัน พระพุทธเจาเสด็จมายังราชนิเวศน พระเจาปเสนทิโกศลทูลเรื่องใหทรงทราบ พระพุทธเจาตรัสปลอบพระทัยวา พวกศากยะทําเกินไปจริงๆ เมื่อจะถวายก็ควรจะถวายพระธิดาที่มีพระชาติเสมอกันจึงจะสมควร ครูหนึ่งผานไป พระพุทธเจาก็ตรัสตอไปวา แตวาอาตมาภาพขอถวายพระพรวา พระนางวาสภขัตติยานั้นเปนธิดาของขัตติยราช ไดรับอภิเษกในราชมณเฑียรของทาวขัตติยราช ฝาย วิฑูฑภะกุมารก็ไดอาศัยขัตติยราชประสูติ มหาบพิตร ตระกูลฝายมารดาไมสูจะสําคัญนัก สําคัญที่ฝายบิดา แมบัณฑิตในโบราณกาลก็เคยพระราชทานตําแหนงอัครมเหสีแกหญิงยากจนหาบฟนขาย และพระราชกุมารที่ประสูติจากพระครรภของสตรีนั้น ก็ไดเปนพระราชาผูยิ่งใหญในนครพาราณสี พระนามวา 36 ปปญจธรรม


กัฏฐวาหนะราช และทรงเลาเรื่องกัฏฐวาหริยชาดก แกพระเจาปเสนทิโกศล แตผมจะไมเลาตรงนี้ ใครตองการทราบก็ใหไปหาในพระไตรปฎกเลม 27 หนา 3 และอรรถกถาชาดกเลม 1 หนา 204 พระราชาทรงสดับกถาของพระศาสดาแลวก็ทรงเชื่อ จึงรับสั่งใหพระราชทานเครื่องบริหาร เครื่องเกียรติยศแกพระนาง วาสภขัตติยา และวิฑูฑภะกุมารอยางเดิม ตอมาวิฑูฑภะพระกุมาร ไดราชสมบัติโดยการชวยเหลือของทีฆการยะ เสนาบดี นี่กเ็ ปนเรื่องนาสนใจ จะเลาเสริมเขามาเพื่อเชื่อมกันสนิท และทราบที่ไปที่มาไดดี ฑีฆการยนะ นีเ้ ปนหลานของ พันธุลมหาเสนาบดี ซึ่งพระเจาปเสนทิโกศลวางอุบายใหคนของพระองคฆาเสีย โดยที่พนั ธุลมหาเสนาบดีมไิ ดมีความผิด แตเปนเพราะคนบางพวกยุยงวาพันธุลตองการแยงราชสมบัติในกรุงสาวัตถี พระเจาปเสนทิโกศลทรงเชื่อ มีเรื่องราวละเอียดนาสนใจ เมื่อพันธุลพรอมดวยบุตร 32 คนตายแลว พระเจาปเสนทิโกศลทรงทราบความจริงภายหลัง ทรงโทมนัสมาก ไมสบายพระทัย ไมมีความสุขในราชสมบัติ ทรงประทานตําแหนงเสนาบดีใหกับฑีฆการยนะ ผูเปนหลานของพันธุลเสนาบดี เพื่อจะเปนการทดแทนความผิดที่พระองคทรงกระทําไป ฑีฆการยนะ ยังผูกใจเจ็บในพระราชา วาเปนผูฆาลุงของตน คอยหาโอกาสแกแคนอยูเสมอ วันหนึ่ง พระเจาปเสนทิโกศลเสด็จไปเฝาพระพุทธเจาทีน่ ิคมเมทลุปะ ของพวกศากยะนั่นเอง ทรงใหพักไพรพลไวใกลพระอารามและเสด็จไปเฝาพระศาสดาแตพระองคเดียว ฑีฆการยนะไดโอกาส จึงมอบเครื่องราชกกุธภัณฑ คือเครื่องสําหรับกษัตริย 5 อยาง ใหวฑ ิ ูฑภะ และนําไพรพลกลับนครสาวัตถี มอบราชสมบัติใหวฑ ิ ฑ ู ภะครอง กลาวอยางสั้นๆวา วิฑูฑภะกับฑีฆการยนะรวมกันแยงราชสมบัติ ฝายวิฑูฑภะก็พอพระทัย เพราะตองการมีอํานาจสมบูรณอยูแลว เพือ่ จะลางแคนพวกศากยะไดเร็ว แตปนั้นก็เปนปที่พระเจาปเสนทิโกศล มีพระชนมายุถึง 80 แลว นับวาอยูในวัยที่ชรามาก เรารูไดจากพระสูตรบางสูตรที่พระพุทธเจาตรัสกับพระเจาปเสนทิโกศลวามีพระชนมายุเสมอกัน คือ 80 เชน ธรรมเจติยสูตร ก็ตอนนี้แหละที่มีการแยงสมบัติกันขึ้น ซึ่งเจติยสูตรเลาเอาไว 37 ปปญจธรรม


พระเจาปเสนทิโกศล เสด็จกลับจากการเฝาพระศาสดาทรงเห็นไพรพล มีเพียงมาตัวหนึ่งกับหญิงรับใชคนหนึ่งอยูท ี่นั่น ทรงทราบความแลว เสด็จไปยังเมืองราชคฤห เพื่อขอกําลังจากพระเจาอชาตศัตรู มาปราบวิฑูฑภะและมหาอํามาตย แตเสด็จไปถึงหนาเมืองราชคฤหในค่ําวันหนึ่ง ประตูเมืองปดเสียแลว ไมสามารถจะเสด็จเขาเมืองได จึงทรงพักที่ศาลาหนาเมือง และสิ้นพระชนมในคืนนั้นเอง เพราะความหนาว และทรงเหน็ดเหนื่อย ในการเดินทางและทรงพระชรามากแลว ตอนเชา เมื่อประตูเปดแลว ประชาชนชาวราชคฤหไดเห็นพระศพ และฟงเสียงหญิงรับใชคร่ําครวญวา ราชาผูเปนจอมชนแหงชาวโกศล จึงนําความนั้นกราบทูลพระเจาอชาตศัตรู พระเจาอชาตศัตรูผูเปนหลานก็ไดรับพระศพเขาไปถวายพระเพลิงอยางสมพระเกียรติยศ ฝายพระเจาวิฑูฑภะไดราชสมบัติเปนกษัตริยแลว ความแคนกระตุนเตือนอยูตลอดเวลา มิอาจจะทรงยับยั้งได จึงกรีฑาทัพเตรียมไปย่ํายีพวกศากยะ พระพุทธเจาทรงตรวจดูสัตวโลกเวลาใกลรงุ ทรงเห็นความพินาศจะมาถึงหมูพระญาติ มีพระพุทธประสงคจะบําเพ็ญญาตัตถจริยา คือการบําเพ็ญประโยชนเพื่อพระญาติ จึงไดเสด็จไปประทับ ณ พรมแดนระหวางโกศลกับศักกะ ประทับใตตนไมที่มีใบนอยตนหนึ่งทางแดนศากยะ ถัดมาอีกเล็กนอยเปนแดนของแควนโกศล มีตนไทรใหญใบหนารมครึ้มขึ้นอยู พระเจาวิฑูฑภะยกกองทัพผานมาทางนั้น ทอดพระเนตรเห็นพระศาสดาจึงเสด็จเขาไปเฝาถวายบังคมแลวกราบทูลวา เพราะเหตุไรจึงประทับใตตน ไมที่มีใบนอย ในเวลารอนถึงปานนี้ ขอพระองคไดโปรดประทับ ณ โคนตนไทรทีม่ ีใบรมครึ้ม มีเงาเย็นสนิททางแดนโกศลเถิด พระพุทธเจาตรัสตอบวา ถวายพระพรมหาบพิตร รมเงาของพระญาติเย็นดี พระเจาวิฑูฑภะทรงทราบทันทีวา พระบรมศาสดาเสด็จมาปองกันพระญาติ พระเจาวิฑูฑภะเองก็ทรงระลึกไดอยูว า การไดรับตําแหนงมเหสีของพระมารดา และการไดรับตําแหนงราชโอรสของพระองคเอง ที่ไดรับคืนมานั้น ก็เพราะวาพระผูม ีพระภาคเจาไดชวยเหลือ พระคุณนัน้ ยังฝงอยูในพระทัยคนที่มีความพยาบาทมาก มักจะมีความกตัญูดวยเหมือนกัน คือจําไดทั้งความรายและความดีที่ผูอื่นกระทําแกตัว พระเจาวิฑูฑภะจึงยกทัพกลับเมืองสาวัตถี 38 ปปญจธรรม


แตความแคนในพระทัยยังคุกรุนอยู พระองคจึงทรงกรีฑาทัพไปอีก 2 ครั้ง ไดพบพระศาสดาในที่เดียวกันและเสด็จกลับเหมือนครั้งกอน แตพอถึงครั้งที่ 4 พระพุทธเจาทรงพิจารณาเห็นบุพกรรมของพวกศากยะทีเ่ คยเอายาพิษโรยลงไปในแมน้ํา ทําใหสัตวตายอยูเปนอันมาก กรรมนั้นกําลังจะมาใหผล พระองคไมสามารถจะทรงตานทานขัดขวางได จึงมิไดเสด็จไปในครั้งที่ 4 พระเจาวิฑูฑภะเสด็จมาถึงพรมแดนนัน้ ไมทอดพระเนตรเห็นพระศาสดา จึงเสด็จเขากรุงกบิลพัสดุ จับพวกศากยะฆาเสียมากมาย ไมเวนแมแตเด็กที่กําลังดืม่ นม ทําใหธารโลหิตหลั่งไหลไป สั่งใหเอาโลหิตในลําคอของศากยะลางแผนกระดานที่เคยประทับนัน้ แลวเสด็จกลับสาวัตถี เสด็จมาถึงฝงแมน้ําอจิรวดีเวลาค่ํา จึงใหตงั้ คายพักที่นนั่ ไพรพลของพระองคก็เลือกนอนไดตามใจชอบ บางพวกนอนที่หาดทรายในแมน้ํา ถาน้ําลงหาดทรายในแมน้ํานอนไดสบาย บางพวกก็นอนบนบก พอตกดึก น้ําจะทวมหลาก พวกที่นอนบนบกแตไดทํากรรมไวรวมกันมา ก็ถูกมดแดงกัดลงไปนอนทีช่ ายหาด สวนพวกทีน่ อนที่ชายหาด ก็ถูกมดแดงกัดขึ้นไปนอนขางบนที่น้ําจะทวมไมถึง มหาเมฆตั้งเคาที่เหนือน้ํา ฝนตกใหญ น้ําหลากอยางรวดเร็ว พัดพาเอาพระเจาวิฑูฑภะ และบริวารบางพวกลงสูมหาสมุทร ตายกันหมด ในวันรุงขึ้น ภิกษุทั้งหลายคุยกันในธรรมสภาถึงเรื่องพระเจาวิฑฑ ู ภะวา เมื่อความปรารถนาของพระองคยังไมถึงที่สุด พอสิ้นพระชนมพรอมดวยบริวารเปนอันมาก คือสิ้นพระชนมในขณะที่ยังมีความปรารถนาอื่นๆอยูอีกมาก ไมเพียงแตพระเจาวิฑูฑภะ มนุษยอนื่ ๆ โดยทัว่ ไปก็ตายในขณะที่ยังมีมโนรสไมสมบูรณ คือยังปรารถนาจะทําอะไรๆอีกตั้งหลายอยาง ยังไมไดทํา ความตายก็มาถึงเสียกอน มนุษยสว นใหญตองตายในขณะทีย่ ังไมพรอมจะตาย พระพุทธเจาเสด็จมาสูธรรมสภา ทรงทราบเรื่องที่ภิกษุทงั้ หลายสนทนากันแลว ตรัสวา ภิกษุทั้งหลาย เมื่อมโนรสของสัตวทั้งหลายยังไมถึงที่สุด มัจจุราชคือความตายก็เขามาตัดชีวิตอินทรีย ชีวิตและอินทรีย อินทรียคือชีวติ เขามาตัดอินทรียคือชีวิตของสัตวทั้งหลายแลวใหจมลงสมุทร คืออบาย 4 ดุจหวงน้ําใหญหลากเขามาทวมชาวบานผูหลับอยูฉะนัน้

39 ปปญจธรรม


พระพุทธเจาตรัสดังนี้แลว จึงตรัสพระพุทธภาษิตวา ปุปผฺ านิเหว ปจินนฺตํ พยาสตฺตมนสํ นรํ สุตฺตํ คามํ มโหโฆ ว มจฺจุ อาหาย คจฺฉติ ซึ่งแปลความวามัจจุคือความตาย ยอมพัดพาเอาบุคคลผูมีใจของอยูในอารมณตางๆ ผูเลือกเก็บดอกไมคือกามคุณ 5 เหมือนหวงน้ําใหญ ไหลหลากพัดพาเอาชาวบานผูหลับอยูฉะนั้น ขออธิบายเพิ่มเติมนะครับวา ดอกไมในพระพุทธพจนทตี่ รัสถึงนี้ หมายถึงกามคุณ 5 มีรูปเปนตน ยั่วยวนใหพวกภมร กลาวคือมนุษยทั้งหลายหลงใหลใฝฝนวนเวียนอยู คนที่รูโทษของกามคุณแลวอยากจะออก แตมีเครื่องจองจําบางอยางเชนบุตร เปนตน คอยมัดมือมัดเทามิใหออกไปได สวนคนใหมทยี่ ังไมรูรสก็ถูกแรงกระตุน ภายในและภายนอก คอยกระตุนเรงเราใหอยากเขาไป ในที่สุดก็ตกอยูในภาวะอยางเดียวกันคือถูกจองจํา มีความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยลาเปนอันมาก คนในอยากออกคนนอกอยากเขา ที่เรียกวาเลือกเก็บดอกไม คือกามคุณอยูนั้น หมายความวาเมื่อไดกามคุณมีรูปเปนตนแลว ก็หาไดพอใจในรูปนั้นไปนานเทาไหรไม ใจก็ซัดสายไปในรูปในเสียงใหมตอไปอีก เห็นรูปนัน้ เสียงนั้นกลิ่นนัน้ ไมนาได อันนีน้ าไดนาเปน อันนี้นาเปนของเรา เหมือนคนเขาสวนดอกไม เห็นดอกไมสะพรั่ง ดอกนั้นก็นาเก็บ ดอกนี้กน็ าเก็บ นาชมเชยไปเสียหมด เรียกวาเปนผูหลงใหลอยูในสวนดอกไม นอกจากนี้ใจยังของในอารมณตางๆอีก เชน ความติดของในสมบัติตางๆ มีชาง มา วัว ควาย นา สวน บานเรือน เปนตน บรรพชิตก็ยังมีบริขาร มีบาตรและจีวร หรือเสนาสนะที่สวยงามเปนตน รวมทั้งติดของในอาวาสและความเปนใหญ ชื่อเสียงลาภสักการะและบริวาร อยางนี้ก็เรียกวาเปนผูมีใจของในอารมณตางๆ มัจจุคือความตายยอมจะพัดพาบุคคลผูนี้ไปยังหวงน้ําลึก คืออบาย 4 เหมือนหวงน้ําธรรมดาพัดพาชาวบานผูหลับอยู ไมรูสึกตัว ใหจมลงไปในแมน้ํา พัดพาออกสูทะเลลึก ตองเปนเหยื่อของสัตวน้ํา มีปลาราย เปนตน นี่คือขยายความพระพุทธภาษิตที่พระพุทธเจาตรัสวา มัจจุคือความตายยอมจะพัดพาเอาบุคคลผูของอยูในอารมณตางๆ ผูเลือกเก็บดอกไมคอื กามคุณ 5 อยู เหมือนหวงน้ําใหญพัดพาเอาชาวบานผูหลับอยูฉะนัน้ เพราะฉะนั้น จึงไมควรประมาทวาชีวิตยังอยู เรายังสามารถมีชีวิตอยูไดนาน ควรจะรีบขวนขวายทําสิ่งที่ควรทํา เวนสิ่งที่ควรเวน วันเวลายังมีอยูสําหรับคนอื่นก็จริง แตสําหรับตัวเราเอง จะมีเวลาสักเทาไหร พรุงนี้จะมีหรือไมสําหรับเรา ชั่วโมงหนาจะมีหรือไมสําหรับเรา วันหนาจะมีหรือไม เราตั้งคําถามใหกับตัวเองอยูเ สมอ ถาอยางนี้เราก็จะไมประมาท ไมมัวเมา ไมมีความทะนงตน เปนอุบายอยางหนึ่งที่จะลดอัสมิมานะลงมาได 40 ปปญจธรรม


เมื่อปลงอัสมิมานะลงมาไดแลว ไมดูถูกผูอนื่ ไมดูถูกตัวเอง ไมตองผูกไมตองแก อตฺตํ นิรตฺตํ น หิ ตสฺส อตฺถิ ความยึดถือและความปลอยวาง ไมมแี กทาน เพราะเหตุที่วา เมื่อไมมีการยึดถือ ก็ไมมีการปลอยวาง ไมตองแบกก็ไมตองปลง การแบกและการปลงภาระไมมแี กทาน ใครก็ตามที่ตองปลงภาระ ก็เพราะตองแบกเอาไว ถาสิ่งใดที่เราไมแบกก็ไมตองปลง อยางนี้กส็ บาย ไมมีอัสมิมานะ มีเทวตาภาษิตอยูบทหนึ่ง จากสังยุตนิกาย สคาถวรรค พระไตรปฎกเลม 15 ขอ 19 เปนเทวตาภาษิต ซึ่งพระพุทธเจาทรงรับรอง เพราะวาทานไปกลาวตอพระพักตรของพระผูมีพระภาคเจาวา ในโลกนี้ คนชอบถือตัว ยอมไมมีการฝกตน ถือตัวก็คือ มานะ ความทะนงตน คนมีใจไมมั่นคง ยอมไมมีความรู ผูประมาทแมอยูในปาคนเดียว ก็ขามพนมฤตยูไมได คือตองเวียนวายตายเกิดอยูนนั่ แหละ นี่เปนเทวตาภาษิต ในสังยุตนิกาย ผมขออธิบายเพิ่มเติม คนออนนอมถอมตัว ยอมจะฝกตนไดงาย เพราะเขาพรอมที่จะดูดซับสิ่งที่ดีเขาหาตัวอยูเสมอ สวนคนถือตัวมีมานะจัดกระดาง มองไมเห็นใครดีกวาตน หรือเสมอตน อันนี้ก็เห็นไปเองไมใชเปนความจริง คือเห็นวิปริตไป ไมใชตามความเปนจริง คนที่มีมานะจัด กระดาง มองไมเห็นใครดีกวาตนหรือเสมอตน ยอมจะมีความประพฤติที่ตรงกันขามกับคนออนนอมถอมตน จึงไมมกี ารฝกตน การฝกตนนั้นเปนสิ่งที่ดี พระพุทธองคทรงรับรองไววา ในหมูมนุษย ผูที่ฝกตนดีแลว ประเสริฐทีส่ ุด พระพุทธภาษิตที่ผมพูดบอยๆวา ทนฺโต เสฏโฐ มนุสฺเสสุ ในหมูมนุษยดวยกัน ผูที่ฝกตนดีแลว ประเสริฐที่สุด แตนอยคนนักที่จะฝกตนได คนสวนมากไมไดฝกตน ในสังคมมนุษยจงึ เกลื่อนกลนไปดวยคนไมมคี ุณภาพ

ในการฝกนั้น เราจะตองฝกตัวเอง คนอื่นทําใหหรือทําไดก็แตเพียงบอกทางฝกใหเทานั้น พระพุทธเจาตรัสสอนไววา ความเพียรสําหรับเผาบาป ทานทั้งหลายตองทําเอง ตถาคต (พระพุทธเจา) เปนผูบอกทางใหเทานั้น ตุมฺเหหิ กิจฺจํ อาตปฺป อกฺขาตาโร ตถาคตา อันนี้เราไดยินบอย มีพระพุทธภาษิตเต็มๆ อยูในขุททกนิกาย พระไตรปฎกเลม 25 ก็นาสนใจ อยูในมรรควรรค ผมจะอานที่แปลเปนภาษาไทย ดังนี้

41 ปปญจธรรม


บรรดาทางทั้งหลาย มรรคมีองค 8 เปนทางที่ประเสริฐที่สุด บรรดาสัจจะทั้งหลาย อริยสัจ 4 เปนสิ่งที่ประเสริฐที่สุด บท 4 ก็หมายถึงอริยสัจ 4 สจฺจานํ จตุโร ปทา บรรดาธรรมทั้งหลาย วิราคะ คือความปราศจากราคะ ทั้งในกามราคะ รูปราคะ อรูปราคะ ประเสริฐที่สุด บรรดาสัตวสองเทาทั้งหลาย พระพุทธเจาผูมีจักษุประเสริฐที่สุด ทางนี้ (หมายถึงมรรคมีองค 8) เปนทางที่เปนไปเพื่อความบริสุทธิ์แหงทรรศนะคือความรูความเห็น ไมใชทางอื่น ทานทั้งหลายจงปฏิบัติไปตามทางนี้เถิด จะทําใหมารหลง คือมารหาไมเจอ ทานทั้งหลายปฏิบัติไปตามนี้แลวจะทําที่สุดแหงทุกขได ทางที่เปนไปเพื่อความรู เพื่อสลัดลูกศรคือความโศกนี้ เราไดบอกไวแลว หลังจากนั้นก็จะมาถึง พระพุทธภาษิตตอนนี้ ตุมเหหิ กิจฺจํ อาตปฺป ความเพียรทานตองทําเอง อกฺขาตาโร ตถาคตา ตถาคตทั้งหลายเปนเพียงผูบอกทางเทานั้น ทานทั้งหลายมีความเพงพินิจใหดีแลวก็ปฏิบัติไปตามทางนี้ ก็จะพนจากการผูกพันหรือบวงของมารได นี่คือพระพุทธภาษิตเต็มๆ ในมรรควรรค ธรรมบท แตเรามักจะยกมาเฉพาะตอนทายนิดหนอยที่วา ทางความเพียรทานตองทําเอง พระตถาคตเปนแตเพียงผูบอก นี่ผมก็เอามาฝากใหเต็มเลยนะครับ นี่คือเรื่องการฝกตน เราจะตองมีการฝกตน เปนการทาทายการฝกตัวเปนเรื่องสนุกและทาทายสําหรับตัวเราเอง นอยคนที่จะระลึกถึงเรื่องนี้ นอมจิตไปอยางนี้ คือนอมจิตไปเพื่อการฝกตัว เปนที่นาเสียดาย เพราะวามันเสียโอกาสที่ไดเกิดมาเปนมนุษย และไดพบสิ่งดีงามคือพุทธศาสนา ซึ่งตองการใหเราฝกตน แตก็ไมไดฝกตน แตคนสวนมากก็มักจะทะนงตัววาตัวดีเสียแลว คนอื่นตางหากที่ไมดี จึงมุงไปฝกที่ผูอื่น แกที่ผูอื่น ไมไดฝกตน ไมไดมองตน ไมไดแกไขขอบกพรองที่ตน ซึ่งความจริงแลวการแกที่ตนนี่แกไดงาย งายกวาแกที่คนอื่น เมื่อตางคนตางมุงแกที่ผูอื่นแลวก็ยังแกไมได ไมไดแกที่ตัว ตนของแตละคนก็ยังบกพรองอยู ความบกพรองจึงแผไพศาลออกไปเกลื่อนกลนไปหมด คือมีแตความบกพรอง ไมมีความบริบูรณ 42 ปปญจธรรม


ที่จริงความบกพรองอยูที่ไหน ก็ตองแกที่นั่น ไมใชมัวแตโทษตนอยูฝายเดียว บางคนโทษแตตัวเอง ดูวาความบกพรองอยูที่ไหนตองแกที่นั่น ถาความบกพรองอยูที่ตัว ตองแกที่ตัว ถาความบกพรองอยูที่คนอื่น ตองแกที่คนอื่น เพราะวาถาเกิดมีปญหาบกพรองขึ้น เราคิดแตจะแกที่ตัว บางทีทําถูกอยูแลวแตมาแกที่ตัวเราเพื่อใหเขากับคนอื่นที่ผิด เราก็แกที่ถูกใหผิด แตวาคนสวนมากโดยทั่วไป ก็มักมองแตโทษของคนอื่นแมเพียงเล็กนอย ไมเห็นโทษของตัวแมมาก ที่พูดนี้ไมไดมีจุดประสงคอยางอื่น แตตองการใหแกขอบกพรองของตนกอน ถาชวยแกขอบกพรองของผูอื่นไดบาง ก็ขอใหแก แตวาอยาไปวุนวายกับเขามากเกินไปนักเลย ใหเกียรติเขาบางตามสมควร วางอุเบกขาเสียบาง มีเมตตาก็แลว กรุณาก็แลว มุทิตาก็แลว ก็วางอุเบกขาเสียบาง พระพุทธเจาทานตรัสวา ตนเปนที่พึ่งของตน คนอื่นใครจักเปนที่พึ่งได ผูที่มีตนฝกดีแลว ยอมจะไดที่พึ่งซึ่งไดโดยยาก พระพุทธภาษิตนี้ควรใสใจ และถือเปนอุดมคติทีเดียว คนที่จะเปนที่พึ่งได ก็เพราะวาตนของตนที่จะเปนที่พึ่งได ก็เฉพาะตนที่ฝกแลว ที่ยงั ไมไดฝกหรือวาฝกไมได ก็เปนที่พึ่งไมได มีแตจะทําใหคับแคนรําคาญทั้งแกตัวเอง ทั้งแกคนอื่น เหมือนรางกายที่มีโรครบกวน ก็มีไวเพื่อจะรําคาญ ไมใชเพื่อความสุขสําราญ ทานลองคิดดู โรคเกิดในกาย ไมมีประโยชนแกรางกาย มีแตทําลาย แตสมุนไพรเกิดในปา มีประโยชนแกรางกาย คนใกลชิดที่ไมเขาใจ เบียดเบียนทั้งกายและจิต จะมีประโยชนอะไร กลไกที่เขาใจใหความสุขความชื่นบานทั้งกายและจิตเมื่อเขาใกล มีประโยชนมากกวา แมนานๆครั้งก็ยังดี เหมือนสระน้ําที่ใสสะอาดเย็นสนิท อาบดื่มสบายแมอยูไกลสักหนอย ก็เดินไปหาได แตบอในบาน อาบก็คัน กินก็ไมได ทองอืดทองเสีย จะมีประโยชนอะไร แตวาถาเผื่อบอในบาน เปนบอที่มีน้ําใสสะอาด เย็นสนิทดื่มสบาย มันก็จะดีขึ้น อยูใกลดวยใหคุณมากดวย มันไมตองเดินไกล ไมตองเสียเวลา

43 ปปญจธรรม


แตมันเปนอาภัพของสังคมหรือของโลก ความอาภัพของครอบครัว คนที่อยูใกล มักไมคอยเห็นคุณคาของคนที่มีคุณคา คนที่อยูไกลกลับเห็นคุณคา บางทีเจานายมีลูกนองดีๆ ก็ไมเห็นคุณคา คนอื่นก็กลับเห็นคุณคาเอาไปใชได มันนาเสียดายเทาไหร ก็ตองมีปญญาดู รางกายจะอยูใกลกันหรืออยูไกลกัน ไมสําคัญหรอกครับ ความระลึกถึงกันดวยความสนิทใจ ไมเบื่อหนายตางหากที่ใหความชื่นใจอยูเสมอ ผูที่หวังความกาวหนาในการงาน การศึกษา และการปฏิบัติธรรม จึงจําเปนตองลดมานะลงทีละนอยๆ แลวก็ฝกตนใหเปนคนไมมีมานะ มีมนุษยสัมพันธดี คนที่มีมนุษยสัมพันธดี คือคนที่ใหเกียรติคนอื่น เขากับคนในสังคมได ไมกลาทําความชั่ว เพราะเห็นวาเรายังไมดีพอ ฝกตนใหเปนคนมีนิสัยดีงาม นาคบหาสมาคม ใครเขาใกลแลวไมคัน ไมรอน นิสัยที่ดีงาม จะหนุนใหเปนผูมีบุญวาสนาตอไป คือจะไดประสบความสําเร็จตามที่ตนตองการ คําวามีบุญวาสนานี้ก็คือไดประสบความสําเร็จตามที่ตนตองการ แตก็นาจะเพียงพอแลวสําหรับมนุษยเรา นอกจากนี้เราควรจะฝกตนใหเปนคนหมั่นสั่งสมความดีเสมอ เมื่อความดีเต็มเปยมแลว ตองการชะตาชีวิตอยางไร ก็ยอมจะไดอยางนั้น จึงไมควรทอถอยในการหมั่นฝกตนใหสั่งสมความดี เมื่อวานนี้ก็ไดคุยกับผูหนึ่งซึ่งมาหา เขาก็ทออยูในการทําความดี มีปญหามากมายที่ทําใหทอ บางคนจนถึงจะเลิกทํา ผมบอกวาอยาทําอยางนั้น ขณะที่เราทําความดี ยังไดเพียงแคนี้ ถาเราเลิกทําความดีแลว มันจะเปนอยางไร เขาถามวาเรื่องตางๆที่ทําใหทอนี่มันเกิดขึ้นกับผมบางหรือไม ผมบอกวาก็เกิดบางเหมือนกัน ผมเปนคนธรรมดา แตวาถามันเกิดทอขึ้นเมื่อไหร ผมตั้งใจวาจะทําความดีถวายพระพุทธเจา 44 ปปญจธรรม


คือไมนึกถึงใคร นึกถึงใครที่เขาจะใหความเปนธรรมแกเราหรือไม ใหความเปนธรรมแกเรา เขามองเห็นเราหรือไมมองเห็นเรา ก็ตั้งใจขอทําความดีถวายพระพุทธเจา เพราะวาไดประโยชนจากคําสอนของพระองคอยางเหลือลน ไมมีอะไรที่จะพรรณนาได ขอทําความดีถวายพระพุทธเจา แคนี้ก็พอแลว นอกจากนั้น ก็ใหแกประชาชนที่เขาชวยเหลือเราอยู โดยที่รูตัวบางไมรูตัวบาง เห็นตัวบางไมเห็นตัวบาง ทํานองนี้ เพียงคิดเทานี้ กําลังใจก็กลับมามหาศาลแลว ไมรูจักหมด ถาเผื่อเรารูจักคิด เพราะวาความดีมันเริ่มที่ใจกอน เราจึงตองทําใจใหเปนบุญเปนกุศลอยูเสมอ กายวาจาก็จะไดเปนกุศล ความสุขความสําเร็จก็จะตามมา เหมือนเงาตามตัว อยารีบรอนนัก คอยทําคอยไป ทําดวยใจสงบใจเย็น เหมือนตนไม เราเห็นตนไมอยูเสมอแตเราไมคอยเอาตัวอยางตนไม ตนไมมันทําหนาที่ ทําการงานดวยใจเย็นใจสงบ เราเขาใกลตนไมมันถึงเย็นเปนสุข นั่งใตรมไมสบาย ความดีมันมีอานุภาพประหลาด ก็พยายามทดสอบ พยายามดู คือใชชีวิตไปทดสอบความดีตางๆ ความดีมีอานุภาพประหลาดจริงๆ ขอใหทําดีดวยความตั้งใจบริสุทธิ์ใจ อยาไดมีสิ่งใดแอบแฝง แลวทานจะไดเห็นอานุภาพประหลาดของความดี มันนาชื่นใจจริงๆ ทานตองทําดวยความฉลาด อยาทําดวยความโง ถาทําดวยความโง ผลมันจะตีกลับออกมาอีกแบบหนึ่ง ทานตองมีปญญากอน แลวก็คอยทําคอยไป ทําดวยใจสงบ ดวยเหตุผล รูเทาทันเหตุการณ อะไรควรรุกก็รุก อะไรควรถอยก็ถอย ถาเราทําดวยใจสงบ สิ่งที่ทํา คําที่พูด จะสงบและจะไดมีคุณภาพ ไมเพอเจอไมหละหลวม เปนเข็มทิศชี้ทางแกตัวเอง และแกผูอื่นที่ไดพบเห็น ไดคบหาสมาคม มีสุภาษิตในทางพุทธศาสนาอยูบทหนึ่งที่ชอบมาก อป อตรญานานํ ผลาสา ว สมิชฺฌติ ความหวังผลยอมจะสําเร็จแกผูที่รูจักรอคอย ไมใจรอน คือเรามีโครงการขามชาติ หมายความวาเรามีโครงการอะไรแลว เราไมคิดระยะสั้น เราคิดระยะยาว ไมสําเร็จในวันนี้ สําเร็จในวันหนา ไมสําเร็จในเดือนนี้ สําเร็จในเดือนหนา ไมสําเร็จปนี้ สําเร็จปหนา หรือปตอๆไป 45 ปปญจธรรม


ไมสําเร็จชาตินี้ สําเร็จชาติหนา คือวาเอาเปนชาติๆกันไปเลย สักกี่ชาติๆก็ตั้งใจมั่นคงวาจะทําอยางนี้แหละ ทําตอไป แลวสิ่งที่เปนอุปสรรคที่มาขัดขวาง มันจะถอยตัวไปเอง มันจะแหวกออกไปเอง คนมีความตั้งใจมั่น ความเพียรมั่นคง มีความบากบั่นมั่นคง ที่เรียกวา อนิกขฺ ิตฺตธุโร กุสเลสุ ธมฺเมสุ ไมทอดธุระในกุศลธรรม มีจิตใจมั่นคง มาถึงตอนที่ 2 เชื่อมกันพอดีวา คนใจไมมั่นคงยอมไมมีความรู เพราะวาความรูนั้นจะมีแกผูใด ผูนั้นตองหมั่นเก็บหมั่นสะสมความรู เก็บเล็กผสมนอย วางไมได วางเขาตองเก็บความรู นั่งดูโทรทัศนนี่ เวลาโฆษณาเปนเวลาที่เขาหาความรูได และแมขอความในโทรทัศนหรือวิทยุนั้นเอง ก็มีขอความที่เราจดได เราก็จดวันที่ เดือน พ.ศ. เอาไว จดจากรายการอะไร จดเอาไว แลวเวลาจําเปนตองใช ทานเอาไปใชไดเลย อันนี้เปนขอมูลตางๆ หาความรูอยูเสมอ ก็จะไดความรูวันละเล็กวันละนอย บอยเขาก็จะเพิ่มพูนมากขึ้นๆ เหมือนเชือกที่ขวั้นกันเปนเกลียว วันละเกลียว รอยวันรอยเกลียว ทานลองคิดดู น้ําหยดลงทีละหยด 1 ปผานไปเปนอยางไร 2 ปเปนอยางไร ไมใชวา 1 ปก็เทาเดิม 2 ปก็เทานั้น อยางนี้ความรูไมเพิ่ม ถึงจะตายพรุงนี้ วันนั้นเราตองแสวงหาความรู ผมเคยคุยกับพระ ผมบอกวา ในฐานะที่เปนอาจารยสอนที่มหาวิทยาลัยสงฆ ผมบอกวา แมทานจะสึกพรุงนี้ อันนี้ทานจะตองทําหนาที่ของพระ เพราะวาเรายังตองกินตองใช ตองฉันตองใชเสนาสนะ ที่ชาวบานถวายตลอดเวลาที่ยังเปนพระอยู ตองขออภัยดวยที่นํามาเลา ที่จริงรายละเอียดมีมากกวานี้ เพราะฉะนั้น เราจะตองสะสมความรู ทางใดที่จะเกิดความรู ตองหมั่นสะสมความรูไปในทางนั้น บากบั่นไปในทางของตน ดวยจิตใจที่มั่นคงไมเปนคนจับจดโลเล การสะสมความรูตองใชเวลานาน 20-30-50 ป แลวแตอายุมันจะยืนไปถึงไหน แมพรุงนี้เราตองตาย เราจะตองแสวงหาความรู

46 ปปญจธรรม


จะตองทํากันไปตลอดชีวิตเลยทีเดียว ก็ยังไมถึงที่สุดของความรูในทางของตน เพราะยังไมรูอีกมากมาย เพราะฉะนั้น คนที่โลเลเหลาะแหละ จิตใจไมมั่นคงจับจดจึงไมมีความรูจริง คนที่รูจริง ตองเปนคนจิตใจมั่นคง

47 ปปญจธรรม


วิธีละมานะ คําวามานะในตําราพระไตรปฎกทานจะใชคําวา อหังการบาง มมังการบาง มานานุสัยบาง อนุสัยคือมานะ อหังการคือความยึดมั่นถือมั่นวาเปนเรา ความทะนงตัว มมังการก็คือเปนของเรา มันจะอยูในตัณหาคาหะ มมังการคือตัณหาคาระ ยึดอยูดวยอํานาจของตัณหา ในพระไตรปฎกเลม 14 มัชฌิมนิกาย อุปริปณณาสก ชวิโสธนสูตร ไดกลาวถึงปฏิปทาสําหรับที่จะละอหังการ มมังการ และมานานุสัยเอาไวเปนลําดับดังนี้ 1. มีศรัทธาในพระศาสดา ศรัทธานี่ที่กลาวในพระบาลีคือในชั้นพระไตรปฎกก็จะพูดถึงศรัทธาในตถาคตโพธิญาณ คือปญญา ศรัทธาเชื่อในพระปญญา ตรัสรูของพระพุทธเจา สําหรับ กัมมสัทธา วิปากสัทธา กัมมัสกตาสัทธา 3 อยางนั้น ไมมีปรากฏในชั้นพระบาลี แตเราไดทําเอาเงาๆ หรือขอความที่คลายๆทํานองนั้นมารอยเขา พวงเขามากับตถาคตโพธิสรัทธา เชน กัมมสัทธา เชื่อในพระพุทธเจา พระพุทธเจานั้นทานเปน กัมมวาที เราก็สอนใหมีกัมมสัทธา คือเชื่อกรรม ตามมากับ ตถาคตโพธิสัทธา เพราะฉะนั้น เบื้องแรกก็คือตองศรัทธาในพระศาสดา หรือในพระปญญาตรัสรูข องพระพุทธเจา ถามองในแงปฏิบัติก็คือ เชื่อวามนุษยฝกฝนได เพราะพระพุทธเจาเปนผูฝกตนเอง เอาชนะตนเอง บําเพ็ญเพียรดวยตนเอง และเอาชนะความทุกขได เอาชนะกิเลสได มนุสฺสภูตํ สมฺพุทฺธํ อตฺตทนตํ สมาหิตํ พระสัมมาสัมพุทธเจาเปนมนุษย แตทรงฝกพระองคแลว มีพระทัยมั่นคง เทวาป นํ นมสฺสนฺติ แมเทวดาทั้งหลายก็นมัสการนอบนอมพระองค เมื่อมีศรัทธาในสิ่งที่ถูกตอง ดํารงอยูในศรัทธาเชนนี้แลว ตอไปก็บําเพ็ญศรี เขาใกลสัตบุรุษ บําเพ็ญศีล เชน ศีลกรรมบถ ศีลระดับตางๆ จุลศีล มัชฌิมศีล มหาศีล ขอใหทานไปดูรายละเอียดในชวิโสธนสูตร แตศีลกรรมบถนี่ทานถือวาเปนธรรมสําหรับขัดเกลาในสันเลขสูตร มัชฌิมนิกาย พระองคทรงแสดงกุศลกรรมบถ 10 ในฐานะเปนธรรมเครื่องขัดเกลา 48 ปปญจธรรม


สําหรับฌาน 4 เบื้องตน นั่นเปน ทิฏฐธรรมสุขวิหาร แปลวาเปนธรรมสําหรับใหอยูสุขสบายในปจจุบัน ไมใชธรรมเครื่องขัดเกลา ฌาน 4 เบื้องปลาย ตั้งแต อากาสาณันจายตนะ เปนตนไป นั่นก็เปน สันตวิหาร เปนธรรมสําหรับอยูสงบ ไมใชธรรมเครื่องขัดเกลา เพราะฉะนั้น ทานที่ไปเลนทางสมาธิ ก็ขอใหคํานึงถึงเรื่องนี้ดวย ไมใชทําสมาธิได แลวจะเปนธรรม เปนเครือ่ งขัดเกลา

ธรรมเครื่องขัดเกลา ธรรมเครื่องขัดเกลานั้น ทานมุงถึงกุศลกรรมบถ ละนิวรณ 5 ทํานองนี้ไปจนถึงการละกิเลสตางๆ เชน อุปกิเลส 16 ได นี่เปนธรรมเครื่องขัดเกลา วิธีที่จะใหถึงธรรมเครื่องขัดเกลา มีสันโดษ อยูอยางสันโดษ มักนอย พอใจเทาที่จําเปน ไมเปนคนมักมาก อยูเทาที่จําเปนตองอยู ทางโลกนี่ไมคอยไดสอนใหเราดับความตองการ มีแตจะยั่วยุใหเราตองการมากขึ้นๆ ศิลปะการโฆษณาตางๆ ก็ยั่วยุใหคนตองการ ใหบริโภคมากขึ้นๆ จนเราอยูในสังคมบริโภคนิยมโดยไมรูตัว มันก็ขัดกับหลักธรรมเปนเครื่องขัดเกลา ยิ่งมีมากก็ยิ่งอยากมากเหมือนไฟไดเชื้อ ก็สอนศิลปะในการแสวงหา จะแสวงหาอยางไรจึงจะไดมากกวาคนอื่น สามารถที่จะเอาเปรียบคนอื่นได ไมสอนศิลปะในการลดความตองการ เพื่อที่จะไดไมตองวิ่งตามความอยาก เพื่อจะไดพนจากบวงของความทะยานอยาก นี่ก็เปนเรื่องทางโลกที่เปนอยางนั้น ถาเปนทางธรรม มันก็ตองพยายามที่จะลดความอยากความตองการ มีความสันโดษ กินอยูเทาที่จําเปน ในตะวันตกก็มี เฮนรี่ ทาโร นักคิดชาวอเมริกัน อยูที่ สวีเดน เปนคนที่มักนอยที่สุด อยูงายๆที่สุด ตั้งแตอายุยังนอย 27-28 ก็ละทิ้งจากความฟุมเฟอยทั้งหลาย ไปสงบอยูในกระทอม ปลูกถั่วกิน มีของนอยที่สุด ใชชีวิตอยางนอยที่สุด มีเกาอี้รับแขก 2 ตัว เปนกระทอมนอยๆ

49 ปปญจธรรม


มีสุภาพสตรีที่หวังดี เอาพรมเช็ดเทาไปให ไมรับ บอกไมตองหรอก ใชกอนหินก็เช็ดได อยูอยางงายที่สุด จําเปนที่สุด ก็จะพบวามันไมมีอะไรที่ตองการมาก เมื่อเราตั้งใจที่จะใชชีวิตอยางนั้น มีชีวิตอยูที่ไหนก็ไมสําคัญ สําคัญที่วามีชีวิตอยูอยางไร ความสําคัญมันอยูที่วาอยูอยางไร ไมใชอยูที่ไหน หรือวาเปนอะไรไมสําคัญ สําคัญวาเราทําอะไร ถาเปนนั่นเปนนี่เปนโนน เปนอะไรตางๆมากมายที่เขาใหเปน แตวาไมไดทําอะไรเปนชิ้นเปนอัน มันสําคัญเทากับคนที่วาไมไดเปนอะไร แตวาไดทําอะไรใหเปนประโยชนแกคนในสังคม ความเปนไมสําคัญเทากับการกระทํา สันโดษ คุณธรรมเครื่องขัดเกลา สําหรับละอหังการ มมังการ นามานุสัย ความสันโดษและสํารวมอินทรีย คือระวังอายตนะ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ ซึ่งพระพุทธเจาตรัสเรียกวามหาสมุทร เพราะมันลึก ผมยังปรารภกับบางคนวา ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ นีม่ ันเปนธรรมชาติที่มหัศจรรย โลกทั้งโลกมันอยูที่อันนี้ โลกทั้งโลกมันยอลงเหลือแคอายตนะ 6 นี่เอง ถาไมมีสิ่งนี้ก็เหมือนโลกทั้งโลกมันจะดับไปเลย มันจะไมมี แตถาไมสํารวมไมระวัง มันก็ดึงไปในทางเสื่อมเสีย ดึงไปในทางไมดี เหมือนในคัมภีรบาลี ทานเปรียบวา เหมือนเอาสัตว 6 ชนิดมาผูกติดไวกับตัว เชน นกมันก็จะบินไปในอากาศ หนูก็จะวิ่งเขารูในที่รก จระเขก็จะดึงเราไปลงน้ํา สุนัขจิ้งจอกก็จะดึงเราไปที่ปาชา สุนัขบานก็จะดึงเราไปในใตถุนหรือหลังบาน เราเอาเชือกผูกสัตว 6 อยางนี้ไวกับตัว มันก็จะดึงเราไป ถาเราตัดเชือกเสีย มันก็ไปตามปรารถนาของมัน แปลวาเราไมตองถูกดึง เปนอิสระอยูไดดวยตัวเอง นี่คือการสํารวมอินทรีย เพราะฉะนั้น ทานจึงกลาววาอินทรียของมนุษยในโลกนี้ทั้งมีประโยชนและไมมีประโยชน ที่ฝกดีแลวมีประโยชน ทีย่ ังไมฝกไมมีประโยชน อินทรียในที่นคี้ ือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ

50 ปปญจธรรม


บางคนบอกวา มีตาแลวไปดูสิ่งที่ไมควรดู บางคนบอกวาถาตาบอดเสีย กําไรตรงที่วาไมตองระวังตาในการที่จะทําความชั่วเพราะตา ถาหูหนวกก็ดีไปอยาง เพราะไมตองไปทําความชั่วเพราะหู ผมก็บอกวา ดีเหมือนกัน แตดีครึ่งเดียว ตาดีก็ไดดูสิ่งที่ควรดู ถาบอดเสียก็ไมไดดูสิ่งที่ควรดู เชนดูหนังสือ ถาตาบอดก็อานหนังสือไมได ถาหูหนวกเราจะใชประโยชนจากหูก็ใชไมได จะฟงธรรมทางวิทยุ ฟงใครพูดอะไรก็ไมไดยิน ก็เสียประโยชนไป เพราะฉะนั้น มันมีดีๆ อยูนี่แหละ ดีกวา เราก็สํารวมเอา ระวังเอา ฝกฝนเอา ใหมันดูสิ่งที่ควรดู ใหมันฟงสิ่งที่ควรฟง อยางนั้นไมดีกวาหรือ ฝกอินทรียใหใชประโยชนได ไมปลอยใหมันพยศหรือเปนโทษ คลายเรามีมีดอยู ทําใจเราใหดี มีดมันก็จะเปนประโยชนตลอดเวลาไมไปประทุษรายใคร เพราะวามันจะใชประทุษราย ก็เมื่อใจคิดประทุษราย ตอไปก็คือมีสติสัมปชัญญะ สัมปชัญญะคือความรูตัวปญญานั่นเอง บางคนมีปญญามาก สติตามไมทัน มันเลยกลายเปนคนลน บางคนมีสติมากปญญานอย ก็เลยกลายเปนคนทําอะไรไมได มันตองชวยกันทั้งสติสัมปชัญญะ คือตัวปญญา เวลาไปทําสมาธิ ที่จริงคืออบรมสติ พอมีสติดีแลว จิตมันก็เปนสมาธิ แตเรียกวาไปทําสมาธิ เอาเถอะก็เขาใจกันก็ใชได เปนแตเพียงสื่อความหมายเทานั้น ก็มีสติสัมปชัญญะ ประการตอมา ละนิวรณ 5 ไดก็ไดฌาน 4 นี่วาตามลําดับของพระบาลี ชวิโสธนสูตร ประการสุดทาย คือเห็นอริยสัจ 4 ตามความเปนจริง การเห็นอริยสัจก็เปนยอดของการปฏิบัติ แตไมใชเห็นงาย จํางาย ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค แตในภาคปฏิบัติ ปฏิบัติยาก แมแตเพียงเรื่องทุกข ก็ปฏิบัติไมได เพราะเห็นสิ่งที่เปนสุข ที่พระอริยะเห็นวาเปนสุข คนเห็นวาเปนทุกข ที่พระอริยะเห็นวาเปนทุกข คนทั้งหลายเห็นวาเปนสุข แมแตจะเห็นใหตรงในเรื่องทุกข มันก็ไมไดอยูแลว ไมตองกลาวคืบไปถึงตัณหาสมุทัยเหตุใหเกิดทุกข ที่จะตองไปละมัน ตัณหาซึ่งเปนขอหนึ่งในปปญจธรรม ที่จะตองไปละมันใหได มันเปนสิ่งที่ยากในการปฏิบัติ 51 ปปญจธรรม


งายในการที่จะจํา เขาใจก็คอนขางยากสําหรับคนที่มีพื้นฐานนอยไมไดเรียนมาโดยลําดับ สําหรับการปฏิบัตินั้น ตองยอมรับวายาก โดยเฉพาะอยางยิ่งปฏิปทาสําหรับการปฏิบัติ คือมรรคมีองค 8 ก็ยิ่งยากขึ้นไปอีกที่จะปฏิบัติใหสมบูรณ ใหเปนมรรคสมังคี จนสามารถที่จะเปนสัมมาญาณ เปนอริยมรรคญาณ ตัดกิเลสไดเปนเรื่องๆไป ยิ่งยากขึ้น เพราะวาคนสวนมากก็ไมคอยจะมีกําลังใจที่จะทําสิ่งนี้ เดินทางสายนี้ มันเปนทางสายเปลี่ยว เปน Alonley road ไมเปน Cloudy road ไมเปนทางสายที่ยัดเยียด ซึ่งคน เปนอันมากเดินกันเขาไปในทางสายนั้น แตวาทางนี้มันเปนทางสายเปลี่ยว เดินสบาย รมรื่น เหมือนเดินอยูคนเดียว บนถนนที่มตี นไมรมครึ้มไปตลอดทาง เดินสบาย ไมตองแยงกันหายใจ ลองเดินดูก็ได จะพบวามันเดินสบาย สวนทางกับทางที่เขาเดินกันเราก็คอยสบาย ทานลองทํางานดูก็ได สวนทางกับที่คนทั้งหลายเขาทําอยู คือเวลาเขาไปเราก็ไมไป เวลาเขากลับเราก็ยังไมกลับ เรากลับเวลาที่คนอื่นเขากลับหมดแลว มันก็สบาย ถนนมันวาง หรือปลาที่มันอยูในอางที่มีน้ําเยอะมีปลานอย มันก็วายสบาย อยูในอางที่เล็กๆแตมีปลาเยอะ มันก็ยัดเยียดกันกระทบกระทั่งกัน นี่คือธรรมสําหรับละมานะ อหังการ มมังการ มานานุสัย ตามนัยของชวิโสธนสูตร

ความถอมตน วิธีละมานะ มีอีกวิธีหนึ่งที่จะละมานะไดดีก็คือความถอมตน นี่เปนหลักทั่วไป ทําใหเราละอหังการ มมังการ มานานุสัย ความทะนงตน เพราะวาความถอมตนเปนสิ่งที่ตรงกันขามกับการมีมานะวาเกงกวาเขา ดีกวาเขา ยกตัวใหเลิศลอยกวาผูอื่น ผูใดก็ตามถาเผื่อยกตนขมผูอื่น และอวดวาวิเศษกวาผูอื่น ก็จะประสบความเสียหาย พายแพ ผูใดออนนอมถอมตน ก็จะประสบความสุขความเจริญ สังเกตดูที่ใบหนาก็ได ใบหนาเขาจะทอประกายแสงของความถอมตน น้ําเสียงก็บอกถึงความออนนอมถอมตน 52 ปปญจธรรม


บางทีการเขียนหนังสือถึงผูอื่น เชน เราเขียนหนังสือถึงใครสักคนหนึ่ง ทํานองวาเขียนถึงประวัติของบุคคลผูนั้นๆ แตวาถาไมระวังคนก็จะยกตัวติดเขาไปดวย ไมถอมตน ยกยองผูอื่นนั่นแหละ แตก็เปนการยกยองตัวเองไปดวย ประกายแสงของสิ่งนั้นมันจะออกมา ทําใหคนอานเขาจับได วาที่แทก็ตองการจะยกยองตัวเอง ไมใชการไปยกยองผูอื่น หรือมีการยกยองผูอื่นบาง แตจุดประสงคหลัก ก็คือยกยองตัวเอง อยางนี้ก็มี ความออนนอมถอมตน เปนสิ่งที่ตองอาศัยสติปญญา ควบคุมใหผูนั้นออนนอมถอมตัวได และจะทําใหเปนคนมีความดี มีบุญวาสนาขึ้นมา จากการที่มีความออนนอมถอมตัว โดยมีสติปญญาควบคุม นี่เปนสิ่งที่ตองมองเห็นประโยชน ถาเรามองไมเห็นประโยชน แลวก็ทนไปเปนวัวเปนควาย อยางนั้นมันก็ใชไมได ทําใหทําสิ่งที่ทําไดยาก ทําใหสละสิ่งที่สละไดยาก สิ่งที่จะตามมาก็คือจะไดสิ่งที่ไดโดยยาก ก็คือไดคุณธรรม ไดความดี ความถอมตนเปนรากแกวอยางหนึ่งของมนุษย ทําใหมนุษยเปนคนเจริญรุงเรืองขึ้นได โดยที่ไมมใี ครขัดขวาง ไมมีอุปสรรค ไมมีปญหา หรือมีปญหานอยที่สุด เพราะความออนนอมถอมตน นอกจากนี้ ความออนนอมถอมตนก็ทําใหไดพร 4 ประการ ตามที่พระทานใหพร ที่จริงแลวก็ตองปฏิบัติ อภิวาทนสีลิสฺส นิจฺจํ วุฑฺฒาปจายิโน จตฺตาโร ธมฺมา วฑฺฒนฺติ อายุ วณฺโณ สุขํ พลํ ธรรม 4 ประการ คือ อายุ วรรณะ สุข กําลัง วรรณะคือผิวพรรณหรืออาโรคิยะก็ได ความไมมีโรค วรรณะจะหมายถึงคําสรรเสริญก็ได ธรรม 4 ประการคืออายุ วรรณะ สุข พละ ยอมจะเจริญแกบุคคลผูมีปกติออนนอมถอมตน อภิวาทนสีลิสฺส มีปกติอภิวาไหวคนที่ควรไหว นิจฺจํ วุฑฺฒาปจายิโน ออนนอมถอมตนตอผูใหญ คือรูจักวาใครเปนเด็กใครเปนผูใหญ ไมมีปลาสะ ไมตีเสมอ ไมยกตนเทียมทาน ไมตีเสมอทาน รูจักวางตัว ออนนอมถอมตน นี่ก็เปนมงคล เอามงคลเขาตัว แลวก็ไดอานิสงสคือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ 53 ปปญจธรรม


ในที่บางแหง เชน ในวัตตบท 7 กลาวถึงวาเทวดาชั้นดาวดึงสยอมจะมีคุณธรรมเหลานี้ มีขอหนึ่ง มาตา เปติภรํ ชนฺตํ เลี้ยงมารดาบิดา กุเลเชษฐาปจายินํ เปนคนออนนอมถอมตน ตอผูใหญในตระกูล คนทีจ่ ะมีความออนนอมถอมตนไดก็จะตองเปนคนที่ฝกตน ปราบตัวเองได แตสวนมากทําไมได เพราะตัวมานะความทะนงตนจะคอยออกมาแสดงบทบาทของมัน ถาจะออนนอมถอมตน จะรูสึกดอย ความรูสกึ อันนี้ทําใหออนนอมถอมตนกับใครไมเปน ชอบอวดวิเศษ มานะวาสูงกวาเขา มานะวาเสมอเขา มานะวาต่ํากวาเขา อยางที่เคยพูดมาหลายครั้งแลว วาไมไดตระหนักถึงความเปนจริงวาคนทุกคนก็เปนไดอยางที่ตัวเปน ทําไดอยางที่ตัวทํา ไมมีใครที่จะเสมอกัน หรือต่ํากวาหรือสูงกวา โดยประการทั้งปวง ถาคิดอยางนี้ไมเปน มันก็ออนนอมถอมตัวไมเปน ก็ไดแตยกตนขมผูอื่น หรือมิฉะนั้นก็ยอมไปเลย คุกเขาไปเลย หมายความวาดูหมิ่นตัวเองไปเลย ซึ่งไมควรจะเปนอยางนั้น มองตนและผูอื่นตามความเปนจริง แตในการปฏิบัติตอผูอื่นก็มีมนุษยสัมพันธที่ดี ใหเกียรติแกคนทุกคนที่มาเกี่ยวของ มีความตระหนักรูวาคนที่อยูตอหนาเราเปนคนสําคัญที่สุดสําหรับเรา เราก็ใหเกียรติเขาได แตวาคนแบบนี้ตองยอมเหนื่อยหนอย จะตองปฏิบัติธรรมหมายความวา ไมเพียงแตพูด อาจจะพูดใหฟง ทําใหดู เปนอยูใหเห็น เด็กบางคนจะไมคอยรูประสีประสา ก็ยกตนขมผูอื่น เชนคนงาน เด็กบางคนไมประสีประสาก็พูดจาดูหมิ่นเขา แตถาผูใหญสอนเปนตักเตือนเปน ก็วาเราทําอยางเขาไดไหม ไปดูถกู เขานี่ เราทําสิ่งที่เขาทําไดไหม เด็กไดสติ ทําอยางเขาไมได การออนนอมถอมตนก็เกิดขึ้นในจิตใจของเด็ก และติดไปจนเขาเปนวัยรุน เปนผูใหญ เขาก็มีทาทีออนนอมถอมตน แมแตคนในบาน นั่นคือลักษณะที่เขาไปสะดุด ไปไดในสิ่งที่เขานึกไมถึง ก็ดีที่ผูใหญสอนเปน เพราะฉะนั้น การออนนอมถอมตน จึงเปนหลักสําคัญของชีวิตนํามาใชเพื่อการลดมานะ ลดความทะนงตน มันเปนสิ่งที่ตรงกันขาม

54 ปปญจธรรม


ทิฏฐิ ทิฏฐิ เปนปปญจธรรมขอสุดทาย ทิฏฐิ ที่เปนปปญจธรรมก็คือ มิจฉาทิฏฐิ หรือทิฏุปาทาน คือความยึดมั่นดวยทิฏฐิ มิจฉาทิฏฐิก็คือความเห็นผิด ความเห็นของคนเรา ก็มีอยู 2 อยาง คือถาไมเห็นถูกก็เห็นผิด เพราะฉะนั้น เราก็ตองพยายามประคับประคองใจใหมีความเห็นถูกเอาไว เพื่อความเห็นผิดจะไดไมเขามาครองใจ ถาเมื่อใดเราไมประคับประคองใจไวในสัมมาทิฏฐิ ก็จะไปในทางมิจฉาทิฏฐิ สมฺมาทิฏฐิ สมาทานา เพราะการสมาทานหรือยึดถือไวปฏิบัติซึ่งสัมมาทิฏฐิ สัตวทั้งหลายยอมพนจากทุกขทั้งปวงได สพฺพํ ทุกฺขํ อุปจฺจคํ ถึงความพนจากความทุกขได แตถาสมาทานมิจฉาทิฏฐิ ก็ไปทุคติแนนอน ผูที่เกิดมาแลวเปนมิจฉาทิฏฐิ คือความเห็นผิด วิปริต ผิดจากทํานองคลองธรรม เห็นชั่ววาเปนดี เห็นดีวาเปนชั่ว เห็นบาปวาเปนบุญ เห็นบุญวาเปนบาป อยางนี้เปนตน ก็จะเปนคนที่เกิดมาใหทุกขแกโลก อยางที่พระพุทธเจาตรัสไว ปรากฏใน อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต พระไตรปฎกเลม 20 ตอนตน หนา 44 ประมาณนั้น วาบุคคลจําพวกหนึ่งเกิดมาเพื่อใหทุกขแกโลกใหโทษแกโลกแกคนเปนอันมาก ใหทุกขใหโทษแกเทวดาและมนุษยทั้งหลายเปนอันมาก นั่นคือผูเกิดมาเปนมิจฉาทิฏฐิ ผูเปนมิจฉาทิฏฐิมีความเห็นวิปริต ทําใหคนเปนอันมากออกจากธรรมของสัตบุรุษ ที่เรียกวาพระสัทธรรม ตัง้ อยูในธรรมของอสัตบุรุษ คือตั้งอยูในธรรมที่ผิด ออกจากธรรมที่ถูกตั้งอยูในธรรมที่ผดิ ถาอยางนี้ ก็เกิดมาเพื่อใหทุกขใหโทษแกคนมาก แกเทวดาและมนุษย ที่จริงเขาเกิดมาทีแรกยังไมมีสัมมาทิฏฐิ หรือมิจฉาทิฏฐิ แตวาอาศัยอาเสวนะปจจัย คือความคุนเคย การเสพคุน หรือปรโต โฆษะแวดลอม ไดสิ่งแวดลอมที่ไมดี คบคนไมดี ไดสํานักไมดี ไดครูไมดี ลวนเปนอาเสวนะปจจัยทั้งนั้น ทําใหเปนปจจัยหนึ่งของมิจฉาทิฏฐิ

55 ปปญจธรรม


อีกอันหนึ่งคือ อโยนิโสมนสิการ คือตัวเขาเอง เปนปจจัยภายในในตัวเขาเอง คือพิจารณาโดยไมแยบคาย ไมพิจารณาโดยแยบคาย ทําใหเกิดมิจฉาทิฏฐิขึ้น ที่จริงทิฏฐิตามตัวแปลวาความเห็นเฉยๆ จะใหไปทางไหนก็เพิ่มสัมมาหรือมิจฉาเขามา ทิฏฐิมันเปนเหมือนหัวรถจักร หรือพวงมาลัยรถยนต เรือยนต หากวาหันไปทางไหน เรื่องอื่นๆก็จะตามมาเปนแถว เชน การทํา การพูด เปนตน ก็ตามมา จะเปนมิจฉาวาจาหรือสัมมาวาจาก็อยูที่ทิฏฐิของเขานั่นเอง ถาทิฏฐินั้นผิด ที่เรียกวามิจฉาทิฏฐิ การพูดก็ผิดการทําก็ผิด และยังมีความผิดอื่นๆอีกมาก คราวนี้หากวาไปชักชวนผูอื่นใหเห็นและทําอยางตน คนอื่นก็พลอยผิดไปดวย เหมือนหัวรถจักร วิ่งออกนอกราง รถพวงก็ตกรางไปหมด ที่เปนโทษรายแรงมากก็คือวา ผูที่เห็นผิดดวยตนเอง แลวก็ยังชักจูงผูอื่นใหเห็นผิดเปนชอบ ใหชังธรรม ใหชอบอธรรม ใหนิยมคนชั่ว ใหเกลียดคนดี เกลียดความดี นิยมความชั่ว พระพุทธเจาตรัสไววา มิจฉาทิฏฐิเปนยอดโทษ มิจฉาทิฏฐิ ปรมานิ ภิกฺขาว วชฺชานิ แปลวาโทษทั้งหลายมีมิจฉาทิฏฐิเปนอยางยิ่ง ถือเอาความวามิจฉาทิฏฐิเปนยอดของโทษ สัมมาทิฏฐิเปนยอดของคุณ นี่ขอความในอังคุตตรนิกาย พระไตรปฎกเลม 20 หนา 45 และตรัสวาเปนไปไมไดเลย ที่คนเปนมิจฉาทิฏฐิจะไปบังเกิดในสวรรค แปลวาตองตกนรกอยางแนนอน นอกจากนี้ ยังตรัสไวดวยวา มิจฉาทิฏฐิเปนมูลเหตุแหงอกุศลบาปธรรมตางๆอีกมากมาย เพราะฉะนั้น ผูที่มีภูมิปญญาก็พึงสังวรทิฏฐิของตนไวบาง อยาแสดงทิฏฐิอะไรที่มันเพี้ยนๆ ออกไปจากพระสัทธรรม หรือธรรมของสัตบุรุษ ไมใชถือตัววาไดเรียนมากไดมีภูมิปญญาตามที่โลกเขาสมมุติเขายกยอง แลวก็แสดงทิฏฐิเพี้ยนๆ ออกไปจากธรรมของพระอริยะ เดินสวนทางกับธรรมของพระอริยะ อยางนี้ก็นากลัว อาศัยฐานะ ตําแหนง ชื่อเสียงตางๆ ที่คนในโลกเขายกยองอยู แลวมาแสดงทิฏฐิเพี้ยนๆในสังคม ซึ่งสวนทางกับทิฏฐิความเห็นของพระอริยะ เปนสิ่งที่นากลัว

56 ปปญจธรรม


ถาแสดงทิฏฐิที่ไมดี ใหคนเห็นตามเชื่อตาม ทําตาม แลวก็บาปมาก ตราบใดที่คําสอนนั้นยังมีคนเชื่ออยู ปฏิบัติตามอยูก็ยังบาปอยูตราบนั้น มีเรื่องเลาแบบเปนเกร็ดขําๆ จะเชื่อหรือไมเชื่อก็ไดแลวแต นักประพันธคนหนึ่งกับคนกินเหลาคนหนึ่งไปตกนรกดวยกัน ยมบาลก็ปลอยคนกินเหลาออกไปกอน คนกินเหลาไดรับโทษพอแลว ขึ้นจากนรกไปกอน นักประพันธก็ทักทวงวา เราเปนนักประพันธ เขาเปนคนกินเหลา ทําไมเขาจึงพนนรกไปกอน ยมบาลบอกวาหนังสือของเอ็งยังอยูในโลกมนุษย ตราบใดที่หนังสือยังอยูในโลกมนุษย เอ็งก็ตองตกนรกอยูอยางนั้น คือเขียนหนังสือประเภทที่ตํารวจเขาจับอยูใหคนอาน ทําใหคนเปนมิจฉาทิฏฐิ ทําใหคนหลงผิด ทํานองนี้ มองในมุมกลับ ถาคนที่เขียนหนังสือใหคนเปนคนดี ชวยกันเผยแผธรรม ใหคนเปนคนดี มีความเห็นถูกตอง ก็จะมีผลตรงกันขาม เพราะฉะนั้น เรื่องทิฏฐินี่ก็ตองสํารวมระวังกัน คนที่เขียนหนังสือลามกอนาจาร ทำใหคนอานกําเริบในทางผิดศีลธรรม ก็ตองรับบาปอันนั้นไป มันคอนขางจะขายดี คนก็เลยทํา จิตใจคนก็โนมไปในทางนั้นอยูแลว ไหลลงต่ํา ยตฺถ กามนิปาตินํ ไหลลงต่ํา มันตองใชธรรมะเปนสิ่งที่ทวนกระแส ปฏิโสตคามิ นิปุณํ ธรรมะเปนสิ่งที่ทวนกระแสละเอียดออน คนหยาบเขาถึงไดยาก ตองขัดเกลาจิตใจใหเปนคนละเอียดออน ก็จะเขาถึงธรรมที่ละเอียดออนได วาความทุกขที่สุขุมตองเห็นดวยปญญาที่สุขุม ความสุขที่สุขุมก็เหมือนกัน มองเห็นดวยปญญาที่สุขุม ปญญาหยาบๆ มันมองไมเห็นความทุกขที่สุขุม หรือความสุขที่สุขุม เห็นไดแตความทุกขหยาบๆ ความสุขหยาบๆ เพราะปญญาหยาบ ฉะนั้น เราตองพยายามพัฒนาปญญา เพิ่มพูนปญญา อบรมปญญา ไดปญญาแลวก็จะไดอะไรอีกเยอะแยะไปหมดเลย สัมมาทิฏฐิมันเปนตัวปญญา มิจฉาทิฏฐิมันเปนตัวโมหะ ตรงกันขามอยูอยางนี้ มันก็มีอยางหยาบอยางละเอียด

57 ปปญจธรรม


ทิฏุปาทาน ความยึดมั่นในทิฏฐิ ทิฏฐิในภาษาสันสกฤต เขาเรียกวาทฤษฎี theory ภาษาบาลีคือทิฏฐิ ขางหนาผมจะพูดถึงทฤษฎี วาพุทธศาสนามีความเห็นเกี่ยวกับทฤษฎีอยางไร ขอพูดสิ่งที่งายๆกอน ทิฏุปาทาน เปนวัตถุของความยึดมั่นของคนทั้งหลาย ความเห็นหรือทฤษฎีมักจะมองเห็นปญหาดานเดียว แลวก็เหมาเอาดวยความเขลาวาทั้งหมดเปนอยางนั้น เชน เรื่องที่กลาวถึงพวกตาบอดคลําชาง ในพระไตรปฎกเลม 25 ขอ 138 ก็เลาไววา พระราชาในนครสาวัตถี รับสั่งใหราชบุรุษนําเอาพวกตาบอดโดยกําเนิด มารวมกันที่หนาพระลานหลวง แลวก็ใหคลําชาง แตไมใหคลําทั้งตัว ใหคลําเพียงคนละสวนเทานั้น เสร็จแลวก็ถามวาชางเหมือนอะไร คนที่คลําถูกหางก็บอกวาชางเหมือนไมกวาด คนที่คลําถูกขาก็วาชางเหมือนเสาเรือน เปนตน ทุมเถียงกันดวยเสียงดัง วาคําของเราเทานั้นจริง คําของคนอื่นเปนเท็จ ก็โกรธกันจนถึงจะชกตอยกัน พระราชาก็ประทับทอดพระเนตร ทรงพระสรวลดวยความพอพระทัย ใหนําคนตาบอดพวกนั้นออกไป เมื่อพระพุทธเจาตรัสเลาเรื่องนี้ใหภิกษุทั้งหลายฟง เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลวา ออกไปบิณฑบาตในเมืองสาวัตถี คือภิกษุทั้งหลายกราบทูลกอน แลวพระพุทธเจาก็ตรัสเลาเรื่องตาบอดคลําชาง ภิกษุทั้งหลายออกไปบิณฑบาตในเมืองสาวัตถี ไดยินพวกสมณะเจาลัทธิทั้งหลายนั่งเถียงกันดวยเสียงดัง วาทิฏฐิหรือทฤษฎีของเขาเทานั้นถูก ของคนอื่นไมเปนจริง อิทเมว สจฺจํ โมฆมฺญํ สิ่งนี้เทานั้นเปนจริง สิ่งอื่นไมจริง นี่เปนหัวใจของสัจจาภินิเวส ยึดมั่นดวยอุปาทานวาสิ่งนี้เทานั้นเปนจริง สิ่งอื่นทั้งปวงไมจริง

58 ปปญจธรรม


พระพุทธเจาตรัสวา ศาสดาคณาจารยเหลานั้นลวนแตมองเห็นเพียงดานเดียว เอกทัสสิโน เห็นเพียงดานเดียว แลวก็ยึดมั่นในทิฏฐิของตน แลวก็วิวาทกันเหมือนพวกตาบอดคลําชาง พวกศาสดาคณาจารยทั้งหลายในสมัยนั้น สวนมากก็ใชวิธีเก็งความจริงทางปรัชญา หรือทางอภิปรัชญา เปน Phylosophical speculation หรือ Metaphysical speculation แลวก็ยืนยันทฤษฎีของตนโดยมิไดรแู จงเห็นจริงดวยตัวเอง จึงมองปญหาแคบดานเดียว และมืดมัวและเดา แตถึงกระนั้นก็ยังยึดมั่นในทฤษฎีของตนไวดวยความเขลา เปนการปดกั้นตนเองไมใหกาวไปขางหนา และขังตัวเองอยูในหองแคบๆ หรือทิฏฐิของตัวนั่นเอง ถาเปนทิฏฐิที่ชั่วชาลามก ก็จะยิ่งเปนโทษใหญ ไมใชเปนโทษแกตัวเองเพียงคนเดียว เปนโทษแกคนอื่นเปนอันมากที่เชื่อตาม ถือตามปฏิบัติตาม พระพุทธเจาตรัสวา ทรงมองไมเห็นสิ่งใดที่เปนโทษมากเทากับมิจฉาทิฏฐิ คนผูเปนมิจฉาทิฏฐิเกิดมาเพื่อจะใหโทษแกโลก ทรงมองไมเห็นสิ่งใดที่เปนคุณมากเทาสัมมาทิฏฐิ ผูเปนสัมมาทิฏฐิ เกิดมาเพื่อเปนประโยชนแกโลกประโยชนแกคนมาก ผูศึกษาพุทธศาสนาบางคน มองพระธรรมของพระพุทธเจาเพียงดานเดียว แลวก็ติดอยูเฉพาะในสวนนั้น ปฏิเสธสวนอื่นๆเสียหมดเลย ทัง้ ๆที่ตามความเปนจริงแลว พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมเปนอเนกปริยาย (manysides view) มองไดหลายดาน เพื่อประโยชนแกบุคคลทุกระดับชั้น ตามภูมิปญญาของเขา เทาที่เขาพอจะรูได และนําไปปฏิบัติใหเกิดประโยชนแกตนเองตามสมควรแกฐานะ ถาเผื่อมองโดยปริยายเดียวดานเดียว ก็เปนประโยชนแกคนกลุม เล็กๆ บางทีก็ทําใหรอนตัวรอนวิชา ไมเย็น นักศึกษาสมัยใหมบางคนสําคัญตนวาเปนผูเขาใจพุทธศาสนาดี ถูกตอง ตรง เลื่อมใส พระพุทธวจนะพระสูตรใดพระสูตรหนึ่ง แลวปฏิเสธสวนอื่น ซึ่งไมใชสวนนั้นวาไมใชพุทธศาสนา ถาจะใหเปนพุทธศาสนาแลวก็ตองตรงนั้นเทานั้น คลายมองตนไมไมมองหมดทั้งตน ตนพุทธศาสนาก็ตองเปนพุทธศาสนาทั้งตน ตนไมทั้งตน มิฉะนั้นก็เถียงกันตาย เชนบางคนก็เอากิ่งมะมวงมาแลวบอกวานี่คือมะมวง บางคนเอาลูกมะมวงมาบอกนี่คือมะมวง บางคนเอาเปลือกมะมวงมาบอกนี่คือมะมวง 59 ปปญจธรรม


แลวก็เถียงกันวานี่เทานั้นคือมะมวง อยางอื่นไมใช ที่จริงมันใชทั้งนั้น แตมันคนละสวนของมะมวง เรามองมะมวงเราก็ตองมองเห็นหมดทั้งตน จึงจะรูวานี่คือมะมวง ทั้งหมดนี้ประกอบกันเปนมะมวง ไมใชถือเอาสวนใดสวนหนึ่ง และปฏิเสธสวนอื่นวาไมใช มองพุทธศาสนา ก็ตองมองทั้งระบบของพุทธศาสนา บางคนไมไดเปนอยางนั้น แตมองสวนเดียว เชนเลื่อมใสกาลามสูตร หรือเกสปุตตสูตร นี่เราไดยินกันบอยๆ วาไมควรเชื่อหรือรับเชื่อดวยเหตุ 10 อยาง รวมทั้งไมควรเชื่อในฐานะที่พวกนั้นเปนครูของเราดวย ในที่สุดก็ไมเชื่ออะไรเลย เขาไมไดเอื้อเฟอตอคําสอนอื่นๆของพระพุทธเจา ที่สอนใหมีศรัทธา เชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ บุคคลที่ควรเชื่อ ไมไดนึกวากาลามสูตรนั้น พระพุทธเจาทรงแสดงเปนกรณีพิเศษ เฉพาะเรื่องเฉพาะคราวเทานั้น เฉพาะแกกลุมคนกลุมนั้นเทานั้น ก็เปนธรรมสัจจะ ไมใชสัจธรรม บางคนก็ไปติดอยูใน จุฬมาลุงกโยวาทสูตร ที่พระพุทธเจาไมทรงแกปญหาเรื่องโลก และเรื่องชีวิตวิญญาณวาหลังจากตายแลวเปนอยางไร และยืนยันมั่นคงอยูในจุฬมาลุงกโยวาทสูตร แลวก็ปฏิเสธสวนอื่นๆเสียทั้งหมด อางพระสูตรอยูพระสูตรเดียว วาพระพุทธเจาไมทรงสนพระทัยวาตายแลวเกิดหรือไมเกิด แตทรงแสดงไวในที่อื่นมากมาย เกี่ยวกับการเวียนวายตายเกิด เขาไมสนใจฝงใจอยูแตพระสูตรนั้นเทานั้น ยึดมั่นดวยทิฏฐิวานี้เทานั้นถูกตอง อยางอื่นเหลวทั้งสิ้น อิทังเมวสัจจัง โมฆมัญญัง พระพุทธเจาตรัสเรียกสิ่งนี้วาสัจจาภินิเวส แปลวา ยึดมั่นวาสิ่งนี้เปนจริงดวยอุปาทาน ไมใชดวยสมาทาน จัดเปนคันถะอยางหนึ่ง คันถะ แปลไดหลายอยาง แปลวาคัมภีรก็ได ในที่นี้แปลวาเครื่องผูกมัดหนึ่งในบรรดาเครื่องผูกมัด หรือคันถะ 4 ประการ คือ อภิชฌา ความโลภอยากไดของผูอื่น พยาบาท การปองรายผูอื่น สีลพตปรามาส ความยึดมั่นในวัตร โดยไรเหตุผล ขาดปญญา 60 ปปญจธรรม


สัจจาภินิเวส ความยึดมั่นวานี้เทานั้นจริง อยางอื่น เหลวไหลทั้งหมด อันเปนทรรศนะที่แคบ มืดมน ทําใหรอนกายรอนใจ เหมือนกับคนที่ขุดหลุมลึกแตแคบ ยิ่งลึกยิ่งมืด ถาไมทําปากหลุมใหกวางเอาไว ยิ่งลึกยิ่งมืด รอนเมื่อลงไปอยูในหลุมนั้น ระวังใหดีคนที่คิดวาเจาะอะไรลึกๆ แตไมมีฐานที่กวาง หรือทําปากหลุมใหกวางเอาไว แสงสวางมันเขาไมได มันมืดลงไป แลวก็รอนตัวรอนวิชา เปนควายเขาระฟา เที่ยวเดินเกะกะระราน เดินไปในปา เขาก็เกี่ยวนั่นเกี่ยวนี่รุงรังไปหมด ปาราบไปหมด หรือทําใหปาไมเสียไปหมด เขามันไปเกี่ยว และเขามันก็เสียดวย คนยิ่งมีความรูมาก ยิ่งขัดเกลาตนเอง ยิ่งรูมากยิ่งสงบ ยิ่งทาทีที่แสดงออกจึงสงบ ถาคนมาสนใจในศาสนาแลว ยึดมั่นในทิฏฐิเกินไป มีแตเรื่องการขัดแยงโตเถียง เปนสาระไมเปนสาระขอใหไดเถียงไวกอน มันก็เสียภาพลักษณเหมือนกัน คนที่สนใจศาสนาแลว ภาพลักษณไมดี ทําใหคนดูหมิ่นได ทําใหคนไมสนใจ มันตองมีภาพลักษณดีหนอย เปนการเผยแผศาสนาไปในตัว เรียกวาพูดใหฟง ทําใหดู เปนอยูใหเห็น แลวก็จะเปนการประกาศศาสนาไปในตัว กลาวโดยทั่วไปในวงสังคม ใครก็ตามที่เอาแตใจตัว ยึดมั่นแตความเห็นของตัว ไมยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นบางเลย กลาวโดยทั่วไปในวงสังคม ใครก็ตามที่เอาแตใจตัว ยึดมั่นแตความเห็นของตัว ไมยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นบางเลย ก็มักจะเปนที่เบื่อหนายของเพื่อนฝูง เปนที่ระอาของผูหวังดี เรียกวาเปนคนหัวดื้อ หัวรั้น มีทิฏฐิมานะจัด ไมมีคนนิยม ขาดเพื่อนที่เห็นใจ ขาดเพื่อนรวมสุขรวมทุกข เขารําคาญ ใครไปแตะตองเขาก็เดือดรอน ไปแตะตองความคิดเขาก็ไมได ถาทิฏฐิของเขาเปนมิจฉาทิฏฐิดวยแลว จะดึงเขาดิ่งลงไปในหายนะ หรือในหวงเหวของหายนะอยางไมตองสงสัยเลย

61 ปปญจธรรม


ตรงกันขาม คนที่ไมยึดมั่นถือมั่นในทิฏฐิของตนฝายเดียว หมั่นปรึกษาไตถามทานผูรู ผูชํานาญ เคยเดินทางมากอน เมื่อตนและผูใหญเห็นชอบแลวจึงทําลงไปดวยความมั่นใจ ไดรับการสนับสนุน หากมีความผิดพลาดบาง ก็ไดรับความเห็นใจวาสุดวิสัย การปรึกษาหารือกับทานผูรูทําใหไดทรรศนะที่กวางไกล ใครที่รูตัววาโงตองหมั่นปรึกษาหารือ ทานผูรูก็จะชี้ใหเห็น สิ่งที่เรายังมองไมเห็น ชี้ขอบกพรองชองโหวที่เรามิไดเฉลียว ทานอาจชี้ใหเห็นปญหาหลายดาน ถาปรึกษากับเพื่อนฝูงที่มีสติปญญาเทาๆกัน ก็เหมือนไมไดปรึกษา ถึงอยางนั้น ถาถามความเห็นของเขาบาง ก็อาจจะมีคําพูดบางคํา ที่สะกิดใจเราใหนึกถึงบางสิ่งบางอยางได อาจจะกลับตัวได คือลมเลิกทิฏฐิไมดีเสีย อยางไรก็ตาม ไมควรตามความคิดเห็นของผูอื่นเสียจนขาดความเปนตัวของตัวเอง คลอนแคลนไมมั่นคง ถูกชักจูงไดงาย ขาดเหตุผลที่พอจะตรองตามดวยตนเองได หรือวาขาดหลักที่จะเปนที่พักพิงของตัวเอง กลายเปนคนเชื่องาย ขาดเหตุผล คอยแตจะตามเสียงเขาวาอยูเรื่อยไป แตควรยืดหยุนในสิ่งที่ควรยืดหยุน และยืนหยัดในสิ่งที่ควรยืนหยัด ขณะเดียวกันก็คอยพิจารณาความจริงอยูเสมอ ความจริงเปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ เราก็พยายามตามดูวาความจริงไดเปลี่ยนไปแลวอยางไร ถาความจริงไดเปลี่ยนไปแลว เราก็ควรจะเปลี่ยนความคิดเห็นเสียดวย หรือเปลีย่ นแปลง ความปกใจเชนนั้นเสียดวย ไมควรปกใจในสิ่งนั้น โดยที่ไมคํานึงถึงเงื่อนไขวา สิ่งนั้นไดเปลี่ยนแปลงไปแลวอยางไร ถาเหตุปจจัยมันเปลี่ยนแปลงไป เราก็ควรจะเปลี่ยนแปลงใหทันกับที่มันเปลี่ยนแปลงไป นี่เรียกวาเปนบุคคลประเภท สัจจานุรักษ ที่พระพุทธเจาทานใชคําวา สัจจานุรักขี มนสาสุสัง วุโต เปนผูที่สํารวมใจ สํารวมใจเปนตามรักษาสัจจะ สัจจานุรักขี เปนผูรักษาสัจจะ หรือสัจจานุรักขนา การตามรักษาสัจจะ ความจริงมันเปลี่ยนไปแลวอยางไร เราก็เปลี่ยนความคิดใหม ไมใชปกอยูก ับความคิดเดิม ยกตัวอยาง นักวิทยาศาสตร ก็จะพิจารณาดู และคนหาวาทฤษฎีเกา ที่เคยเชื่อกันมา เดี๋ยวนี้ยังใชไดอยูหรือเปลา หมายความวาตองทดสอบใหม ทดสอบทฤษฎีใหมๆอยูเสมอ ถามันเปลี่ยนแปลง ไปแลว เราก็วางกฎเกณฑใหม อยางนี้เรียกวาสัจจานุรักขนา 62 ปปญจธรรม


บุคคลผูเปนเชนนั้นเรียกวาสัจจานุรักขี ไมใชสัจจาภินิเวส อันนั้นเปน Dogmaticism คือคนที่ยึดมั่นดวยอุปาทานวาเคยถือกันมาอยางนี้ เคยปฏิบัติมาอยางนี้ เคยทํากันมาอยางนี้ เปลี่ยนไปไมได เคลื่อนไหวไมได ยืดหยุนไมได ตองเปนอยางนี้ นี่เรียกวาสัจจาภินิเวส ซึ่งพระพุทธเจาทานสอนใหละเสีย ทานไปดูในคิริมานนทสูตร สัญญา 10 ประการ ก็มีคําขยายของสัญญาขอหนึ่ง มีคําวา ตองละเสียสัจจาภินิเวส ภินิเวสานุสยา นี่ตองละเสีย แตสัจจานุรักษนี่ตองรักษาไว เปน Protection of the truth รักษาสัจจะ เพราะฉะนั้น ทฤษฎีทางวิทยาศาสตรจึงเลิกลมครั้งแลวครั้งเลา เรื่องแลวเรื่องเลา เคยถือกันมาวาอันนี้จริง แตเกิดไมจริงเสียแลวเวลานี้ นี่เรียกวา สัจจานุรักษ หรือ สัจจานุรักขนา ใน จังกีสูตร คัมภีรมัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณาสก พระไตรปฎกเลม 13 ขอ 655 พูดถึงสิ่ง 5 สิ่ง ทานใชคําวาธรรม 5 อยาง ธรรมในทีน่ ี้คือสิ่ง 5 สิ่ง มีผลเปน 2 อยูเสมอ คือความเชื่อ คือศรัทธา และการไดฟงตามกันมา เรียกวาอนุสวะ การไดฟงมา การตรึกตามอาการ ที่เรียกวา อากาลปริวิตักกะ นี่ประการที่ 5 ในเรื่องความเห็น นิชฌานักขันติ ทนตอการเพงพินิจ อันนี้จะมีผลเปน 2 อยูเสมอ ที่เคยเชื่อกันมา เคยฟงกันมา เคยชอบใจกันมาวาเปนสิ่งที่ถูกตอง เปนสิ่งที่จริงมันไมจริงก็มี นี่พระพุทธเจาตรัสกับบุคคลผูหนึ่ง ซึ่งไปเฝาและสิ่งที่เคยถือกันมา เคยเชื่อกันมา เปนสิ่งที่จริง มันไมจริงก็มี สิ่งที่เคยถือกันมา เคยเชื่อกันมา เคยทํากันมา เคยตรึกกันมาวาไมจริง มันจริงก็มี ผูฟงก็ถามวา ดวยเหตุเพียงประมาณเทาใด จึงเรียกวาบุคคลเปนผูรักษาสัจจะ หรือดวยเหตุเพียงเทาใด เรียกวาสัจจานุรักขนา คือการตามรักษาสัจจะ พระพุทธเจาตรัสตอบวา คิดไดเพียงเทานี้ ก็เรียกวา เปนผูตามรักษาสัจจะ เปนสัจจานุรักขนาแลว คิดไดเพียงแควา สิ่งที่เคยเชื่อกันมา เคยทําตามกันมา ฯลฯ วาเปนจริง มันไมจริงก็มี สิ่งที่เคยเชื่อกันมา เคยถือตามกันมา เคยฟงกันมา เคยชอบใจกันมาเปนตน วาไมจริง

63 ปปญจธรรม


มันจริงก็มี เพียงเทานี้เรียกวา สัจจานุรักขนา รักษาสัจจะ ตามที่มันเปนจริง ทดสอบใหมแลวถือไวตามที่มันเปนจริง เขาถามตอไปวา เพียงเทาใดเรียกวาเปนผูรูสัจจะ พระพุทธเจาทานก็ตอบตอไปวา ตามที่กลาวมานั้น ยังไมเรียกวาเปนผูรูสัจจะ แตวาผูนั้นจะตองรูปรมัตถสัจจะดวยปญญา ดวยตนเอง อยางนี้แหละเรียกวาเปน สัจจานุโพโธ นี่ทานตองแยกปรมัตถสัจจะ ออกจากสมมุติสัจจะ สมมุติสัจจะนั่นคือจริงโดยสมมุติ สมมุติวาเปนนั่นเปนนี่เปนโนน โลกของสมมุติมันมีเยอะแยะไปหมดเลย มันทําใหความรูสึกความเห็นตางกันไป ขันธ 5 คนประกอบดวยขันธ 5 คนทุกคนประกอบดวยขันธ 5 เปนขันธ 5 เทานั้นแหละ เหมือนกันไมวาเขาจะเปนอะไร อยูในฐานะอยางไร ไมวาเขาจะมั่งมีหรือยากจน มีตําแหนงเปนอะไร นั่นคือความหลากหลายของสมมุติ แตโดยปรมัตถสัจจะแลวคือขันธ 5 และในที่สุด ไมวาจะขึ้นสูงเทาไหร ก็ตองตกลงสูสามัญ คือสามัญลักษณะ ไดแกความไมเที่ยง สามัญลักษณะมี 3 อยางในพุทธศาสนา จะแตกตางกันในเรื่องอะไรก็ตาม แตเหมือนกันในเรื่อง 3 อยาง คือทุกอยางไมเที่ยง ทุกอยางเปนทุกข ทุกอยางเปนอนัตตา ไมมีตัวตนที่จะยึดถือได อยางนี้แตเรียกวาปรมัตถสัจจะ รูปรมัตถสัจจะดวยปญญาดวยตนเอง อยางนี้เรียกวาสัจจานุโพโธ เขาถามตอไปวา ดวยเหตุเทาใดจึงเรียกวาเปนผูบรรลุถึงสัจจะ สัจจะนุปตติ ถาเปนคนก็เรียกวา สัจจานุปตติโก ผูบรรลุถงึ สัจจะ พระพุทธเจาตรัสตอบวา การทําใหมาก อบรมใหมาก เสพคุนใหมาก อาเสวิตา ภาวิตา พหุลีกตา ซึ่งปรมัตถสัจจะนั้นแหละ เรียกวาสัจจานุปตติ การบรรลุสัจจะ

64 ปปญจธรรม


เขาถามตอไปวา ธรรมที่เปนอุปการะแกการบรรลุสัจจะมีอะไรบาง พระพุทธเจาก็ตอบยาวเหยียดเลยครับ ผมไมอาจจะนํามาพูดในที่นี้หมดได แตขอพูดเพียง 2 ขอกอน คือ

ความเพียร กับ ปญญา มีความเพียรอุปการะปญญา ปญญาอุปการะความเพียร อุปการะซึ่งกันและกัน และทําใหบุคคลบรรลุสจั จะ นี่ก็เรียกวา สัจจาธรรมที่เปนอุปการะแกการบรรลุสัจจะ นี่นาสนใจมาก ทานลองพิจารณาดูถึงเรื่องสัจจานุรักษ การรักษาสัจจะ สัจจานุโพโธ รูส ัจจะ สัจจานุปตติ การบรรลุถึงสัจจะ ที่พระพุทธเจาทานตรัสเอาไว นี่ผมขอแวะตรงที่มาพูดถึงตรงนี้วา คนที่เปนสัจจานุรักษ ตัวอยางที่เห็นงายๆ ที่เรามักจะเห็นกัน อยูเสมอ เชน เราเคยเห็นคนผูหนึ่งเปนคนชั่ว เพราะเขาทําชั่วมานาน ทําใหเราปกใจวาเขาเปนคนเลว ตอมาเขาก็กลับตัวเปนคนดี ทําดี พูดดี คิดดี เราก็เห็น คนอื่นเขาก็เห็น มีขอพิสูจนหลายอยางวาเขาเปนคนดี แตบางคนก็ยังปกใจอยูวาเขาเปนคนชั่ว ทางที่ถูกถาเปนสัจจานุรักษ ก็ควรจะถอนความปกใจเดิมวาเขาเปนคนเลว มีความเห็นตามความเปนจริงวา บัดนี้เขาเปนคนดีแลว อยางนี้เรียกวาสัจจานุรักษ ในทางตรงกันขามก็เหมือนกัน คนที่เคยดี ก็อาจจะกลายเปนคนชั่วได เมื่อเหตุปจจัยปรุงใหเขาเปนคนชั่ว สิ่งทั้งหลายทั้งปวงไมเที่ยงอยูอยางนี้ ทานจึงสอนวา ไมควรยึดมั่นถือมั่นความเห็นจนเกินไป โดยเฉพาะอยางยิ่ง ความยึดมั่นในทิฏฐิที่ผิด และชักชวนคนอื่นใหมีทิฏฐิเชนนั้นดวย จะมีโทษมากอยางที่พระพุทธเจาตรัสวา คนพวกหนึ่งใหทุกขใหโทษมาก ใหทุกขใหโทษแกมนุษยและเทวดาทั้งหลาย คือพวกมิจฉาทิฏฐิมีความเห็นวิปริต ทําบุคคลเปนอันมากใหออกจากธรรมของสัตบุรุษคือคนดี และตั้งอยูในธรรมของอสัตบุรุษคือคนเลว

65 ปปญจธรรม


สวนคนอีกพวกหนึ่งเกิดมาเพื่อประโยชนสุขแกคนจํานวนมาก เพื่อประโยชนสุขแกเทวดาและมนุษยทั้งหลาย นั่นคือ ผูที่เปนสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นถูกตอง ทําบุคคลเปนอันมากใหออกจากอสัทธรรม ใหดาํ รงอยูในสัทธรรม (อานวา สัท-ธรรม) คราวหนึ่ง มีพราหมณคนหนึ่งชื่อวา อารามฑัณฑะ ถามพระมหากัจจายนะ สาวกสําคัญรูปหนึ่งของพระพุทธเจา วาคฤหัสถทะเลาะวิวาทกัน เพราะเหตุใด สมณะทะเลาะวิวาทกันเพราะเหตุใด พระมหากัจจายนะตอบวา คฤหัสถทะเลาะกันเพราะตกอยูในอํานาจของกามราคะ เรื่องกาม บรรพชิตหรือสมณะทะเลาะกัน เพราะตกอยูในอํานาจของทิฏฐิราคะ ก็คือทิฏฐินั่นเอง ทิฏฐิราคะ แปลวาความกําหนัดพอใจในทิฏฐิ พราหมณถามวา ใครลวงพนไดแลวซึ่งกามราคะและทิฏฐิราคะทั้งสองอยาง พระมหากัจจายนะตอบวา พระผูมีพระภาค อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ซึ่งเวลานั้นประทับอยูที่เมืองสาวัตถี พราหมณก็ไดเลื่อมใส ประกาศตนเปนสาวก นับถือพระรัตนตรัยตลอดชีวติ ขอความนี้จากอังคุตตรนิกาย เอกนิบาต พระไตรปฎกเลม 20 ขอ 282 ลัทธิมิจฉาทิฏฐิ 3 ลัทธิ ซึง่ เปนลัทธิของคณาจารยนอกพุทธศาสนา ที่เปนปฏิปกษตอคําสอนของพุทธศาสนา ประการแรก ทานใชคําในพระไตรปฎกวา ปุพเพกตเหตุวาทะ คือลัทธิที่เชือ่ วาสุขทุกข ความเสื่อมความเจริญของมนุษยสุดแลว แตกรรมเกาใหเปนไป ฝนไมได ความเชื่ออันนี้ถือวากรรมในอดีตเปนเครื่องกําหนด วิถีชีวิตของคน เปน Past action determinism เรียกวา determine มาแลว กรรมการกระทําในอดีตไดกําหนดชะตาชีวิตของคนมาแลว 66 ปปญจธรรม


เปนพวกโชคชะตานิยม เรียกวา Fatalism ซึ่งทางพุทธศาสนาไมเห็นดวย หรือวาถาพูดอยางไทยๆ ก็วาสุดแลวแตดวง ชีวิตของคนถูกฟาดินกําหนดมาแลว จะขึ้นจะลงจะดีจะชั่ว มีวาสนาบารมี หรือจะตกต่ําลําบากอยางไร ก็สุดแลวแตกรรมเกาจะกําหนด รวมความวาถือเอากรรมเกาเปนโชคชะตา กําหนดวิถีชีวิตของมนุษยทั้งหมดเลย ที่ศาสนาพราหมณก็เปนพรหมลิขิต หรือศาสนาของพระเจาก็แลวแตพระเจาจะกําหนดใหเปนไป

พุทธศาสนาไมเห็นดวย พุทธศาสนาเรายอมรับเรื่องกรรมในอดีต แตก็เนนใหเห็นวากรรมในปจจุบัน ที่บุคคลทําในปจจุบัน ก็มีความสําคัญกวา ทานดูจักรธรรม 4 ขอก็ได จักรธรรมคือธรรมที่เปนเหมือนลอรถ ที่นําบุคคลผูปฏิบัติไปสูความเจริญรุงเรือง มี 4 ขอ ขอที่พูดถึงกรรมเกา คือบุพเพกตปุญญตา ก็มีอยูขอเดียว อีก 3 ขอนั้น เปนเหตุในปจจุบัน ดังนี้ 1. ปฏิรูปเทสวาสะ อยูในถิ่นที่เหมาะหรือไดทําเลดี 2. สัปปุริสูปสสยะ ไดคบคนดี 3. อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไวชอบ 3 ขอนี้ก็เทากับ 75% เปนเหตุในปจจุบัน ถาจะถือเปนกรรมเกาบาง บุพเพกตปุญญตา บุญที่ไดทําไวกอน ก็มีเรื่องเลาไว ในอรรถกถาธรรมบท ภาค 5 เรื่องบุตรเศรษฐี ผูที่มีทรัพยมาก ตอนหลังก็ตกยาก จนถึงกับขอทาน เพราะวาไปหมกมุนในอบายมุข สุราเมรัย คบคนพาลเปนมิตร เปนตน วันหนึ่ง พระพุทธเจาออกบิณฑบาตพรอมดวยพระอานนท ตรัสกับพระอานนทวา บุตรเศรษฐีคนนี้ ถาตั้งตนดีในปฐมวัย จะไดเปนเศรษฐีที่ 1 ของเมืองนี้ ถาออกบวชก็จะไดเปนพระอรหันต ภรรยาของเขาจะไดเปนอนาคามี

67 ปปญจธรรม


ถาเขาตั้งตนในมัชฌิมวัย จะไดเปนเศรษฐีที่ 2 ถาออกบวชจะไดเปนอนาคามี ภรรยาจะไดเปนสกิทาคามี ถาตั้งตนใหดีในปจฉิมวัย จะไดเปนเศรษฐีที่ 3 ในเมืองนี้ ถาออกบวชจะไดเปนพระสกทาคามี ภรรยาจะไดเปนพระโสดาบัน แตเขาเสื่อมหมดแลว ทั้งโลกียทรัพย และโลกุตตรธรรม เพราะเหตุที่ตั้งตนไวไมชอบ เคยเปนเศรษฐี 80 โกฏิ ผลาญหมดดวยการพนัน เมื่อไมกี่วันมานี้ มีคนหนึ่งมาเลาใหผมฟงวา เคยแพบอลปเดียว 5 ลาน ผมบอกวา 5 ลาน ซื้อหนังสือธรรมไดหมดทั้งโลก จะสรางตึกบรรจุหนังสือธรรมะไดอีกสักหลังหนึ่ง แตวาไปเลนการพนันจนหมด เคยไดยินขาววามีคนเสียมากกวานี้ แลวใครเปนคนได เห็นใครไปเลนเขาก็เสีย ทําไมเลาไมทําสิ่งที่เขาก็ไดเราก็ได ผมก็แวะไปตรงนั้นหนอยหนึ่งนะครับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ ปุพเพกตเหตุวาทะ past action determinism มาถึงในชั้นพระพุทธพจน พระพุทธเจาตรัสวา สมณพราหมณที่ถือวาสุขทุกขดีชั่วสุดแลวแตกรรมในอดีตนั้น เมื่อเราเขาไปหาเขาถามวา ถาถืออยางนั้นการที่บุคคลฆาสัตวก็ตาม ลักทรัพยก็ตาม เปนมิจฉาทิฏฐิก็ตาม ก็เพราะกรรมที่ทําไวในอดีตทั้งหมดอยางนั้นหรือ ภิกษุทั้งหลาย เมื่อบุคคลถืออยูอยางนั้น ฉันทะก็ดี ความพยายามก็ดี วาสิ่งนี้ควรทํา สิ่งนี้ควรเวน ยอมไมมี เขาอยูอยางไรสติ ไรธรรมเครื่องรักษา จะมีสมณวาทะที่ชอบธรรมเฉพาะตนไมได นี่จากอังคุตตรนิกาย ติกนิบาต พระไตรปฎกเลม 20 ประการที่ 2. อิสรนิมมานเหตุวาทะ theistic determinism แปลวาลัทธิที่เชื่อวาสุขทุกขของบุคคลสุดแลวแตทานผูใหญจะบันดาลใหเปนไป

68 ปปญจธรรม


อิศร แปลวาผูใหญ ฉลาดนั่นเอง ผูเปนใหญหรืออิศวร นิมมานะ แปลวาเนรมิต เหตุวาทะ วาทะแปลวาลัทธิ ลัทธินี้คือความเชื่อที่วาชีวิตของคนจะเปนอยางไร ก็สุดแลวแตพระเจา (GOD) จะบันดาล ตัวเองไมมีอิสระตอชีวิตของตน ลัทธิพรหมลิขิตของศาสนาพราหมณก็อยูในขอนี้ ลัทธิที่นับถือพระเจาก็อยูในขอนี้ ศาสนาที่ถือวาพระเจาบันดาลชีวิต บันดาลสุข ทุกขใหแกสัตวโลก พุทธศาสนาไมเห็นดวยกับขอนี้ พุทธศาสนาถือวาสุขทุกขของมนุษยเปนสิ่งที่มนุษยทําใหแกตนเอง หรืออยางนอยที่สุดก็เพื่อนมนุษยสัตวโลกชนิดอื่นกอใหเกิดขึ้นในรูปแหงการเปนศัตรูทําลายลางกันเพื่ อผลประโยชนบาง เพื่อระบายราคะโทสะโมหะที่พลุงโพลงขึ้นเปนคราวๆบาง ไมใชใครทํา ถาในระดับสูงขึ้นไป ก็จะแสดงถึงปฏิจจสมุปบาท คืออาศัยกันเกิดขึ้น ในชั้นพระพุทธพจน พระพุทธองคไดตรัสไววา ภิกษุทั้งหลาย เราเขาไปหาสมณพราหมณ ผูเปนอิสรนิมมานเหตุวาที แลวกลาววา ถาถืออยางนั้น การที่ทานฆาสัตวก็ดี ลักทรัพยกด็ ี ประพฤติผิดอกุศลกรรมบถทั้งหลายก็ดี มีความเห็นผิดเปนที่สุดทาย ก็เพราะการบันดาลของพระเจานะซี เมื่อยึดถืออยางนั้น ฉันทะก็ดี ความพยายามก็ดี ยอมจะไมมี เขายอมจะอยูอยางไรสติ ไรธรรมเครือ่ งรักษา จะมีสมณะวาทะที่ชอบธรรมเฉพาะตนไดอยางไร คือมีไมได ประการที่ 3. อเหตุอปจจยวาทะ พวกนี้เปน accidentalism อเหตุคือไมมีเหตุ อปจจยะก็คือไมมีปจจัย หรือเกิดขึ้นโดยบังเอิญ ลัทธิที่เชื่อวา สุขทุกขของมนุษยไมมีเหตุไมมีปจจัย สุขทุกขเกิดขึ้นลอยๆ ความรุงเรืองหรือความตกต่ําลําบากสุดแลวแตโอกาส หรือความบังเอิญ ไมมีผลอะไรที่เนื่องมาจากเหตุ และไมมีเหตุอะไรที่กอใหเกิดผล ทุกอยางเกิดขึ้นโดยบังเอิญ aecident ทั้งนั้น พุทธศาสนาไมถืออยางนี้ พุทธศาสนากลาวถึงขบวนการแหงเหตุปจจัย สิ่งทั้งหลายมีเหตุเปนแดนเกิด เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เมื่อเหตุดับผลก็ดับ 69 ปปญจธรรม


อันนี้คือลัทธิมิจฉาทิฏฐิ 3 ลัทธิที่เปนปฏิปกษตอคําสอนทางพุทธศาสนา พุทธศาสนาเปนกรรมวาที เปนวิริยวาที ในสมัยพุทธกาล มีเจาสํานักอยูเปนอันมากทีเดียวที่ยังกลาวถึงในพรหมชาลสูตร ก็มีทฏิ ฐิ 62 หรือมีเจาสํานักมีทิฏฐิ มีความเห็น 62 ความเห็น ขอกลาวที่สําคัญ ยอมาใหดู - อกิริยทิฏฐิ เห็นวาทําก็ไมชื่อวาทํา คนทําบุญทําบาปก็ไมชื่อวาทําบุญทําบาป บุญบาปไมมี ความดีความชั่วไมมี - อเหตุกทิฏฐิ เห็นวาไมมีเหตุ ไมมีปจจัย สัตวทั้งหลายจะไดดีไดชั่ว จะไดสุขไดทุกขก็ไดเอง ไมมีเหตุไมมีปจจัย ไมใชไดดีพราะทําเหตุดี ไดชั่วเพราะทําเหตุชั่ว สัตวทั้งหลายหลังจากทองเที่ยวไปในสังสารวัฏ คือการเวียนวายตายเกิดแลวก็บริสุทธิ์ไดเอง หลักลัทธินี้เรียกอีกชื่อหนึ่งวา สังสารสุทธิกวาทะ แปลวาลัทธิที่ถือวาบริสุทธิ์ เพราะการทองเที่ยวไปในสงสาร - นัตถิกทิฏฐิ เห็นวาผลไมมี การทําบุญใหทานไมมีผล อะไรๆก็ไมมีผลทั้งนั้น ทํากันไปอยางนั้นเอง เอาผลดีผลชั่วอะไรไมมี มันเกิดเพราะเหตุอื่นไมใชเพราะเหตุ ปฏิเสธผล - สัสตทิฏฐิ เห็นวาเที่ยง ยั่งยืนอยูอยางนั้น เชนโลกเที่ยง จิตเที่ยง สัตวทั้งหลายเกิดเปนอยางไรก็เปนอยางนั้นตลอดกาล ดิน น้ํา ลม ไฟ เปนของเที่ยง คนที่ถือลัทธิพวกนี้ก็เห็นวาไมมีใครฆาใคร ไมมีใครทําลายใคร เพียงแตถาจะมีการฆากันแทงกัน ก็เพียงแตวาเอาศัสตราสอดเขาไปในธาตุซึ่งยั่งยืนไมมีอะไรทําลายได เอาธาตุหนึ่งสอดเขาไปในธาตุหนึ่ง นี่ก็พวกหนึ่ง อีกพวกหนึ่งเรียก อมราวิกเขปกา วาทะ อมราแปลวาปลาไหล วิกเขปกาแปลวา ซัดสาย ความเห็นที่ไมแนนอน ซัดสาย ลื่นไหล เหมือนปลาไหล จับยาก เพราะเหตุหลายอยาง เชน เกรงจะพูดปด จึงปฏิเสธวา อยางนี้ก็ไมใช เพราะเกรงจะเปนการยึดถือ จึงปฏิเสธ 70 ปปญจธรรม


เพราะเกรงวาจะถูกซักถามจึงปฏิเสธ เพราะความโงเขลาจึงปฏิเสธ ไมยอมรับและไมยืนยันใดทั้งนั้น นี่ก็พวกหนึ่ง คือเอาอะไรไมไดสักอยางหนึ่ง ลื่นไหลไปเรื่อย อีกพวกหนึ่ง อัตตกิลมถานุโยค และ อเนนกานตวาทะ รวมกันเขาไปเลย อัตตกิลมถานุโยคก็คือการทรมานตัวเพื่อไปสูการพนทุกข มีความเปนอยูอยางเขมงวดกวดขันตอรางกาย อดขาวอดน้ําตากแดดตากลม ไมนุงหมผาเชนพวกนิครนถ ตัวอยางเจาลัทธินี้ ก็เห็นกันอยูคือ นิครนถนาฏบุตร หรือทานศาสดามหาวีระ แหงศาสนาเชน และยังมีคําสอนอีกแบบหนึ่ง เรียก อเนนกานตวาทะ ทานผูนี้เห็นวา ความจริงมีหลายเงื่อนหลายแง อเนนกะแปลวามากหลายไมใชหนึ่ง อันตะแปลวาปลายสุดหรือที่สุด เชน เรื่องหนึ่ง เหตุการณหนึ่ง เมื่อพิจารณาในแงหนึ่งก็อาจจะถูก แตเมื่อพิจารณาในอีกแงหนึ่งก็ไมจริงก็ไมถูก นี่ก็เปนลัทธิตางๆที่มีอยูในสมัยพุทธกาล เวลานี้กม็ ีไมใชไมมี แมจะไมเปนสํานักไมเปนเจาลัทธิไมเปนอะไร แตวามันแพรหลายไประบาดไป มีอยูทั่วไปในหมูคนตางๆ ทั้งในประเทศไทย ทั้งในตางประเทศ ที่สําคัญคือ เรื่องตัวตน ขอนี้พูดกันอยูแพรหลายในเวลานี้ เห็นวามีอัตตาที่มีความสุขโดยสวนเดียว พระพุทธเจาทานตรัสถามผูที่มีความเชื่อถือเชนนี้วา อัตตาที่มีความสุขโดยสวนเดียวมีหรือ ตามความเห็นของทางพุทธศาสนาไมมี คุยกันเรื่องอัตตา พระพุทธเจาก็ตรัสกับปริพาชกวามีอัตตาอยู 3 แบบ คือ ตัวตนมนุษยหรืออัตตามนุษย วาเปนรูปหยาบ และมีอัตตาของพรหม รูปพรหม อรูปพรหม นี่ก็เปนอัตตา แตพระพุทธเจาทานตรัสวา ทานไมไปยึดมั่นถือมั่นในเรื่องอัตตาพวกนั้น เปนแตเพียงพูดตามภาษาโลกเปนโลกสมัญญา โลกโวหาร ที่เขาพูดกันอยางไร พูดไปอยางนั้น แตไมถือวามีวาเปนตัวตนที่แทจริง ไมเปนอัตตา คงเปนอนัตตาอยูนั่นเอง

71 ปปญจธรรม


แมจะเห็นวาเปนอัตตา ก็เห็นไป แตจริงๆแลวมันก็ไมเปนอัตตา มันเปนอนัตตา แปลวาเห็นผิดไป เขาเห็นอยางนั้นเห็นวาเปนอัตตา แตวาจริงๆแลวไมเปน เห็นผิดไป จึงเรียกวาเปนมิจฉาทิฏฐิ พวกพรหมตางๆอยูในพรหมโลกนาน ก็คิดวายั่งยืน คิดวาเที่ยง คิดวาเปนอัตตา เปนตัวตน แตที่จริงไมมี พระพุทธเจาก็เคยไปทรมาน คําวาทรมานคือไปฝกไปสอน พกพรหมในบทพาหุงก็เอามาสวดกันอยู บทสุดทายเขามองไปมองมาเขาเห็นเที่ยงอยูอยางนี้ ยั่งยืน เห็นเปนตัวตนอยูอยางนี้ ไมเปลี่ยนแปลง พระพุทธเจาก็ไปสอนใหมใหเห็นวา แมจะเปนพรหมอยางนี้ ก็ไมใชตัวตน ไมเที่ยง ขอยกที่พระพุทธเจาทานตรัสเอาไวเรื่องตัวตน ไมใชตัวตน ความเห็นที่เปนตัวตนไมใชตัวตนที่คุยกับ โปฏฐปาทปริพาชก ในโปฏฐปาทสูตร ทีฆนิกาย พระพุทธเจาตรัสวา สมณพราหมณบางพวกที่มีความเห็นวา เมื่อตายแลวตัวตนยอมมีสุขโดยสวนเดียว ไมมีทุกขเลย เมื่อเราถามเขาวาตัวตนเชนนั้นมีอยูหรือ โลกที่มีอัตตาที่เปนสุขโดยสวนเดียวมีอยูหรือ เขาทราบขอปฏิบัติเพื่อใหไดโลกเชนนั้นหรือ เขาก็ไมทราบอะไรสักอยางแมถามเขาวาเขาเคยไดยินเสียงเทวดาสนทนากันถึงโลกทีม่ ีสุขโดยสวนเดีย วเชนนั้นบางหรือไม เขาก็บอกวาไมทราบ พระพุทธเจาตรัสวา เปรียบเหมือน โปฏฐปาทปริพาชก เปรียบเหมือนชายคนหนึ่งพูดวาเขารักหญิงสาวอยูคนหนึ่ง แตพอถูกถามวาหญิงสาวนั้นชื่ออะไร อยูที่ไหน พอแมพี่นองเปนอยางไร รูปรางลักษณะของหญิงนั้นเปนอยางไร ก็ตอบไมไดสักอยาง เปรียบอีกอยางเหมือนคนคนหนึ่ง กําลังทําบันไดขึ้นปราสาท แตเมื่อถามวาปราสาทนั้นอยูที่ไหน ลักษณะรูปรางเปนอยางไร ก็ไมรูสกั อยาง ฉันใด สมณพราหมณบางพวก ผูมีวาทะวา 72 ปปญจธรรม


หลังจากตายแลวมีอัตตาที่เปนสุขลวนหาโลภมิไดก็ฉันนั้นเหมือนกัน เขาไมมีความรูเกี่ยวกับอัตตาเหลานั้นเลย แตก็ยังยึดมั่นอยู ตามที่กลาวมาโดยยอนี้ พระพุทธเจาทานก็ตรัสวา อัตตาที่กลาวมานั้นเปนเพียงชื่อที่มีอยูในโลกเปนโลกสมัญญา เปนภาษาของชาวโลก โลกนิรุตติโย โวหารของโลก โลกโวหารา เปนบัญญัติของโลก โลกปญญิติโย พระองคทรงใชตามนั้น แตไมไดยึดถือวาเปนจริงเปนจัง แตประการใด นักบวชนอกพุทธศาสนา สมัยพระพุทธเจาติดอยูในอัตตาคือตัวตน สนใจเรื่องอัตตากันมาก แตพระพุทธเจาทรงมีมติวา ตัวตนเชนนั้นไมมี คือตัวตนที่เที่ยง ยั่งยืน อยางที่พวกเจาลัทธิทั้งหลายเขาใจนั้นไมมี ทรงแสดงวาสิ่งทั้งหลายเปนอนัตตา ไมมีตัวตน สิ่งทั้งหลายเกิดขึ้นชั่วคราวตามเหตุปจจัย ทรงสอนใหถอนอัตตานุทิฏฐิ คือความเห็นวาเปนตัวตนเสีย แตก็ทรงใชคําวาอัตตาตัวตนเหมือนกันตามภาษาของโลก แตมไิ ดทรงยึดมั่นวาเปนอยางนั้น คลายๆกับที่เราพูดกันในสมัยปจจุบันนี้วา ดวงอาทิตยขึ้น แลวก็ดวงอาทิตยตก จริงๆแลวการขึ้นตกของดวงอาทิตยไมมี เปนเพียงภาษาของโลก โวหารของโลกเทานั้น พระอาทิตยไมไดขึ้นไมไดตก แตก็เอาเถอะ เราก็พูดกันรูเรื่อง แตถาเอากันจริงๆมันก็ไมมี อยางนี้นะครับ เกี่ยวกับเรื่องความยึดมั่นถือมั่นในทิฏฐิ ในตอนหนึ่งของพรหมชาลสูตร ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เลม 9 พระพุทธเจาตรัสกับภิกษุทั้งหลายวา ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสมณพราหมณทั้งปวงมีฐานะและทิฏฐิอยางไร ถือทิฏฐิไวอยางไร ยึดมั่นทิฏฐิไวอยางไร มีความเห็นอยางไร มีสัมปรายภพอยางไร ตถาคตรอบรูหมดทั้งสิ้น และหยั่งรูยิ่งไปกวาสมณพราหมณทั้งหลายเหลานั้นอีกดวย แมตถาคตจะรอบรูถึงปานนี้ ก็หาไดยึดมั่น ซึ่งความรูนั้นไม เพราะไมยึดมั่นจึงประสบความเยือกเย็นสูงสุด และรูแจงตามความเปนจริง ซึ่งความเกิดความดับ คุณและโทษของเวทนาทั้งหลาย

73 ปปญจธรรม


ภิกษุทั้งหลาย ตถาคตหลุดพนเพราะไมมีความยึดมั่น

เหตุเกิดของมิจฉาทิฏฐิ ตามที่พระพุทธเจาทรงแสดงไวก็มีอยู 2 อยาง อยางหนึ่งก็คือปรโต โฆษะ แปลวาเสียงจากคนอื่น หมายถึงสิ่งแวดลอมทั้งหลาย เปนครู เปนหนังสือ เปนสํานัก เปนอะไรก็ตามที่เราเขาไปเกี่ยวของอยูรอบตัวเรา ทําใหถาเราเขาสํานักผิด เราคบกับคนที่เปนมิจฉาทิฏฐิ คบคนผิด เราพอใจในความเห็นอยางนั้นของเขา เราก็พลอยเปนไปดวย ถาเผื่อไมมีโยนิโสมนสิการ คือการไตรตรองโดยแยบคาย เพราะฉะนั้นจึงมีขอ 2 ดวยคืออโยนิโสมนสิการ การพิจารณาไตรตรองโดยไมแยบคาย ขอ 1 คือ ปรโต โฆษะ คําสอนจากคนอื่น ตอกย้ําบอยๆถึงเรื่องใดคนก็โนมใจไปทางนั้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง คนที่ไมมีปญญาจะวินิจฉัยไดดวยตัวเอง วาอะไรผิดอะไรถูก โดยเฉพาะเสียงของคนที่ตนเคารพนับถือดวย ก็ยงิ่ เปนเสียงที่มีน้ําหนัก และขาดโยนิโสมนสิการ เรียกวาอโยนิโสมนสิการดวย อันนี้เปนเหตุเกิดของมิจฉาทิฏฐิ

เหตุเกิดของสัมมาทิฏฐิ เหตุเกิดของสัมมาทิฏฐิก็มี 2 ขอเหมือนกัน คือ ปรโต โฆษะ คือเสียงจากคนอื่น เปนสํานัก ครู หนังสือ หรือใดๆก็ตามที่เราเสพคุนบอยๆ เปนอาเสวนะปจจัย ถาเผื่อสํานักนั้น บุคคลผูนั้น เสียงนั้น หนังสือนั้นจูงไปในทางสัมมาทิฏฐิ ผูนั้นก็เสพคุน คุนเคยกับสิ่งนั้น ก็จะไดปจจัยขอหนึ่งของสัมมาทิฏฐิ อีกอยางหนึ่ง เขาก็มีโยนิโสมนสิการ เรียกวามีการใครครวญพิจารณาโดยแยบคาย มีปญญาไตรตรองดวยตนเองได

74 ปปญจธรรม


ถาได 2 อยางนี้ ก็เปนสัมมาทิฏฐิ ไดสิ่งแวดลอมดี สํานึกดี ไดสัมมาทิฏฐิ แลวตัวเองก็มีโยนิโสมนสิการ คือคิดไตรตรองโดยแยบคาย มีปญญาแยกแยะ อะไรผิดอะไรถูกได ก็เปนปจจัยใหเกิดสัมมาทิฏฐิ พระพุทธเจาจึงตรัสวา อาศัยปจจัยภายนอกแลวกัลยาณมิตร เปนสิ่งสําคัญในการใหเกิดสัมมาทิฏฐิ ถาอาศัยปจจัยภายในก็คือโยนิโสมนสิการเปนปจจัยสําคัญใหเกิดสัมมาทิฏฐิ สัมมาทิฏฐิหรือมิจฉาทิฏฐิเปนเหมือนหัวรถจักร เหมือนพวงมาลัยของเรือหรือของรถ ที่จะนําไปทางไหนก็แลวแตจะหมุนพวงมาลัยไปทางไหน รถหรือเรือมันก็จะไปทางนั้น เพราะฉะนั้น ขอใหระวังเรื่องสัมมาทิฏฐิ มิจฉาทิฏฐิ สักหนอย วาในสังคมโลกของเรานี่มิจฉาทิฏฐิก็มีมากขึ้น สัมมาทิฏฐิอาจจะนอยลง และทําใหสังคมเดือดรอนวุนวาย เพราะมิจฉาทิฏฐินั่นเอง มิจฉาทิฏฐิก็ดี สัมมาทิฏฐิก็ดี มันมีทั้งสวนหยาบและสวนละเอียด มีทั้งสวนตื้นและสวนลึก เพราะฉะนั้นมิจฉาทิฏฐิลึกๆนี่มองเผินๆมันก็ไมเห็น ขอใหระวังศึกษากันใหดีหนอย ศึกษากันใหถูกตอง ดูกันใหดีแลวจึงคอยลงความเห็นไป

75 ปปญจธรรม


หลักการละมิจฉาทิฏฐิ ในพระสูตรชื่อ สันเลขสูตร ในพระไตรปฎกเลม 12 พระมหาจุนทะ นองชายพระสารีบุตร ไดทูลถามพระพุทธเจาวามีทิฏฐิหรือทรรศนะตางๆในโลก ที่เกี่ยวกับตนบาง เกี่ยวกับโลกบาง บุคคลยอมจะยึดมั่นทิฏฐิ ที่เกี่ยวกับตนและที่เกี่ยวกับโลกตางๆกันไป การที่จะละทิฏฐิเหลานั้นได ดวยอุบายวิธีอยางไร นี่เปนคําถามของพระมหาจุนทะตอพระพุทธเจา พระพุทธองคตรัสตอบวา “ทิฏฐิเหลานั้นเกิดขึ้นในอารมณใด หรือเกิดขึ้นในเรื่องใด แนบสนิทอยูใ นเรื่องใด ทองเที่ยวอยูในเรื่องใด อันเปนเหตุใหยึดมั่นถือมั่น ภิกษุหรือใครๆก็ตามพึงเห็นอารมณนนั้ สิ่งนั้น ดวยปญญาอันชอบ ตามความเปนจริงวานั่นมิใชของเรา เรามิไดเปนนั่น นั่นมิใชตัวตนของเรา การละทิฏฐิยอมมีไดดวยอุบายอยางนี้” พยายามตระหนักวา ทิฏฐินั้นเปนเพียงความเห็น ไมใชประสบการณตรง เราก็ถือไวอยางหลวมๆ พรอมที่จะเปลี่ยนแปลงทิฏฐิหรือความเห็นได ถาเผื่อมีเหตุผลเพียงพอในการที่จะเปลี่ยนแปลง ถามีความจริงเขามาใหม เมื่อกอนเรายึดมั่นอยูเชนนี้ และตอมาก็มีความจริงที่พิสูจน ทดสอบไดวาความจริงเปนอยางนี้ ไมใชอยางที่เราถือ ก็เปลี่ยนได ไมใชยึดมั่นแบบสัจจาภินิเวสวา ฉันเคยถือมาอยางนี้นานแลว ก็เปลี่ยนไมได อันนั้นไมใชวิธีการของคนฉลาด อยางในเรื่องของพระเจาปายาสิ ที่อางถึงกันบอยๆวามีทิฏฐิผิดวาชาติหนาไมมี โลกหนาไมมี สัตวทั้งหลายตายแลวสูญ คุยกับพระกุมารกัสสป คุยกันไปมาดวยเหตุผลยาวเหยียด ตางคนตางก็นําเหตุผลของตัวมายืนยัน ในที่สุด พระเจาปายาสิ แพพระกุมารกัสสป แตกบ็ อกวา ขาพเจาละความเห็นอยางนี้ไมได เพราะชาวบานชาวเมืองทั้งหลาย รูกันไปทั่วหมดแลววาพระเจาปายาสิมีความเห็นอยางนี้ 76 ปปญจธรรม


แปลวาแบกทิฏฐิผิดมานานแลว ปลอยไมได เลิกไมได ลดไมได เปลี่ยนไมได กลัวเสียหนา แตไมกลัวเสียคน พระกุมารกัสสปก็อุปมาใหฟงหลายเรื่อง เชน แบกขี้หมูไปฝนตกขี้หมูไหล ก็ไมยอมทิ้งขี้หมู เพราะเหตุวาไดแบกมานานแลวทํานองนี้ ในที่สุด พระเจาปายาสิก็ยอมเปลี่ยน เพราะฉะนั้น การที่ยึดทิฏฐิอะไรเอาไว ถามีเหตุผลเพียงพอวาสิ่งที่เราถืออยู มันไมถูกตอง ก็พรอมที่จะเปลี่ยนเรามันใจนักเลงพอที่จะเปลี่ยนความเห็นของตนได เมื่อเกิดทิฏฐิ หรือทรรศนะที่จะยึดมั่นในสิ่งใดในอารมณใด ก็จะตองใชโยนิโสมนสิการ คือคิดดวยปญญาวาไมใชของเรา ไมใชเรา ไมใชตัวตนของเรา ก็จะปลอยวางทิฏฐินั้นๆได อยาลืมวาทิฏฐิเปนแตเพียงความเห็น ถาเรานับถือศาสนาพุทธ ศาสนาพุทธเปนคําสอนของพระพุทธเจา ก็ตองเอาความเห็นของเราไปเทียบกับคําสอนของพระพุทธเจา จะตรงกันหรือไมตรง ถาไมตรงกับคําสอนของพระพุทธเจา ก็ตองทิ้งความเห็นของเรา ไมใชไปทิ้งความเห็นของพระพุทธเจา หรือคําสอนของพระพุทธเจา แลวยกเอาความเห็นของเราเปนธง ถาจะเปนอยางนั้น เราก็ตองไปตั้งลัทธิใหม เพื่อจะไดใชความคิดเห็นใหเต็มที่ ใหเต็มตัว ตอจากนั้น พระพุทธเจาก็ทรงแสดงฌาน 4 เบื้องตน วาเปนธรรมสําหรับอยูเปนสุขในปจจุบัน เปนทิฏฐิธรรมสุขวิหาร ไมใชธรรมสําหรับขัดเกลากิเลส ฌาน 4 เบื้องปลายเปนธรรมเครือ่ งอยูสงบระงับ เปนสันติวิหาร ไมใชธรรมสําหรับขัดเกลากิเลส

77 ปปญจธรรม


ทรงแสดงธรรมเครื่องขัดเกลาคือกุศลกรรมบถ 10 เวนจากการฆาสัตว เปนตนไปจนถึง สัมมาทิฏฐิ เวนจากการเห็นผิด มีความเห็นถูกตอง นั่นแหละเปนธรรมเครือ่ งขัดเกลา สัมมัตตะ คือความเห็นถูกตอง 10 ประกอบดวยมรรคมีองค 8 บวกดวยสัมมาญาณ ความรูชอบ และสัมมาวิมุตติ ความหลุดพนชอบ นั่นเปนธรรมเครือ่ งขัดเกลา การละนิวรณ 5 ไดก็เปนธรรมเครื่องขัดเกลา การละอุปกิเลส 16 ได คือมีความโกรธเปนตน อภิชฌาวิสมโลภะ ละโมบในทางทุจริต นี่เปนตน ทานตองไปเปดดูเองนะครับ และการมีสทั ธรรม 7 ก็มีศรัทธาเปนตน ความละอาย มีความสะดุงกลัวตอบาป ก็ไดยินไดฟงมาก มีความเพียรสม่ําเสมอ มีสติมั่นคง มีปญญา สัทธรรม 7 อันนี้แหละ คือธรรมเครื่องขัดเกลา ตรัสสอนไมใหยึดมั่นถือมั่นในทิฏฐิของตน ไมใหถือไวอยางเหนียวแนน แตใหถือไวแตเพียงหลวมๆ เพื่อสละคืนไดงาย ตรัสอุปมากับพระจุนทะวา ดูกรจุนทะ ผูมีตนจมอยูในเปลือกตมอันลึกแลว จักยกบุคคลอื่น ซึ่งอยูในเปลือกตมอันลึกนั้นไดอยางไร ผูที่ไมฝกตน ไมแนะนําตน ตนเองยังรุมรอนอยูดวยกิเลสตางๆ จักฝกสอนผูอื่น แนะนําผูอื่น ยังผูอื่นใหสงบเย็นไดอยางไร แตผูที่ฝกตนแลว แนะนําตนดีแลว ดับความรุมรอนไดแลว นั่นแหละจักฝกสอนผูอื่นใหเปนเชนนั้นได ตามนัยที่ทรงแสดงกับพระจุนทะ เปนพระพุทธภาษิตที่นานํามาตักเตือนตัวเอง ใชกับตัวเองไดอยางยิ่ง

78 ปปญจธรรม


และมีขอความในอุทุมพริกสูตร ที่กลาววา พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นทรงรูแลว ก็ทรงสอนผูอื่นเพื่อความรู พุทฺโธ โส ภควา โพธาย ธมฺมํ เทเสติ ทรงสงบแลว ทรงสอนผูอื่นเพื่อความสงบ ทรงแสดงธรรมเพื่อความสงบ ทรงขามไดแลวทรงแสดงธรรมเพื่อการขาม เพราะฉะนั้น วิธีที่ดีอยางหนึ่งในการที่จะใหผูอื่นสงบ มีความอดทนหรือมีการฝกตน ทนฺโต โส ภควา ทมถาย ธมฺมํ เทเสติ พระผูมีพระภาคทรงฝกพระองคดีแลว จึงทรงแสดงธรรมเพื่อการฝก มีวิธีหนึ่งที่จะสอนผูอื่นไดดี ก็คือทําตัวใหเปนตัวอยาง พูดใหฟง ทําใหดู เปนอยูใหเห็น วิธีที่จะทําใหคนสงบ ไมมีอะไรดีเทาเราสงบเสียเอง วิธีที่จะใหคนอื่นเสียสละ ไมมีอะไรดีเทาเราเสียสละเสียเอง เขาไดเห็นอยูทุกวันๆ หรือผูอ ื่นไดเห็นตัวแบบ มันก็งายในการที่จะปฏิบัติ นอกจากนี้ พระพุทธเจายังทรงสอนใหเอาธรรมเครื่องขัดเกลาอันอื่นที่กลาวแลวขางตน มาเปนเครื่องฝกตน แนะนําตน ดับความเรารอนของตน และตรัสในตอนหนึ่งวา ดูกร จุนทะ แมเพียงความคิดเกิดขึ้นในการที่จะทําความดี ก็มีอุปการะมากเสียแลวในกุศลธรรมทั้งหลาย จะกลาวไปใยถึงการทํากายหรือวาจาใหสําเร็จใหลุลวงไป เพราะเหตุนี้แหละ จุนทะ เธอทั้งหลายพึงคิดอยูเสมอวา แมคนเหลาอื่นจะเปนผูเบียดเบียนกัน เราก็จะเปนผูไมเบียดเบียนใคร จุนทะ ธรรมเครื่องขัดเกลา เราไดแสดงแลวแกเธอทั้งหลาย กิจอันใดที่ศาสดาผูมุงประโยชนแกสาวก กิจนั้นเราไดกระทําแลวแกเธอทั้งหลาย

79 ปปญจธรรม


ดูกอนจุนทะ เห็นไหม นั่นสุญญาคาร (หมายถึงที่ที่หางไกลจากบานเรือน ตามความเห็นของผม ไมใชเรือนวาง ตามที่แปลกันอยู) เธอทั้งหลายจงเพงพินิจอยาประมาท อยาตองเดือดรอนในภายหลัง นี่คือคําสอนของเราตอเธอทั้งหลาย ขอสรุปใหฟงวา การที่คนทั้งหลายมุงมั่นกันทําสมาธิ เพื่อใหไดฌานพระพุทธเจาทรงแสดงวา เปนเพียงธรรมเครื่องอยูเปนสุขในปจจุบัน และฌานที่ 5-8 ก็เพียงประณีตขึ้นไปเรื่อยๆ แตไมใชธรรมเปนเครื่องขัดเกลากิเลส ทานลองนึกดู ฤาษีชีไพรเขาไดฌานกันเยอะสมัยพระพุทธเจา ไดฌาน 4 ฌาน 8 อาจารยของพระพุทธเจาเองก็ไดไมเทาไหรก็เสื่อม พอไปเจออารมณที่ยั่วยวน ฌานพวกนี้ก็เสื่อม เสื่อมแลวก็เปนคนธรรมดา แตถาปฏิบัติอยูในธรรมเปนเครื่องขัดเกลา กิเลสมันก็คอยบางลงไปๆ นอยลงไป ในที่สุดก็จะหมดไป เมื่อกิเลสหมดไปแลว มันก็คอื หมดไปเลย ไมกําเริบอีก ไมกลับมาทํารายอีก ขอนี้สาธุชนที่เปนพุทธบริษัทก็ควรจะคํานึงและตระหนักใหดี สําหรับคนทั่วไปนั้น กุศลกรรมบถ 10 ก็เปนสิ่งที่ดี สําหรับการใชในชีวิตประจําวัน เวนจากการเบียดเบียนกันไปจนถึงมีความเห็นถูกตองตามทํานองคลองธรรมเปนเครื่องขัดเกลา มรรคมีองค 8 เปนธรรมเครื่องขัดเกลา การละอุปกิเลส 16 ทานตองพยายามจํา มันสําคัญ อุปกิเลส แปลวาสิ่งเครื่องเศราหมองของจิต เราจะไดสํารวจดูวาตัวไหนมันโผลขึ้นมามาก จะไดตบมันลงไป ตัวไหนมันฤทธิ์มากนัก ก็จะไดปราบมันลงไป อภิชฌาความโลภ โกธะความโกรธ อุปณาหะผูกโกรธไว มักขะลบหลูคุณทาน ปลาปตีเสมอ ยกตนเทียมทาน อิสาริษยาเยอะแยะไปหมด 16 ขอขอรองใหทานลองไปกางดูจําใหไดทองใหได มีตําราก็กางดูบอยๆ ตัวไหนมันแสดงฤทธิ์ จะไดพยายามตอสูกับมัน ขมมันลงไป เชน ทิฏฐิ มานะ ก็เปนกิเลส ที่แมจะไมอยูในอุปกิเลส 16 มานะ

80 ปปญจธรรม


สิ่งเหลานี้เปนธรรมเครื่องขัดเกลา มนุษยเราจะเลวกวากัน หรือจะประเสริฐกวากันแคไหนเพียงไร ก็อยูที่การขัดเกลาไดมากนอยเพียงไรนั่นเอง เรื่องทิฏฐิ เปนเรื่องสําคัญ เพราะวาจะทําใหเราเบนชีวิตไปทางไหนอยางไรก็อยูที่ทิฏฐิ ความเห็นนี่แหละ ถามีทิฏฐิตรง ความเห็นจริง หมุนใจใหตรง การปฏิบัติธรรมก็ไมใชของลําบาก เปนของทําไดโดยสะดวกสบาย ใหใจเปนสัมมาทิฏฐิ อยาใหเปนมิจฉาทิฏฐิ พระสารีบุตรไดแสดงหลักธรรมที่เปนสัมมาทิฏฐิไวหลายเรื่องเหมือนกัน ลองดูในสัมมาทิฏฐิสูตร คัมภีรมัชฌิมนิกาย เลม 12 คนที่เปนสัมมาทิฏฐินั้น อยางไรเรียกวาสัมมาทิฏฐิ เชน รูวาอะไรเปนรากเหงาของกุศล อะไรเปนรากเหงาของอกุศล รูอยางนี้ก็เปนสัมมาทิฏฐิ เขาใจถูกตองก็เปนสัมมาทิฏฐิ รูจักอาหาร 4 และปฏิบัตอิ ยางถูกตองกับเรื่องอาหาร 4 นี่ก็เปนสัมมาทิฏฐิ รูเรื่องอริยสัจ 4 ก็เปนสัมมาทิฏฐิ รูเรื่องความแกความตาย พรอมดวยเหตุเกิดและความดับ ก็เปนสัมมาทิฏฐิ ดังนั้น ก็พยายามประคับประคองชีวิตใหอยูในครรลองของสัมมาทิฏฐิ แลวมันจะละมิจฉาทิฏฐิไปไดเอง มันเปนการละมิจฉาทิฏฐิดวยสัมมาทิฏฐิ และดวยการขัดเกลากิเลส ถากิเลสเบาบาง ทิฏฐิมันก็พลอยเบาบางไปดวย นั่นมันเปนตัวความยึดมั่น ความเห็นผิดและมันมากับมานะคือความทะนงตน กลัวจะเสียหนา ไมกลากมหัวใหใคร เราก็ตองปราบตัวเอง ตัวเองนั่นแหละเปนขาศึกของตัวเอง เราก็ตองทําตัวใหเปนมิตรของตัวเอง ดวยสัมมาทิฏฐิ เรื่องปปญจธรรม ผมก็จะยุติลงเพียงเทานี้ ขอความสุขสวัสดี ความเปนสัมมาทิฏฐิ และความไมเปนมิจฉาทิฏฐิ พึงมีแดทานผูฟงทั้งหลายโดยทั่วกัน สวัสดีครับ 81 ปปญจธรรม


ภาคผนวก : นิพพานเปนอนัตตา ตอนนี้มีปญหาสําคัญอันหนึ่ง ซึ่งผมอยากพูดดวยคน คือเรื่องนิพพานเปนอัตตา แตก็มีความเห็นหนึ่งวานิพพานเปนอนัตตา แตโดยปกติทั่วไปก็เห็นเหมือนกันโดยทั่วไปวา นิพพานเปนอนัตตา แตยังมีบางแหงเห็นวาเปนอัตตา แตก็ไมใชเพิ่งมี มีมาตั้งแตสมัยโบราณแลว แมในสมัยรจนาคัมภีรก็คงจะมีที่เห็นวานิพพานเปนอัตตา เพราะฉะนั้น ทานคันถรจนาจารย คือทานผูรจนาคัมภีร ทางฝายเถรวาท จึงไดกลาวเอาไวในพระวินัยปฎกเลม 8 ขอ 826 วา อนิจฺจา สัพฺพสงฺขารา ทุกฺขานตฺตา จ สงฺขตา นิพฺพานฺเจว ปณฺณตฺติ อนตฺตา อิติ นิจฺฉยา แปลวา สังขารทั้งปวงไมเที่ยง สิ่งที่ปจจัยปรุงแตงทั้งหลายไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา นิพฺพานฺเจว ปณฺณตฺติ นิพพานและบัญญัติวินิจฉัยกันแลววาเปนอนัตตาเหมือนกัน ทานก็รจนาเอาไว เพื่อยืนยันวาเถรวาทนั้นเห็นวานิพพานเปนอนัตตา แตทางฝายมหายานจะเห็นวาเปนอัตตา อยูดินแดนสุขาวดี พุทธเกษตร ก็เปนเรื่องของมหายานไป มีขอความอีกอันหนึ่งที่วา สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตาติ นิพฺพานํ อนฺโต กริตฺวา วุตฺตํ คําวาธรรมทั้งปวงเปนอนัตตานี้ พระผูมีพระภาคตรัสรวมเอานิพพานไวดวย นี่เปนขอความจากอรรถกถา และยังมีขอความอีกตอนหนึ่งที่วา คําวาสุญญตา และคําวาอนัตตาของนิพพานนี้ ใน 2 คํานี้ ไมมีปริยายที่ตรงกันขาม คือหมายความวาสุญญตากับอนัตตามีความหมายเดียวกัน ทานแสดงไวอยางนี้ นิโรธสัจจะ คือนิพพาน ทานแสดงวาเปนอนัตตา คืออริยสัจทั้ง 4 นั้นเปนอนัตตา ทั้งทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค เปนอนัตตา นิโรธสัจจะ นั้นก็เปนอนัตตาดวยเหมือนกัน นิโรธกับนิพพานก็มีความหมายเดียวกัน 82 ปปญจธรรม


นี่เปนนัยที่คันถรจนาจารยบาง พระอรรถกถาจารยบาง ทางฝายเถรวาทไดกลาวเอาไว ยืนยันวาพระนิพพานเปนอนัตตาแนนอน ถาบางคนบางสํานักจะมีความเห็นแตกตางไปจากนี้ ก็เปนเรื่องของผูนั้นไป ขออางพรหมชาลสูตร พระสูตรแรกของทีฆนิกายขอ 90 พระพุทธเจาตรัสกับภิกษุทั้งหลายวา เมื่อตถาคตยังมีชีวิตอยู เทวดาและมนุษยทั้งหลายก็เห็นตถาคตได แตเมื่อตถาคตนิพพานไปแลว เทวดาและมนุษยทั้งหลาย ก็จะไมไดเห็นพระตถาคตอีกเลย นี่เปนพระพุทธดํารัสที่ชดั เจน เพราะฉะนั้นใครจะนั่งสมาธิ นั่งวิปสสนา หรือทําโดยประการใดก็แลวแต ที่วาจะไปเฝาพระพุทธเจาได หรือจะเอาของไปถวายกับพระพุทธเจาได ก็เปนอันวา ไมสามารถจะเปนไปได คือทําไมได เห็นไมได ถาจะยืมเอาคําของหลวงปูดูลย อตุโล มาพูดก็ไดวา “เขาเห็นจริง แตสิ่งที่เขาเห็นนั้นไมจริง” อาจจะเห็นสิ่งอื่นแตกน็ ึกวาเปนพระตถาคต และก็มารับกับพระพุทธพจนที่ตรัสอยูเสมอ กับภิกษุทั้งหลายวา ผูใดเห็นธรรม ผูน ั้นเห็นเรา เพราะตอนจะนิพพาน ก็ไดตรัสวา ธรรมอันใดวินัยอันใด ทีท่ รงแสดงแลวบัญญัติแลว ธรรมและวินัยอันนั้นจะเปนศาสดาของเธอทั้งหลาย เมื่อเราลวงลับไปแลว ก็แปลวาใหถือเอาธรรมวินัยนั้นแหละ เปนสิ่งแทนพระองค แมพระพุทธรูปเอง ถาพูดกันตามนัยนี้ ก็ไมใชสิ่งแทนพระพุทธเจา เพราะพระพุทธเจาไมเคยตรัสวา พระพุทธรูปเปนสิ่งแทนพระองค แตเราก็อนุโลมวาไดทํากันเพื่อจะเปนอนุสาวรีย เปนที่ระลึกถึงพระพุทธเจา เปนเครื่องเตือนใจคลายเรามีรูปถายของพอแมหรือคนที่เคารพนับถือเอาไว เพื่อจะไดระลึกถึงทานเมื่อเห็นรูปทาน จุดประสงคก็มีเพียงเทานั้น

83 ปปญจธรรม


แตเวลานี้เราเอาพระพุทธรูปมาทําสารพัดอยาง เพื่อประโยชนสารพัดอยาง ก็มักจะเปนประโยชนทางวัตถุกันเสียหมด ไมใชประโยชนทางจิตใจ นี่พูดโดยมากไมใชทั้งหมด โดยมากจะเปนเชนนั้น ถาจะถามวาทําไมจึงมาเอาเรื่องเอาราวนักหนาวา พระนิพพานหรือพระอรหันตทั้งหลายนิพพานแลวเปนอยางไร พระนิพพานเปนอัตตาหรืออนัตตา ก็ขอยกพระพุทธภาษิตมาอีกขอที่วา นิพานํ วทัญติ พุทธา พระพุทธเจาทั้งหลาย ตรัสวา พระนิพพานเปนบรมธรรม เปนเปาหมายสูงสุดของพุทธศาสนา เพราะฉะนั้น ก็ตองทําความเขาใจใหแจมแจงถึงนิพพานวาเปนอยางไร เพื่อจะไดปฏิบัติไดถูกตอง มิฉะนั้นเราก็ไมมีเปาหมาย ซัดสายเขวไปเขวมาไมรูจะไปทางไหน นิพพานก็เปนสิ่งที่เราเขาถึงได โดยการดับกิเลส ดับกิเลสลงไดมากเทาไหร หรือลดกิเลสลงไดมากเทาไหร ก็เขาถึงนิพพานไดมากเทานั้น ถาในชีวิตประจําวัน เรามีชีวิตอยูอยางสงบเย็น ก็ไดอยูกับนิพพาน แมจะเปนนิพพานตัวอยาง ก็ใชได

84 ปปญจธรรม


ภาคผนวก : อธิษฐานธรรม ตอนนี้ก็ปใหมอยางแทจริงแลว เริ่มศักราชใหม 2542 มาเปนวันที่ 2 ของเดือนมกราคม คราวที่แลวผมไดเอยเอาไววา สัปดาหนี้จะพูดเรื่องปใหมอีกสักนิดหนึ่ง คิดจะคุยกับทานผูฟงวา ถาเราจะอธิษฐานอะไร ตองการอะไรในปใหมนี้ หวังอะไรอยากไดอะไร ก็ขอใหไดทํา ถาจะอธิษฐาน คําวาอธิษฐานในภาษาบาลีทานหมายความวาตั้งใจมั่นคง แตภาษาไทยนํามาใชในความหมายวาปรารถนา ตองการ ธรรมดาก็บอกวากอนจะใสบาตรก็ใหจบเสียกอน คําวาจบหมายความวาอธิษฐาน ยกขึ้น ยกภาชนะที่ใสขาวขึ้นสูงๆ เหนือศีรษะ เรียกวาจบเสียกอน นั่นก็คือการอธิษฐาน แตความหมายเดิม อธิษฐาน หมายความถึงตั้งใจมั่น อยางเชนอธิษฐานบารมี ในบารมี 10 มีอยูขอหนึ่งคืออธิษฐานบารมี บารมีที่เกี่ยวกับการอธิษฐาน คือพระพุทธเจาหรือพระโพธิสัตว เปนผูที่ตั้งจิตมั่น มุงตรงตอพระโพธิญาณ อะไรจะมาทําใหวอกแวก ทําใหเขวออกนอกทางนี่ ไมเอา อธิษฐานบารมีนี่แหละมาดักเอาไวมากีดกันออกไป เพราะฉะนั้น ทานที่ตองการจะอธิษฐานในปใหมนี้ ก็ขอใหอธิษฐานโดยการกระทํา คือตั้งใจมั่น ในพระไตรปฎก ในตําราของเราก็มีธรรมะอยูหมวดหนึ่ง เรียกวา อธิษฐานธรรม แปลวาธรรมที่ควรตั้งไวในใจ ถาจะถามวามีอะไรบางที่เราควรจะตั้งไวในใจ ควรจะอธิษฐาน พระพุทธเจาทานก็แนะนําไวใหแลว ผมก็เพียงแตนาํ เอาคําสอนของพระพุทธเจามาเลาทานสอนไวอยางไร

85 ปปญจธรรม


การอธิษฐาน เรื่องการอธิษฐานพระพุทธเจาก็สอนไววา ถาจะอธิษฐานก็ควรจะอธิษฐาน 4 อยาง ตั้งไวในใจ ขอใหธรรมเหลานี้ มีอยูในใจของเรา 1. ปญญา อธิษฐานตองการใหมีปญญา ขอใหเราตั้งใจมั่นวาจะแสวงหาปญญา ปญญาเปนแสงสวางของใจ ทําใหใจเราสวาง 2. สัจจะ ใหอธิษฐานในเรื่องสัจจะ ใหเปนคนมีสัจจะ จะทําอะไรก็ทําจริง พูดจริงและทําจริง บางทีทานเอานํามาตอกันวา สัจจาธิษฐาน ตั้งสัจจะไววาจะเวนอยางนั้นใหได จะทําสิ่งนี้ใหไดเรียก วาสัจจาธิษฐาน เชน ตั้งสัจจาธิษฐานวาปใหมนี้จะไมโกรธ หรือจะใหจิตกระเพื่อมนอยที่สุด ใหจิตโกรธนอยที่สุด และก็พยายามรักษาสัจจาธิษฐานอันนั้นเอาไว ตั้งสัจจะเอาไว อาจจะคุยกับคนอื่นบางก็ได เพื่อจะไดละลาย เพราะเราพูดกับเขาไวแลววาเราจะไมโกรธ ถาเผื่อเกิดโกรธขึ้นมาจะไดละอาย ถาตั้งสัจจะไวกับตัวเองก็ดีเหมือนกัน แตวามันอาจจะกลับกลอกงาย เพราะไมมีใครรู เราก็จะหาเหตุผลเขาขางตัวเอง 3. จาคะ ความเสียสละ มีความหมายหลายอยาง สละวัตถุภายนอกบาง ไมเปนคนขี้เหนียว ไมเปนคนเห็นแกได สละสิ่งที่เปนความเศราหมองภายใน จาคะ นี่มันเปนทอระบายของจิต คืออะไรที่มันมาหมกหมมอยูในจิต เหมือนกับทอระบายนี่มันตัน ถามีสิ่งสกปรกขี้โคลนและขยะตางๆ เขาไปในทอ มันทําใหทอตัน มันตองมีการระบายออก จาคะเปนทอระบายของจิต คนที่ระบายออกไปไมเปน อารมณรายมันตองระบายออกไป เอาอารมณดีคือน้ําใส หรืออารมณดีใสเขามาแทน จาคะเปนตัวระบายอารมณราย อารมณบูด ที่มนั อยูในใจ บางคนก็หมักหมมในชีวติ ประจําวัน หมักหมมอยูในอารมณไมดี สิ่งไมดีตางๆ แตบางคนเขาก็ฉลาด เขาบอกวาอยูบาน 6 วัน มันหมักหมมไปดวยอารมณไมดีตางๆ พอถึงวันอาทิตยก็ไปวัดเสียหนอย ไปทําอะไรที่วัดทั้งวัน ก็เปนการไดระบายสิ่งหมักหมมในจิตใจ เรียกวาคิดเปน หรือวาเราไมไดไปวัด เราอยูบาน เราก็สวยได ที่ใดสงบที่นั้นก็เปนวัด คิดอยางนั้นก็ได ถาเผื่อไปวัดมันวุนวายนัก มันก็ไมใชวัดในความหมายที่ถูกตอง

86 ปปญจธรรม


วัดนี่เราแปลมาจากคําวาอาราม ภาษาบาลีเดิมวาอารามทานใชอารามทั้งนั้น เชตวนาราม เวฬุวนาราม บุพพาราม โกสิตาราม ลงคําวารามทั้งนั้น แปลวานารื่นรมย ตอมาๆ วัดกับบานก็อยูติดกัน วัดก็กลายเปนไมนารื่นรมย ไมสะอาด บางคนที่รักความสะอาดก็เลยหนีเลย แตบางคนก็มองขามเสีย มุงเอาสิ่งอื่น เพราะมีสิ่งอื่นที่ดี มองขามความไมสะอาดเสีย แมจะไมรื่นรมยโดยบรรยากาศ แตอาจจะรื่นรมยโดยธรรมะ ไดธรรมะเปนที่รื่นรมย ทําอยางไร วัดของเราจึงจะเปนอาราม นารื่นรมย ชวยกันคิดดู โดยเฉพาะอยางยิ่งผูที่รับผิดชอบ ใครเปนคนรับผิดชอบ ผูนั้นแหละทําใหรื่นรมยได มีวิธีการทีจ่ ะทําใหรื่นรมยเยอะแยะไป จะทําหรือไมทําเทานั้นเอง นี่คือจาคะ รูจักระบายอารมณที่ไมดีออกไป ถือจาคะเปนทอระบาย ในรางกายของเราก็มีสิ่งหมักหมม ถาเผื่อวาไมมีทางระบายออกจากรางกาย มันก็หมักหมม แลวเราก็อยูไมได มีเขาแลวก็มีออกตามสมควร ทรัพยสินเหมือนกัน หามาได ไมรูจักจาย ไมรูจักเสียสละ ไมรูจักใหคนที่ควรให มันก็หมักหมม ทําใหจิตใจหมักหมม แตถาไปใหคนที่ไมควรให มันก็แยเหมือนกัน เพราะทําใหคนที่เราใหนั้นเสีย การใหคนที่ควรใหนั้น ทําใหคนที่เราใหนั้นดี เปนคนดีขึ้น จิตใจสูงขึ้น แตถาเราไปใหคนที่ไมควรให มันแยเหมือนกัน นอกจากจะทําใหเราเปนคนเสียแลว ยังทําใหคนที่เราใหเปนคนเสียดวย เพราะฉะนั้น จะตองระวังเรื่องการให จาคะหรือทาน ทานจึงบอกวาใหแกคนที่ควรให ไมใหแกคนที่ไมควรให ถาจะมีอะไรที่ควรตั้งไวในจิต ขอเสนออีกขอหนึ่งก็คือจาคะ

87 ปปญจธรรม


4. อุปสมานุสสติ แปลวา ความสงบ ใหเรารักความสงบ รักธรรมที่ทําใหเราสงบ มีอนุสติอยูขอหนึ่งในอนุสติ 10 สิ่งที่ควรระลึก มีขอสุดทายใชคําวา อุปสมะ แปลวาระลึกถึงพระนิพพานอันเปนที่สงบกิเลสและความทุกข อุปสมะ ในความหมายสูงก็คือวา อริโย อุปสโม อุปสมะที่เปนอริยะ เดี๋ยวผมจะใหรายละเอียด อริ โยอุปสโม หรืออุปสมะที่เปนอริยะ ความสงบหรือธรรมที่เขาไปสงบระงับ ทําใหจิตใจสงบ สรางนิสัยใหเปนคนรักความสงบ แลวเราก็จะอยูได อยูที่ไหนก็อยูได ยิ่งสงบก็ยิ่งอยูดี ยิ่งชอบ บางคนก็อยูไมได เหงา แตถาเราสรางนิสัยสรางจิตใจใหเปนคนรักความสงบ ยิ่งอยูในที่สงบมันยิ่งชอบมันไดสงบ นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ นี่แหละ สุขอื่นยิ่งกวาความสงบไมมี ขอใหตั้งใจไววา ในปใหมนี้จะรักความสงบ ขอใหเราอยูอยางสงบ คนที่จะสงบ ตองใจสงบกอน สนฺตํ ตสฺส มนํ โหติ สนฺตา วาจา จ กมฺม จ พระพุทธเจาทานตรัสวา สนฺตํ ตสฺ มนํโหติ ใจของทานผูนั้นสงบแลว สนฺตา วาจา จ กมฺม จ กายวาจาของทานก็สงบไปดวย มันเย็น เขาใกลแลวเย็น ทานทั้งหลายก็มีประสบการณดวยตัวเอง คนที่เขาสงบ คนเขาใกลก็พลอยสงบไปดวย กระแสของความสงบมันแผซานออกมา ทําใหคนที่เขาใกลรูสึกสงบ เหมือนเราเขาใกลน้ําตก กระแสของความเย็น ละอองของความเย็นของน้ําตกมันแผซานออกมา ทําใหเรารูสึกเย็น เขาไปในรัศมีของคนสงบแลวเราก็รูสึกเย็น รูสึกสงบระงับ ถาเผื่อเขาไปในรัศมีของคนที่รอน ก็เหมือนกับเราเขาไปในรัศมีของสิ่งที่รอน เขาไปใกลกองไฟ แมเราจะไมเห็นกองไฟ แตวารัศมีของไฟ มันแผออกมาทําใหเรารูสึกรอนที่ผิวหนัง ถาเราเขาไปใกลคนที่รอนอยูเปนลักษณะ ตัวเขารอน มันก็แผรัศมีของความรอนออกมา เหมือนเราเขาไปในโบสถที่ดีๆ กับเขาไปในโรงงานฆาสัตวโดยไมตองรูวาเปนโรงงานฆาสัตว จิตใจของเราจะไมเหมือนกัน

88 ปปญจธรรม


เพราะฉะนั้น ใหเราตั้งใจไววาเราจะรักความสงบ ชอบใจในความสงบ อยูอยางสงบ แตก็ไมใชอึดอัด แตวาสงบอยูดวยความพอใจในความสงบ รูสึกวามันเย็น มีความเยือกเย็นเปนสุขที่ไดสงบ เวลานี้หนังสือเยอะแยะ อุปกรณในการที่จะชวยใหเราอยูอยางสงบ ถาเผื่อใจเราไมเที่ยวฟุงซานเสียเอง ใจเราไมวุนวายไปเอง ใจเราไมซัดสายไปเอง เราก็อยูอยางสงบได แมในทามกลางสังคมที่วุนวาย จะขับรถไปที่ไหนมันก็วุนวาย ถาเรารักษาใจได สงบได คนที่ขับรถนี่จิตใจมันจะกระวนกระวาย ใครก็ขับรถไมเปนไปหมด ขับไปดาไป คนนั้นก็ขับไมเปน คนนี้ก็ขับแย ใจมันก็ไมสงบ มันฟุงซานหงุดหงิดไป ไมสงบ ใหเราตั้งใจในปใหม วาเราจะพยายามในการที่จะอยูอยางสงบ พูดอยางสงบ ก็แนนอน ถาเผื่อใจสงบ กายวาจาก็สงบไปดวย ใจเปนใหญใจเปนประธาน ใจเปนนายกายเปนบาว เราก็รูกันอยู นี่เปนของขวัญปใหม สําหรับทานที่ตองการจะอธิษฐานวาเอะ จะอธิษฐานอยางไรดีในปใหม ก็ขอแนะนําวา พระพุทธเจาทานสอนเอาไวอยางนี้ วาเปนอธิษฐานธรรม คือสิ่งที่เราควรจะอธิษฐาน หรือตั้งไวในใจ วามีปญญา แสวงหาปญญา ใหใจมีปญญา ทําใหเราไมถือผิด ไมถือเอาผิด แมแตสนใจธรรมะ แตถา ไมมีปญญา มันก็ถือเอาธรรมะผิดๆ นั่นแหละ มาเปนแนวทางดําเนิน อยางในสุภาษิตในชาดก วิฑูรชาดก นฏฐา พหู ทุคฺคหิเตน โลกา ชาวโลกพินาศฉิบหายไปมากแลว เพราะถือผิด ในการใหพรปใหมกับลูกศิษยเมื่อวันอาทิตยที่แลว ผมใหพรวา ขอใหไดปญญา ขอใหไดธรรม และขอใหไดความสุข แลวผมก็อธิบายขยายความใหหนอยหนึ่งวา ถาเราไดปญญาแลว เราก็จะไดธรรมที่ถูกตอง เพราะธรรมมีทั้งธรรมที่ผิดและธรรมที่ถูก เมื่อไดปญญาแลว จะเอาไปสองธรรม จะไดธรรมที่ถกู ตอง ถาไมมีปญญาแลวก็ไปเสพธรรมที่ไมถูกตอง ไปเสพ มิจฺฉา ทิฏฐิ น เสเวยฺย ไมควรเสพมิจฉาทิฏฐิโดยไมรูตัว ถาคนรูตัวมันไมเสพหรอก แตวาไปเสพมิจฉาทิฏฐิเขาโดยไมรูตัว คิดวาเปนสัมมาทิฏฐิ เพราะวาขาดปญญา 89 ปปญจธรรม


ทานไปเปดดูในมหาจัตตารีสูตร ที่พระพุทธเจาทรงแสดงวา ปญญาทําใหเรารูวา มิจฉาทิฏฐิเปนมิจฉาทิฏฐิ สัมมาทิฏฐิเปนสัมมาทิฏฐิ คนที่เปนมิจฉาทิฏฐิเขาไปแลวแตไมรู ไมรูวาอะไรเปนมิจฉาธรรม อะไรเปนสัมมาธรรม เพราะวาประมาทไมเรียนไมอาน ไมทําความเขาใจ ไมสืบสวนคนควา เชื่อแตสํานักอยางเดียว ไมมีที่อางอิงไมมีหลักฐาน ทําไมไมเขาหาพระพุทธเจา เราสงสัยอะไร ไมแนใจอะไร เขาหาพระพุทธเจาวาเรื่องนี้ทานสอนไววาอยางไร มันก็ชัดเจนออกมา ก็สบายตัดสินใจไดเลย ปญญาเปนเครื่องวินิจฉัยสิ่งที่เราไดยินไดฟงไดรูไดเห็น จึงบอกวา ขอใหทานทั้งหลายไดปญญา เลยขอเอามาอวยพรในโอกาสนี้ไวเลย สําหรับทานผูฟงทั้งหลาย ขอใหไดปญญา ขอใหไดธรรมะ พอไดปญญาแลว ก็จะไดธรรมะที่ถูกตอง ขอใหไดความสุข พอไดธรรมะแลวก็ไดความสุขที่ถูกตอง คนสวนมากนึกถึงความสุข แลวก็ตะกละตะกลาม ความสุขยังไงก็ได ขอใหเปนสุข ไมไดนึกวาความสุขนั้นมีคุณภาพหรือไม ความสุขนั้นประกอบดวยธรรม หรือไมประกอบดวยธรรม เปนความสุขที่เปนธรรมหรือไมเปนธรรม คนจึงเบียดเบียนกัน หาความสุขบนความทุกขของผูอื่น เอารัดเอาเปรียบผูอื่น อยากไดในสิ่งที่ตองเอารัดเอาเปรียบคนอื่น อยางนี้เพราะวาไมมีธรรมในการแสวงหาความสุข พระพุทธเจาก็บอกเอาไว ผูใดแสวงหาความสุขบนความทุกขของผูอื่น ก็ระคนไปดวยเวร เขาก็จะไมไดรับความสุข อธิษฐานธรรมหรือธรรมที่ควรตั้งไวในใจนี้ ถือวาใหเปนพรปใหมที่ผมจะขอมอบใหทานทั้งหลายในโอกาสนี้ ถาเราดํารงชีวิตอยูดวยธรรมดังกลาวนี้ คุณภาพชีวิตของเราก็จะดีขึ้น และมั่นใจวาจะดีขึ้นแนๆเลย เราก็จะไดคุณภาพชีวิตที่ดีงาม และจะไดพบความสูงสงของชีวิตในดานใน inner life

90 ปปญจธรรม


ชีวิตคนเรามีดานนอกกับดานใน ดานนอกก็หมายถึงสวนที่เกี่ยวกับรางกาย ดานในก็คือสวนที่เกี่ยวกับจิตใจ ก็จะไดชีวิตที่ดี ทุกคนตองการชีวิตที่ดี แตวาไมไดหมายความวาดีกวาคนอื่น แตดีกวาที่เราเคยเปนมาเคยรูสึกมา ชีวิตของเราจะมีคุณภาพที่ดีได ก็ดวยการงานที่ทํา ถาการงานที่ทํานั้นดี ก็จะทําใหคุณภาพชีวิตของเราดีขึ้น ถามวาการงานอยางไรเรียกวาการงานที่ดี ก็คือการงานที่ไมเบียดเบียนตัวเอง ไมเบียดเบียนผูอื่น เปนการงานที่สุจริตและเปนประโยชนรายไดจะมากบางนอยบาง ก็ไมสําคัญเทากับการรูจักครองตัวเอง คนมีรายไดมากถาไมรูจักครองตนก็ไมมีความสุข และก็มักจะหมุนไปทางความเสื่อมเสียอีกดวย ตรงกันขามคนที่มีรายไดนอย แตรูจักครองตน ก็ยังสามารถจะดํารงตนใหผาสุก เจริญมั่นคงได คนทั้งสองพวกนี้ เราเห็นไดอยูทุกเมื่อเชื่อวัน เราก็หมั่นตั้งอยูในอธิษฐานธรรม หมัน่ บริจาคทําบุญชวยเหลือผูอื่นบางตามกําลังตามสมควร หมั่นรักษาศีล หมั่นแสวงหาปญญา รักษาความประพฤติ รักษากิริยามารยาทใหดูดีงามเหมาะสม ไมเปนที่รังเกียจของคนที่ไดพบเห็น ไดคบหาสมาคม หมั่นอบรมจิต ขัดเกลาจิตใจ ใหมีกิเลสเบาบาง เขาใจเพื่อนมนุษย และปฏิบัติตอเพื่อนมนุษยอยางถูกตองดีงาม ทําชีวิตของเราใหสงบสุขและมีประโยชน ใหเปน Peaceful and Usefull Life นี่แหละคือคุณภาพชีวิตที่ดี ที่พึงปรารถนา ที่พึงอธิษฐานในโอกาสปใหม ขอใหหนักในเรื่องของปญญา และไมควรประมาทปญญา พระพุทธเจาทานตรัสสอนในอธิษฐานธรรมนี้วา ปٛ ٛ ฺ ํ นบฺบมชฺเชยฺย ไมควรประมาทปญญา ทําไมจึงไมใหประมาทปญญา ไมวาจะปญญาของตน หรือของผูอื่น เพราะวาถาประมาทปญญาเสียแลว เราก็ไมแสวงหาปญญา เห็นวาปญญาเปนสิ่งไมสําคัญ

91 ปปญจธรรม


ไมตองแสวงหา อยูไปวันๆ ไดกินไดอยูไดเที่ยวก็พอแลว ปญญาไมใชสิ่งสําคัญของชีวิต ไมตองแสวงหามันหรอก แตคนที่ไมประมาทปญญา เขาจะแสวงหาปญญาอยูเสมอ วันละเล็กละนอยก็ยังดี ไดรูสึกวาความรูเพิ่มขึ้น นานวันไปความรูก็จะพอกพูนขึ้น ทําใหเปนคนที่รอบรูสิ่งตางๆ ตามความเปนจริง ไมหลงงมงายอยูกับสิ่งไรสาระ หรือสิ่งที่มีประโยชนนอ ยกวา ทําใหรูใหเขาใจวาอะไรเปนประโยชนแทจริง อะไรเปนแตเพียงความนิยมของโลกชั่วครูชั่วยาม เราไมไปเอาใจใสกับมัน มันเปนเพียงความตื่นเตนชั่วคราว ตัวสําคัญคือเราตองแสวงหาปญญาทุกวัน โดยการอานหนังสือบาง เปนตน ไมใชชีวิตใหสูญเปลาในแตละวัน ความจริง พระพุทธเจาทานตรัสไวใน อธิษฐานธรรม สจฺจมนุรกฺเขยฺย พึงรักษาสัจจะ จะทําสิ่งใดประพฤติสิ่งใด ยอมสมควรทําใหจริง ไมเหลาะแหละโลเล ไมจับจด ทําสิ่งนั้น และเห็นสิ่งนั้นเปนสิ่งสําคัญ ลดความสําคัญของสิ่งอื่นลงไป ถาจะทําสิ่งนั้นถาจะพูดสิ่งใด ก็ตรองแลว พยายามทําใหไดจริงตามที่พูด จะทําใหเปนคนนาเคารพนับถือ นาเชื่อถือ เพราะมนุษยเราจะสูญเสียอะไรยิ่งไปกวาการสูญเสียความเชื่อถือของคนอื่น ไมเชื่อถือตัวเอง ไมไดทําสิ่งที่เปนความจริง ก็สูญเสียความเชื่อถือตัวเอง พระพุทธเจาไดตรัสวา ควรเสียสละ ควรพอกพูนจาคะ จาคมนุพฺรูเหยฺย ควรพยายามเสียสละทั้งภายในและภายนอก ตามที่ผมไดพูดมาบางแลว อุปสมะ นี่ก็สงบกาย สงบใจ สงบวาจา สงบจิต เราก็ตองศึกษาวิถีทางแหงความสงบใหรูใหดีวาคุณคามันอยูที่ไหน สนฺติเมว โส สิกฺเขยฺย พระพุทธเจาตรัสไวอยางนี้ ในเรื่องความสงบ แปลวา พึงศึกษาความสงบ คําวาศึกษาหมายความวา เรียนรู และเขาใจ ปฏิบัติตามที่เรียนรู พอใจในความสงบ ไมพอใจในความพลุงพลานวุนวาย หรือพลุกพลานก็ได พลุงพลานของใจ พลุกพลานจากภายนอก อันนี้แหละเปนสิ่งสําคัญยิ่งของชีวิตที่เราควรจะตั้งไวในใจ เปนอธิษฐานธรรม ที่ผมขอมอบเปนของขวัญแกทานผูฟงทั้งหลายในโอกาสปใหม สัจจะ จาคะ ปญญา อุปสมะ ก็จะเปนชีวิตที่ดี มีคุณภาพ 92 ปปญจธรรม


ผมอยากจะขอขอบคุณสถานีวิทยุพล ม.2 ไวในโอกาสนี้ดวยนะครับ ที่ไดเอื้อเฟอใหเวลามาเผยแผธรรมทางสถานีวิทยุ แปลวาไดใหความรวมมือในการเผยแผ และสงเสริมพุทธศาสนาและแนวทางสําหรับดําเนินชีวิตแกประชาชนและบุคคลผูสนใจในการดําเนิน ชีวิต เพื่อใหมีการดําเนินชีวิตที่ดีขึ้น หลักของเรามีอยูวา การรวมมือเทากับการทําเอง เพราะฉะนั้นการที่ทางวิทยุพล ม.2 A.M. Sterio 963 ไดใหความรวมมือและใหโอกาสมาเผยแผธรรมและแนวทางดําเนินชีวิตแกประชาชน นี่ก็ถือวาเปนการทําเอง คือทําเองอยูเปนอันมากแลว เพราะทุกอยางสําเร็จโดยลําพังผูใดผูหนึ่งไมได ตองเปนอิทัปปจจยตา หมายความวาตองอาศัยกัน เมื่ออาศัยสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น อาศัยสถานีวิทยุ การบรรยายธรรมจึงเกิดขึ้น อาศัยผูบรรยายธรรม การเผยแผธรรมจึงเกิดขึ้น อาศัยผูฟงธรรม การเผยแผธรรมจึงมีอยูได เรียกวา อิทัปปจจยตา หรือปฏิจจสมุปบาท หรือปจจยการ คืออาศัยซึ่งกันและกัน ก็ขอขอบคุณสถานีที่ไดใหโอกาสนี้ และในโอกาสเดียวกันนี้ก็จะขออวยพรปใหมใหแกทานผูอํานวยการ สถานีวิทยุแหงนี้และเจาหนาที่ทุกแผนกทุกฝาย ทุกสวนทุกคนใหไดมีความสุขความเจริญรุงเรือง ประกอบกิจการใดสําเร็จดังประสงค และบุญกุศลใดที่ไดเกิดจากการเผยแผธรรมในวันเสาร วันอาทิตย ที่ไดกระทํามาหลายเดือนแลว ขอใหทานผูบริหารวิทยุกระจายเสียงทุกคน ที่เกี่ยวของอยูกับสถานีวิทยุพล ม.2 นี้ ไดมีสวนแหงบุญอันนั้นดวย ขอใหมีความสุขความเจริญตลอดป 2542 ขอขอบคุณและสวัสดีปใหม แกเจาหนาที่ตางๆ และขอใหทานผูฟงทั้งหลาย ไดประสบความสุขสวัสดี อันนี้ใหพรทุกวันอยูแลว มาถึงเรื่องอธิษฐานธรรม ธรรมที่ควรตั้งไวในใจ ผมไดคุยกับทานโดย เหฏฐิมปริยาย เหฏฐิมแปลวาเบื้องต่ํา ไดพูดถึง ปญญา สัจจะ จาคะ อุปสมะ ละเอียดพอสมควร ใหเปนแนววามีความจําเปนอยางไร ใชอยางไร โดยเฉพาะอยางยิ่งความสงบ 93 ปปญจธรรม


มนุษยสวนมากในโลกไมคอยตองการความสงบกันเทาไหร แตวาตองการการกระตุนจากอารมณตางๆ จึงไปเที่ยวแสวงหาสิ่งกระตุน ทําใหอารมณเคลิบเคลิ้ม หลงใหล เพลิดเพลิน มัวเมาไป ไมคอยตองการความสงบเทาไหร แตวาตองการการกระตุนจากอารมณตางๆ เรื่องของธรรมที่ควรตั้งไวในใจ หรืออธิษฐานธรรม จะขอตอนิดหนึ่งในปริยายอื่น เปนปริยายเบื้องสูงดวย คําวาอารมณหมายถึงรูปารมณ อารมณคือรูป คําวาอารมณในภาษาธรรมะหมายถึงสิ่งภายนอก หมายถึงอายตนะภายนอก ที่คูกับตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ รูปารมณ สัททารมณ คันธารมณ รสารมณ โผฏฐัพพารมณ ธรรมารมณ ที่มันคูกับตา หู จมูก ลิ้น กาย ตองการการกระตุนจากสิ่งเหลานั้น จากรูป จากเสียง จากกลิ่น จากรส มีคนแสวงหารูป เสียง กลิ่น รส เปนที่นาพอใจ อิฏฐา กันตา มนาปา อันเปนที่นาพอใจ เปนที่รักเปนที่ตองการ ไมคอยตองการความสงบ สิ่งเหลานั้นมันไมคอยเปนอันเดียวกับความสงบ หรือเปนปฏิปกษตอความสงบ ทําใหความสงบนอยลง หรืออาจจะทําลายไปเลย กลายเปนวุนวายไปเลย ทานลองนึกดูเวลาไปดูอะไรสักอยางหนึ่งที่มีคนไปดูเยอะๆ นั่นคือตองการการกระตุนจากอารมณคือรูป เสียง ไปฟงคอนเสิรต ไปฟงดนตรี มันก็ยอื้ แยงกันเขา บัตรไมพอก็มีปญหา มีเรื่อง เปดโอกาสใหคนเอารัดเอาเปรียบกันโดยงาย ฝายหนึ่งก็ตองการจะเอาเปรียบจากกิจกรรมนี้ อีกฝายหนึ่งก็ดวยความอยากที่ถูกกระตุนโดยอารมณ หรืออยากใหอารมณมันกระตุนก็เลยยอมเสียเปรียบ แมบัตรราคา 100 บาทเขาขาย 500 บาทก็เอา ถาตองการความสงบก็ไมตองไป อยูบานก็ได นี่เพราะเขาเปดทีวีใหดูแลวก็ไมพอใจ ตองไปดูใหถึงที่ ไปดูแสงสีเสียงตางๆ นั่นก็ถูกกระตุนทั้งนั้น สิ่งกระตุนอารมณทั้งนั้น แสง สี เสียงตางๆ ก็ไมมีอะไร ก็ดิน น้ํา ลม ไฟ เดี๋ยวผมจะไปถึงตรงนั้น อธิษฐานธรรมในปริยายเบื้องสูง นี่ผมพูดถึงความสงบ คนในโลกสวนมากไมคอยตองการความสงบ แตตองการการกระตุนจากอารมณตางๆ เสร็จแลวก็มีความเดือดรอนตามมา มีการทะเลาะเบาะแวงกัน มีการยื้อแยงกันตามมา

94 ปปญจธรรม


ความสงบนี้มันไมตองซื้อหา ไมตองแสวงหา เราเพียงแตวาไมตองการความวุนวาย มันก็เกิดความสงบไดแลว ชีวิตที่มีความสงบเปนชีวิตที่ดี พูดเรื่องนี้แลวผมมักจะพูดยาว เพราะตองการใหคนมาเสพความสงบ มาไดความสงบ มาลิ้มรสความสงบ มาชิมลองความสงบดู ไมตองไปไหนก็ได อยูกบั ที่อยูกับบาน ไปที่ไหนดูอะไรมันก็ดิน น้ํา ลม ไฟ ทั้งนั้น ไปดูไฟมันก็ไฟนั่นแหละ หรือเพิ่มเขามาก็คืออากาศ อากาศคือความวาง ผมจะเลยมาถึงอธิษฐานธรรม ธรรมที่ควรตั้งไวในใจที่พูดคางไว โดยปริยายเบื้องสูง ซึ่งปรากฏใน ธาตุ วิภังคสูตร พระไตรปฎกเลม 14 ขอ 678 ถึง 693 พระสูตรนี้ยาว นี่ยอที่สุดคือ พระพุทธเจาไดทรงแสดงเรื่องนี้แกกุลบุตรผูหนึ่งชื่อ ปุกกุสาติ ที่บานชางหมอ กรุงราชคฤห และทรงแสดงเรื่องนี้โดยปริยายเบื้องสูง เปนโลกุตตระ เรื่องธาตุวิภังคสูตร ซึ่งแสดงแก ปุกกุสาตินี้แหละ เปนเคา เรื่องของกามนิต-วาสิฏฐี ที่มีชอื่ เสียง นักเรียนก็เรียนกันอยู ชาวบานก็ชอบอาน ฝรั่งชาวเยอรมันเอาไปแตง แลวตอนหลังก็แปลเปนภาษาอังกฤษ แลวมาเปนภาษาไทย เปนเคาเรื่องเพราะวากามนิตไปพบพระพุทธเจาที่บานชางหมอ คลายๆกัน ธาตุวิภังคสูตร โดยปริยายเบื้องสูงเปนโลกุตตระ พระพุทธเจาทรงแสดงเรื่องอธิษฐานธรรม 4 อยาง 1. ปญญา ทรงหมายถึงรอบรูในธาตุ 6 คือธาตุดิน น้ํา ไฟ ลม อากาศธาตุ และวิญญาณธาตุ ตามความเปนจริง คือใหรูวาอะไรๆมันก็เปนดิน น้ํา ไฟ ลม อากาศธาตุ สวนที่เปนรูปธรรมมันก็มีเทานี้ ไมวารูปรางหนาตามันจะเปนอยางไร ตัวจริงมันก็คือดิน น้ํา ไฟ ลม อากาศคือความวางที่แทรกซึมอยูในวัตถุนั้น ในสิ่งนั้น วิญญาณธาตุ ถาเปนคนก็มีวิญญาณ เปนคนเปนสัตวก็มีวิญญาณธาตุ ใหรูสิ่งเหลานี้ตามความเปนจริงและเบื่อหนาย สามารถพรากจิตออกมาเสียได จากความติดพันในสิ่งเหลานั้น ในดิน น้ํา ไฟ ลม และเปนอริยปญญา เปนปญญาอยางยอดเยี่ยม หมายถึงญาณนี่เอง ญาณที่ทําใหทุกขทั้งหลายสิ้นไป

95 ปปญจธรรม


2. สัจจะ หมายถึงความหลุดพน ทั้งของผูที่ไดอริยปญญา แลวไมกําเริบ เปนอกุปปาวิมุติ ความหลุดพนที่ไมกําเริบ คือหลุดพนอยางเด็ดขาด ดํารงอยูในสัจจะ คืออริยสัจอันยอดเยี่ยม คือดํารงอยูในนิพพานนั่นเอง นี่คือปริยายเบื้องสูง ในความหมายจริงๆของธรรมะขอนี้ 3. จาคะ หมายถึงอริยจาคะ อริโย จาโค คือการสละอันประเสริฐยอดเยี่ยม คือการสละกิเลสทั้งหลาย ไมใหเกิดขึ้นอีก สละราคะโทสะ โมหะ ไมใหเกิดขึ้นอีก เรียกวาอริยะจาคะ 4. อุปสมะ, อริยอุปสมะ, อริโย อุปสโม สงบราคะ โทสะโมหะทั้งปวง นี่คือความหมายของอธิษฐานธรรมโดยปริยายเบื้องสูง ทานจะเห็นวามีความลึกซึ้งกวาปริยายเบื้องต่ํา ซึ่งดึงลงมาเพื่อใหคนทั่วไปใชไดปฏิบัติได ทานจะเห็นวาตามแนวพุทธาธิบายนี้ ธรรม 4 ขอ มีปญญา เปนตน ทยอยตอเนื่องกัน 3 ขอหลังนั้นเปนผลที่เกิดจากปญญา คือมรรคญาณ คือญาณแหงความสิ้นไปแหงทุกขทั้งปวง ใชคําวา สพฺพ ทุกฺขกฺขเย ญาณํ ญาณในความสิ้นไปแหงทุกขทั้งปวง นี่เปนความหมายระดับสูงของอธิษฐานธรรม เราเขาใจความหมายไวทั้งสองระดับ ระดับธรรมดาและระดับสูง เพื่อจะไดเขาใจอยางถองแทในความหมายของธรรมนั้นๆ ผมอยากจะขอรองผูที่สอนนักธรรม สอนบาลี เมื่อไดเห็นหมวดธรรมแลวก็ขอใหตามไปดูตนตอ เพราะในตําราทานจะบอกหมวดธรรมเอาไว ทานจะบอกที่มาของหมวดธรรมนั้นวามาจากพระไตรปฎก มาจากอรรถกถา เลมไหน ก็ลองตามไปดูใหถึงที่ ในที่ที่ทานอางถึงนั้น รายละเอียดเปนอยางไร พระพุทธเจาตรัสไวอยางไร ก็ไดความหมายจริงๆ ไดเนื้อหาจริงๆ ถาเผื่อจะอธิบายโดยปริยายเบื้องต่ํา เพื่อใหคนทั่วไปใชไดก็เอา แตวาใหรูความหมายแทๆ ของหมวดธรรมหรือขอธรรมนั้นๆไวดวย เชนอธิษฐานธรรมนี้ เราก็อธิบายกันในความหมายพื้นๆ แบบธรรมดาๆ ไมไดตามไปดูวาที่พระพุทธเจาทรงแสดงนั้นหมายถึงอะไร อยางไร ทําใหขาดรสหรือเนื้อหาที่แทจริงของธรรมนั้นๆ

96 ปปญจธรรม


ขอเชิญฟงการบรรยายธรรมโดยอาจารย วศิน อินทสระ ที่วัดบวรนิเวศวิหาร บางลําภู ทุกเชาวันอาทิตย เวลา 10.15 น. เวนวันอาทิตยตนเดือน

97 ปปญจธรรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.