อาหาร4

Page 1



อาหาร 4 วศิน อินทสระ

3 อาหาร 4


สํานักพิมพ เรือนธรรม อาหาร 4 วศิน อินทสระ ISBN 974-90995-5-9 พิมพ : มีนาคม ๒๕๔๖ จัดพิมพ : สํานักพิมพเรือนธรรม บริษัท จีเอ็ม แม็ก มีเดีย จํากัด ๒๙๐/๑ ถนนพิชัย ดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท : ๐-๒๒๔๓-๑๒๗๙-๘๐ โทรสาร : ๐-๒๒๔๓-๑๕๙๐ บรรณาธิการ : พรจิตต พงศวราภา ถอดเทป : กัลปพฤกษ พงศวราภา พิมพคอมพิวเตอร : พรเพ็ญ สุภิรักษ ศิลปกรรม : ประทีป ปจฉิมทึก, พิติ แสงแกว, กานตพิชชา คงอยู พิสูจนอักษร : สมพร แสงสังข ประสานงานการผลิต : รัตนา โคว พิมพที่ : บริษัท โอเอส พริ้นติ้ง เฮาส จํากัด โทรศัพท ๐-๒๔๒๔-๖๙๔๔ จัดจําหนายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) อาคารเนชั่นทาวเวอร ชั้นที่ ๑๙ เลขที่ ๔๖/๘๗-๙๐ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ ๑๐๒๖๐ โทรศัพท : ๐-๒๗๕๑-๕๘๘๘ โทรสาร : ๐-๒๗๕๑-๕๐๕๑-๔ 4 อาหาร 4


http://www se-ed.com อาหารเปนสิ่งจําเปนสําหรับสิ่งมีชีวิตทั้งปวง ดังพระพุทธพจนที่วา “สพฺเพ สตฺตา อาหารฏฐิติกา” แปลวา “สัตวทั้งปวงดํารงอยูไดดวยอาหาร” (25/2/4) กลาวโดยยอ อาหารมี 2 อยางคือ อาหารกายกับอาหารใจ แตในหนังสือเลมนี้ กลาวถึงอาหาร 4 มีกวฬิงการาหาร เปนตน ซึ่งมีรายละเอียดอยูแลวในเนื้อหา อาหารทุกอยาง มีทั้งคุณและโทษ บางอยางมีโทษโดยสวนเดียว เชน อาหารที่เสียแลว บางอยางมีคุณโดยสวนเดียว แตใหโทษเมื่อเกินประมาณ เชน อาหารที่มีประโยชน สิ่งในโลกนีม้ ีทั้งคุณและโทษปะปนกันอยู ผูมีปญญาจึงควรเลือกบริโภคใชสอยหรือเสพเฉพาะสิ่งที่มีคุณ แมสิ่งที่มีคุณนั้นก็ควรบริโภคแตพอประมาณ อาหารใจเปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งในชีวิต เพราะชีวิตคนมี 2 ซีกคือ ซีกกายกับซีกใจ รางกายที่ขาดอาหารยอมออนแอ ใจที่ขาดอาหารก็เชนเดียวกัน จะเปนใจที่ออนแอ ไมมีคุณภาพ ผล ออกมาทําใหบุคคลผูนั้น เปนคนไรคุณภาพ ไรสมรรถภาพและไรสุขภาพจิต ทําใหชีวิตไมมีความสุข ผูตองการใหชีวิตมีความสุข ตองพยายามบํารุงใจใหดีดวยอาหารใจ กลาวคือคุณธรรมตางๆ เชน เมตตากรุณา ความเอื้ออาทรตอผูอื่น ความขยันขันแข็ง ความรับ

5 อาหาร 4


คํานํา อาหารเปนสิ่งจําเปนสําหรับสิ่งมีชีวิตทั้งปวง ดังพระพุทธพจนที่วา “สพฺเพ สตฺตา อาหารฏฐิติกา” แปลวา “สัตวทั้งปวงดํารงอยูไดดวยอาหาร” (25/2/4) กลาวโดยยอ อาหารมี 2 อยางคือ อาหารกายกับอาหารใจ แตในหนังสือเลมนี้ กลาวถึงอาหาร 4 มีกวฬิงการาหาร เปนตน ซึ่งมีรายละเอียดอยูแลวในเนื้อหา อาหารทุกอยาง มีทั้งคุณและโทษ บางอยางมีโทษโดยสวนเดียว เชน อาหารที่เสียแลว บางอยางมีคุณโดยสวนเดียว แตใหโทษเมื่อเกินประมาณ เชน อาหารที่มีประโยชน สิ่งในโลกนีม้ ีทั้งคุณและโทษปะปนกันอยู ผูมีปญญาจึงควรเลือกบริโภคใชสอยหรือเสพเฉพาะสิ่งที่มีคุณ แมสิ่งที่มีคุณนั้นก็ควรบริโภคแตพอประมาณ อาหารใจเปนสิ่งสําคัญอยางหนึ่งในชีวิต เพราะชีวิตคนมี 2 ซีกคือ ซีกกายกับซีกใจ รางกายที่ขาดอาหารยอมออนแอ ใจที่ขาดอาหารก็เชนเดียวกัน จะเปนใจที่ออนแอ ไมมีคุณภาพ ผล ออกมาทําใหบุคคลผูนั้น เปนคนไรคุณภาพ ไรสมรรถภาพและไรสุขภาพจิต ทําใหชีวิตไมมีความสุข ผูตองการใหชีวิตมีความสุข ตองพยายามบํารุงใจใหดีดวยอาหารใจ กลาวคือคุณธรรมตางๆ เชน เมตตากรุณา ความเอื้ออาทรตอผูอื่น ความขยันขันแข็ง ความรับผิดชอบ หรือการไมทอดธุระ (อนิกขิตตธุรตา) ก็จะทําใหเปนคนมีสุขภาพจิตดี (Mental health) มีคุณภาพจิตดี (Mental quality) และมีสมรรถภาพจิตดี (Mental ability) เรื่องอาหาร 4 ในหนังสือเลมนี้ไดบอกแนวปฏิบัติไวดวยแลว วาควรปฏิบัติอยางไรตออาหารชนิดใด ใครปฏิบัตไิ ดยอมเปนประโยชนแกผูนั้นเอง และยังจะเปนประโยชนเกื้อกูลแกผูอื่นดวย ในฐานะเปนแบบอยาง เพียงแตไดเห็นผูเชนนั้นก็เปนการดีแลว ถามีโอกาสไดอยูรวมกับทานดวย ก็จะยิ่งเปนมงคลใหญจะมีความสุขมากขึ้น ดังพระพุทธพจนที่วา “สาหุ ทสฺสนมริยานํ สนฺนิวาโส สทา สุโข” 6 อาหาร 4


โดยหนังสือนี้ ขาพเจาขอสงความปรารถนาดีมายังทานผูอานทุกทาน และขอบใจคณะศิษยที่ชวยกันทําหนังสือนี้ใหสําเร็จลงไดดวยดี ขอใหทุกคนมีความสุข ประสบความสำเร็จในสิ่งที่ปรารถนาทุกประการ วศิน อินทสระ 3 กุมภาพันธ 2546

7 อาหาร 4


สารบัญ อาหาร 4 ............................................................ 1. กวฬิงการาหาร................................................ 2. ผัสสาหาร....................................................... ภาคผนวก.......................................................... 3. มโนสัญเจตนาหาร........................................... 4. วิญญาณาหาร................................................ ภาคผนวก...........................................................

8 อาหาร 4

06 09 012 026 037 076 108


อาหาร 4 อังคารที่ 27 พฤศจิกายน 2541 เปนวันที่พี่นองของเราตื่นเตนที่จะดูฝนดาวตก ดาวฝนหรือฝนดาวอะไรก็แลวแตที่เราจะเรียกนะครับ คือทราบวาดาวมันตกลงมาเยอะก็ไปดูกันตางจังหวัด ทําใหนึกถึงพุทธสุภาษิต ที่มีผูมาถามพระพุทธเจาวา “สิ่งที่งอกขึ้นอะไรประเสริฐ” “สิ่งที่ตกไปอะไรประเสริฐ” พระพุทธเจาตรัสตอบวา วิชชา อุปตตํ เสฏฐํ การเกิดขึ้นของวิชชา คือความรูความฉลาดเปนสิ่งที่ประเสริฐ อวิชชา นิปตตํ วรํ บรรดาสิ่งที่ตกไป การตกไปของอวิชชาเปนสิ่งที่ประเสริฐ คือการตกไปของความโง การหลนไปของความโง อันนี้ก็นํามาแถมใหเนื่องในวันดาวรวงดาวตก ดาวตกนี่มันจะประเสริฐจะดีหรือไมดีก็ไมรู แตวาคนที่ไมเคยดูไมเคยเห็นก็อยากจะเห็น นี่เปนเรื่องธรรมดาของชาวบานหรือชาวโลก คราวนี้ผมก็จะเริ่มเรื่องการวิเคราะหธรรมไปตามตัวอักษร วันนี้มาถึงตัวอักษรที่เปนตัวธรรมะคือ กวฬิงการาหาร แปลวาอาหารคือคําขาว หรือขาวน้ํานั่นเอง อาหารที่เราบริโภค ที่เรากินเปนคําๆ ตองเรียกวา กพฬิงการาหาร หรือ กวฬิงการาหาร ในคัมภีรทางพุทธศาสนาแจกอาหารไวเปน 4 ประเภท คือ 1. กวฬิงการาหาร คืออาหารที่เปนคําขาว หรืออาหารที่บริโภคทางปาก 2. ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะ ผัสสะคือการไดรับรูทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เรียกวา จักขุสัมผัส เรื่อยไปจนถึงมโนสัมผัส เรียกวา ผัสสาหาร

9 อาหาร 4


3. มโนสัญเจตนาหาร ตามตัวแปลวา อาหารคือมโนสัญเจตนา คือความจงใจ ความตั้งใจ ความตั้งเจตนา หรือเรียกวาความหวังก็ได เห็นเลมที่เปนภาษาอังกฤษ ทานแปลวา โฮป (Hope) มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือ โฮป คือความหวัง 4. วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ หรืออาหารในวิญญาณ อันนี้แปล และตีความไดหลายอยาง ถาเอาตาม

กวฬิงการาหาร กวฬิงการาหาร หรือ กพฬิงการาหาร อาหารที่เปนคํา จําเปนสําหรับสิ่งที่หลอเลี้ยงชีวิต สัตวทั้งหลายอยูไดดวยอาหารอยางใดอยางหนึ่ง ยังมีปญหาวา เอกัง นามะกิง อะไรชื่อวาหนึ่ง ในคําถามพุทธศาสนา คําตอบก็คือ สัพเพ สัตตา อาหารรัฏฐิติกา สัตวทั้งหลายทั้งปวงดํารงชีพอยูไดดวยอาหาร เพราะฉะนั้น สําคัญคืออยูดวยอาหารอยางใดอยางหนึ่ง เวลานี้ก็วิ่งวุนกันอยู เกี่ยวกับเรื่องเศรษฐกิจบาง เรื่องอะไรบาง ก็เพราะวาอาหาร คือวาถาไมกินอาหารสักอยาง อะไรมก็ลดลงตั้งเยอะ แตนี่ก็เพราะวาตองกินก็เลยตองทํางานหนัก ตองเหน็ดเหนื่อย เพราะเพื่อจะไดมีชีวิตอยูดวยอาหาร สัตวที่มันแสวงหาอาหาร มันเบียดเบียนกันบาง แยงชิงกันบาง ก็เพราะเพื่อจะไดอาหารมาเลี้ยงชีพ ตองเสี่ยงอันตรายตางๆมากมาย สัตวใหญกินสัตวเล็ก สัตวเล็กก็ตองพยายามหลบหลีกใหพนจากการกินของสัตวใหญ ในปาในเขา ในน้ํา ในทุกหนทุกแหงมีการไลลาเพื่อเปนอาหาร ถาเราดูหนังสารคดีชีวิตสัตวตางๆ ที่เขานําเอามาฉายในทีวี ชีวิตสัตวในทะเลทราย ดูแลวใหความรูสึกสังเวชใจวา เออ สัตวทั้งหลายมันก็ไลลากันเปนขั้นเปนตอน เปนพวกไปเพื่อใหมีชีวิตอยู เพราะวามันจําเปนตองมีชีวิตอยูดวยอาหาร พรรณนาไปก็ไมมีที่สิ้นสุดนะครับ แมในหมูมนุษยเราเอง บางแหงของโลก มีการขาดอาหารอยางรุนแรง พวกเด็กๆผอม หนังหุมกระดูก อยางเชนเอธิโอเปย ดูทีไรแลวก็นกึ วา เออ! มนุษยเรานี่ลําบากเหลือเกิน กวาจะรักษาชีวิตไว อาหารมันก็คอยขาดแคลนลงไปทุกวัน ทุกเดือน ทุกป เพราะวามนุษยเพิ่มขึ้น ที่ทํามาหากินก็จํากัดอยู มันก็ลําบากกับเรื่องอาหารอยูไมนอยทีเดียว 10 อาหาร 4


การพิจารณาอาหาร ทานก็สอนใหพิจารณาอาหารวา กวฬิงการาหาร อาหารคือขาวน้ํานี้จะบริโภคอยางไร ถาเพื่อจะไมใหลุมหลงไมใหมัวเมาในการบริโภคในการกิน ใหพิจารณาใหเห็นโทษของมัน หรือโดยความเปนโทษ เพื่อจะไดไมหลงติดในอาหาร สนุกสนานเพลิดเพลินในรสอาหาร บริโภคเพียงเพื่อใหรางกายดํารงอยูได ที่ทานอุปมาไววา เหมือนกับสองสามีภรรยาเดินทางพรอมดวยบุตรนอยคนหนึ่ง เสบียงอาหารก็หมดลงในระหวางทาง และบุตรนอยก็ถึงแกความตาย เขาทั้งสองก็จําใจตองกินเนื้อบุตรเพื่อประทังชีพ ในขณะที่บริโภคก็ไมไดมีความเพลิดเพลิน เพราะสํานึกอยูเสมอวานี่คือเนื้อของลูก ผูที่ตองการปฏิบัติธรรม หรือผูปฏิบัติธรรม เมื่อจะบริโภคอาหาร ก็ทําใจใหเหมือนกับสองสามีภรรยาทําใจในขณะที่บริโภคเนื้อบุตร อาหารมันเปนยาบํารุงดวย เปนยาพิษดวย คือวาถาเรากินเปน มันก็เปนยาบํารุง กินไมเปนก็เปนยาพิษ อาหารทําให เปนโรคเปนภัยอะไรตางๆมากมาย เพราะฉะนั้น การสํารวมในอาหารมันก็เปนสิ่งที่ดี ที่ทานใชคําวา อาหาเรอุทเรยโต สํารวมอาหารในทอง หรือวาดื่มน้ําแลวรูสึกเหมือนกับวามีจระเข เพราะฉะนั้น คนที่จะลงไปดื่มน้ําในแมน้ํา แลวเห็นจระเขอยูน่ดี ื่มอยางไร กินอยางไร รูสึกอยางไร หรือวาจะดื่มน้ําในขัน แตวามีปลิงวายอยูกนขัน แลวมีความรูสึกอยางไร ถาเพื่อกินไมใหมัวเมาในอาหาร

11 อาหาร 4


ผัสสาหาร ผัสสาหาร อาหารคือ ผัสสะ นี้ทานใหพิจารณาเปนของที่เผ็ด เหมือนกับโคที่ถูกถลกหนังออกแลว มันก็หวาดหวั่นตอภัย ภายนอก คือหวาดหวั่นตอการที่จะไปกระทบกระทั่งที่จะไปครูดสีกับอะไร ไมตองโคหรอกครับ คนนี่แหละ! คนที่เปนแผลอยูรอบตัวมันก็กลัวที่จะไปถูกสิ่งนั้นสิ่งนี้ เมื่อเห็นนกบินไปบินมาโคที่ถูกถลกหนังหวาดหวั่น ตองการจะซอนตัวเสีย ผูปฏิบัติธรรมก็สรางความรูสึกอยางนั้น เห็นรูปดวยตา ฟงเสียงดวยหู เปนตนนี้ ก็สําเหนียกวารูปนั้น เสียงนั้น เปนสิ่งที่จะนําภัยพิบัติมาให จึงคอยปดบังตัวเอง หรือวาสํารวมอินทรีย คือตา เปนตน ไมใหสิ่งภายนอกมาครอบงําย่ํายี โดยประการที่จะไมใหบาปอกุศลเกิดขึ้น แตก็มีเรื่องที่นาเศราสลดใจเกิดขึ้นในสังคมของเรา สื่อมวลชนทุกแขนงก็ประกาศกัน พูดกันในสื่อมวลชน ทั้งวิทยุ ทั้งโทรทัศน ทั้งนักหนังสือพิมพ ที่เด็กนักเรียนผูชายไปทํามิดีมิรายกับเด็กนักเรียนผูหญิง ก็ทราบกันอยูโดยทั่วไป และนี่ก็คือผัสสาหาร ตองการผัสสะ และก็สรางเวรสรางกรรม ดวยตองการที่จะสนองความตองการทางผัสสะนั่นเอง ดวยการไปทํารายผูอื่น มีคนโทรฯเขามาถามวา มีลูกผูชายทําอยางไรถึงจะใหเขาไมทําบาปทํากรรมเชนนั้น คือไมใหเขาไปขมเหงผูหญิงในตอไปขางหนา เวลาเขาเติบโตเปนหนุมขึ้น ก็บอกวา ตองสอนใหเขารูจักใหเกียรติผูหญิง ยกยองผูหญิงตามสมควรตั้งแตยังเล็ก และก็ใหมีจิตใจออนโยน อยาเปนคนมีจิตใจกระดาง วิธีสอนที่สําคัญคือสภาพในครอบครัว พอใหเกียรติแมแคไหน เด็กก็จะดูพอใหเกียรติแม ปฏิบัติอยางละมุนละมอมตอแม ไมขมเหงน้ําใจ ไมกระดาง ไมหยาบคายตอแม มีความอดทน รูจักเสียสละ มีความผอนปรน อะไรควรนิ่งก็นิ่งเสียไมกาวราว ไมถือความเปนใหญ แตวาพยายามที่จะถนอมน้ําใจกัน อยางนี้เด็กเขาเห็น ลูกที่อยูในบานเขาเห็น เขาเห็นการปฏิบัติของผูชายอยางละมุนละมอมตอผูหญิง ไมขมเหงน้ําใจ ไมขมขี่ เขาก็ดูเปนตัวอยาง เพราะวาเด็กนี่เปนอิมมิเทเตอร (imitator) เปนกูดอิมมิเทเตอร (good imitator) เปนนักเลียนแบบที่ดี พระพุทธเจาทานตรัสเอาไวใน อปริหานิยธรรม ตอเจาลิจฉวีทั้งหลาย มีเจ็ดขอดวยกัน ธรรมที่ไมเปนไปเพื่อความเสื่อม เปนไปเพื่อความเจริญโดยฝายเดียว อยูขอหนึ่งในเจ็ดขอนั้นวา 12 อาหาร 4


“ตราบใดที่ทานทั้งหลายใหเกียรติสตรี ไมขม เหงสตรี ไมขม เหงกุมารีทั้งหลาย ตราบนั้นทานก็มีแตความเจริญ ไมมคี วามเสื่อม” สังคมที่ผูชายขมเหงสตรีมาก สังคมก็เสื่อมลง ทําอยางไรใหสังคมเราไดปลอดภัย คือวามนุษยเราก็มีอยูสองเพศแคนี้ หมายความวา ใหไดรับความปลอดภัย ใหสตรีทั้งหลายไดรูสึกวาไดอยูในสังคมอยางปลอดภัย แตเวลานี้ประหวั่นพรั่นพรึงกันไปหมด เหตุการณที่เกิดขึ้นในรถเมลที่เกิดขึ้นเมื่อไมกี่วันมานี้ ทําใหพอแมที่มีลูกหลานผูหญิงประหวั่นพรั่นพรึงกันไปหมด วาเหตุการณอยางนี้จะเกิดขึ้นแกลูกหลานของตัวเมื่อไหร เราที่เปนผูชายนั่นเองก็มีลูกมีหลานที่เปนผูหญิงเหมือนกัน โดยมากก็มีกัน ถาเกิดขึ้นแกลูกหลานของเราจะเปนอยางไร นี่ละครับเรื่องปญหาของสังคม ลองสาวลงไปลึกๆ จริงๆมันก็ (fundamental cause) เหตุที่เปนมูลฐานมันจริงๆก็คือ คนขาดจริยธรรม เราก็บอกไปวาใหระดมไปที่เด็กใหไปสอนเด็ก ใหเปนคนมีจริยธรรม ผมนี่มีความเห็นวาเราตองสอนผูใหญกอน เราสอนผูใหญแลวเราไดเด็กดวย คือหมายความวา ใหสภาพครอบครัวเปนอยูดี ใหผูใหญในครอบครัวนั้นเปนอยูในธรรมเปนอยูดี มีชีวิตอยูในธรรม นี่ผมก็ไดเรียนผูฟงทั้งหลายวา ผมไดตอสูรณรงคเกี่ยวกับเรื่องพวกนี้มา 30-50 ปแลววา เปาหมายจุดใหญในการเขียนหนังสือ หรือการพูดไปที่ผูใหญ คือวาถาผูใหญเปนคนดีแลว ครอบครัวดีแลว การที่จะสอนใหเด็กดีนั้นงาย ไมลําบากเทาไหรหรอก แตทวามุงไปสอนเด็กวาผูใหญแกแลวสอนยาก ชางเถอะไม เทาไหรก็ตาย แตทวาถาผูใหญยังไมดี ครอบครัวยังไมดี เด็กดียาก เพราะวาสิ่งที่ไดรับคําสอนมาจากวัด มาจากโรงเรียน มาจากอะไรก็แลวแต มันอยางหนึ่ง แตพอมาดูการกระทําของผูใหญมันเปนอีกอยางหนึ่ง มันไมไดเปนอยางที่สอน หรือถาเผื่อวาถาพระทานสอนอยางหนึ่ง แลวพอไปดูการกระทําของทานเปนเสียอีกอยางหนึ่ง ศาสนิกก็ไมเชื่อถือ ก็ยากที่จะหาพุทธศาสนิกที่ดี นี่ละครับที่ผมเห็นวา fundamental cause ความดีความชั่วอะไรตางๆ มันก็อยูที่ผูใหญ 13 อาหาร 4


มันตองไปเริ่มกันที่ผูใหญ แลวก็ไปเริ่มกันในครอบครัว วาทําอยางไรใหเปนครอบครัวที่ดีไมมีปญหา ครอบครัวที่ไมมีปญหาสังคมก็ไมมีปญหา เด็กเรรอน เด็กจรจัด เด็กเกเร เด็กอะไรตออะไรตางๆ ตางก็ไปจากครอบครัวทั้งนั้นแหละ แตก็ไมไดหมายความวาไมโทษเด็ก เด็กก็ไมดีดวยนั่นแหละ เด็กบางคนที่อยูในครอบครัวที่ไมดีแตดีก็มี ที่อยูในครอบครัวที่ดีแตไมดีก็มี แตโดยสวนมากถาครอบครัวดี แลวเด็กก็ดีไดงายกวา ผมหมายความวาอยางนั้นนะครับ ไมไดยืนยันเด็ดขาดไปวา ถาครอบครัวดีแลวเด็กจะดี แตวาโดยมากเปนโดยมากแลวเปอรเซ็นตสูงมากนี่ละครับ เรือ่ งผัสสาหาร คนเรากระหายในผัสสะจนบางทีก็ทําอะไรเลยเถิดไป จนเปนภัยในสังคม คือวามีความกระหายในผัสสะ อยากไดผัสสาหาร ไดอาหารคือผัสสะ แตที่จริงแลวมันก็มีอันตรายเปนอันมาก วันนี้ก็ไปสอนนักศึกษาในมหาวิทยาลัยแลวก็ถามเขาวา คนเราควรจะแสวงหาความสุขชนิดใดก็ใหชวยกันอภิปราย ชวยกันพูด แลวในที่สุดผมก็สรุปวาก็ควรจะแสวงหาความสุขชนิดที่มีคุณภาพดี ความสุขมันมีทั้งคุณภาพดีและไมดี เวลาเรากินอาหารนี่ ทําไมเราตองการอาหารที่มีคุณภาพดี เวลาเราซื้อเสื้อผาก็ตองการจะซื้อเสื้อผาที่มีคุณภาพดี ซื้อของก็ตองการของที่มีคุณภาพดี แตทําไมจึงไปตะกละตะกลามตอความสุข จะเปนความสุขอยางไรก็ไดขอใหเปนความสุข ไมเลือกคุณภาพ และก็มีภัยตามมา มีโทษตามมาภายหลัง และความสุขที่มีโทษนอยหรือไมมีโทษนั่นแหละเปนความสุขชนิดทีค่ วรแสวงหา ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะนี้ มีความสําคัญตอการ ดํารงชีวิตของคน ก็เพื่อใหอาหาร คือผัสสะนี้มีคุณภาพดี ไมเปนผัสสาหารที่เปนพิษเปนภัย เราก็ตองสํารวมอินทรียก็คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ คําวาสํารวมก็คือวาระวัง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ โดยประการที่จะไมใหบาปอกุศลเกิดขึ้นในขณะที่ไดเห็นรูป ไดฟงเสียง ไดดมกลิ่น ไดลมิ้ รส ไดถูกตองโผฏฐัพพะ เปนตน ถาเผื่อวาไมสํารวมแลวก็จะเปนคนที่ออนแอ กระทบอะไรไมได กระทบเขานิดหนอยก็ไมมีภูมิคุมกัน ที่พระพุทธเจาทานเปรียบวา เหมือนกับไมที่มันผุ 14 อาหาร 4


เวลาลมพัดมาหนอยหนึ่งก็ลมแลว แตถาเปนไมแข็งแรง หรือเปนภูเขาศิลา ลมพัดมาแลวก็ผานไป คือทําอะไรภูเขาไมได

พระพุทธภาษิต มีพระพุทธภาษิตในคัมภีรธรรมบท พระไตรปฎก เลมที่ 25 วาอยางนี้นะครับ คนที่มองเห็นอารมณตางๆ มีรูปเปนตนวางามอยู ไมสํารวมอินทรียมีตาเปนตน ไมรูจักประมาณในการบริโภค เกียจคราน มีความเพียรเลว มีเหมือนกันแตวาความเพียรมันหยอนนิดหนอย คือวายอหยอน มารยอมจะรังควานย่ํายีได มารในที่นี้คือ กิเลสมาร ยอมจะย่ํายีได เหมือนลมพัดตนไมที่ทุพพลใหลมลง สวนคนที่มองเห็นอารมณวาไมงามอยู สํารวมอินทรีย รูจักประมาณในการบริโภค และมีศรัทธา มีความเพียรสม่ําเสมอ มารยอมจะรังควานย่ํายีไมได เหมือนลมยอมไมสามารถพัดเขาศิลาใหลมไดฉันนั้น ไมสํารวมอินทรีย นี่พระพุทธเจาไดตรัสเอาไว มองเห็นอารมณมีรูปเปนตนวางาม ก็เอาใจเขาไปชิด โดยนิมิตบาง โดยอนุพยัญชนะบาง โดยนิมิตก็คือวางามไปหมดทั้งรูป ทั้งราง ทั้งหนา ทั้งตา เห็นงามไปหมด ความกําหนัดพอใจก็เกิดขึ้น กามราคะรบกวนทําลายสมาธิโดยอนุพยัญชนะ ก็คือวาแยกถือแยกสวนวางาม งามใบหนา งามนัยนตา จมูกงามอะไรอยางนี้ แมสวนอื่นๆ จะไมงามอยูบางแตก็พอใจในสวนที่งาม ก็คือวาแยกสวนโดยอนุพยัญชนะ ไมรูจักประมาณในโภชนะ เชน ไมรูจักประมาณในการรับ ไมรจู ักการประมาณในการแสวงหา ในการบริโภคนอยไปบาง มากไปบาง นอยเกินไปก็ทําใหรางกายออนเพลีย อาจจะเปนโรคขาดอาหารได มากเกินไปก็ทําใหอึดอัดเกียจครานอยูเสมอเลย ความอึดอัดของรางกายเวลาบริโภคอาหารมากนารําคาญเอาออกยาก เวลาเขานี่เขางาย 15 อาหาร 4


เราใชวิธีบริโภคแตนอยเวลาหิวก็บริโภคตอไปอีกหนอยหนึ่ง ถากินเขาไปมากแลวมันอิ่มแปลอึดอัด ทําอะไรไมสะดวก และควรคํานึงถึงคุณภาพของอาหารดวย แตเชื่อวาทุกคนอยาก จะรับประทานอาหารที่ดีมีคุณภาพ ที่ทําไมไดเพราะฐานะไมอํานวย อยาลืมวาอาหารคุณภาพดี ไมไดหมายถึงอาหารที่มีราคาแพง

เกียจคราน คนเกียจครานคือวาไมอยากทําอะไร ถึงรางกายจะปกติอยูก็ไมอยากจะทําอะไร ไมไดเหนื่อยไมไดเพลีย ไมไดเจ็บปวย แตก็ไมอยากทําอะไร การที่เพลียแลวรางกายตองการพักผอนนี้ไมใชความเกียจคราน เพราะวาพอหายเพลียหายเหนื่อยก็ทํางานตอไปได หากวาเปนพระก็คืออาการเกียจครานไมอยากศึกษาเลาเรียน ไมอยากทองบนสาธยาย ไมเจริญสมณธรรม ไมสนใจสมถวิปสสนา เอาแตฉันแลวก็นอน แลวก็คุย และไมไดคุยธรรมะเสียดวย ไมไดคุยธรรมะของพระพุทธเจา คุยเรื่องอะไรก็ไมรู เรื่องโลกๆทั้งนั้น ความเกียจครานเปนอันตรายของความเจริญกาวหนาทั้งแกบรรพชิต และคฤหัสถ เปนหลุมพรางที่มารชอบ มารมันชอบคนเกียจคราน คนขยันตองมีอะไรบางอยางทําอยูเสมอไมยอมวาง คนเกียจครานมักจะอยูในอํานาจของวิตก 3 คือ กามวิตก พยาบาท วิตก วิหิงสาวิตกคือวิตกถึงความเบียดเบียน

มีความเพียรเลว คําวามีความเพียรเลวในพระพุทธพจน ที่กลาวถึง วามารยอมจะย่ํายีคนที่มีความเพียรเลว คือวามีความเพียรยอหยอน จับๆ วางๆ ไมมีความเพียรมั่นคง ไมเปนไปติดตอทําอะไรจับจด ตามความเพียร ที่ในตําราทานบอกวา การเดินของกิ้งกา การเดิน ของกิ้งกานี้มันเดินๆหยุดๆเสมอ ใจไมมั่นคง ไมรูจักรอคอย และคนที่มีลักษณะดังกลาวมานี้ ก็ตกไปอยูในอํานาจของมาร มารก็รังควานไดงาย 16 อาหาร 4


สวนคนที่มีลักษณะตรงกันขาม คือไมตกอยูในอํานาจของความงาม ของความสวย รูจักประมาณในโภชนะ มีศรัทธาดี มีความเพียรสม่ําเสมอ เสมอตนเสมอปลาย มารก็จะย่ํายีไมได อันนี้เพื่อใหไดผัสสาหารที่ดีก็ตองสํารวมอินทรีย คือวาผัสสะนี่หามไมได คนเราก็ตองเห็น ตองฟง มันหามไมได ตองไมใหบาปอกุศลเกิดขึ้น ผัสสะแลวใหบุญกุศลเกิดขึ้น อยางนี้ก็จะเปนประโยชน

ผัสสะเปนของรอน อีกอยางหนึ่ง คือใหมองเห็นผัสสะเปนของรอน อยางที่พระพุทธเจาทานตรัสไวใน อาทิตตปริยายสูตร วาผัสสะเปนของรอน บางทีถาไมระวังมันก็รอนทั้งสองฝาย แมแตเลนกีฬากัน ก็ทะเลาะวิวาทกัน “กีฬาเปนยาวิเศษ แกกองกิเลสทําคนใหเปนคน” นั่นก็คือวา ตองเลนดวยการสํารวมอินทรีย สํารวมใจ เอาใจไวอยูไมตกอยูในอํานาจของโทสะ พอตกอยูในอํานาจของโทสะ กีฬามันไมเปนยาวิเศษ มันไมแกกองกิเลสแตมันไปเพิ่มพูนกิเลสทําคนใหเสียคน มันไมใชทําคนใหเปนคน เพราะฉะนั้น การแขงขันกีฬาอะไรตางๆ ที่ทะเลาะวิวาทกันอยูเรื่อย ก็เพราะวาไมสํารวมอินทรีย ไมระวังผัสสะ ไมตรงตามจุดมุงหมายในการเลนกีฬา แตวามันไปสูจุดมุงหมายอื่น อยางนี้เปนตน พระพุทธเจาทานใหพิจารณาเห็นผัสสะวาเปนของรอนอยางที่ทรงแสดงใน อาทิตตปริยายสูตร วา ภิกษุทั้งหลายสิ่งทั้งปวงเปนของรอน อะไรเลาคือสิ่งทั้งปวงที่หมายถึงในที่นี้ สิ่งทั้งปวงที่หมายถึงในที่นี้ก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็คืออายตนะภายใน 6 เปนของรอน และรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณคือสิ่งที่ใจคิด ทั้งหมดนี้ก็เปนของรอน จักษุวิญญาณ จักษุสัมผัส ก็เปนของรอน การเสวยอารมณคือเวทนาอันเปนสุขบาง เปนทุกขบาง ไมทุกขไมสุขบาง ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุเปนปจจัยนี่ก็เปนของรอน เรื่องหูกับเสียง จมูกกับกลิ่น ลิ้นกับรส กายกับโผฏฐัพพะ ใจกับธรรมารมณ มันก็เปนของรอนในทํานองเดียวกัน

17 อาหาร 4


สิ่งเหลานี้มันรอนเพราะอะไรครับ พระพุทธเจาทานตั้งปญหาขึ้นมาเองในเวลาเทศนาสอน ชฎิลสามพี่นองพรอมดวยบริวาร รอนเพราะอะไร เรากลาววา รอนเพราะไฟคือราคะบาง รอนเพราะไฟคือโทสะบาง รอนเพราะไฟคือโมหะบาง อันนี้เปนเพลิงกิเลส รอนเพราะเพลิงสองชนิด คือเพลิงกิเลส ราคะ โทสะ โมหะ และก็รอนเพราะไฟคือ เกิด แก เจ็บ ตาย ความโศก ความรําพัน ความทุกขกาย ทุกขใจ ความคับแคนใจนี่เปนเพลิงทุกข รอนเพราะเพลิงกิเลสและเพลิงทุกข ภิกษุทั้งหลายผูสดับซึ่งเปนสาวกของพระอริยะ เห็นอยูอยางนี้ คือเห็นวาเปนของรอน ก็ยอมจะหนายในสิ่งทั้งปวง มีตา หู รูป เสียง เปนตน เมื่อหนายก็คลายกําหนัด เมื่อคลายกําหนัดก็หลุดพน เมื่อหลุดพนก็มีญาณหยั่งรูวาหลุดพนแลว ชาติคือความเกิดสิ้นแลว พรหมจรรยคือระบอบของการประพฤติคุณงามความดีก็ไดอยูจบแลว กิจที่ควรทําไดทําเสร็จแลว กิจอื่นที่จะตองทําเพื่อความเปนอยางนี้ คือเพื่อใหถึงจุดมุงหมายนี้ ก็ไมมีอีกแลว เมื่อพระพุทธเจาทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตรนี้จบ จิตของภิกษุที่เคยเปนชฎิลมาทั้งหมด 1,003 รูป หรือบริวารหนึ่งพัน กับหัวหนาอีกสามทาน ก็ไดหลุดพนจากอาสวะทั้งปวง หลุดพนจากกิเลสทั้งปวง เพราะวาทานเชื่ออยูแลวครับ มีบารมีอยูแลว บําเพ็ญตบะ บําเพ็ญความดีอยูแลว มีความพรอมมากอยูแลว ก็ไดธรรมเทศนาดี คลายๆฝมันจะแตกอยูแลว มีคนไปเขี่ยหนอยเดียวมะมวงจะหลนอยูแลว มีลมพัดมาหนอยเดียวมันก็หลน ทานเปนอยางนั้นอยูแลว อันนี้เปนขอความในอาทิตตปริยายสูตร คนสวนมากพอพูดถึงความรอน มักจะหวนระลึกไปถึงไฟที่เกิดจากเชื้อไฟฟน เชน ฟนน้ํามัน ความรอนที่เกิดจากดวงอาทิตย และก็มีความรอนอยูอีกประเภทหนึ่งที่เผาคนใหเรารอน กรอบเกรียมอยูเสมอ แตคนสวนมากก็มองไมคอยเห็นโทษของมัน นั่นคือความรอนที่เกิดจากกิเลส มีโลภะ โทสะ โมหะ เปนตน มันเผาทั้งกลางวันกลางคืน ถาเพลิงทั้งสามกองนี้แลบออกมาจากตัวคนใหเห็นไดเหมือนกับไฟธรรมดา โลกนี้ก็คงจะโชติชวงไปดวยไฟที่รอนแรง ไมมีที่หลบหลีก

18 อาหาร 4


อยางไรก็ตาม ทานก็จะเห็นอยูบอยๆวา ที่ไฟราคะบาง โทสะบาง โมหะบางลุกโพลงจนเกินกําลังอํานาจของการควบคุม แลวเผาไหมใครตอใครใหเดือดรอนวุนวายกันอยูบอยๆ สังคมของเราก็วุนวายอยูดวยไฟ 3 กองนี้ ถาจะใหดับ มีคนมาบอกใหดับ โลกมันรอนนัก สังคมมันรอนนัก วุนวายนัก ก็มาชวยกันแกที่ตนเหตุ มาชวยกันดับไฟราคะ โทสะ โมหะ ดับไฟโลภะ โทสะ โมหะกันเสียบาง ไถถอนเชื้อมันออกกันเสียบาง คอยๆถอนเชื้อออกเสียบางใหมันเย็นลง เพราะวาไฟมันเกิดจากเชื้อ พอโหมเชื้อลงไปมันก็ยิ่งลุกโพลงใหญ ตองถอนเชื้อออกเสียบาง อยาใหเชื้อกับมัน พอไมใหเชื้อกับมัน มันก็คอยๆมอดลง คนที่มีเพลิงกิเลสมากเทาใด ก็มีความรอนใจมากเทานั้น เพราะวามันเผาใจใหรอน ราคะเกิดขึ้นเผาใจใหมันรอน ถาบําบัดไดก็ระงับไปชั่วคราว บําบัดไมไดก็เกิดความรอนใจ แตบางคนก็หาทางบําบัดโดยผิดทํานองคลองธรรม กอความเดือดรอนแกผูอื่น แตตัวเองก็มีความเดือดรอนเปนผลเหมือนกัน อยางที่ปรากฏอยูทุกเมื่อเชื่อวันเวลานี้นะครับ มีปญหาสังคมดวยเรื่องพวกนี้มากมาย เชน ถูกจองจําทําโทษตามกฎหมายบานเมือง ถูกติเตียนจากสังคม เสียชื่อเสียงอับอายขายหนา เสื่อมความนิยมญาติพี่นอง ลูกหลานก็พลอยเดือดรอนไปดวย ปญหาสังคมที่มีราคะ โทสะ โมหะ นี่เปนพื้นฐาน เปนรากอยูก็มีมากมายเหลือเกิน ถาเผื่อวาจะลดปญหาสังคม เราก็ตองไปลดที่ตนตอของมัน ตรงที่ผัสสะนี่นะครับ อยาไปใหเชื้อกับผัสสาหารในทางที่ผิด ตองใหผัสสาหารมีคุณภาพ และก็เมื่อไดอาหารที่มีคุณภาพไมเปนโทษแลว จิตใจก็ดี คนที่จิตใจดีมันก็ไมกระวนกระวาย ไมมีความทุกข รมเย็นอยูดวยคุณธรรม รมเย็นอยูด วยคุณงามความดี คือวา อยูดวยตนเองได ถาไมมีเพื่อน รูสึกโดดเดี่ยวก็หนังสือนะครับ หนังสือดีๆ เปนเพื่อนที่ดี เปนครูบาอาจารยที่ดี ไมเปนพิษเปนภัยก็เปนผัสสาหารที่ดี ตั้งแตตา หู จมูก ลิ้น กาย แลวก็ใจ ถาบริโภคอาหาร ก็บริโภคพออยูได ก็เปนความสําคัญของผัสสาหาร ที่เราจะตองปรับปรุง ควบคุมใหอยูในทํานองคลองธรรม ทางที่มีคุณภาพ แลวชีวิตก็จะมีคุณภาพ ชีวิตก็จะเปนชีวิตที่ดี เพราะอาหารคือผัสสะ 19 อาหาร 4


ผัสสะก็คือความถูกตอง ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และก็รวมทั้งใจดวยก็ได เรียกวามโนสัมผัส เปนอาหารชนิดหนึ่งของมนุษยเราที่ใหความสบายใจ คือถาไดผัสสะที่รื่นรมย ไดผัสสะที่พอใจ และก็มีความสุข ที่ทานเรียกวา อิฐถา กันตา มนาปา คือวานาปรารถนานาใคร นาพอใจ แตถาไดผัสสะที่เปน อนิฏฐาอะกันตา อะมะนาปา ไมนาพอใจไมนา ใคร ไมนาปรารถนาก็เกิดความเรารอนขึ้น หรือถาพูดใหลึกลงไปก็รอนทั้งสองอยาง อยางที่พระพุทธเจาทานตรัสไวใน อาทิตตปริยายสูตร ที่วา สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺป อาทิตฺตํ สุขก็ดี ไมสุขก็ดี ไมทุกขไมสุขก็ดี เปนของรอน ทั้งหมดนั้นก็เปนของรอน

20 อาหาร 4


ภาคผนวก ผัสสะ ก็คือการกระทบระหวางอายตนะภายใน และอายตนะภายนอก อายตนะภายในก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อายตนะภายนอกก็คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ อยาใหสับกันนะครับ บางทีเวลาพูดอายตนะภายนอก คนก็มักจะพูดวา รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส อยาใหสับกันอยางนั้น ใหเปน รูป เสียง กลิ่น รส ทําไมจึงวาอยางนั้น เพราะวาถาสับกันแลวมันจับคูไมถูก เพราะเวลาพูดอายตนะภายในก็คือ ตาหู แลวก็พูดวา รูปเสียง รูปคูกับตา หูคูกับเสียง ถาไปสับกันเสียวา รูป รส กลิ่น เสียง อันนั้นไปจําเอากลอนสุนทรภูมาก็เลยติดปากกัน คืออันรูปรสกลิ่นเสียงเคียงสัมผัส ทานวาอยางนั้น ทีนี้ถาพูดภาษาธรรมะ ตองพูดใหตรง คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ดวยนะครับ ไมใชสัมผัส เพราะวาสัมผัสนี้มันเปนไดทั้ง จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโนสัมผัส เปนไดทั้ง 6 อยาง แตถาเปนโผฏฐัพพะ ละก็ชัดลงไปเลย โผฏฐัพพะแปลวา สิ่งที่จะถูกตองไดดวยกาย สิ่งที่จะถูกตองไดดวยกายคูกับกาย ภาษาธรรมะก็ตองอยางนี้ ถาจะใชคําวาผัสสะ ก็ตองเพิ่มคําวาทางกายเขาไป คือผัสสะทางกาย และก็เปนกามราคะที่เปนของหยาบ

21 อาหาร 4


ไฟราคะ แตกามราคะก็ไมไดหมายความเพียงความกําหนัดยินดีในเพศตรงขามเทานั้น สวนมากก็จะไดยินวากามราคะ คนสวนมากก็จะนึกถึงเพียงวา ความกําหนัด ความพอใจในเพศตรงกันขามที่เรียกวา เมถุน หรือ เมถุนสังโยค แตประการเดียวเทานั้น แตวาคํานี้จะหมายรวมไปถึงความกําหนัดความพอใจ ความติดใจในสิ่งที่นาใคร นาปรารถนาที่เปนวัตถุดวย เชน ความติดความเมาในสิ่งสวยงามทั้งหลาย เชน เสื้อผา รถยนต อาคารสถานที่ เสียงเพลง กลิ่นหอมจากเครื่องปรุงตางๆ รสอาหารแลวก็ความพอใจในโผฏฐัพพะ คือสิ่งที่ถูกตองไดดวยกายทั้งปวงเหลานี้นะครับ ทานรวมเรียกวาเปนวัตถุกาม หรือกามวัตถุ พูดตามภาษาจิตวิทยาก็วาเปนเครื่องเราใหเกิดกาม สวนตัวกามจริงๆก็คือ ตัวสังกัปปราคะ ความกําหนัดเพราะความดําริ อันนี้เปนตัวกามอยางที่พระพุทธเจาทานตรัสวา สังกัปปราโค ปุริสัสสะกาโม ความกําหนัดเพราะความดําริตางหากเปนกามของคน ไมใชสิ่งสวยงามวิจิตรตระการตาทั้งหลายในโลกนีไ่ มใชกาม ตัวสังกัปปราคะตางหากคือกามของคน เมื่อดึงเอาความพอใจในวัตถุกามออกไดแลว สิ่งสวยงามทั้งหลายก็คงดํารงอยูอยางนั้นเอง คือวาไมมีอานุภาพที่จะทําใหกําหนัดเรารอนไดอีก คือวาถาสิ่งสวยงามทั้งหลายในโลกมันเปนตัวกาม พระอรหันตทั้งหลาย และพระอนาคามีทั้งหลาย ทานก็เลิกไมได เพราะวาทานยังตองเห็น ยังตองสัมผัสกับสิ่งเหลานี้อยูคือ ไดเห็น ไดฟง ไดลิ้มรส ไดถกู ตอง โผฏฐัพพะ ที่นาพอใจ แตทานตัดหรือดึงออก ดึงความพอใจในวัตถุ ดึง สังกัปปราคะ ความกําหนัดเพราะความดําริ อันนั้นออกเสียไดแลว กามราคะโดยทั่วไปก็เปนของหยาบ เปนของทั่วไปแกสัตวโลกทั้งหลายทั้งปวง เพราะฉะนั้น มีโทษมีทุกขอยางไร ทําใหรอนใจอยางไร ก็พอมองเห็นกันอยู ตองฆากันตาย ตองเบียดเบียนกัน ตองทําลายลางกันประหัตประหารกัน เยอะแยะไปหมดเลย เพราะอาศัยสิ่งนี้ อาศัยกามราคะ

22 อาหาร 4


แมเพียงเรื่องเดียวคือเรื่องระหวางเพศนั่นเอง เคยไดอาน หนังสือเรื่องสัตวในปา อยางพวกเนื้อในปา บางทีมันเปนเจาฝูง นายฝูง มันครองตัวเมียทั้งหมดในฝูง แตถาเผื่อตัวผูอื่นจะมาผสมพันธุ มันก็ถึงกับตอสูกันจนมันตาย หรือบางทีตัวเมียบางตัวไมยอมใหผสมพันธุ มันก็มีความกําหนัดกลา มันก็แทงตัวเมียตาย อยางนี้ก็มี อันนี้เปนเรื่องของสัตว แตวามนุษยก็ควรจะดีกวานั้น คือหมายความวาควรจะควบคุมไดตามสมควร แลวก็ไมควรจะถึงประหัตประหารกันในเรื่องเหลานี้ เพราะวามันไมใชเรื่องสําคัญกับชีวิตอะไรนักหนา คือหมายความวาไมมีก็อยูไดอะไรอยางนั้น ที่จําเปนจริงๆก็คือปจจัยสี่ คืออาหาร เสื้อผา เครื่องนุงหม ยารักษาโรค ที่อยูอาศัยนั้นเปนสิ่งจําเปน ขาดไมได ยังมีราคะอีก 2 อยาง ซึ่งละเอียดลงไปอีก เห็นไดยาก ตองมีใจประณีตกวานั้นจึงจะมองเห็น คือ รูปราคะ และอรูปราคะ รูปราคะนั้นหมายถึงความสุขที่เกิดจากรูปฌาน 4 และอรูปราคะนั้นหมายถึง การติดในสุขที่เกิดจากอรูปฌาน 4 ความสุขอันนี้ประณีตกวากามสุขมากมายนัก ตองสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลในเรื่องกามแลวถึงจะไดฌาน รูปฌาน อรูปฌาน แลวมีความประณีตกวากามสุขมากมายนัก จนถึงกับนักพรตโบราณเขาใจวาถึงนิพพานก็มี คือคิดวาความสุขที่จิตควรไดรับมีเพียงเทานี้ จึงไมพยายามตอไปอีก แตวาฌานนี้เปนสิ่งที่เสื่อมได เมื่อจิตวอกแวกไปรับ วิสภาคารมณ คืออารมณที่เปนขาศึกกับความสงบใจ พระพุทธเจาจึงสอนใหทําความเพียรใหพนจากสภาพนี้ไปสูมรรคผล อันเปนการละกิเลสแตละอยางใหหมดไป

23 อาหาร 4


ความสุข 3 ระดับ ถาจะกลาวโดยสรุปก็คือ พุทธศาสนาไดแสดงความสุขไว 3 ชั้น 3 ระดับดวยกัน คือ ระดับที่ 1 คือ กามสุข ก็ยอมรับเหมือนกันวาเปนความสุขชนิดหนึ่ง แตเปนความสุขระดับกามก็มีโทษติดอยูดวย เปนอยางหยาบ และก็มีโทษมีทุกขติดอยูดวยเสมอ ระดับที่ 2 คือ ฌาน เรียกวา ฌานสุข ถาจะแบงออกอีกแบงออกเปน 8 ระดับ ตั้งแตฌานที่ 1 ถึงฌานที่ 8 ระดับที่ 3 คือ นิพพานสุข คือความสุขของพระอริยเจา ตั้งแตพระโสดาบันขึ้นไป ถาจะแยกอีกก็จะเปน 4 ระดับ คือ 1. ความสุขของพระโสดาบัน 2. ความสุขของพระสกทาคามี 3. ความสุขของพระอนาคามี 4. ความสุขของพระอรหันต แมเปนเพียงโสดาบัน ความสุขก็มีมากเหลือลน เพราะวามีความทุกขนอยนิดเดียว ทานเปรียบวา ถาเปรียบความทุกขของปุถุชนทั้งหลาย เหมือนน้ําในสระใหญ ความทุกขของพระโสดาบันนั้นเหมือนกับน้ําที่ติดบนใบหญา ที่จุมลงไปในสระแลวก็ดึงขึ้นมา หยดน้ําที่ติดอยูในใบหญานั่นแหละคือความทุกขของพระโสดาบัน ในขณะที่ความทุกขของปุถุชนเทากับน้ําทั้งสระ ทานลองคิดดูวาความทุกขของพระโสดาบันมีนอยเพียงใด และตอนทายพระพุทธเจาก็ตรัสวา “นี่แหละการบรรลุธรรมเปนสิ่งที่ดีอยางนี้ เปนสิ่งที่มีประโยชนอยางนี้ เปนสิ่งที่มีผลมากอยางนี้”

24 อาหาร 4


ไฟโทสะ ผมพูดถึงไฟคือราคะมาพอสมควรแลว ตอไปก็จะพูดถึงไฟโทสะ ความคิดประทุษรายเขา หรือการประทุษรายเขาตามความคิดที่มีโทสะเปนมูลก็เรียกวา โทสะ มันเปนไฟชนิดหนึ่งที่เผาใจใหรอน แสดงออกทางกิริยาอาการรอนรน หยาบกระดาง สิ้นความละเมียดละไม ออนหวาน ออนละมุน โทสะมีในใจมากเทาใด ใจก็รอนมากเทานั้น ตัดโทสะลงไดมากเทาใด ความสงบเย็นก็อยูกับใจไดมากเทานั้น ใจที่สงบเย็น ที่ปราศจากโทสะ ทําใหเห็นสิ่งตางๆตามความเปนจริงตามเหตุผล ไมมืดมิดเหมือนตอนที่มีโทสะ พระพุทธเจาทานตรัสวา อนฺธตมํ ตทา โหติ ยํ โมโห สหเต นรํ เมื่อใดโทสะครอบงํานรชน เมื่อนั้นก็มืดมนไปหมด มืดบอดไปเลย คือวาฆาไดแมแตมารดาดวยฤทธิ์ของโทสะ ทําไดงายแมในสิ่งที่ทําไดยาก สุกรํ วิย ทุกฺกรํ ทําสิ่งที่ทําไดยากก็เหมือนทําไดงาย ที่สุภาษิตไทยที่เขาเรียกวา “เห็นชางเทาหมู” ในตอนที่มีโทสะ แตในเวลาที่มีจิตเมตตากรุณาแลว เห็นหมูเทาชางก็ได คือจะฆาหมูก็ฆาไมได คือเห็นสิ่งเล็กนอยเปนสิ่งใหญ และเวลามีโทสะแลวมันก็เห็นสิ่งใหญเปนสิ่งเล็ก ทําไดฆาไดแมแตมารดาบิดาของตน ดวยอํานาจของโทสะก็มีอยู เมื่อไมเทาไหรนี่ก็มีในเมืองไทยเรานี้ ลูกก็ฆาพอ และก็ไปฆาตัวเองตายก็ดวยโทสะนั่นเอง

25 อาหาร 4


ไฟโมหะ มาถึงไฟโมหะ ความหลงในเรื่องที่ไมรูจริงในเรื่องของชีวิต ไมเขาใจสิ่งตางๆตามความเปนจริง เราเรียกวาโมหะเปนอวิชชา ถาจะถามวาอวิชชากับโมหะตางกันอยางไร ทานก็ตอบเอาไววา อวิชชา จายัง มหาโมโห มหาโมหะนี่แหละคืออวิชชา โมหะเพิ่มมหาขึ้นไปอีกหนอยหนึ่งก็เปนอวิชชา เมื่อโมหะครอบงําหรือเปนเพราะโมหะแลวก็จะเห็นสิ่งที่ไมเที่ยงแทวาเที่ยง สิ่งที่เปนทุกขแทๆก็หลงวาเปนสุข สิ่งที่ไมมีตัวตนแทๆก็เห็นวามีตัวตน หลงวาเปนตัวตน แตสิ่งที่ไมงามแทๆ ก็หลงวางาม เมื่อมีความหลงอยูอยางนี้ ราคะ โทสะ ก็เกิดไดงายเหมือนกัน เพราะวามีโมหะเปนรากอยู

26 อาหาร 4


เหตุเกิดของกิเลส เหตุเกิดของกิเลส หรือไฟทั้งสามกองนี้ ตามแนวแหงพระสุตันตปฎก อังคุตรนิกาย ทุกนิบาต พระไตรปฎกเลมที่ 20 หนา 368 ขอ 97 ก็มีใจความวา เหตุเกิดของราคะมี 2 อยาง คือ 1. สุภนิมิต หมายถึง สิ่งที่สวยงาม หรือความสําคัญมั่นหมายวาสวยงาม 2. อโยนิโสมนสิการ หมายถึง การทําไวในใจ หรือความคิดที่ไมแยบคาย ความคิดไมรอบคอบ ไมตลอดสาย คิดไมถึงตนตอ คิดอยางไรปญญา เหตุเกิดของโทสะมี 2 อยาง คือ 1. ปฏิฆนิมิตร ความกระทบกระทั่ง หรือความหงุดหงิดใจ ใจหงุดหงิด 2. อโยนิโสมนสิการ การทําไวในใจโดยไมแยบคาย เหตุเกิดของโมหะนี่ เวลานี้ยังไมพบพระบาลีตรงๆ พระบาลีพระพุทธพจนที่เปนตรงๆ แตวาพิจารณาแลวก็นาจะลงรอยกันไดกับเหตุเกิดของมิจฉาทิฐิ เพราะวามิจฉาทิฐิคือโมหะ ไมรูจริง จึงเปนมิจฉาทิฐิ หรือไมรูตามความเปนจริง แลวก็อีกประการหนึ่งในพระไตรปฎกที่อางถึงนี้นะครับ เมื่อทรงแสดงเหตุเกิดของโทสะ แลวในลําดับตอมาก็ทรงแสดงเหตุเกิดของมิจฉาทิฐิ คือความเห็นผิด เหตุเกิดที่ทรงแสดงไวในที่แหงเดียวกันนี้ก็คือ ปรโต โฆษะ เสียงจากผูอื่น หรือวาความเชื่อถือ หนังสือสํานักอะไรที่เปนที่แวดลอมอยูรอบๆ ตัวนัน่ แหละคือ ปรโต โฆษะ การโฆษณาเสียงชักชวนตางๆ อีกประการหนึ่งคือ อโยนิโสมนสิการ คือทําไวในใจโดยไมแยบคาย บางแหงทานแสดง อวิชชากับโมหะเปนอยางเดียวกัน ตามผมอางนะครับวา อวิชชา จายัง มหาโมโห ผมไดเอาขอความโดยนัยแหงอาทิตตปริยายสูตร มาเลาใหทานผูฟงไดฟงวาเปนของรอน คือผัสสะ เปนของรอน จักขุ เปนของรอน รูปเปนของรอน จักขุวิญญาณเปนของรอน จักขุสัมผัส โสตะสัมผัส ฆานะสัมผัส ชิวหาสัมผัส มโนสัมผัส เปนของรอน

27 อาหาร 4


รอนเพราะไฟคือราคะบาง โทสะบาง โมหะบาง รอนเพราะ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะปริเทว ทุกขโทมมนัสมธุปายาตร รวมเปนไฟเพลิงกิเลสและเพลิงทุกข โลกลุกเปนไฟ และเรารอนไปทั่ว เพราะเพลิงทั้งสามนี้ และก็เพลิงทุกขดวยเผาใหรอนอยูเนืองนิตย ถึงกระนั้นก็ดี คนบางพวกก็ไมไดเห็นอันตรายจากไฟจากไฟ ภายในนี้ แมไฟภายนอกที่เผาตึกรามบานชอง ทรัพยสินสมบัติ ใหวอดวายพินาศไป แตทานลองคิดไหมครับวา สาเหตุจริงๆ ก็ไปจากไฟในใจคนกอนนั้นแหละ ไฟขางนอกที่เผาบานเรือนมันถึงเกิดขึ้น สาเหตุก็ไปจากไฟในใจคนกอน เพราะราคะบาง หรือเพราะโลภะบาง หรือเพราะโทสะบาง เพราะโมหะบาง ทานลองนึกดูก็จะพบความจริงในขอนี้ วาตนเหตุมันไปจากอันนี้ พระพุทธเจาทานทรงแสดงธรรมแกชาวโลกอยูถึง 45 พรรษา ทรงมีจุดมุงหมายเพื่อจะดับไฟทั้งสามกองนี้ใหหมดสิ้นไป หรือใหนอยลง ใหเจือจางลงไป โลกของเราหรือสังคมของเรายิ่งมีไฟราคะ โลภะ หรือโทสะ โมหะ นี้นอยลงเทาไหร สังคมก็เปนสุขมากขึ้นเทานั้น ปญหาสังคม ปญหาเศรษฐกิจ ปญหาการศึกษาอะไรตางๆ มันแกไมไดหรอกครับ ถาเผื่อวาไมมาดับไฟคือ โลภะ โทสะ โมหะ นี้ใหนอยลง ปญหาพวกนั้นมันเกิดจากโลภะ โทสะ โมหะ นั่นเอง ปญหาตางๆ มันอยูที่ปลายเหตุ ตนเหตุมันอยูตรงนี้แหละ พระพุทธเจาทานจึงพยายามที่จะใหชวยกันดับไฟเหลานี้เสีย แมจะไมมาก ไมสนิท ไมหมดก็ใหนอยลง แตทานที่สามารถจะดับไดโดยสิ้นเชิงก็มีเปนตัวอยางอยู ผูใดที่ดับไฟใหคนอื่นไมไดใหกับสังคมไมได ก็ดับไฟในตัวเองไปกอน เพราะพอเราเย็นแลวมันอาจจะทําใหคนอื่นที่อยูใกลเคียง หรือผูที่คบหาสมาคม ผูที่เปนมิตรสหาย ผูที่เปนลูกศิษยลูกหาไดพลอยเย็นไปดวย เทานี้ก็นาจะเพียงพอแลว ทีนี้ถาหลายๆคนชวยกัน ความเย็นมันก็แผกระจายไปมากขึ้น

28 อาหาร 4


มโนสัญเจตนาหาร มาถึงขอ 3 เรื่องมโนสัญเจตนาหาร อาหารคือมโนสัญเจตนา หรือวาความตั้งใจ ความจงใจ ความตั้งเจตนา ภาษาอังกฤษทานใชคําวา Hope แปลวาความหวัง แตถาตีความวาเปนความหวังก็งายที่ชาวบานจะเขาใจนะครับ ผมไดเคยอธิบายแบบสมมุติวา แมปวยหนักกําลังจะเดินทางไปปรโลก ไดใหคนไปถามลูกคนใดคนหนึ่งที่อยูในที่ไกล แลวก็บอกแมวากําลังไปตาม กําลังเดินทางมา พอหรือแมคนนั้นกําลังปวยหนัก หวังวาจะไดพบลูกกอนที่จะตาย ก็ชะลอชีวิตไวดวยความหวังวาจะพบลูก จะไดสั่งเสียเรื่องที่คางใจอยูใหลูกไดทราบ ความหวังอันนี้แหละ หลอเลี้ยงใหชีวิตดํารงอยู พอลูกมาแลวไดสั่งเสียเสร็จแลวก็สิ้นใจตาย อันนี้เปนมโนสัญเจตนาหารไดไหมครับ ความตั้งใจ ความจงใจ ความหวังวาจะไดพบลูก ก็หลอเลี้ยงชีวิตเอาไว นาจะสงเคราะหเขาในมโนสัญเจตนาหารได ตามหลักฐานทางพุทธศาสนา พระพุทธเจาไดตรัสไวตอนหนึ่งใน อังคุตรนิกาย ทุกนิบาต (ทุกนิบาตแปลวาหมวด 2) พระไตร-ปฎกเลม 20 วา ความหวังของบุคคลที่ละไดยากมีอยู 2 อยาง คือ 1. ลาภาสา แปลวา ความหวังในลาภ 2. มาจากคําวา ลาภะ+อาสา อาสานี่แปลวาความหวัง แตวาในภาษาไทยที่เอามาใช อาสาแปลวาสมัครใจทํา เชน อาสาสมัคร นี่ก็สมัครใจทําเพราะอาสา อะไรตางๆมีเยอะแยะ แตวาในภาษาบาลี ภาษาธรรมะทานแปลวาความหวัง ความหวังในลาภ ชีวิตาสา มาจาก ชีวิตะ+อาสา แปลวาความหวังในชีวิต 2 อยางนี้พระพุทธเจาตรัสวา เปนความหวังที่ละไดยาก คนเรานี้ตั้งความหวังไวในลาภอยางหนึ่ง ในชีวิตอยางหนึ่ง มนุษยสามัญแทบทุกคนหวังในลาภ อยากไดลาภ ทรัพยสินเงินทอง เครื่องใชไมสอยตางๆ หวังเงินหวังทอง สิ่งเหลานี้มันเกี่ยวของกับเงินทอง สิ่งใชสอยอยูเปนอันมากทีเดียวนะครับ การที่มนุษยเราตองทํางานตางๆ เหนื่อยนอยบาง เหนื่อยมากบาง ก็ดวยหวังในลาภ จะไดลาภมาเลี้ยงชีวิต พวกพอคา แมคา คนเลี้ยงชาง เลี้ยงมา เลี้ยงเปด เลี้ยงไก ก็ลวนแตหวังอยากไดลาภทั้งนั้น ความหวังอันนี้เปนสิ่งที่รับไดยาก เวลานี้ลาภของคนก็นอยลง ก็หวังวาตอไปมันจะดีขึ้น คนที่ตกงานก็หวังวาจะไดงาน ไดลาภมาเลี้ยงชีวิตครอบครัว ญาติพี่นอง 29 อาหาร 4


ตอนนี้ชาวไรออยก็มาอยูที่หนาทําเนียบรัฐบาล ก็หวังวาจะไดลาภจากการทําออย ปลูกออย ขายออยใหไดมากขึ้น ใหพอเลี้ยงชีพอยูได ยังไงก็ไมทราบรายละเอียดมากนักนะครับ ไดทราบขาวแววๆวาเปนอยางนั้น ถาตกงานแลวก็ไมมีเงินจะใช ไมมีปจจัย 4 ที่จะบริโภคใชสอย ถาเปนผูหญิงตกงานดวยนะครับ ยิ่งลําบากใหญ เพราะวาในสังคมของเรานี่ ผูหญิงคนหนึ่งเทากับสามคนนะครับ ผูหญิงของเราคนหนึ่ง อยางนอยก็เลี้ยงคนสองคน ถาเผื่อผูหญิงตกงานคนหนึ่ง ถือวาโชครายของคนสามคน ไมใชตกงานคนเดียว แลวก็อีกสองคนอาจจะเปนลูก เปนนอง เปนแม แลวแตที่เกี่ยวของกับชีวิตก็พลอยลําบากไปดวย ผูหญิงตางจังหวัดทํางานในกรุงเทพฯ สวนมากก็หนักเอาเบาสู สวนมากก็สงเงินกลับไปบาง ผูชายก็มีบางครับที่สงกลับไปบาน บาง กินเหลาบาง เที่ยวเตรเฮฮาสนุกสนานเสียบาง แตผูหญิงสวนมากจะสงเงินกลับไปบาน ทํางานพิเศษลวงเวลาเพื่อจะไดปจจัยมาเลี้ยงตัว ดวยเหตุดังกลาวมานี้ ความหวังในลาภ เปนสิ่งที่ละไดย 2. ความหวังในชีวิต หวังวาในชีวิตในวันหนึ่งขางหนาจะดีกวาวันนี้ หวังวายังไมตาย ผูปวยหนักก็หวังวาจะหาย หวังในความกาวหนาผาสุกของชีวิต เรื่องเหลานี้ยิ่งตัดยากกวาความหวังในลาภเสียอีก เพราะวาชีวิตสําคัญกวาลาภ คือวาถาชีวิตมีอยูลาภภายนอกก็พอหาได ถาชีวิตหาไมเสียแลวอะไรๆก็จบสิ้นลงแคนั้น ความหวังนี่มีความสําคัญมากสําหรับชีวิตของคนเรา ถาไรความหวัง ชีวิตก็มีแตเหี่ยวแหงโรยรา หาความสดชื่นไดยาก ความหวังเปนเครื่องหลอเลี้ยงทั้งชีวิตและจิตใจ อยางที่เคยยกตัวอยางใหฟงวา พอแมบางคนก็ปวยหนัก สงคนไปตามลูก ความจริงควรจะตายแลว แตชะลอชีวิตออกไปอีก 3 วัน 5 วัน ดวยความหวังวาจะไดพบลูก อยางนี้เรียกวาความหวังไดหลอเลี้ยงชีวิตเอาไว ทําใหรูสึกวาจิตใจชุมชื่น ลูกมาจิตใจก็ชุมชื่น เหมือนตนไมที่เริ่มเหี่ยวแหงไดน้ํามาหลอเลี้ยง พอหมดหวังจิตใจคนก็จะฟุบลงทันที ดังที่ในตําราของเราทานวา ทุกชีวิตจิตใจฟูขึ้นเพราะความหวัง ฟุบลงเพราะสิ้นหวัง อยางที่เขาพูดวา คนจนหวังหวย คนรวยหวังหุน ก็เพราะหวังนั่นแหละครับ หวังวาจะถูกหวย 30 อาหาร 4


หวังวาหุนจะดีมั่งนั่นแหละครับ แตถา ไมจนไมรวย ก็ไมหวังทั้งหวย ทั้งหุน ก็หวังแตการกระทํา ผลของการกระทํา เราทําเหตุไดเทาไหรก็รับผลไดเทานั้น ทานมหากวีกาลิทาสแหงอินเดีย ทานกลาวเอาไววา ความหวังเหมือนกานที่เชื่อมดอกไมไวกับตน ถากานมันหักไปแลวดอกไมก็หลุดจากตนทันที ความหวังเปนบันไดที่เชื่อมบุคคลไวกับชีวิต หรือเปนหวงคลองบุคคลไวกับชีวิต หากวาความหวังนั้นหมดสิ้นไป เราก็สิ้นอาลัยในชีวิต คนปวยแมหมอจะบอกวารักษาไมหาย ก็ยังหวังวาจะหายดวยยาขนานใดขนานหนึ่ง ตองเที่ยวเสาะแสวงหายาหาหมอตางๆ หมอที่ไหนดีก็ไปหา ยาแพงเทาไหรก็สูถามีสตางค เพราะความหวังวาจะหายจากโรค คนจนก็หวังวาวันหนึ่งจะมีสตางค ก็พยายาม ถึงไมพยายามก็ยังหวังลาภลอย อาจจะถูกลอตเตอรี่ มีคนใจดียกมรดกให นี่คอื ความหวังของคน เมื่อไหรไมหวัง เมื่อนั้นก็เปนพระอรหันต มีคําในภาษาบาลีแสดงถึงคุณบทของพระอรหันตอยูบทหนึ่ง ที่วา อมโม แปลวาไมมีอะไรเปนของๆเรา นิราโส เปนผูไมหวัง ไมใชสิ้นหวังนะครับ ไมหวัง เคยไดยินทานอาจารยพุทธทาสพูดถึงเรื่องนี้เหมือนกันวา “อยาไปหวัง จะทําอะไรก็ทําแตเหตุอยาไปหวัง” ทําเหตุอยางเดียว อยาไปหวัง ถาพัฒนาจิตใจไปไดในระดับนั้น ยอดเยี่ยมทีเดียว ทําแตเหตุอยางเดียวไมหวังผล คนทั่วไปอดที่จะหวังไมได นี่ก็เปนมโนสัญเจตนาหาร ตอนนี้ใกลปใ หมเขามาแลว เหลืออีกไมกี่วันแลว จะขึ้นวันปใหม ใกลๆปใหมคนเราเริ่มหวังกันอีกวา ปใหมคงจะดีกวาปเกา จะสรางความหวังขึ้นมาใหม มีความปรารถนาตางๆ แตวาความหวังเราจะตองทําเอง ความหวังของคนเราจะสําเร็จหรือไมก็ตามก็อดหวังไมได แตคนที่ฉลาดก็พยายามในสิ่งที่เขาทําได พยายามหรือหวังในสิ่งที่เขาจะทําได สามารถที่จะบันดาลใหเกิดขึ้นได ดวยแรงกําลังของเขาเอง 31 อาหาร 4


บางคนก็หวังเรื่องความรัก รอคอยความรัก ตองการความรัก หวังวาเมื่อไหรจะมีรักเหมือนคนอื่นเขา ถาเผื่อยังหวังอยูก็ตองมีความทุกขกับความหวังบางไมมากก็นอย ถาความหวังสําเร็จก็เปนสุข ถาความหวังไมสําเร็จก็เปนทุกข มีสุภาษิตอยูในพระไตรปฎกเลม 27 หนา 621 เปนชาดกนะครับ ทานกลาวไววา สุขัง นิราสงสุปติ คนไมหวังนอนเปนสุข อาสา ผลวตี สุขา แตความหวังถาสําเร็จผลก็ทําใหเปนสุขไดเหมือนกัน อะสํ นิราสํ กตฺวาน สุขํ สุปติ ปงฺคลา นางสาวปงคลาทําความหวัง ทําความหวังใหไมหวัง คือวาหวังแลวก็ไมหวังเลย นางสาวปงคลานี่เปนหญิงคนใช รอชายคนหนึ่งที่นัดหมายไว นั่งรออยูถึงสองชั่วยาม ยามหนึ่งก็ผานไปแลว คนรักก็ไมมา ยามที่สองก็ผานไปแลวคนรักก็ยังไมมา พอถึงยามที่สาม นางสาวปงคลาก็หมดหวัง ก็เลยหลับเปนสุขไปในที่นั้นเอง ก็ดีเหมือนกัน แตถาหวังก็หวังสิ่งที่พอหวังได อยาไปหวังอะไรที่มันเกินไป จริงอยูคนเราก็อยูไดดวยความหวัง แตวาใหรูจักหวังสิ่งที่ควรหวัง หรือพอหวังได อยาหวังใหเกินไปใหเกินตัว ใหเกินกําลังความสามารถ อยาเขยงใหมากนักมันเหนื่อย อยาโหนใหมากนักมันจะตกลงมา เราก็คอยๆไตขึ้นไป คอยๆเดินทีละกาว One Step Enough for Me กาวเดียวพอแลวสําหรับเรา เดินทีละกาวแตใหมั่นคง อยาใหพลาด สรางความหวังไวบางแตวาอยาใหมากเกินไป ถามากเกินไปแลวก็เปนทุกข อยาใหเปนทุกข อยูใหสบายๆ แลวเราก็จะมีความสุขไปดวย ไดลาภไปดวย มีความสุขอยูทุกอิริยาบถ ทํางานไปดวยมีความสุขไปดวย ไมใชวาทํางานไปตกนรกไป คือวามีความหวังมากมาย รอยแปดพันอยาง แตทําอะไรไมไดสักอยาง สูไมตองหวังอะไร แตทําไปตามหนาที่ดีกวา หนาที่คือการปฏิบัติธรรม การปฏิบัตธิ รรมนั้นแหละคือหนาที่ หนาที่ที่ถูกตองชอบธรรม เปนการปฏิบัติธรรม แลวก็การปฏิบัติธรรมก็เปนหนาที่ของมนุษยทุกคนจะตองทํา และก็ทําความหวังใหสําเร็จดวยการรอคอย รอคอยดวยใจเย็น ไดเมื่อไหรก็ชางมัน ทําเหตุไมตองหวังผลก็ได หวังก็ไมเปนไรแตอยาใหเปนทุกข 32 อาหาร 4


ความหวังนี้เปนความใฝฝนอยางหนึ่งของมนุษยเรา เปนสิ่งที่อัศจรรยอยางหนึ่งของชีวิต ที่สามารถจะผูกพันชีวิตของ บุคคลไวกับสิ่งที่ตนหวังอยางเหนียวแนน ตัวอยางเชน ผูชายที่หวังวาจะไดรวมชีวิตกับผูหญิงที่ตนรัก รอไดดวยความอดทน รอไดดวยความหวังที่ไมเคยรออะไรไดนานเทานั้น เพราะอาจรอไดเปนเวลาถึง 5 ป 10 ป คนปวยที่เรื้อรังก็หวังการหายโรค รอคอยดวยความหวังอยูถึง 20 ถึง 30 ป บางทีความหวังถึงกับดับลงพรอมกับชีวิต ถึงกระนั้นก็ตาม เขาก็ยังหวังวา ชาติหนาโรคอยางนี้จะไมติดตามเขาไปอีก ความหวังเปนอาหารใจอยางหนึ่ง พระพุทธเจาทรงเรียกวา มโนสัญเจตนาหาร ซึ่งกําลังพูดถึงอยูนี้ คนเรามีความหวังเหมือนๆกัน ขอแตกตางก็อยูที่สิ่งที่หวังเทานั้น สิ่งที่หวังซึ่งตรงกันก็มี แตกตางกันก็มี ผูหวังสิ่งใดก็กระเสือกกระสนดิ้นรนเพื่อสิ่งนั้น ยกตัวอยางเชน หวังในลาภ ก็ดิ้นรนขนขวายเพื่อลาภ ลาภาสา หวังในลาภ หวังยศ หวังสรรเสริญ หวังสุข ก็ดิ้นรนใหไดมาเพื่อสรรเสริญ เพื่อสุข ที่ตนเขาใจวาดี แตพอหวังนานๆไปก็เลิกหวังไปเอง การเลิกหวังมันเปนความสุขชนิดหนึ่งที่ไมตองหวัง ที่เคยกระวนกระวายเดือดรอนเคยเปนทุกขเพราะความหวัง พอเลิกหวังแลวมันก็ไมเปนทุกข ตามนัยแหงพระวัจนะหรือพระพุทธพจน ทรงแสดงวา ความหวังของบุคคลที่สําเร็จไดโดยยากมีอยู 4 อยาง อันนี้ตามนัยของพระไตรปฎกเลม 21 หนา 85 ขอ 61 มีอยู 4 อยาง คือ 1. 2. 3. 4.

33 อาหาร 4

หวังวาขอทรัพยจงเกิดมีแกเราโดยชอบธรรม หวังวาขอยศจงบังเกิดมีแกเรากับญาติพวกพอง หวังวาขอเราและญาติจงรักษาอายุใหยืน หวังใหมีอายุยืน ขอใหเราและพวกพองไดไปบังเกิดในสวรรค


รวมความวา หวังทรัพย หวังยศ หวังอายุ และก็หวังสวรรค พระพุทธเจาตรัสวา ความหวังของบุคคลที่สําเร็จไดโดยยาก 4 อยาง แตละอยางก็ลวนแตสําเร็จโดยยากทั้งนั้น เพียงขอ 1 ขอเดียวเทานั้นก็ใหสําเร็จไดโดยยาก บางคนก็ใชชีวิตทั้งชีวิตเพื่อหาทรัพย แตทรัพยก็ยังไมบังเกิดเทาที่ตองการ หรือตามที่ตองการ ไมตองพูดถึงขออื่นๆ ยิ่งขออื่นๆ ยิ่งหวังยาก คนในโลกนีท้ ี่ไดสมปรารถนาทั้ง 4 อยาง คอนขางจะหายากสักหนอย ความสําเร็จและความลมเหลวของความหวัง ทําไมบางคนจึงประสบความสําเร็จในที่หวัง และบางคนลมเหลวครั้งแลวครั้งเลา ผิดหวังอยูเสมอทีเดียว ความหวังนี้จะสําเร็จลงไดตองทําเหตุใหถูกตอง ความลมเหลวก็เชนเดียวกัน มันสืบเนื่องมาจากการประกอบเหตุไมถูกตอง ไมเหมาะสม ไมสมหวัง ผูที่ไมสมหวังจึงตองหมั่นพิจารณาบอยๆ ใชปญญาใหมาก คือวาถารูตัววาความเพียรยังนอยอยู ก็เพิ่มความเพียรเขา เพราะวาบางคนไมบรรลุผลสําเร็จ เพราะหยอนความเพียร มีความเพียรยอหยอน หีนวิริโย มีความเพียรนอย มีความเพียรหยอน บางคนเพราะประพฤติตัวไมดี อันนี้เปนศีลวิบัติ ประพฤติตัวไมดี ถาปฏิบตั ิถูกตองแลว ความลมเหลวจะดํารงอยูไดไมนาน เขาก็จะตองบรรลุถึงผลสําเร็จ แตเขาจะตองไมสรางความหวังที่มากเกินไป หรือวาเกินวิสัยของตนที่จะบรรลุได

34 อาหาร 4


ธรรมที่เปนเหตุใหสมหวัง พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมที่เปนเหตุใหสมหวัง จากพระไตรปฎกเลม 21 หนา 86 ขอ 61 มี 4 อยาง คือ 1. สัทธาสัมปทา ถึงพรอมดวยศรัทธา 2. สีลสัมปทา ถึงพรอมหรือสมบูรณดว ยศีล 3. จาคสัมปทา ถึงพรอมหรือสมบูรณดวยจาคะ 4. ปญญาสัมปทา ถึงพรอมดวยปญญา หรือสมบูรณดวยปญญา 1. สัทธาสัมปทา ถึงพรอมดวยศรัทธา คือวาตองมีความหมายของคําวาศรัทธาใหดี ตองการความสําเร็จในเรื่องใดตองทุมศรัทธาลงไปในเรื่องนั้น ไมใชวาศรัทธาอยางที่คนอื่นเขาเขาใจกันทั่วไป ศรัทธามีใจในการทําบุญใหทานไปเรื่อย แลวตองการความสําเร็จมันไมใชอยางนั้น อันนี้โดยออม แตถาโดยตรง ถาตองการใหสมหวังประสบความสําเร็จในเรื่องใด ตองทุมความเชื่อมั่นลงไปในสิ่งนั้น ไมวาจะนานสักเทาไหร ไมวาจะยากสักเทาไหร และก็มีความเชื่อมั่นวาสามารถจะบรรลุใหสําเร็จได มันเปน convic ไมใช Blind faith ความเชื่อที่งมงายไมใชอยางนั้น 2. สีลสัมปทา ถึงพรอมดวยศีล คือหมายความวา มีความประพฤติดี ไมถูกสังคมรังเกียจโดยความประพฤติ มีความประพฤติดี เราจะประสบความสําเร็จก็ตองประสบความสําเร็จในสังคม จะสมหวังก็ตองสมหวังในสังคม ถาสังคมเขาไมยอมรับเสียแลวก็เปนอันวาลมเหลว สีลสัมปทา มีความประพฤติดีเปนที่นาไววางใจ ทานจะเปนพอคา แมคา ครูบาอาจารย จะเปนอะไรก็แลวแต ความเชื่อถือเปนสิ่งสําคัญ คือเปนคนที่มีศีล มีเรื่องเลาในชาดก อาจารยตองการใหลูกสาวกับลูกศิษยที่เกง แตวาตองการจะทดลองวาเปนคนมีศีลมีธรรม ก็บอกลูกศิษยวา เอาละเรียนกันจบแลว 35 อาหาร 4


อาจารยทิสาปาโมกขก็จะยกลูกสาวใหคนหนึ่ง แตวาตองไปขโมยเครื่องประดับของญาติพี่นอง หรือพอแม หรือของใครก็ได เอามาใหลูกสาวของอาจารย ลูกสาวพอใจเครื่องประดับของคนไหนที่ขโมยมาก็ใหยกลูกสาวใหกับคนนั้น ตางคนตางก็รีบไป ไปขโมยของพอแม พี่นอง เครื่องประดับที่คิดวาลูกสาวของอาจารยจะพอใจที่สุด ไดกันมาคนละชิ้นสองชิ้น มีเด็กหนุมคนหนึ่งกลับมามือเปลา อาจารยถามวาทําไมจึงไมไดอะไรมา บอกวาไมกลาขโมย กลัวตอบาป มีความรูสึกละอายที่จะไปขโมย ก็เลยไมกลาขโมยของพอแมพี่นอง ขยับแลวขยับอีกไมกลาขโมย อาจารยก็บอก อา! นี่ละคนนี้แหละจะยกลูกสาวใหคนนี้แหละ ในบานอาจารยก็มีขาวของทุกอยางครบแลว ไมวาขาวของเงินทอง ตองการแตคนซื่อสัตยสุจริต ตองการคนมีศีลมีธรรมมาเปนเขย เจาคนนี้ไมตกหลุมพรางของอาจารย เพราะเปนคนซื่อ ไมกลาขโมย กลับดี ก็ประชุมลูกศิษย บอกวาใหเอาของที่ขโมยมาคืนเขาใหหมด แลวก็คนที่สมควรจะไดลูกสาวก็คือคนที่ไมขโมยนั่นแหละ นี่เห็นไหม สีลสัมปทา คนที่มีคุณธรรมมีศีลธรรม ก็ทําใหไดความสมหวัง ไดประสบความสําเร็จสมหวัง 3. จาคสัมปทา ตองเปนคนเสียสละ ถึงพรอมดวยเสียสละ สมบูรณดวยเสียสละ ไมใชเปนคนเอาอยางเดียว ไมใช take อยางเดียว ตอง give ดวย คือตองใหเปน ตองเปนคนเสียสละเปน ถึง คราวจําเปนที่จะตองเสียสละเทาไหรเทากัน ถาไมจําเปนบาทเดียวสองบาทก็ไมออกไมให แตถาถึงคราวจําเปน หรือเห็นสมควรเทาไหรเทากัน เห็นความจําเปนไหม? เห็นความสมควรไหม? ตองดูสองอยางนี้วา จําเปน จาคะบริจาคไป เทาไหรเทากัน จาคะคนที่ใจใหญ ในภาษาไทยเขาเรียกวาคนใจนักเลง คือวากลาได กลาเสีย กลาสู กลาเสียสละ คนที่เสียสละนี่เปนคนกลาสู ทั้งๆที่วาคนที่ตกทุกขไดยาก หรือผูหลักผูใหญของเราที่ลําบาก เราก็ลําบากอยูเหมือนกัน แตตองตัดใจใหทานไปทั้งๆที่เราลําบากอยูเหมือนกัน แตวาทานลําบากมากกวาเรา ทานมีบุญคุณตอเรา มีความดีตอเรา ตัดใจใหทานไป จนเปนจน ไมเปนไร สูได คนอยางนี้จะประสบความสําเร็จหรือสมหวัง ไมใชคนขี้ขลาดไมกลาที่จะให ไมกลาชวย เหลือคนที่ควรชวย แตควรชวยเหลือคนที่ควรชวย เขาตอบแทนก็ดี ไมตอบแทนก็แลวไป เราไดบุญเปนสิ่งตอบแทนอยูแลว

36 อาหาร 4


4. ปญญาสัมปทา คือความสมบูรณดวยปญญา ความถึงพรอมดวยปญญา ถาอธิบายอยางพื้นๆ ธรรมดานะครับ ก็เปนคนมีเหตุผล เปนคน มีปญญา รูจ ักใชปญญา ไตรตรอง ควบคุมศรัทธา ควบคุมศีล ควบคุมจาคะ แตวาปญญาที่พระพุทธเจาทานตรัสถึง ในหมวดธรรมนี้มีความละเอียดกวานั้น ผูที่เรียนนักธรรมอยูก็ควร จะฟงและจําไวดวย ที่สอนๆกันอยู ทีพ่ ูดๆกันอยู ไมไดเอาในพระพุทธพจนมาใชมาพูด ก็พูดทั่วๆไป ปญญาสัมปทา ธรรมที่ใหประสบความสมหวัง ธรรมอันเปนเหตุใหสมหวัง ซึ่งขอสุดทายคือปญญาสัมปทานี้ มีพระพุทธาธิบายวา บุคคลเมื่อมีจิตถูก อภิชฺฌาวิสมโลภะ (โลภอยากไดของของผูอื่น) พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ และ วิจิกิจฉา ครอบงําแลว พยาบาทรูกันแลว ถีนมิทธะ (ความเกียจคราน) อุทธัจจกุกกุจจะนั้น (ฟุงซาน และรําคาญ) วิจิกิจฉา (สงสัยลังเลไมอาจตกลงใจได) เมื่อสิ่งทั้ง 5 อยางนี้ครอบงําแลว ยอมทําสิ่งที่ไมใชหนาที่ อกิจฺจํ กโรติ (ทําสิ่งที่ไมใชหนาที่) ก็พลาดในสิ่งที่เปนหนาที่ กิจฺจํ อปราเธติ (พลาดในสิ่งที่เปนหนาที่) เมื่อเปนเชนนี้ก็ยอมพลาดจากยศ พลาดจากสุข สาวกของพระอริยรูวา อภิชฺฌา วิสมโลภะ เปนตน เปนอุปกิเลส เครื่องเศราหมองของจิต จึงละ อภิชฺฌา วิสมโลภะ เปนตนนั้นเสีย เมื่อละไดแลว เราตถาคตจึงเรียก อริยสาวกเปนผูมีปญญามาก มีปญญาแนน เปนผูเห็นทาง (อันนี้สําคัญ) อาปาถทโส (เปนผูเห็นทาง) ไมใชมืด แตพอเปนอยางนี้แลวพอจะมองเห็นทางของชีวิตสมบูรณดวยปญญา นี่คือปญญาในสัมปทา นี่เปน พระพุทธพจน ถาเผื่ออธิบายอยางพื้นๆแลว ก็อยางที่ผมพูดแลวในเบื้องตนวา ก็มีปญญาที่จะดูแลศรัทธา ดูแลศีล ดูแลจาคะ ดูแลปญญา ไมเปนคนโงวาอยางนั้นเถอะ แตถาตามในพระพุทธพจนนี่ลึกลงไปอีก อันนี้คือธรรมที่เปนเหตุใหประสบความสมหวัง 4 อยาง ผมจะพูดเรื่องวิธีสรางความหวัง เพื่อใหความสําเร็จอันดีงามนี้ เราจะตองใสใจสิ่งสําคัญประการหนึ่ง คือวิธีสรางความหวัง เราจะตองไมสรางความหวังใหมากเกินไป เกินกวากําลังความสามารถ และระยะเวลาจะบันดาลใหสมหวังได 37 อาหาร 4


เราควรหวังเทาที่จะหวังได อยูในวิสัยสามารถที่จะทําได คือวาไมยากนัก สําหรับเราแลวก็ระยะเวลาที่กําหนดก็ไมนานเกินไป สรางความหวังใหเปนขั้นเปนตอน เมื่อความหวังในขั้นหนึ่งสําเร็จลงแลว ความหวังในขั้นตอไปก็จะเกิดขึ้นเอง และก็ดูเหมือนวาอยูใกลมือเต็มที่ ความสําเร็จในความหวังขั้นตนๆนั่นเอง เปนแรงบันดาลเปนพื้นฐาน เปนขุมกําลัง ใหขั้นหลังๆ ประสบความสําเร็จ โดยไมยาก คนที่เคยทําอะไรอยางหนึ่งสําเร็จมาแลวดวยดี ความสําเร็จนั้นจะเปนกําลังใจใหทําสิ่งนั้นตอไปดวยความมั่นใจ เชื่อมั่นในตัวเอง อันนี้แหละครับจะนําไปสูความสําเร็จอันยิ่งใหญ หรือใหญหลวงในชีวิตการงาน เพราะฉะนั้น ทานจะตองสรางความหวังดวยวิธีที่ถูกตอง และหวังในสิ่งที่ถูกตอง หวังสิ่งที่พอมองเห็นทาง แลวใชความเพียร ใชสติปญญาใหเต็มที่ เต็มกําลังของทาน ก็จะไมผิดหวัง หรือคิดอยูก็ไมนาน แตอยาหวังสิ่งที่ไกลเกินไป เพราะวาภารกิจของเรานี้ตองมองสิ่งที่อยูใกล แลวก็สามารถจะทํากับมันได แตถาหวังสิ่งที่อยูไกลเกินไป เราทํากับมันไมได ทําอะไรกับมันไมไดก็ไดแตหวัง เพราะฉะนั้น ก็หวังที่เราสามารถจะทําได เราสามารถจะ contral ได อยาหวังสิ่งที่ไกลเกินไป ถาเราหวังสิ่งที่ใกล แลวเราไดสิ่งนั้นแลว เราคอยเลื่อนความหวังเขาไป หรือวาเลื่อนความหวังขึ้นไปใหสูงขึ้น สิ่งที่เราหวังนะครับ มันไมไดหายไปไหนหรอก ถาเราหวังสิ่งใด ตองการสิ่งใด ตั้งความหวังไวในสิ่งใด มันไมไดหายไปไหนหรอก บางทีเราลืมไปแลว แตมันไปเก็บสะสมกันอยูในภวังคจิต ในภวังควิญญาณ บางทีก็เรียกวา ภวังคโสต (โสตในที่นไี้ มไดแปลวาหูแตแปลวากระแส) ภวังคโสตนี้คือกระแสชีวิตที่อยูใตจิตสํานึก หรือวา Unconcious life Stream คือกระแสชีวิตซึ่งเปนสวนจิตไรสํานึกนั่นเอง concious life stream อันนั้นเปนกระแสชีวิตที่เปนจิตสํานึก จิตใจปจจุบันที่เรารับอารมณอยู แตทีนี้พอไมรับอารมณแลว มันจะลงไปสะสมกันอยูในจิตไรสํานึกที่เปน 38 อาหาร 4


unconcious mind เพราะฉะนั้น สิ่งที่เราหวังไว เราคิดวามันหายไปแลว แตมันจะลงไปสะสมกันอยูในจิตไรสํานึก หรือภวังคจิต เมื่อไดปจจัยเหมาะสมก็จะแสดงตัวออกมา เพราะวาภวังคโสตนี้สามารถจะทรงจําประสบการณในอดีตทั้งมวลไว ตลอดจนถึงเหตุการณในชาติกอนซึ่งแฝงอยูในจิตนั่นเอง เพราะฉะนั้น สิ่งที่เราหวัง และตองการความสําเร็จนั้นมันไมเคยไปไหนวันหนึ่งจะตองประสบความสําเร็จ แตเราอาจจะใจรอนเกินไปก็ได ถาเราใจรอนเกินไป เราก็จะไมสําเร็จ หรือวาเรา รูสึกวาไมสําเร็จ แตความจริงความสําเร็จมันรอเราอยูขางหนา เมื่อเราหวังสิ่งใด ก็ตองทําเหตุใหสมควรกับผลที่เราหวัง หรือผลที่เราตองการ ยกตัวอยางเชน คนหวังรวย หวังมีเงิน ก็ตองขยันทํางานตั้งตนไวในทางที่ชอบ ก็คอยเก็บเล็กผสมนอยไป แตวาถาหวังรวยดวยการพนัน เลนการพนัน ทุมตัวลงไปในเรื่องการพนัน มันก็เหมือนหวังรมเงาจากกลุมเมฆละครับ ลองนึกดู บางทีเราก็มีรมเงาจากกอนเมฆเหมือนกัน แตวาเดี๋ยวมันก็ลอยไป มันไมใหรมเงาเราอยูนานหรอก ประเดี๋ยวประดาวมันก็ผานไป กลุมเมฆผานไป ถูกลมพัดกระจัดกระจายไป เราก็ไมมีรมเงาแลว แตถาเราถือรมของเราเอง เราสามารถจะหุบได กางได อันนี้ก็อยูไดนาน ฝนตกก็ไมเปยก แดดออกก็ไมรอน หรือวาไดรมเงาจากตนไมใหญ นี่เราก็น่งั ไปเถอะ จนกวาเราจะเบื่อ แลวเราก็ไปเอง ตนไมใหญก็คงใหรมเงารออยูตลอด คุณธรรมที่เปนเหตุใหบรรลุความสําเร็จ อันนี้ก็เปนหลักของพระพุทธศาสนาที่พระพุทธเจาทรงแสดงไว เพื่อใหบรรลุถึงความสําเร็จตามที่หวัง เราก็ตองใชคุณธรรมที่เหมาะสมเปนเครื่องมือ หลักพระพุทธศาสนาไดแสดงคุณธรรมไวหลายอยาง หลายหมวด เพื่อความสําเร็จชนิดตางๆ

39 อาหาร 4


คุณธรรมซึ่งเปนคุณธรรมสําคัญและคุณธรรมรวมก็คือ อิทธิบาท 4 ซึ่งใครๆก็ทองกันมา จํากันมาตั้งแตเปนเด็กนักเรียน ครู ก็สอนใหทอง แตภาคปฏิบัติไมคอยมีเทาไร ที่จริงหลักดีๆพวกนี้ ถาเราเอามาใชในภาคปฏิบัติ มันก็ไดผลจริง ปฏิบตั ิจริง ทำจริง ก็ใหผลจริง อยางเชน 1. ฉันทะ ในอิทธิบาทนี้ แปลวา บาทแหงฤทธิ์ หมาย ถึงทางของความสําเร็จ ใชคุณธรรมเหลานี้เปนเครื่องมือสรางความสําเร็จ ฉันทะ ความรักใคร พอใจในสิ่งที่คิด กิจที่ทํา ถายังไมพอใจหรือไมชอบ ก็ขอใหพิจารณาถึงประโยชนของสิ่งนั้นๆ ฝนใจทําสักระยะหนึ่ง พอเกิดรสแลวก็จะชอบไปเอง มันมีชวงระยะที่เกิดรสขึ้นมาแลวเราคอยชอบไปเอง ถาเราอานประวัติของบุคคลสําคัญๆ ทานเหลานั้นประสบความสําเร็จในทางใด เราก็จะพบวาทานมีความพอใจในสิ่งนั้น มีความชอบพอ รักใครไมจืดจาง 2. วิริยะ ความเพียร ความพากเพียร เพียรอยางสม่ําเสมอ หรือเสมอตนเสมอปลาย ที่เรียกเปนภาษาธรรมะวา วิริยารัมภะ คือวาไมจับจด ไมหักโหม ไมเกียจคราน การทํางาน หักโหมเปนความเกียจครานอยางหนึ่ง คืออยากหรือรีบใหเสร็วเร็วๆ เพื่อจะไดขี้เกียจ เพื่อจะไดหาความสุขจากความเกียจครานตอไป คนที่มีความเพียรก็จะระลึกอยูเสมอวา ความเพียรเปนมิตรแทของเรา ความสุขที่เกิดจากความเพียรชอบเปนความสุขที่ดี มีคุณคา สวนความสุขที่เกิดจากความเกียจครานเปนความสุขที่มีโทษ ทั้งแกตัวเอง ทั้งแกผูอื่น ความเพียรที่ถูกตองกลับมีผลดีเสมอ ไมมีงานที่แทจริงอันใดที่จะไรผล 3. จิตตะ ความเอาใจใสตอการงาน หรือตอการศึกษา ตอสิ่งที่ทํานั้นอยางจริงจัง ขนาดนอนฝนถึงสิ่งนั้นกันทีเดียว ทานจะสังเกตวานักเรียนที่มีจิตใจจดจอตอการสอบ ก็มักฝนถึงเรื่องการเขาสอบ ฝนเห็นขอสอบ นักเรียนประเภทนี้มักจะสอบได เพราะวาคุณธรรมขอนี้ครับ คือการเอาใจใสอยางแทจริง ความสําเร็จทางการงานก็อยูในลักษณะนี้ อะไรที่มันเกิดขึ้น มันคอยๆเกิด อะไรที่จะเสื่อม ก็คอยๆเสื่อม ใหเรามีวิริยะ มีความเพียร มีความเอาใจใสอยางจริงจังตอสิ่งที่เราตองการความสําเร็จ 40 อาหาร 4


กรุงโรมนั้นเคยเจริญรุงเรืองจนถึงกับมีสุภาษิตที่วา ถนนทุกสายตัดไปสูกรุงโรม กรุงโรมเมื่อจะเสื่อมก็คอยๆเสื่อม เสื่อมอยูถึง 20 ป ถึงจะมองเห็นความเสื่อมอยางชัดเจน มีคนหนึ่งทําพจนานุกรม ใชเวลาตั้ง 36 ป โนอาห เร็บสเตอร (Noah Webster) ใชเวลา 36 ปในการทําพจนานุกรม Webster ที่เราใชกันอยูทั่วโลกเวลานี้แหละครับ อีกคนหนึ่ง อดัม สมิธ (Adam Smith) เปนนักเศรษฐศาสตร เขียนเรื่องความรวยของประชาชาติ เรื่องเดียวเขียนอยูถึง 10 ป แลวก็หนังสือเลมนี้กลายมาเปนตนกําเนิดของวิชาเศรษฐศาสตรในปจจุบัน อันความเสื่อม ความเจริญ ความลมเหลว และความสําเร็จมันจะคอยๆเปนไปทีละนอย เพราะฉะนั้น จึงควรหลีกเลี่ยงเหตุของความเสื่อม แลวสะสมเหตุของความสําเร็จ ความเจริญเอาไวเสมอๆมันถึงเขาเอง เหมือนเราปลูกตนไมเอาไว บางทีเมื่อไรมันจะออกลูก ถาเราใจรอน เราก็จะโคนมันเสียกอน แตถาเราใจเย็นๆ มันก็จะออกลูกของมันเอง เรามีหนาที่ปลูก การออกลูกเปนหนาที่ของตนไม เราไมมีหนาที่ไปเรงมัน ทั้งนี้เราก็ตองมีปญญานะครับ ใชปญญาซึ่งเปนอิทธิบาท 4. วิมังสา แปลวาการใครครวญ พิจารณาเหตุผล หาขอดี ขอเสีย หาสวนขาด สวนเกิน เพิ่มสวนที่หยอน แลวก็ตดั สวนที่เกินในกิจการตางๆ ใหไดสวนที่พอดี เปนทางสายกลาง คุณธรรมทุกอยางเปนทางสายกลาง ความพอดีนั้นดีเสมอ พระพุทธเจาตรัสอยางนี้ สอนอยางนี้ แมในการปฏิบัติธรรมก็ยังตองอาศัย มัตตัญุตา คือความพอดี นี่ก็คือตัวปญญานั่นเองนะครับ ตัวปญญานี่แหละควบคุมใหเราทําอะไรพอดี ใชคุณธรรมนี้เปนเครื่องสํารวจตรวจตราอยูเสมอ เชน ลมเหลวเพราะเหตุใด สําเร็จเพราะเหตุใด รักษาทางแหงความสําเร็จไว ปรับปรุงทางหรือการที่ลม เหลวใหดีขึ้น เพื่อจะไดประสบความสําเร็จตอไป คนสําคัญของโลกทุกสาขาไดอาศัยหนทางนี้ประสบความสําเร็จมาแลว ไมขาดสายทีเดียว แลวก็ยังจะประสบความสําเร็จตอไปอีก ถาทานอานประวัติของนักวิทยาศาสตร นักอะไรตอนักอะไร ทุกนักแหละครับ หรือนักวิทยาศาสตรทุกแขนงไดอาศัยบาทแหงฤทธิ์ ซึ่งก็คือ อิทธิบาท ไดพบกับความสําเร็จที่ยิ่งใหญมาเปนอันมากเลยครับ แลวก็แสดงฤทธิ์ใหเราเห็นอยูทุกเมื่อเชื่อวัน 41 อาหาร 4


ลองดูสิครับ เรือเดินทะเล เครื่องบิน ไฟฟา เครื่องยกน้ําหนัก สารพัดที่เปนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีลวนแตเปนการแสดงฤทธิ์ของผูมีอิทธิบาททั้งนั้น ความสําเร็จในทางธรรมและทางโลกก็ลวนแตตองใชคุณธรรมเหลานี้ทั้งนั้น ไมใชเอาแตหวัง แลวก็นั่งหวังอยูเฉยๆ ไมไดใชปญญา ไมไดใชอิทธิบาท ไมไดใชคุณธรรมของผูประสบความสําเร็จ อันจะเปนคนสําเร็จ ก็ตองมีคุณธรรมของผูประสบความสําเร็จ ธรรม 4 ประการเพื่อความไมเสื่อม เพื่อประคับประคองตัวไมใหเสื่อมกอนที่จะบรรลุถึงความสําเร็จตามที่มุงหวังเอาไว พระพุทธเจาไดทรงแสดงคุณธรรม 4 ประการนี้ คือ ประการที่ 1 เปนผูที่มีความประพฤติดี มีศีลธรรม ประการที่ 2 เปนผูที่มีความระวัง มีสติ สํารวมอินทรีย ไมตกอยูภายใตอํานาจของสิ่งยั่วยวนตางๆมากเกินไป แลวก็พยายามตัดรอนสิ่งที่ไมจําเปนออกไป มีสติ สํารวจ ระมัดระวัง ใชปญ  ญา ตัดสิ่งที่ไมจําเปนออกไป คลายๆวาชาวสวนที่ฉลาด เขาก็จะตัดสวนที่ไมจําเปนของตนไมออกไป เพื่อใหสวนที่จําเปนยังอยู สวนที่ไมจําเปนมันจะไมแยงอาหารของสวนที่จําเปน นี่เปนคุณธรรมอีกอยางหนึ่ง เปนความดีอีกอยางหนึ่งที่จะตองมีสําหรับผูที่มุงความสําเร็จ ประการที่ 3 เปนผูที่รูจักประมาณ ในทุกสิ่งทุกอยาง ในการบริโภค ในการใชสอย รูจักเพียงพอ อันนี้สําคัญมากนะครับ พอดีคือความพอดีนั่นเอง ประการที่ 4 มีความเพียรอยูเสมอ ไมเกียจคราน อันนี้อีกหมวดหนึ่งของหมวดธรรมทีส่ ําหรับชวยประคับประคองบุคคลไวใหดําเนินไปสู ความสําเร็จ ถาเผื่อทานสังเกตก็จะพบวา ประการที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 นี้เปนหมวดธรรมหมวดหนึ่งที่ทานเรียกวา อปณณกปฏิปทา ที่แปลวาขอปฏิบัติที่ไมผิด เรียกไดวาเปนขอปฏิบัติที่ถูก ถาใครปฏิบัติตามนี้ก็ไมผิด 42 อาหาร 4


แลวก็เพิ่มความเปนผูมีศีล มีธรรม เปนผูมีความประพฤติดี อันนี้ก็จากพระไตรปฎกเลมที่ 21 ขอที่ 37 หนาที่ 50 อันนี้หมายถึงพระไตรปฎกฉบับภาษาบาลี คุณธรรมที่เปนเหตุใหตระกูลที่มั่งคั่งตั้งอยูไดนานตามที่หวัง คนเราทุกคนตองการใหตระกูลของตัวที่มั่งคั่งแลว หรือวาตั้งตัวไดแลวตั้งอยูไดนาน ก็ตองมีคุณสมบัติ มีคุณธรรมในการทีจ่ ะใหตระกูลที่มั่งคั่งตั้งอยูไดนาน เปนความหวังอันหนึ่งของมนุษยเราที่จะใหตระกูลของตัวซึ่งตั้งอยูแลวไดตั้งอยูไดนานชั่วลูกชั่วหลานเหล น ผูเปนตนตระกูลก็พยายามทุกอยางเพื่อความหวังอันนี้แหละครับ แตวาจะสําเร็จไดก็ดวยเหตุที่วาคนในตระกูลมีคุณธรรม หรือมีคุณสมบัติเปนเครื่องรักษา อันนี้พระพุทธเจาทานทรงแสดงเอาไว 4 ขอ คือ 1. คือรูจักแสวงหาสิ่งที่หายแลว เครื่องใชไมสอยที่หายแลว พยายามแสวงหาคืนมา ไมใชหายไปแลวก็หายไปเลย ชางมัน ถือวามีเงินก็ซื้อเอาใหมได อยางนี้ไมเทาไหรก็หมดเหมือนกัน พอจะหาไดก็หากอน หาไมไดแลวคอยซื้อใหม ถาจําเปน 2. รูจักบูรณะซอมแซมสิ่งของที่เกาแก คร่ําครา ทรุดโทรม ตออายุใหใชไดตอไปเทาที่สามารถจะทําได ไมใชพอเกาพอชํารุดก็ทิ้งขวางไปอยางไมไยดี เคยเห็นของวัดนะครับ หลายๆวัดมีคนศรัทธานําไปถวาย พอหัก พอชํารุดอะไรก็เก็บของกองๆไวเปนพะเนินเชียว ชาวบานก็เอาไปถวายใหม อันนี้ก็เปนเพราะวาไมไดซื้อมาเอง แลวก็อาจจะไมมีคนซอมก็ได หาคนซอมไมได แลวก็ไดมาโดยงาย มีคนถวาย มีคนใหออกปากคําสองคํา ก็มากันเปนรอย หมายความวาเปนรอยตัว พันตัว เห็นแลวก็เสียดายวา ชาวบานนี่กวาจะไดโตะสักตัว เกาอี้ดีๆสักตัวหนึ่งก็แสนจะยาก ของทางวัดนี้ ถาพอซอมแซมไดก็นาจะซอมแซม เดี๋ยวผูถวายหรือชาวบานเห็นเขาจะไมสบายใจ 3. รูจักประมาณในการบริโภค ใชสอยทรัพยสินสมบัติใหอยูในภาวะที่พอดีพองาม รูจักประมาณในการบริโภค ใชสอยไมฟุมเฟอยเกินไป ความพอดีดีเสมอ อยางที่เรียนไปแลวนะครับ 43 อาหาร 4


4. มอบหมายใหคนดีเปนพอบานแมเรือน ในคัมภีรทานเรียกวา คนมีศีล มอบหมายใหคนมีศีลธรรมเปนพอบานแมเรือน รับผิดชอบทรัพยสิน ถาพอบานแมเรือนไมมีศีลธรรม ชอบเลนการพนันบาง ชอบติดเหลา ชอบเที่ยวเตรเสพอบายมุข ไมนานเทาไหร ทรัพยสนิ มันก็หายหมด พังพินาศหมด อุตสาหหามาดวยความเหนื่อยยากลําบาก ไปเจอคนแบบนี้เขาคือเปนมือทําลาย ไมเทาไหรก็หายหมด พังพินาศไปหมด และนี่เปนสาเหตุทําใหตระกูลมั่งคั่งตั้งอยูนานได เหตุที่ทําใหตระกูลที่มั่งคั่งตั้งอยูนานไมไดตองเสื่อมไปก็ดวยเหตุ 4 อยางเหมือนกัน คือตรงกันขามกับเหตุ 4 ประการตามที่กลาวมาคือ ไมรูจักประมาณในการบริโภคใชสอย ไมรูจักบูรณะซอมแซมของเกา และก็ไมรูจักแสวงหาพัสดุของที่หายแลว และก็มอบหมายใหคนทุศีลไมมีศีลมีธรรมเปนพอบานแมเรือน อันนี้ก็เปนเหตุใหตัวอยูไมได แมจะตั้งตัวไดแลว ก็ตั้งอยูไมไดอีกตอไป ทานกลาวเอาไวอยางนั้นนะครับ ทานกลาววา สาเหตุทั้ง 4 อยางนี้ แมเพียงอยางใดอยางหนึ่งก็สามารถที่จะใหตระกูลเสื่อมได ไมตองกลาวถึงวา ตระกูลที่พรอมดวยเหตุแหงความเสื่อมทั้ง 4 อยาง มันก็จะเสื่อมใหญ เปนมหาหายนะ คือเปนไปเพื่อความเสื่อมใหญ ตระกูลที่มั่งคั่งยังเสื่อมได ตระกูลที่ไมมั่งคั่งก็จะเปนอยางไรลองนึกดู เพราะฉะนั้น คน ที่หวังใหตระกูลมั่งคั่งตั้งอยูไดนาน หรือตระกูลที่ยังไมเสื่อม ตองประกอบดวยคุณสมบัติ หรือวาเวนโทษตามที่กลาวมานี้ ธรรมที่นําไปสูความเจริญ จักรธรรม คือ ธรรมที่เปนเหมือนลอที่ทําใหเทวและมนุษยที่หลายผูมีธรรมนั้น หมุนไปสูความเจริญความไพบูลยในโภคะทั้งหลาย นี่เปนคําตรัสของพระพุทธเจาที่วา ธรรม 4 ประการนี้ ทําใหเทวดาและมนุษยทั้งหลายผูมีธรรมนั้น หมุนไปสูความเจริญความไพบูลยในโภคะทั้งหลาย 4 ประการ คือ

44 อาหาร 4


1. ปฏิรูปเทสวาสะ การอยูในถิ่นที่เหมาะสม ที่สมควร อันนี้คือวาไดทําเลดี ไมวาจะประกอบกิจการอันใดถาเผื่อไดทําเลดี เดี๋ยวผมจะขยายนิดหนึ่ง ตอนนี้เอาหัวขอไปกอน 2. สสัปปุริสูปสสยะ คบสัตบุรุษตามตัว ก็แปลไดวาคบคนดี 3. อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไวชอบ หรือวาตั้งตนไวดี 4. ปุพเพกตปุญญตา ความเปนผูไดทําบุญๆไวมากในชาติกอน หรือแปลวาไดทําบุญไวดี คือถาได 4 ดีนี้คือ 1. ไดทําเลดี 2. ไดคบคนดี 3. ไดตั้งตนไวดี 4. ไดทําบุญไวดี ถาได 4 ดีนี้ก็ไปได เหมือนลอรถหมุนไปสูความเจริญ พระพุทธเจาตรัสวา เทวดาและมนุษยทั้งหลาย ประกอบดวยธรรม 4 ประการนี้แลวยอมถึงความเปนใหญ มหัตตัง ถึงความไพบูลย เวปุลลัตตัง ในโภคะทั้งหลายในไมชา เชื่อพระพุทธเจาได อันนี้จากพระไตรปฎกเลม 21 หนา 41 ขอ 31 ปฏิรูปเทสวาสะ ทานหมายถึงการอยูในที่เหมาะสมที่จะประกอบการกิจนั้นๆ เชน เปนพอคาไดทําเลในที่ชุมชนจึงจะเหมาะ เปนนักแสวงหาความรูอยูในที่ที่มนี ักปราชญ เปนนักเรียนไดโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยที่ดี เปนตน หากวาเปนผูใฝธรรม ได เสนาสนะสัปปายะ คือที่อยูที่เหมาะแกจริตอัธยาศัยของตน ไดธัมมสัปปายะ ไดธรรมที่เหมาะ ไดบุคคลสัปปายะ ไดบุคคลที่เหมาะ ในคัมภีรบางแหงทานบอกวา ที่ใดมีบุญกิริยาวัตถุ 10 มีทานมัย เปนตน เรียกวาเปน ปฏิรูประเทศ บุญกิริยาวัตถุ 10 ที่ตั้งแหงการทําบุญ, ทางทําความดี 1. ทานมัย ทําบุญดวยการใหเปนสิ่งของ 2. สีลมัย ทําบุญดวยการรักษาศีล หรือประพฤติดี 3. ภาวนามัย ทําบุญดวยการเจริญภาวนา คือฝกอบรมจิตใจ 4. อปจายนมัย ทําบุญดวยการประพฤติออนนอม 45 อาหาร 4


5. ไวยยาวัจจมัย ทําบุญดวยการขวนขวายรับใช 6. ปตติทานมัย ทําบุญดวยการเฉลี่ยสวนแหงความดีใหแกผูอื่น 7. ปตตานุโมทนามัย ทําบุญดวยการยินดีในความดีของผูอื่น 8. ธัมมัสสวนมัย ทําบุญดวยการฟงธรรม ศึกษาหาความรู 9. ธัมมเทสนามัย ทําบุญดวยการสั่งสอนธรรมใหความรู 10. ทิฏุชุกมั ม ทําบุญดวยการทําความเห็นใหตรง ประการที่ 1 เพื่อจะไดทรงทํารั้วลอมไวกอน ตอจากนั้นจึงทรงแสดงธรรมขออื่นๆตอไป ในคัมภีร องฺคุตฺตรนิกาย ติกนิ บาต พระพุทธเจาไดตรัสวา ผูคบคนเลวยอมจะเลวลง ผูคบคนเสมอกันยอมไมเสื่อม ผูคบคนประเสริฐยอมจะดีขึ้นทันที เพราะฉะนั้นการคบสัตบุรุษ จึงเปนปจจัยประการหนึ่ง ในความเจริญของคนเรา ประการที่ 2 สัปปุริสูปสสยะ แปลวา ไดคบคนดี ก็มีความสําคัญกับชีวิตอยูม าก เพราะวามิตรนี่เปนปจจัยใหญประการหนึ่ง ในความเจริญหรือความเสื่อมของมนุษย ถาไดมิตรดีก็เจริญไดเร็ว ถาเผื่อไดมิตรชั่วก็เสื่อมเร็วเหมือนกัน ทานสังเกตดูไหมในมงคลสูตร พระพุทธเจาเมื่อจะทรงแสดงมงคล 38 ประการ ก็ไดทรงยกเอาการไมคบคนชั่ว และการคบคนดีมาแสดง ประการที่ 3 อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไวดี ตั้งตนไวชอบ คําวาชอบ คําวาตน ที่หมายถึงในที่นี้คือจิต หมายถึงตั้งจิตไวชอบ ตั้งจิตไวดี คือวาตั้งจิตไวชอบตามทํานองคลองธรรม ไมเปนคนนอกลูนอกทาง ตั้งจิตไวตรง ทิฏุชุกรรม สัมมาทิฏฐิ อยางนี้เกิดในตระกูลที่เปนสัมมาทิฏฐิก็มีบุญ และก็ตั้งตนไวชอบ มองในแง กวางออกไปอีกหนอยก็นาจะหมายถึงความเปนผูที่ตั้งตนไวดี คือวา เหมาะสมตามฐานะหนาที่ที่ตนเปน เชน เปนพอ เปนแม เปนครูอาจารย เปนศิษย ก็ตั้งตนไดดีเหมาะสมกับฐานะนั้นๆ แตทั้งนี้ก็ตองสืบเนื่องมาจากการตั้งจิตไวชอบเปนเบื้องตน ถาตั้งจิตไวผิดเสียแลว อยางอื่นก็ลมเหลวหมด ไมวาจะมีที่อยูดี สิ่งแวดลอมดี ไดเพื่อนดี แตวาใจของตัวมันไมดี จิตของตัวไมดี มันก็ลมเหลว ประการที่ 4 ปุพเพกตปุญญตา ความเปนคนที่ไดเกิดทําบุญมาดีในชาติกอน ผลของบุญก็ทาํ ใหเปนคนทําอะไรขึ้น มีอุปสรรคนอย สามารถจะรักษาทรัพยไวได ไมวิปริตไปดวยภัยตางๆ เชน อัคคีภัย เปนตน 46 อาหาร 4


คนที่ไมมี ปุพเพกตปุญญตา ตองเหน็ดเหนื่อยมากเหลือเกิน มีอุปสรรคมาก บางทีพอจะตั้งเนื้อตั้งตัวไดก็มีเหตุใหมีอันเปนไปตางๆ เชน ตองเจ็บหนักจนทํามาหากินไมได และตองนําทรัพยเกามาบริโภคใชสอยจนหมด พอจะตั้งตัวไดก็มีอันเปนอีก ไมอยางใดก็อยางหนึ่ง เปรียบไปก็เหมือนคนที่เปนหนี้เอาไวมาก พอทํามาหาไดเจาหนี้ก็มารุมทวงไปหมด ตัวเองก็ตองเหน็ดเหนื่อยตอไป เมื่อไหรหนี้สินหมดลง เมื่อนั้นถาหามาไดเทาไหรพอใหความสุขแกตัวเองไดบาง สวนคนที่มีบุญมาดี เหมือนกับคนที่ไมมีหนี้ไมมีสินเลย แลวมีทรัพยเปนตนทุนไวมาก ทรัพยใหมที่พอหาไดมาก็นํามาพอกพูนของเกา มีแตจะเพิ่มขึ้น นอกจากวาเขาจะพอใจที่จะกินของเกาอยางเดียวก็คงจะหมดไปสักวันหนึ่งเหมือนกัน ธรรม 4 ประการดังกลาวมานี้ เปรียบเสมือนรถ 4 ลอ ขาดอยางใดอยางหนึ่งไมได เมื่อมีพรอมจะใหบรรลุถึงความไพบูลยในโภคะทั้งหลาย เพราะฉะนั้น คําวาโภคะทั้งหลายนาจะหมายถึง อามิสโภคะ คือทรัพยสมบัติภายนอกอยางหนึ่ง ธัมมโภคะ คือคุณความดีอยางหนึ่ง ก็ผูมีธรรมพรอมทั้ง 4 อยางเหลานี้ตั้งเข็มชีวิตไปทางใด คือจะเปนทางโลกหรือทางธรรมก็ตาม ก็ยอมจะประสบผลสําเร็จในทางนั้นอยางแนนอน จะชาหรือเร็วเทานั้น ก็ขอใหมีความอดทนทําไปอยาทอถอยเสียกอน ผลสําเร็จจะตองเปนของเราแนนอนตามที่หวังไว ความหวังของสามีภรรยาจะอยูรวมกันยั่งยืนเปนสุข สามีภรรยานี้เปนคูชีวิต และก็ทางกฎหมายถือวาเปน คนคนเดียวกัน เปนสถาบันครอบครัว สถาบันครอบครัวนี้ทางรัฐศาสตรถือวาเปนสถาบันที่สําคัญที่สุดของสังคม คือวาเปนสถาบันที่เปนหนวยยอยที่สุดของสังคม ถาสถาบันครอบครัวดี เรียบรอยไมมีปญหา สังคมก็ไมมีปญหา แตถาครอบครัวมีปญหาสังคมก็มีปญหา เพราะวาสังคมนั้นประกอบขึ้นแตละครอบครัว เปนสังคมครอบครัวก็คือคนแตละคน พอแม ปูยา ตายาย ลูก สวนมากก็อยูกันแค 3 ชั่วคน หรือหลานดวยก็ได แตกวาจะมีหลานบางที ปูยา ตายายก็ตายกันไปแลว ก็เหลือแตพอแม ลูก และหลาน เปนสถาบันครอบครัว ในสถาบันครอบครัวนี้ ถาเผื่อวาแตละคนปกครองตัวเองได คุมครองตัวเองได แตละคนเปนคนดี ครอบครัวก็ดีไมมีปญหา แตถาคนใดคนหนึ่งมีปญหาขึ้นมาในครอบครัว ทุกคนก็พลอยมีปญหาไปดวย 47 อาหาร 4


เพราะวาผูกพันกันอยูโดยหนาที่ ถาพอมีปญหา แมก็ตองมีปญหาไปดวย พอแมมีปญหาลูกก็มีปญหาไปดวย ถาลูกมีปญหาพอแมก็พลอยมีปญหาไปดวย คราวนี้ถาเผื่อหลายครอบครัวมีปญหา ตําบลก็มีปญหา หมูบานก็มีปญหา อําเภอก็มีปญหา บานเมืองก็มีปญหา มันมีปญหากันทั่วไปหมด เพราะฉะนั้น ถาเราจะตองการพัฒนาสังคม ตองพัฒนาที่ครอบครัวกอน คือใหครอบครัวดีพัฒนาสังคม ถาจะพัฒนาครอบครัว มันก็ตองพัฒนาคนกอน ถาถามวาพัฒนาคนเราพัฒนาที่ไหนกอน เราก็ตองพัฒนาที่นิสัยของคนกอน เพราะวาอุปนิสัยนี่เหมือนกับดิน เราจะปลูกพืชก็ตองเตรียมดินกอน ถาดินไมดีละก็เอาพืชอะไรมาปลูกมันก็ขึ้นไมดีไมงาม ถาดินดีพืชที่จะเอามาปลูกมันก็ขึ้นงามดี เพราะฉะนั้น ถาจะพัฒนาคนก็ตองพัฒนาที่อุปนิสัยของเขากอน คือใหคนมีอุปนิสัยที่ดี คําวาอุปนิสัยดีนั้นคืออะไร อุปนิสัยดีกค็ ือความเลอเลิศทางคุณธรรมนั่นแลเปนอุปนิสัยดี คุณธรรมคืออะไร คุณธรรมคือความเลอเลิศของอุปนิสัย พูดกลับกันก็ได คราวนี้การพัฒนาคนตองพัฒนาใหเขามีคุณธรรม ถึงเขาจะมีความรูสักเทาไหร มีความสามารถสักเทาไหร เกงสักเทาไหร แตถาไมมีคุณธรรมก็เหลว คือทําใหคนอื่นหรือคนใกลตัวเดือดรอน เพราะไมมีคุณธรรม และก็เปนที่พึ่งแกตัวเองก็ไมได เมื่อเปนที่พึ่งแกตัวไมไดแลว จะเปนที่พึ่งแกใครได พระพุทธเจาทานสอนวาใหตนเปนที่พึ่งแกตน ขอใหทานทั้งหลายมีตนเปนที่พึ่ง แลวก็มีธรรมเปนที่พึ่ง คนที่จะพึ่งตัวเองไดก็ตองเปนคนที่มีธรรม มีธรรมเสียกอนแลวจะพึ่งตัวเองได พอแมที่เราจะพึ่งไดก็ตองมีธรรม สามีหรือภรรยาที่เราจะพึ่งไดก็ตองเปนสามีหรือภรรยาที่มีธรรม ลูกที่เราจะพึ่งไดก็ตองเปนลูกที่มีธรรม เพื่อนที่จะเปนที่พึ่งของเพื่อนไดก็ตองเปนเพื่อนที่มีธรรม ภิกษุสามเณรที่จะเปนที่พึ่งของฆราวาสไดก็ตองเปนภิกษุสามเณรที่มีธรรม และชาวบานที่จะเปนที่พึ่งกับภิกษุได ก็ตองเปนชาวบานที่มีธรรม 48 อาหาร 4


นี่ทานจะเห็นวา ธรรมนัน้ แหละเปนแกนกลางของสังคมมนุษย เพราะฉะนั้น พระพุทธเจาจึงตรัสวา “ดูกอนวาเสฐถะ และภารัทวาชะ ทั้งบัดนี้และภายหนา ธรรมนั้นแลประเสริฐที่สุดในหมูชน” โดยเฉพาะอยางยิ่ง เด็ก พระภิกษุ สามเณร ควรจะตองมีธรรมอยางยิ่ง เพราะวายังอยูในการคุมครองของผูอื่น ตองอาศัยผูอื่นอยู ถาทานสังเกตจะเห็นวา คราวใดที่คฤหัสถฆราวาส เขาเตรียมอาหารบิณฑบาต เตรียมขาวของที่จะถวายพระ เขาจะเตรียมอยางดีที่สุด เพราะฉะนั้น พระภิกษุ สามเณร จึงควรจะเปนผูที่ประพฤติดีที่สุด และก็ภิกษุสามเณรที่ประพฤติดีที่สุดก็ไดรับผลเปนความยกยอง ไดรับเกียรติและเปนที่นับถือของฆราวาส จะเปนเด็กนักเรียน จะเปนเด็กในวัยใดก็ตามพอรูประสีประสาแลว อยูในความรับผิดชอบของผูใหญ ผูใหญตองเมตตากรุณา ตองประพฤติตัวดีที่สุดถึงจะนารักนาเอ็นดู เพราะฉะนั้น รวมความแลวทุกคนนั่นแลก็ตองมีธรรม ไมวาจะเปนเด็ก ผูใหญ ภิกษุ สามเณร เปนใครก็ตามก็ตองมีศีลมีธรรม เกริ่นเอาไววา จะพูดถึงธรรมของสามีภรรยา ที่หวังจะอยูรวมกันยั่งยืนผาสุก สามีภรรยาที่แตงงานกันแลวก็มีความหวังรวมกันตั้งแตตนวาจะอยูรวมกัน รวมสุขรวมทุกขกันตลอดชีวิต บางคูก็ปรารถนาจะพบกันอีกในชาติหนา พออยูรวมกันแลว แตถาไมมีคุณธรรมเปนเครื่องยึดเหนี่ยวน้ําใจตอกัน ใจก็เริ่มแยกจากกันกอน แนวทางดําเนินชีวิตก็แยกกัน ผัวก็ไปทาง เมียก็ไปทาง ทรรศนะชีวติ ไมตรงกัน ความนิยมผิดแผกกัน และไมยอมเขาใจกัน เมื่อความแตกแยกถึงที่สุดก็ตองแยกทางกัน นั่นคือการหยาราง ชีวิตสมรสก็ตองอับปาง ถาไมอับปางก็อยูดวยความยากลําบาก คับแคน เดือดรอน ในสมัยพุทธกาลนะครับ มีสามีภรรยาคูหนึ่งรักกันมาก กราบทูลถามพระพุทธเจาวา เขาทั้งสองปรารถนาจะไดพบกันอีก ทั้งในชาติปจจุบันและชาติหนา พระพุทธเจาตรัสวา สามีภรรยา หวังวาจะไดพบกันครองคูกันทั้งในชาตินี้หรือชาติหนา พึงเปนผูมีธรรม 4 ประการเสมอกันคือ

49 อาหาร 4


1. สมสัทธา มีศรัทธาเสมอกัน คือวาเชื่อกรรม เชือ่ ผล ของกรรม เชื่อมั่นในคุณพระรัตนตรัย เปนตน จะเรียกวามีทรรศนะ ตรงกันก็ได เวลานี้ก็มีเรื่องเกิดขึ้นหลายอยางหลายเรื่องในสังคมของเรา มีลัทธิความนับถือศาสนาที่ไมตรงกัน สามีไปทางหนึ่ง ภรรยาไปทางหนึ่ง คือวามีศรัทธาไมเหมือนกัน สามีก็ศรัทธาวัดโนน ภรรยาก็ศรัทธาวัดนี้ คือตองใชปญญาสองดูนะครับ วาอะไรถูกอะไรผิด คุยกันดวยเหตุผลไมใชเอาความเชื่อเฉพาะตัวมากีดกันทั้งสองออกจากกัน พูดกันดวยเหตุผล 2. สมสีลา มีศีลเสมอกัน ก็คือวามีความประพฤติดีดวยกัน ตั้งอยูในคุณธรรม คือวาไมเบียดเบียนกัน และก็ไมเบียดเบียนผูอื่น มีศีลเสมอกัน มีความดีดวยกัน อยางนี้ก็ไปกันไดไมรังเกียจกันในเรื่องความประพฤติ 3. สมจาคา มีจาคะเสมอกัน เสียสละใหแกกันไมเห็นแกตัว ก็รวมถึงวา มีจิตใจโอบออมอารีตอญาติพี่นองของคนทั้งสองฝายและก็คนทั่วไป และตองมีขอบเขตจํากัด คือหมายความวา ไมใชเสียสละโดยไมมีเหตุผล ตองใชเหตุผลดวยเหมือนกัน 4. สมปญญา คือตองมีปญญาเสมอกัน เรียกวาไมหางกันมากในทางวุฒิปญญา กลาวโดยเฉพาะคือวา มีปญญารูดีรชู วั่ รูถูกรูผิด ไมขัดแยง ทะเลาะวิวาทกันเพราะวุฒิปญญา หรือตางคนตางอวดรูไมยอมกัน มีทฏิ ฐิมานะเขาหากัน อยางนี้อยูกันไมได การปรับคุณธรรมเหลานี้ใหเสมอกัน ใหไปดวยกันไดเปนสิ่งสําคัญในระหวางสามีภรรยาที่จะอยูรวมกัน หรือจะอยูดวยกันทั้งในชาตินี้หรือชาติหนา เพราะบางคนความคิดมันแยกกันไปแลวตั้งแตชาตินี้ ไมตองไปถึงชาติหนา พอความคิดแยกทางดําเนินชีวิตก็แยกกันไป เพราะฉะนั้น พยายามปรับศรัทธา ปรับศีล พยายามปรับจาคะ พยายามปรับปญญา ใหมีสม่ําเสมอกัน ใหขึ้นมาใกลเคียงกัน ก็จะไปกันได เทาที่ปรากฏใหเห็นนะครับ เรื่องสามีภรรยามีความสําคัญตอความสุข หรือความทุกขของชีวิตฆราวาสมาก คนที่ไดสามีหรือภรรยาดี มีศีลมีธรรมเปนคนโชคดี

50 อาหาร 4


คําวาโชคดีในที่นี้ไมไดหมายถึงวาเปนเรื่องลอยๆ แตวาเปนเรื่องของผลดี ของกรรมดี ที่ไดทําไวทั้งในอดีต และปจจุบัน คือวาปจจุบันเราตองเปนคนดีดวย ดีมันดูดดี ชั่วมันดูดชั่ว ถาเราอยากไดคนดี เราก็ตองเปนคนดีกอน ถาเราเปนคนไมดี อยากไดแตคนดี มันไมได ถาหากไดตรงกันขามก็เปนคนโชครายมาก เปนคนไมมีศีลธรรมดวยกัน ยังดีเสียกวาฝายหนึ่งที่มีศีลธรรม แตอีกฝายหนึ่งไมมี เพราะวามันอยูกันแบบเทวดาอยูรวมกับปศาจราย ปศาจรายอยูรวมกับเทพธิดา แบบนี้ทรมานมาก คนดีเมื่อมาอยูรวมกับคนไมดีตองมีความอดทนมาก ไมมีความสุขในชีวิตสมรส โดยปกติชีวิตของฆราวาสมีทุกขมากอยูแลว มีภาระมาก มีเรื่องตองวิตกกังวลมาก หากไดเพื่อนรวมชีวิตที่ไมดีเขาอีก ความทุกขนั้นจะเพิ่มขึ้นอีกหลายเทาตัวทีเดียว เพราะฉะนั้น พระพุทธเจาจึง ตรัสวา ทุราวาสา ฆราทุกฺขา เรือนที่ครองไมดีเปนทุกข ครองเรือนไมดีเปนทุกข พูดทางฝายหญิงกอน หญิงที่ไดสามีดีเพียงคนเดียว เสมือนหนึ่งวามีเพื่อนดีถึง 10 คน เพื่อนดี 10 คน อาจสูไมไดเสียอีก เพราะวาเขาเปนไดทุกอยาง เปนทั้งเพื่อนรวมชีวิต เปนเสมือนบิดาผูคุมครองใหมีความสุขหลายแบบ และหญิงที่มีสามีไมดีเหมือนมีเชื้อโรคเนื้อรายอยูในกาย นาสงสาร มันมีปญหาสารพัดนะครับ จากที่สามีไมดีนี่ เพราะฉะนั้น ตองดูใหดีๆ แตวาตอนที่แตงงานคิดวาเลือกดีแลว แตทีหลังมันไมดี ไมรูจะวาอยางไร ฝายชายถาไดภรรยาดีเพียงคนเดียว ดีกวามีเพื่อนดีถึง 10 คน เพราะวาเธอเปนไดทุกอยาง เปนเพื่อนรวมชีวิต เปนมิตรรวมใจเพียงคนเดียวดีกวามีเพื่อนถึง 10 คน เพราะวาเธอเปนไดทุกอยาง เปนเพื่อนรวมชีวิต เปนมิตรรวมใจ เปนเสมือนมารดา เปนนอง เปนคนรับใชสนองความตองการที่ประสงค ใหความสุขแกสามีไดหลายแบบ เปนเพื่อนรวมชีวิตที่สนิทที่สุด พระพุทธเจาจึงตรัสรับรองไววา ภรรยาเปนมิตรที่ดีที่สุด ภริยาปรมาสขา ภรรยาเปนเพื่อนอยางยิ่ง แตก็ตองเปนภรรยาที่ดีนะครับ เปนภรรยาที่ดี ถาไมดีก็เดือดรอนไปตลอดชีวิตเหมือนกัน แตที่จริงถาดีไวสักคนหนึ่งเปนหลักอยูสักคนหนึ่งของครอบครัว มันก็พอประคับประคองครอบครัวไปได หรือวาอาจจะกลับคนที่ไมดีใหเปนคนดีไดก็ได 51 อาหาร 4


แตถาไมดีไปทั้งสองคนละก็ พากันลงเหว ไมมีความเจริญอะไร พากันไปสูหายนะ ถาดีทั้งสองคนมันก็ดีไป ผมเคยพูดในที่หลายแหงบอกวาในชีวิตคนเรานี่ การตัดสินที่สําคัญมีอยู 2 ครั้ง คือ 1. ตัดสินเลือกงานทํา เพราะถาเผื่อไดงานดี ไดงานที่ถูกใจ ไดงานที่เหมาะกับอุปนิสัย เหมาะกับความสามารถ แลวก็รักงานนั้น ก็เปนโชคดีไปตลอดชีวิต เพราะเราตองอยูกับงานวันหนึ่งหลายชั่วโมง เกือบทั้งวันก็วาได อาจจะกลับมาทําที่บานอีก อยูกับงาน ถาเรามีความสุขกับการงานไดมันก็เปนพรอันประเสริฐในชีวิต อันนี้เปนการเลือกครั้งที่ 1 2. การเลือกครั้งที่ 2 ก็คือเลือกคูครอง ถาเผื่อไดคูครองที่เหมาะสม ไปกันได ไมมีปญหา อันนี้ก็เปนโชคดีครั้งที่ 2 ถาเลือกถูกทัง้ สองครั้ง ก็เรียกวาเปนลาภของชีวิตทั้งสองครั้ง ถาเลือกถูกเพียงครั้งเดียวก็ไดครึ่งเดียว ถาเลือกผิดทั้งสองครั้ง ชีวิตก็แยไปไมคอยรอด นี่สําหรับคนที่แตงงานนะครับ คนที่ไมแตงงานก็เลือกงานถูกอยางเดียว เลือกเพื่อนถูก สักคนสองคนก็พอแลว ชีวิตไมมีอะไรมาก ที่กลาวมานี้ ที่พูดมานี้ไมไดดูหมิ่นเพื่อนวาไมดีนะครับ เพื่อนที่ดีหรือเพื่อนที่ดีจริงๆ สละชีวิตแทนกันไดก็มี แตหายากเหลือเกิน บางคนหวังไมไดเลยตลอดชีวิต ตลอดชีวิตคบเพื่อนแทไมไดสักคน พบแตมิตรปลอม มิตรปอกลอก เปนเพื่อนกินเพื่อนผลาญ จะหาเพื่อนที่อยูดวยกัน กินดวยกันตลอดชีวิต จะหาไดที่ไหนครับ เพียงเพื่อนเตือนก็หายากเสียแลว ไมตองกลาวถึงเปนเพื่อนตายหรอก ที่วาภรรยาเปนมิตรที่ยอดเยี่ยมนั้นก็เปนความจริงที่โลกยังรับรองอยู แตวาถาภรรยาที่ไมดีเปนภรรยาที่เลว ก็เปนศัตรูที่รายแรงของชีวิต บั่นทอนความสุขความเจริญเปนอันมากเหมือนกัน เปนความหวังอยางยิ่งประการหนึ่งของคนที่ยังไมแตงงาน หวังวาจะไดคูครองที่ดี มีความสุขอยูดวยกันตลอดชีวิต บางคนก็สมหวัง บางคนก็ไมไดสมใจหวัง รายที่ไมสมหวังนั้น บางคูก็ไมมีอะไรรายแรงนัก สามารถจะปรับปรุงแกไขได ถารูจักใชธรรมะมาเปนทางดําเนินชีวิตทุกอยางก็จะเรียบรอย

52 อาหาร 4


วิญญาณาหาร วิญญาณาหาร ตามตัวแปลวาอาหารคือวิญญาณ หมายถึงวิญญาณ เปนอาหารประการสุดทายของชีวิตคน ของมนุษย คือวิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ ตําราของเราที่กลาวถึงวิญญาณาหารอธิบายไปในทางปฏิสนธิวิญญาณ หมายถึง วิญญาณที่ไปปฏิสนธิในภพใหม ที่วาวิญญานะปจจะยานามะรูปง คือนามรูป นามรูปก็คือกายกับจิตของเรานี้ ที่ไดเปนอัตภาพมา ก็มีวิญญาณเปนปจจัย เพราะมีวิญญาณเปนปจจัยจึงไดนามรูป หรือกายกับใจนี้ ตําราของเราจะอธิบายลักษณะนี้ คลายๆวาเปนอาหาร วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ คือเปนอาหารของนามรูป อะไรทํานองนั้น ผมจะพูดในแนวของเรากอน ในแนวของเราเปนแนวตะวันออก ที่เราเรียนสืบๆกันมา ฟงสืบๆกันมา ถือสืบๆกันมา รับชวงตอๆกันมา จากพระบาลีบาง จากอรรถกถาบาง ถาจะตั้งคําถามขึ้นมาวาวิญญาณคืออะไร แปลวาอะไร ไดบา ง วิญญาณในทางวิชาการกับวิญญาณของชาวบานไม เหมือนกัน วิญญาณของชาวบานนั้น เห็นวิญญาณ วิญญาณมาปรากฏ คนตายไปแลว วิญญาณมาปรากฏใหเห็น อยางนี้เขาก็วาเห็นวิญญาณของคนนั้นคนนี้ อันนั้นไมใชวิญญาณ อันนัน้ เปนกายทิพย ที่มาปรากฏใหคนเห็น เห็นบางไมเห็นบางอะไรก็แลวแต แตวาไมใชวิญญาณเปนกายทิพยนะครับ อันนี้ก็มพี ระบาลีรับรอง ทุพิโบรูป มีรูปเปนทิพย อัปปงคะปจจังคี มีอวัยวะครบถวนเหมือนคนนี่แหละ อหินินทรีโย มีอินทรียไมทราม คือมีอินทรียละเอียดมองดวยตาเปลาไมเห็นโดยปกติ ตองเห็นดวยตาทิพย แตวาบางคราวก็จะเห็นไดบาง ถาเผื่อวาเขาจงใจอยางยิ่งที่จะใหเห็น เปนมโนสัญเจตนาหาร ตั้งใจอยางยิ่งที่จะใหเห็น อันนั้นวิญญาณของชาวบาน 53 อาหาร 4


แตวิญญาณทางวิชาการ ทานตองคิดอยางนี้กอนนะครับ ผมจะเปรียบใหฟงตามที่พระพุทธเจาทานเปรียบ ไมใชของผมนะครับ ของพระพุทธเจาทานเปรียบวา ไฟที่จะเกิดจากไมก็ตาม เกิดจากแกลบก็ตาม เกิดจากใบไมก็ตาม เกิดจากอะไรก็ตาม เขาก็เรียกไปตามนั้น เชน ไฟ ที่เกิดจากแกลบเรียกวาไฟแกลบ ไฟที่เกิดจากไมเรียกวาไฟไม ไฟที่เกิดจากหินก็เรียกวาไฟหิน อะไรก็แลวแต ก็เรียกไปตามแหลงที่เกิด จริงๆมันก็คือไฟอันเดียวนั่นแหละ ไฟอยางเดียวนั่นแหละ มันเกิดจากเชื้ออะไร ก็เรียกชื่อมันไปตามเชื้อ ทีนี้ก็มาถึงวิญญาณสองอยาง 1. วิถีวิญญาณ วิถีวิญญาณก็คือที่เรียกวาวิถีจิต คือวาจิต บางทีก็เรียกวาวิญญาณ บางทีก็เรียกวาจิต วิญญาณหรือจิตที่เกิดทางตา เรียกวาจักษุวิญญาณ คือการรูทางตา รูทางหูไดยินเสียง การไดยินเสียงนี่รูทางหู เขาเรียกวา โสตะวิญญาณ อาศัยสื่อ เพราะวารูทางไหนก็เรียกไปตามชื่อของแหลงที่เกิด ไปจนถึงกับวารูทางใจก็เรียกวา มโนวิญญาณ อันนี้กลุมหนึ่งนะครับ อันนี้ก็มีภวังควิญญาณ วิญญาณเก็บสะสมสิ่งที่ไดเคยไดเห็นไดฟง ไดลิ้มรส ไดถูกตอง ไดอะไรนี่เปนภวังคจิต หรือภวังควิญญาณ ภาษาทางจิตวิทยาเขาเรียกวา subconscious mind หรือวา unconscious mind อันนี้ก็ได จิตใตสํานึก หรือภวังควิญญาณ อยูลกึ มาก คลายๆสวนลึกของน้ํา วิถีวิญญาณหรือวิถีจิต อันนี้ก็คลายๆกับสวนตื้น ผิวน้ําเวลาขี้ฝุนมันตกลงมาในน้ํา เราก็จะเห็นมันลอยอยูบนผิวน้ําสักระยะหนึ่ง แลวก็ถาไมมีใครไปชอนมันขึ้นมา มันก็จะคอยๆลอยลงไป ลอยลึกลงไปๆ จนถึงกนโพรง กนสระ กนอะไรก็แลวแตที่มันใสน้ําอยู แลวมันก็จะฝงตัวอยูในนั้น ที่เรียกวาเปนอนุสัย สิ่งที่เราไดเห็นแลวไดฟงแลวไดรูแลวไดอะไรแลว ทานฟงผมพูดนี่ ฟงไปๆ พอปดวิทยุ มันเหมือนกับวาไดหายไปหมด แลว ความรูอะไรตางๆมันหายไปหมดเลย มันปลิวหายไปไหนหมดก็ไมรู 54 อาหาร 4


นั่นแหละ มันลงไปสะสมกันอยูในสวนลึกของจิต คลายๆเปนสวนลึกของน้ํา ที่ขี้ฝุนหรืออะไรมันลงไปสะสมกันอยู หรือวาสิ่งดีงามตางๆมันลงไปสะสมกันอยูในนั้น เปนสวนลึก หรือวาเราเห็นน้ําแข็งลอยอยูในน้ํา สวนที่ลอยพนน้ําขึ้นมาก็หนึ่งสวน สวนที่อยูใตน้ํานั้นอีก 7-8 สวน อีก 7 สวนอยูในน้ําอยูใตน้ํา เรามองไมเห็น แตวามันมีอยู เรามองไมเห็น อยูลึก สวนลึกนี่แหละครับ มันจะเปนอุปนิสัยของคน เปนสวนที่กอใหเกิดเปนอุปนิสัยของคน ในสวนลึกของจิตนี่แหละ วิถีจิตนะ ไมเทาไหรหรอก แลวก็ผานไป แลวก็ผานไป แลวก็ผานไป แตมันไมไดผานไปเลยทีเดียว มันลงไปสะสมกันอยูในสวนลึกของจิต เหมือนกับสิ่งที่ลงไปสะสมกันอยูในสวนลึกของน้ํา 2. จุติจิต เราเรียกวาจุติจิต หรือจุติวิญญาณ อันนี้ก็คือวิญญาณหรือจิต (ผมเรียกอยางใดอยางหนึ่งก็มีความหมายเหมือนกันนะครับ) คือจิตที่เคลื่อนจากภพเกาเขาเรียกวา จุติ อยางคนที่ตาย ทีนี้เราจะวินิจฉัยเรื่องวาเมื่อไหรเรียกวาตาย อันนี้ก็เอาไวพูดอีกทีหนึ่ง พูดตอนนี้ก็เดี๋ยวจะสับสนกันใหญ เมื่อจิตดับหรือวาตาย พูดวาตายก็แลวกัน เคลื่อนจากภพเกาไปสูภพใหม ไปถือปฏิสนธิในภพใหม ตอนที่เคลื่อนจากภพเกานี่เขาเรียกวา จุติจิต หรือ จุติวิญญาณ ทีนี้ไปถือเอาภพใหมนี่เขาเรียกวา ปฏิสนธิวิญญาณ วิญญาณาหารนี่ ตําราของเราทั้งหลายทั้งปวงก็อธิบายเปน ปฏิสนธิวิญญาณ ตามที่ผมไดกลาวแลว ตามหลักพระพุทธศาสนาถือวาจุติ (การเคลื่อนจากภพเกา) และปฏิสนธิ (การเกิดในภพใหม) นั้น ดําเนินติดตอกันไมมีระหวาง เปนอนันตรปจจัย คืออยูใกลกัน และสมนันตรปจจัย คืออยูติดกัน 55 อาหาร 4


อธิบายวา เมื่อจิตดวงกอนดับไป จิตดวงใหมก็เกิดทันที ในขณะตอมา (เปนอนันตรปจจัย) และเมื่อพอจิตที่เกิดกอนดับลง จิตขณะตอมาก็เกิดตามทันทีโดยไมมีระหวางคั่น (เปนสมนันตรปจจัย) คือไหลตามกันมานั่นเอง เพราะฉะนั้น คนที่ตองปฏิสนธิในภพใหม จึงถือปฏิสนธิทันทีเลยนะครับ เมื่อจุติจิตดับลง ชาวบานชอบพูดบอยๆวาคนนั้นคนนี้ตายแลวเมื่อไหรจะไปเกิดสักที ก็เปนสิ่งที่เขาพูดเพราะไมเขาใจนะครับ ที่จริงเขาไปเกิดแลว เขาใจผิดในกระบวนการจุติและปฏิสนธิ ทุกคนพอตายลงก็ไปเกิดใหมทันที ไมมีอะไรคางอยูเลย สําหรับผูที่มีกิเลสอยู แตสําหรับผูที่สิ้นกิเลสแลวก็ไมถือปฏิสนธิอีก วันนี้ใชศัพทยากสักหนอยนะครับ แตผมพยายามอธิบายใหฟง นอกจากนี้ก็ยังมีอาเสวนปจจัย สัมปยุตตปจจัย นัตถิปจจัย เปนตัวรวมอยูดวยในกระบวนการเกิดใหมนั้น อาเสวนปจจัย คือการที่จิตเสพหรือสั่งสมอารมณใดบอยๆ มากๆ เมื่อจิตดวงนั้นดับลง มันก็จะถายทอดเอาคุณสมบัติใหจิตดวงใหมที่ไหลตามกันมาดวย นําเอาคุณสมบัตินั้นตอไป ที่พูดเปนดวงๆนี่ดูเหมือนดวงไฟ จริงๆแลวมันเปนกระแส เปน stream ที่ผมพูดกอนนี้มันเปนกระแส ภวังคโสต กระแสของภวัง หรือวาเปนกระแสของการไหลของจิต กระแสจิต ทํานองนี้นะครับ มันเปน stream ไมใชเปนดวงๆ อันนี้เราก็สมมุติพูดกันใหฟง ยังไงก็ไมรูเหมือนกัน แตวาเราพูดกันเปนดวงๆ อันนั้นดับไป อันใหมก็เกิดขึ้น ทํานองนี้ เกิดตามกันขึ้นมา ไหลตามกันมา มาถึงสัมปยุตตปจจัย ก็คือจิตและเจตสิก จิตก็คือวิญญาณ เจตสิกก็คือสิ่งที่เกิดกับจิต เชน เวทนา สัญญา สังขาร ซึ่งก็เกิดรวมกัน แลวก็ดบั พรอมกัน มีอารมณเดียวกัน มีวัตถุก็คือฐานที่เกิดเดียวกัน

56 อาหาร 4


นัตถิปจจัย คือความไมมี นัตถิแปลวาไมมี nothingness ภาษาตะวันตกเขาใชคํา nothingness ความไมมี นัตถิปจจัยคือความไมมี เชน เมื่อจิตและเจตสิกหนึ่งดับไป คือไมมี จิตและเจตสิกใหมจึงจะเกิดขึ้นได คลายๆกับวาเมื่อใบไมเกามันหลนไป ใบไมใหมจึงจะเกิดขึ้นแทน ตองไมมีเสียกอนแลวจึงมี และมีแลวก็กลับไมมี ภาษาบาลีทานใชคําวา หุตฺวา หุตฺวา น โหนฺติ เต มีแลวกลับไมมี แลวก็จิตมันรับอารมณไดขณะละอยาง ขณะละเรื่อง มันรับทีหนึ่งสองเรื่องไมได แตมันเกิดเร็วมาก ดับเร็วมาก ก็เลยดูเหมือนวาสองจิตสองใจ ที่เราวา ไมเคยมีเลยที่วาครึ่งหนึ่งเปนโทสะ ครึ่งหนึ่งเปนเมตตา มันไมมี แตวาเนื่องจากมันเกิดขึ้นเร็วจนจับไมทัน ถาเปนโทสะก็เปนโทสะลวนๆ เปนเมตตาก็เปนเมตตา มันไมเกิดทีละครึ่งหรอก ปจจัย 4-5 ชนิดตามที่กลาวมานี้ รวมอยูในปจจัย 24 ในคัมภีรป ฏฐาน คัมภีรปฏฐานก็มีรายละเอียดเยอะแยะไปหมด จนเราดูไมหวาดไมไหว อานกันไมหวาดไมไหว แตบังเอิญหรืออยางไรก็ไมทราบ มันจะไปตรงกันเขากับทฤษฎี category ของนักปราชญใหญของเยอรมัน อิมมานูเอล คานท นักปรัชญาชาวเยอรมัน เขามี category (คาติกอรี่) แปลวาชนิดหรือประเภท หรืออะไรก็แลวแต เชน category of totality สวนยอยประกอบกันเปนสวนทั้งหมด มียากขึ้นไปอีก มันคลายๆในคัมภีรของเรา เรียกวา กลาปะ แปลวา กอน หรือกลุม หรือวาขันธของพุทธศาสนาเรานี่แหละ ซึ่งก็แสดงเหตุตางๆของรูปธรรม แลวก็นามธรรม วันนี้ขออนุญาตพูดอะไรยากๆหนอยนะครับ มันเปนเหตุปจจัย เปนเหตุปจจโย กัมมปจจโย ที่พระทานสวดกันอยู เวลาเราไปงาน สวดศพ ประการที่ 2 คานทเขาเรียก category of degree อันนี้เกี่ยวของโดยการเปรียบเทียบวามีมากนอยอยางไร พอจะเทียบกันไดกับ อธิปติปจจัย แมจะไมคอยตรงกันนัก อธิปติปจจัย หมายถึงปจจัยที่เปนใหญ เชน อารมณที่แรงที่สุด หรือวาอารมณอื่นเรียกวา อารัมมณาธิปติ เหมือนกับบางวันนี่ทานไปพบสิ่งที่สะเทือนอารมณมาก ทานไปเจอคนถูกแทงตาย หรือวาถูกรถชนตาย เห็นกับหูกับตา มันจะติดอยูในใจนานทีเดียวสิ่งนั้น เพราะวามันสะเทือนใจมาก สิ่งใดที่เราสะเทือนใจมาก สิ่งนั้นจะติดอยูกับจิตของเรานาน 57 อาหาร 4


อารัมมณาธิปติ แปลวาจิตเรานี่เวลากระทบกับอารมณอะไรที่แรงที่สุดในวันนั้นก็จะจําสิ่งนั้นไดมากที่สุดในวันนั้น ขอที่ 3 ของคานท วา category of reciprocal connection คือวาอาศัยซึ่งกันและกัน ความสัมพันธที่อาศัยซึ่งกันและกัน อาจจะตรงกับ อัญญมัญญปจจัยก็ได คืออาศัยซึ่งกันและกัน คือปจจัยซึ่งตองพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เชน ปจจยธรรมกับปจจัย ก็ตองอาศัยกันและกัน ถาทําใหเกิดผลอยางหนึ่งขึ้น เชน ลมหายใจออกกับลมหายใจเขา มีเขามีออก มีออกมีเขา ลูกสูบที่มีลักษณะขึ้นลงหรือเขาออก แลวครูกับนักเรียนที่ตองอาศัยกัน คําพังเพยไทยบอก ตบมือขางเดียวไมดัง อันนี้มันตองอาศัยกัน อาศัยสองขางมาตบกันแลวถึงจะมีเสียงดัง อันนี้ก็เปนอัญญมัญญปจจัย แตก็ไมแนนะครับ บางทีเอามือไปตบอยางอื่นมันก็ดัง เชนเอามือไปตบฝา มือขางเดียว เอาไปตบฝา มันก็มีเสียงดัง เอาไปตบกระปอง ก็มีเสียงดังเหมือนกัน แตที่ทานเปรียบวาตบมือขางเดียวไมดัง ทานหมายถึงตบกับมือดวยกัน ถาอีกมือหนึ่งไมมาตบดวยมันก็ไมดัง มันก็ตบอากาศไปอยางนั้นเอง เพราะฉะนั้นเวลาเปรียบเทียบนี่เราก็ตองดูวาทานมุงหมายเอาอะไร ไมงั้นก็มีขอ แยงไดเสมอ เชน ทานเปรียบวาจิตเหมือนลิง เราก็เถียงไดวาไมเหมือนหรอก เพราะวาจิตไมมีขา ลิงมีขา ลิงมีขาสี่ขา จิตไมมีขา ลิงมีขนตั้งเยอะแยะ จิตไมมีขน อยางนี้เราก็เถียงได แตที่ทานเปรียบวาจิตเหมือนลิง เปรียบในแงของการซุกซนหลุกหลิกไมหยุดนิ่ง คือเปรียบในแงนั้น ถาเผื่อเราจะเอาในแงอื่น มันก็เถียงได คําเปรียบเทียบหรืออุปมานี่ ตองเอาในแงใดแงหนึ่ง ถาจะไปเอาหมดทุกแงไมได ตองอาศัยกัน ปจจยธรรม ในที่นี้เราจะพูดถึง ปจจยธรรม ปจจัย แลวก็ปจจยุปนนธรรม ศัพทยากหนอยนะครับ แตเดี๋ยวพอผมยกตัวอยางก็เขาใจ

58 อาหาร 4


ปจจยธรรม คือเหตุที่เปนพื้นฐาน ปจจัย คือความสัมพันธ ปจจยุปนนธรรม คือผลทีเ่ กิดจากเหตุและความสัมพันธนั้น สิ่งที่เปนเหตุนี่เปนปจจัยธรรม เหตุพื้นฐาน แลวก็ความสัมพันธนั้นคือปจจัย แลวก็สิ่งที่เปนผลเขาเรียกวาเปนปจจยุปนนธรรม คือสิ่งที่เกิดขึ้นเพราะปจจัย ยกตัวอยางเชน น้ําเปนพื้นฐาน เรียกเปนศัพทวาปจจัยธรรม ไฟนั้นเปนปจจัย น้ํารอนหรือน้ําเดือดเปนปจจยุปนนธรรม ถาผมดึงศัพทออกใหหมด พูดแตไทยๆก็รูเรื่องก็เขาใจ เชน น้ําเดือดอาศัยอะไร ก็อาศัยไฟ ไฟทําใหน้ําเดือด ทําใหน้ํารอนและน้ําเดือด ถาไมมีน้ํา มันจะเดือดไหม ก็ไมเดือด น้ําก็ตองเปนสิ่งที่เปนพื้นฐาน แตเขาเรียกเปนศัพทวา ปจจัยธรรม ภาษาธรรมะนี่บางทีมันยากตรงที่ใชศัพทยาก ตัวธรรมะมันไมไดยากเย็นอะไรหรอก ไปใชศัพทยากเขา ถาผมพูดเฉยๆวา เอา มีปจจยธรรม มีปจจัยเปนปจจยุปนนธรรม ใครเขาใจบาง คนที่ไมเรียนมาก็ไมเขาใจ ถาเผื่อผมพูดบอกวา นี่น้ํานะ นี่ไฟนะ เอาน้ําไปตั้งบนไฟ แลวน้ําจะเปนอยางไร น้ําเดือด น้ํารอน ก็เทานี้ ไมยากไมเย็นอะไร จะพูดงายๆวาน้ําในตูเย็นมันเย็น ก็มีน้ําแลวก็เอาไปใสตูเย็น ตัวตูเย็นมันเปนปจจัย เปนปจจัยทําใหน้ําเย็น น้ําเปนตัวพื้นฐาน แลวผลออกมาก็เปนน้ําเย็น เปนน้ําแข็ง จิตใจของเราบวกดวยโทสะ มันก็จิตมีโทสะ ก็เทานั้น ไมมีอะไรมาก คือวาธรรมะนี่พูดใหยากมันก็ยาก พูดใหงาย มันก็งาย เนื้อหาเดียวกันนั่นแหละครับ แลวแตจะพูด

59 อาหาร 4


ขอ 4 category of causality พูดอยางนี้ ถาคนที่ไมไดเรียนเรื่องพวกนี้มาก็ไมเขาใจ ก็พูดใหเขาใจงายขึ้นก็ได causality แปลวาความเปนเหตุเปนผลของกันและกัน สิ่งที่เปนเหตุเปนผลของกันและกัน เชน เมล็ดพืชกับตนไม ก็นาจะตรงกับสหชาตปจจัย แปลวาสิ่งที่เกิดพรอมกัน ปุเรชาตปจจัย เกิดกอน ปจฉาชาตปจจัย เกิดทีหลัง อันนี้ก็ปฏ ฐานเหมือนกัน เรื่องปจจัย ผมยกตัวอยางงายๆ ทานก็เขาใจ คือวาสิ่งที่เกิดพรอมกัน สิ่งหนึ่งปรากฏใหเห็นกอน อีกสิ่งหนึ่งปรากฏใหเห็นภายหลัง แลวก็สิ่งที่ปรากฏใหเห็นภายหลัง กลับเปนเหตุของสิ่งที่ปรากฏใหเห็นกอนในชวงตอมา ถาไมยกตัวอยางก็บางทียังงงอยู ยกตัวอยางเชน เมล็ดพืช จะเห็นวาเมล็ดพืชเปนสิ่งที่ปรากฏใหเห็นกอน ที่จริงตนไมมันก็อยูในนั้นแหละ แตเมล็ดพืชมันปรากฏใหเราเห็นกอน พอเราเอาเมล็ดพืชลงดิน รดน้ํา แลวก็ใหมันไดแสงแดด มันไดปจจัยที่เหมาะสม ก็เปนตนไมขึ้นมาจากเมล็ดพืช พอมันเปนตนไมแลว ดอกมันเราก็ยังไมเห็น ลูกมันก็ยังไมเห็น ตอไปมันก็ออกดอกออกลูก เปนสิ่งที่เกิดภายหลัง ก็เปนปจฉาชาตปจจัย เมล็ดพืชตอไปมันก็มาเปนเมล็ดพืชอีก หรือวาไกกับไข ไขกับไก อะไรเกิดกอนอะไรเกิดหลัง สมมุติวามีไขกอน หรือมีไกกอ น มีไกแลวก็มีไข มันเกิดทีหลัง เสร็จแลวพอเปนไขแลว ตอไปมันก็ออกเปนลูกไก เรียกวา category of causality หรือวาชนิดที่เปนเหตุเปนผลของกันและกัน อันนี้แหละครับ ตามที่ผมไดพูดมายอๆนี่แหละครับ จะเห็นวา ทานที่ยังมีเหตุปจจัยใหเกิด ใหปฏิสนธิ คือวายังมีกิเลส มีกรรมอยูก็ตองไปปฏิสนธิใหม พอสิ้นเหตุปจจัยคือไมมีกิเลสไมมีกรรมแลว ก็ไมตองไปปฏิสนธิใหม การวนเวียนหรือวัฏจักรมันก็ถูกตัดออกไป ขาดไปจากชีวิต ไมปฏิสนธิอีก พระพุทธเจาไดตรัสไว ในคัมภีรพระบาลีวา 60 อาหาร 4


เมื่อเบื่อหนาย เพราะคลายกําหนัด เมื่อคลายกําหนัดก็หลุดพน พอหลุดพนแลว ญานวาหลุดพนแลวก็มีขึ้น พอรูชัดวาชาติความเกิดขึ้นแลว พรหมจรรยระบบแหงการทําความดีไดจบแลว กิจที่ควรทําไดทําเสร็จแลว กิจอื่นที่จะตองทําเพื่อความเปนอยางนี้ คือความสิ้นอาสวะ ไมมีอีกแลว ภพใหมไมมีแกเราอีกตอไป ถาจะมีคําถาม ก็ไปวา เมื่อสัตวปฏิสนธิ คือการเกิดใหมอะไรไปเกิด อะไรไปปฏิสนธิ คําตอบก็คือนามรูปไปปฏิสนธิ นามรูปเกาหรือนามรูปใหม คําตอบก็คือวา เราอาศัยของเกา ของใหมก็เกิดขึ้น ไมใชสิ่งเกาทีเดียว แลวก็ไมใชสิ่งใหมทีเดียว ทานใชคําบาลีวา น จ ตํ น จ อฺٛ ํ ไมใชสิ่งนั้นแตก็ไมใชสิ่งอื่น คืออธิบายขยายความวา กรรมที่บุคคลทําดวยกายและใจนี้ ไดสรางกายและใจใหมขึ้นมา กายและใจนี้กับกายและใจที่เกิดขึ้นใหม จึงมีการถายเทตอเนื่องกันไมขาดสาย ทั้งความดีความชั่วและคุณสมบัติตางๆที่กายและใจใหมนั้นจะไดรับ ในมิลินทปญหา พระนาคเสนไดอุปมาไวหลายเรื่องดวยกัน นอกจากเรื่องผลไมเชนมะมวง ก็ยังอุปมาวาไฟที่ไหมลามไปไหมบานคนอื่น ไฟที่เราจุดขึ้นตรงนี้ แลวก็มนั ลามไปที่อื่น มันเปนไฟเกาหรือไฟใหม ที่ลามไปไหมบานคนอื่น เราจะไปเถียงเขาไดไหมวา ไฟที่ไหมบานคนอื่นไมใชไฟที่ฉันจุด เอาไฟที่ฉันจุดมันเปนไฟอีกอันหนึ่ง ไมใชอันนี้ หรือวาชายคนหนึ่งไปขอหมั้นหญิงเอาไว แลวก็ไปอยูเสียที่อื่น ตอมาเมื่อเด็กหญิงคนนั้นโตเปนสาวแลว ชายอีกคนหนึ่งมาขอหมั้นแลวก็แตงงานเสีย พอชายคนแรกกลับมาก็ทักทวงวา ทําไมจึงไปแตงกับเจาสาวของเรา ชายคนที่สองก็บอกวา หญิงที่ทานหมั้นไวกับหญิงคนนี้เปนคนละคนกัน จะไดหรือไมได เพราะวาเด็กสาวคนนั้นก็เจริญเติบโตตอเนื่องมาจากเด็กหญิงคนนั้นเอง ฉันใดนามรูปใหมที่เกิดขึ้นก็สืบเนื่องมาจากนามรูปเกาฉันนั้น ทานก็เปรียบเทียบไวอยางนั้นนะครับ 61 อาหาร 4


ทีนี้ก็อีกอุปมาหนึ่ง ชายคนหนึ่งซื้อนมสดมาจากโคบาล แลว ก็ฝากไว คิดวาวันตอไปจะมารับ พอวันตอมาก็มารับนมสด แต นมสด นั้นแปรเปนนมเปรี้ยวหรือนมสมเสียแลว เมื่อโคบาลสงให เขาก็ไมรับ อางวาที่เขาซื้อไวเปนนมสด เขาตองการนมสด ไมใชนมสม โคบาลก็บอกวาทานไมรูจักสภาพธรรมดาของนม นมสดนั่นแหละมันแปรเปนนมสมแลว ทั้งสองก็เถียงกัน จะวินิจฉัยวาอยางไร นี่คือความเปลี่ยนแปลง ความแปร เพราะฉะนั้น สรุปวา นามรูป เมื่อบุคคลใกลจะตายก็เปนอยางหนึ่ง นามรูปที่ปฏิสนธิใหมก็เปนอีกอยางหนึ่ง แตนามรูปที่ปฏิสนธิใหมก็เกิดสืบเนื่องมาจากนามรูปเมื่อใกลจะตายนั่นเอง ทุกคนจึงตองไดรับผลแหงผลติดตามที่ไดทําไวแลวในชาติกอน นี่พูดถึงเรื่องปฏิสนธินะครับ ยังมีเรื่องอีกยาว แตรวมความแลววา ถามีคนถามวา จะไปเกิดใหมนี่เปนนามรูปใหมหรือเปนนามรูปเกา เปนจิตดวงใหมหรือจิตดวงเกา คําตอบในภาษาบาลีก็คือวา น จ ตํ น จ อฺٛ ํ ไมใชดวงนั้นแลวก็ไมใชดวงอื่น แตวาอาศัยสันตติสืบตอกัน เหมือนนาย ก. เมื่อตอนเปนเด็ก กับนาย ก. เมื่อ 50 ปตอมา จะวาเปนคนเกาก็ไมได เพราะวาถาเปนคนเกาจะตองเหมือนเดิม เปนคนใหมก็ไมได เพราะวาถาเปนคนใหมก็ตองไมไดสืบเนื่องมาจาก เด็กชาย ก. คนเกา แตวานี่สืบเนื่องมาจากเด็กชาย ก. คนเกา แตก็ไมใชเสียทีเดียว ก็เปรียบอีกอยางหนึ่งเหมือนกับมะมวง เราปลูกตนมะมวงเอาไวตนหนึ่ง ตอมามันมีลูก แลวก็มีคนมาขโมยลูกมะมวง คนขโมยก็บอกวาไอตนมะมวงที่เขาปลูกไวมันไมมีลูก แตที่เขาขโมยนี่มันเปนตนมะมวงที่มีลูก มันคนละตนกับที่เขาปลูก จะไดไหม ก็คงไมได เพราะวาอาศัยเกาใหมเกิดขึ้น ไมใชดวงนั้นไมใชดวงอื่น ไมใชคนนั้น ไมใชคนอื่น มันเปนอยางนี้ ลักษณะของการสันตติของนามรูป ในการปฏิสนธิในภพใหม อันนี้ผมอธิบายถึงเรื่องปฏิสนธิวิญญาณ ในเรื่องวิญญาณาหาร ที่คัมภีรของเราไดพูดถึงวิญญาณเปนปจจัยแกนามรูป วิญญาณในความหมายที่วาเปนความรู 62 อาหาร 4


ตามหนังสือทางตะวันตกบางเลม ตีความวาอาหารคือความรู ก็ดีเหมือนกัน เราก็รับฟงเอาไวนะครับ จะเชื่อหรือไมเชื่อก็อีกเรื่องหนึ่ง กอนที่จะพูดเรื่องอาหารคือความรู เรามาคุยกันกอนดีไหมครับวา ความรูคืออะไร ถาจะตอบแบบกําปนทุบดิน ความรูก็คือความรู หรือวาจะขยายความออกมาวาความรูคือความเขาใจ ความเขาใจสิ่งตางๆอยางถูกตอง อยางนั้นเรียกวาความรู หรือวาความรูความเขาใจสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยางถูกตอง เรียกวาความรูในสิ่งนั้น ก็มีหลายทานอยางในคัมภีรวิสุทธิมรรค นี่พูดของเรากอน ทานก็พูดถึงเรื่องความรูแบบสัญญา รูในระดับสัญญา รูในระดับวิญญาณ รูในระดับปญญา เชน รูในระดับสัญญาคือจําได ทานเปรียบเหมือน ความรูในเรื่องเหรียญกษาปณ เหรียญบาทก็ได ของเด็กทารก ชาตะพุทธิทารโก เด็กที่ยังไมรูประสีประสา รูในเรื่องเหรียญบาทในระดับสัญญา ความรูในระดับสัญญาในเรื่องอะไรก็ตาม ถาเปนในระดับสัญญา จําไดหมายรู เหมือนกับความรูของเด็กที่ยังไมเดียงสา หรือวารูวามันเปน เห็นสีเห็นอะไรของมันก็รูไดแตสี แตวาจะใหรูมากไปกวานั้นไมได ความรูในระดับวิญญาณ ทานเปรียบเหมือนความรูของชาวบาน ที่รูเรื่องเหรียญบาท ก็รูอยางชาวบานที่รู เหรียญบาท เหรียญหา เหรียญสิบ ธนบัตรราคาเทาไหร สีอะไร แตวาไมรูมากไปกวานั้น ทําอยางไร เกิดขึ้นไดอยางไร ทําอยางไร ผลิตอยางไร ไมรู ความรูในระดับปญญาเกี่ยวกับเรื่องเหรียญบาท ทานเปรียบเหมือนกับความรูของผูที่มีความรอบรูในเรื่องเงิน ในที่นั้นทานใชคําวาเหรัญญิก ความหมายจริงๆในที่นี่กค็ ือวารูแบบที่รูจริงๆในเรื่องเงิน เหมือนกับชางทองมีความรอบรูในเรื่องทอง ชางเงินมีความรอบรูในเรือ่ งเงิน หรือวาชางอะไรก็มีความรอบรูในทางนั้น อันนั้นคือความรูในระดับปญญา

63 อาหาร 4


ความรูนี่ก็มีทั้งความรูแทและความรูเทียม ผูรูก็มีอยูสองพวกเหมือนกัน คือผูที่รูแทรูจริง กับผูที่เปนเสมือนผูรูแตไมใชผูรูจริง คนที่รูแทก็คือรูแทๆเขาใจแทๆ รูเห็นจริงๆ รูเทียมนั้นก็คือรูปลอม เปนเสมือนหนึ่งผูรู ผูที่เปนเสมือนหนึ่งผูรูแตไมใชผูรูจริง คือวาผูที่เปนเสมือนหนึ่งผูรูนั้น จะไมมีคุณสมบัติของผูรู แตวาทํากิริยาอาการเสมือนผูรู วางภูมิ บางทีก็วางภูมิทําทาทําทีเสมือนวาเปนผูรู แตพอถูกทดสอบ ถูกถามอะไรเขาจริงๆก็ไมรู อันนีเ้ รียกวาเปนผูที่เปนเสมือนผูรู ไมใชผูรจู ริง ผูรูจริงก็จะมีลักษณะอีกแบบหนึ่ง ไมจําเปนก็ไมแสดงความรู จะแสดงความรูตอเมื่อจําเปน คลายๆวาดาบที่ชอบอยูในฝก ไมจําเปนก็ไมชักออกมา แตคนที่ไมรูจริงหรือเปนเสมือนผูรูตองการจะโออวดความรู ก็เหมือนดาบที่เปลือยฝก ถือแกวงอยูเรื่อย แกวงดาบอยูเรื่อย ไปที่ไหนก็แกวงดาบอยูเรื่อย จนเปนที่รําคาญของคนทั้งหลาย ไมใชผูรูจริง เปนเสมือนหนึ่งผูรู อยางในสุภาษิตในโลกนิติก็มี วาภาชนะเต็มดวยน้ําไมมี เสียงดัง ภาชนะที่ไมมีน้ําก็มีเสียงดัง ยิ่งกระบอกยิ่งชัด กระบอกใสน้ํา คนเขาไปรองน้ําตาล ขาไปนี่ กระบอกมันกระทบกันดังกรองแกรงๆ ไป กระบอกมันวางเปลา อยูดวยกันหลายกระบอก เขาก็หิ้วไปบาง คาดเอวไปบาง มันก็กระทบกันกรองแกรงๆไป เสียงดัง แตถากระบอกขากลับเขาไดน้ําตาลมาเต็มเลย เอาไปเปลี่ยนเอากระบอกที่อยูบนตนตาลลงมา แลวเอากระบอกเปลาใสไวแทน เต็มไปดวยน้ําตาล กระบอกนั้นน้ําตาลเต็ม ถือมามันก็ไมดัง กระทบกันมันก็ไมดัง ไมมีเสียงดัง ทานก็บอกเราวา คนที่มีความรูจริง มีความรูเต็ม ก็มักจะไมแสดงความรูในคราที่ไมจําเปน ไมมีเสียงดัง แตผูรูเทียม เรารูไดอยางไรวาความรูนั้นเปนความรูจริง ตามธรรมดา การกระทําของมนุษยเราที่จะประสบความสําเร็จ จะสืบเนื่องมาจากความรูที่ถูกตอง ทีนี้เรารูไดอยางไรวาความรูนั้นถูกตอง คําตอบก็คือความรูที่ถูกตองจะตองตามมาดวยการกระทําที่ประสบความสําเร็จ ยกตัวอยางเชน รถยนตทานเสีย ทานเอาไปใหชางซอม ถาชางมีความรูจริงในเรื่องเครื่องยนต ก็ตองซอมไดสําเร็จ ประสบความสําเร็จ ถาชางที่ไมมีความรู หรือรูงูๆปลาๆ รูเทียมก็จะยิ่งซอมยิ่งเสีย นาฬิกาก็เหมือนกัน อะไรก็เหมือนกัน 64 อาหาร 4


หรือแมแตทานแสวงหาความรูทางธรรม ถาเผื่อทานไปหาคนที่รูไมจริง ความรูทานจะสับสนไปหมดเลย แยกไมออกวาอะไรเปนอะไร แตถาเผื่อทานไปหาคนที่รูจริง รูถูกตองสักคนหนึ่ง สักเดือนหนึ่ง สักระยะหนึ่ง ความรูของทานจะคลี่คลายออก ความเขาใจธรรมะ ความเขาใจศาสนา ความเขาใจตางๆจะคลี่คลายออก ความสับสนจะถูกเปลี่ยนแปลงเปนความรูจริง รูแท แลวก็เชื่อมัน เพราะวาหากผูนั้นเปนผูที่รูจริง แลวก็ใหความรูที่แทจริงกับทาน แลวก็ตามมาดวยการประสบความสําเร็จ หรือวาสงบ แลวก็ไดปญญาที่แทจริง อันนี้คือความรูจริง เรารูไดอยางไรวาความรูนั้นเปนความรูจริง ก็คือวา มันตองตามมาดวยการประสบความสําเร็จ ความรูเปนอาหารไดอยางไร สําหรับผูที่ชอบความรู ความรูจะเปนอาหารที่ประเสริฐ ยอดเยี่ยมมากทีเดียวครับ ไมอิ่มไมเบื่อ ในการแสวงหาความรู รูส ึกวามันเปนหนึ่งเดียวกับชีวิต เปนอาหารสมอง เปนอาหารใจ ลองเทียบดู ลองนึกดู พระพุทธเจาสมัยที่ตรัสรูใหมๆ ทรงเอิบอิ่มอยูดวยความรู อยูกับความรูถึง 7 สัปดาห 49 วัน โดยมิไดเสวยพระกระยาหารเลย เรียกวาเสวยวิมุติสุข ฉะนั้นพระองคทานรูสึกวาไดความรูใหม ที่ไมเคยรูมากอน ในธรรมจักรทานก็ตรัสเอาไวในเรื่องนี้วา ความรูนี้ไมไดยินไดฟงมากอนจากสมณะพราหมณเหลาใดเหลาหนึ่ง แตเปนความรูที่เกิดขึ้นแกพระองคเอง เปนความรูจริง แลวก็มีความสุข เปนอาหารของจิตใจ เปนอาหารของชีวิต ทรงอยูได อยูไดจนถึง 7 สัปดาห อันนี้ก็สงเคราะหเขาไดในวิญญาณาหารไหม วาเปนอาหารทางความรู เกี่ยวกับความรู บางคนมีความกระหายตอความรู คุกรุนอยูเสมอในจิตใจ คือวาเปนดวงไฟที่ไมเคยดับในจิตใจ เขาจึงสามารถจะแสวงหาความรูไดอยางไมอิ่มไมเบื่อ หรือวาอาจจะเปนที่รูสึกนาเบื่อสําหรับคนที่ไมชอบการแสวงหาความรู ดูแลวนาเบื่อ แตวาไมเปนการนาเบื่อสําหรับตัวเขาเลย วุนอยูกับหรืองวนอยูกับการแสวงหาความรู เพราะวาจิตใจของเขาฝกใฝอยูกับความรูอยูตลอดเวลา

65 อาหาร 4


ถาพูดถึงแหลงของความรู ตามประวัติของมนุษยชาติ ไมเคยมีเครื่องมือชนิดใดที่จะมีประสิทธิภาพ ในการพัฒนาสังคมมนุษยหรือทรัพยากรมนุษยไดมากเทากับหนังสือ เพราะวาหนังสือเปนแหลงขอมูลที่สําคัญอยางยิ่ง เพราะวาชวยบันทึกสิ่งตางๆใหมนุษยรุนหลังไดรูไดเขาใจไดมากที่สุด ตั้งแตสมัยไหนๆมา หนังสือนี่เปนแหลงความรู เพราะฉะนั้นในประเทศจะใหญ มีหองสมุดใหญโตมโหฬาร มีหนังสือมากมาย ใหคนเขาไปเดินอยูในโลกแหงปญญา แสวงหาความรู แสวงหาปญญา ทานจะพบใคร คนสําคัญขนาดไหน ทานก็พบไดจากที่นั่น จากในหองสมุดนั่นแหละ อยากจะพบใครก็ไปอานหนังสือของเขา หรือวาอานหนังสือของบุคคลสําคัญ ที่ผูรูไดเขียนเอาไว ก็ไดรูจักบุคคลผูนั้นจากหนังสือ แลวก็ถาเราตองการจะรูจากบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แลวบุคคลนั้นไดเขียนหนังสือไวมาก เราก็สามารถจะรูจักทานไดโดยทางหนังสือ แมจะไมรูจักตัวทานเอง ก็รูจักทานไดจากหนังสือนั่นแหละ เพราะฉะนั้น แหลงเกิดของความรูอยางแรกคือ การอาน การฟง การสนทนา การสนทนาที่ทางพุทธเราเรียกวา สุตมยปญญา คือปญญาที่ไดจากการสดับตรับฟง สุตตะแปลวาการสดับตรับฟง รวมทั้งการอาน การสนทนา การฟง ก็เปนแรงสําคัญของความรู อานมาก ฟงมาก สนทนาในเรื่องนั้นมากพอสมควร ก็ทําใหเปนคนกวางขวาง บางทีบางอยางเราไมเขาใจไมรู พอไปสนทนากับเพื่อนฝูงหรือกับทานผูรูในเรื่องนั้น มันสวาง สวางวาบขึ้นมาในความคิด ในความรูสึก ไดปญญาไดความเขาใจ จากการอาน การฟง การสนทนา คือเปนแหลงความรูประการที่หนึ่ง เวลานี้ขาวสารขอมูลมากเหลือเกิน จะอานหนังสือ จะฟงวิทยุ จะดูโทรทัศน จะสนทนาอะไร ฟงเขาสนทนา มีรายการพวกนี้มาก เปนแหลงของความรู แตตองเลือกเอาหนอย เลือกฟงเอาหนอย หนังสือก็เหมือนกันตองเลือกอานเอา เลือกหนังสือที่ดีๆอาน จะฟงอะไรก็เลือกฟงเอา เพราะวาเราไมสามารถจะฟงทั้งหมดได คนงอยที่อยากจะเดินทานลองนึกดู กับคนขาดีที่ไมอยากเดิน ก็เหมือนกัน คือวาไดผลอยางเดียวกัน เหมือนกัน คนงอยที่อยากเดินก็เดินไมได คนที่ขาดีแตไมอยากเดินก็ไปไมไดเหมือนกัน เพราะฉะนั้น มันตองขาดีแลวก็อยากไปดวย 66 อาหาร 4


คนไมมีความรูแตอยากทํา อันนี้ก็ทําของใหเสียหมดเลย ทําเรื่องดีใหเสียหมด กับคนมีความรูแตไมอยากทํา มันก็เหมือนกัน เพราะไมมีอะไรเกิดขึ้น มีความรูแตไมอยากทํา กับคนไมมีความรูแตอยากทํา มันก็พอๆกัน เพราะฉะนั้น ความรูเปนอาหารชนิดหนึ่งของมนุษย มนุษยที่กระหายความรู กระหายขาว อยากรูนั่นรูนี่ ทานลองนึกดู หนังสือพิมพขายได วิทยุคนฟงได อะไรตออะไร สื่อสารตางๆทําอยูไดก็เพราะคนกระหายความรู คนอยากไดอาหารคือความรู ถาคนไมอยากไดอาหารชนิดนี้เขาสูชีวิตจิตใจแลว สื่อสารพวกนี้ทําไมได เพราะฉะนั้น สรุปไวตอนหนึ่งกอนวา ความรูนี่เปนอาหารที่สําคัญอยางหนึ่งของมนุษย มนุษยที่ไมอยากรูอะไรเลย ก็คงจะเหมือนกับคนขาดีแตไมอยากเดิน ก็คงไปไหนไมได ถาเราสังเกตใหดีจะเห็นวา ในรัฐหรือในสังคมที่การบริหารไมดี ผูที่มีความรูทําอะไรไมคอยได แมจะมีความรูก็ทํา อะไรไมคอยได เพราะวาไปติดขัดกับการบริหารของรัฐ หรือในสังคมที่การบริหารไมดี ไมวาจะเปนวัดหรือเปนมหาวิทยาลัย ผูทรงความรูทําอะไรไมคอยได แลวก็ผูทรงคุณธรรมไมคอยไดรับการเหลียวแล เพราะวามักจะไปเหลียวแลผูที่ประจบสอพลอเสียมากกวา แลวคนรายลอยนวล ไมคอยไดรับการลงโทษตามสมควร แกโทษ ไมคอยยุติธรรม จนบางคนตั้งคําถามขึ้นมาวาความยุติธรรมอยูที่ไหน ผูบริหารตัวจริงทําไดแตเพียงรับรายงาน ไมไดรูเห็นดวยตนเอง ก็มักจะเปนอยางนั้น เพราะฉะนั้น เราจะใชความรูไดเต็มที่ก็ตอเมื่ออยูในสังคมหรือในรัฐที่บริหารดี มีการบริหารดี ผูบริหารดี และมีความยุติธรรม เพราะฉะนั้นความยุติธรรมจะเปนแกนหลักสําคัญของการบริหาร ทําใหความรูและผูที่มีความรูไดทําประโยชนไดเต็มที่ อันนี้ก็ขอฝากไวเพื่อเปนความคิด หรือวานําไปคิด ก็พูดเรื่องความรูตอไป บางทีก็เรียกปญญานะครับ บางทีก็เรียกวิชชา บางทีก็เรียกอาโลโก แปลวาแสงสวาง บางทีก็เรียกจักษุก็มี จักษุอยางในธรรมจักกัปปวัตนสูตรก็ใชคาํ อยางนี้ ٛ าณํ อุทปาทิ วิชชา อุทปาทิ อาโลโก อุทปาที แปลวาญาณ หรือปญญา หรือวิชชา อาโลโก ความสวางไดเกิดขึ้น 67 อาหาร 4


ความรูหรือปญญาก็เกิดขึ้นเพราะการประกอบ กระทํา ที่เรียกวาโยคปญญา แลวก็สิ้นไปเพราะการไมประกอบ ไมไดกระทํา ไมไดใชความเพียร โยคะแปลวาความเพียรก็ได แปลวาการประกอบกระทําก็ได พระพุทธภาษิตในพระไตรปฎกเลม 25 ขอ 30 มีวา โยคา เว ชายเต ภูริ อโยคา ภูริสงฺขโย ปญญาที่กวางใหญเพียงดังแผนดิน ภูริปญญากวางใหญเพียงดังแผนดิน ยอมเกิดเพราะการประกอบ แลวก็สิ้นไปเพราะการไมประกอบ การสิ้นไปของปญญาเพราะ อโยคะ คือการไมประกอบ เอตํ เทฺวธา ปถํ ٛ ตฺวา ภวาย วิภวาย จ บัณฑิตมารูวาทั้งสองอยางคือการประกอบและไมประกอบ วาเปนเหตุใหเจริญและเสื่อม การประกอบปญญาทําใหเกิดความเจริญ การไมประกอบปญญาทําใหเกิดความเสื่อม ภวาย วิภวาย จ ทําใหเกิดความเจริญ และทําใหเกิดความเสื่อม เพราะฉะนั้น ตถตฺตานํ นิ เวเสยฺย ยถาภูริ ปวฑฺฒติ ควรตั้งตนไดโดยประการที่ปญญาซึ่งเปนประดุจแผนดินนั้น หมายความวาปญญาจะเจริญไดโดยประการใด ก็พึงตั้งตนไวโดยประการนั้น เชน ปญญาจะเกิดขึ้นเพราะการหมั่นสดับตรับฟง หมั่นคิดไตรตรองหาเหตุผล หมั่นปฏิบัติ ถาจะถามวาจะตั้งตนไวอยางไรปญญาจึงจะเจริญ เพราะทานบอกวาพึงตั้งตนไวโดยประการที่ปญญาจะเจริญ ก็ใหดูปญญาวุฒิธรรม คือธรรมที่เปนเหตุใหเจริญปญญาหรือใหปญญาเจริญ ก็มี 4 อยาง ทานเรียกวาปญญาวุฒิธรรม จะทองเปนคาถาไวก็ได คาถายอๆ สสโยธะ แตวาไมใชทองเปนของขลัง ไมใชทองใหขลังใหศักดิ์สิทธิ์ หรืออะไรทํานองนั้น เรียกวาทองเปนอักษรยอเอาไว สะ ตัวแรกคือ สัปปุริสูปส สยะ รูจักคบคนดี สะ ตัวที่สองคือ สัทธัมมัสวนะ ฟงคําสั่งสอนของคนดี โย คือ โยนิโสมนสิการ พอฟงคําสั่งสอนแลวก็ใหรูจักคิด คิดเปน โยนิโสมนสิการคือคิดเปน รูจักคิด รูจักไตรตรอง จะไดเลือกถูกวาอะไรควรเอาไว อะไรควรทิ้งไป 68 อาหาร 4


ธะ คือธัมมานุธัมมปฏิปติ การปฏิบัติธรรมใหสมควรแกธรรม คือวาปฏิบัติธรรมใหเหมาะสมแกฐานะของตน ใหเหมาะสมแกภาวะ ใหเหมาะสมแกความเปนของตน อยูในฐานะอยางไรเปนอยางไร ปฏิบัติธรรมใหเหมาะสมแกฐานะของตน คือวาลงมือปฏิบัตินั่นเอง แตวาปฏิบัติใหเหมาะสมแกฐานะของตน อันนี้ก็เปนปญญาวุฒิธรรม เปนสิ่งที่ทําใหปญญาเจริญ ทําอยางนี้แลวปญญาเจริญ คนมีปญญามีความรู ใชความรูเปน มันก็เกิดประโยชนมากมายมหาศาล ไมรูจะพรรณนาอยางไรวามันไดประโยชนอยางไร เปนประโยชนอยางไร ทั้งแกตนแกสังคม ถามีความรูแตใชความรูไมเปน ใชความไมถูกตอง ก็เปนการฆาคนผูมีความรูนั้นเอง อยางพระพุทธภาษิตในพระไตรปฎกเลม 25 ขอ 15 วา ความรูเกิดแกคนพาล เพียงเพื่อความพินาศของคนพาลนั่นเอง ความรูนั้นก็จะฆาสวนดีของคนพาลเสีย ทําใหปญญาของเขาตกไป เอาความรูไปใชในทางที่ไมดี ในทางที่ผิด ตัวอยางในอรรถกาถาธรรมบทก็ไดเลาไวประกอบพระพุทธภาษิตนี้ เรื่องคนงอยเปลี้ยไปเรียน คนงอยเปลี้ยมีความรูในทางดีดกรวด แลวลูกศิษยคนหนึ่งไปขอเรียนดวย แตเรียนแลวไมไดใชความรูใหเปนประโยชน กลับไปดีดกรวดถูกพระปจเจกพุทธเจาเพื่อจะทดลองความรู ดีดเขาทางหู แลวก็ทานก็ทนความเจ็บปวดไมไหว ทานก็นิพพานไป เจาทดลองความรูคนนี้ก็ถูกประชาทัณฑ ตายแลวก็ไปนรกอีก นี่ก็คือใชความรูไมเปน นี่ก็เปนแตเพียงตัวอยางหนึ่งของคนที่ใชความรูไมเปน แตอาจารยของคนนี้ก็ใชความรูเปน ก็ไดทรัพยสมบัติมากมายจากพระราชาก็เพราะใชความรูเปน เหมือนมีมีดเหมือนมีอาวุธ ถาเผื่อใชมันเปนมันก็ใหประโยชน ใชมันไมเปนมันก็ใหโทษ ดังนั้น คนที่มีความรูตองรูจักเรียนรูวิธีใชความรู บางคนนาเสียดาย ความรูเยอะ ความรูอะไรก็คลอง แตวาใชความรูไมเปน คือวามันพราไปหมด แลวก็ไมมุงลงเปนหนึ่ง ไมทําอะไรใหจริงจังตามความรูที่มี มันก็เลยกลายเปนเลนไปหมด กลายเปนจับฉายไปหมด ฉาบฉวยไปหมด อันนี้ก็ใชความรูไมเปน คนที่เขาใช 69 อาหาร 4


สะ ตัวแรกคือ สัปปุริสูปส สยะ รูจักคบคนดี สะ ตัวที่สองคือ สัทธัมมัสวนะ ฟงคําสั่งสอนของคนดี โย คือ โยนิโสมนสิการ พอฟงคําสั่งสอนแลวก็ใหรูจักคิด คิดเปน โยนิโสมนสิการคือคิดเปน รูจักคิด รูจักไตรตรอง จะไดเลือกถูกวาอะไรควรเอาไว อะไรควรทิ้งไป ธะ คือธัมมานุธัมมปฏิปติ การปฏิบัติธรรมใหสมควรแกธรรม คือวาปฏิบัติธรรมใหเหมาะสมแกฐานะของตน ใหเหมาะสมแกภาวะ ใหเหมาะสมแกความเปนของตน อยูในฐานะอยางไรเปนอยางไร ปฏิบัติธรรมใหเหมาะสมแกฐานะของตน คือวาลงมือปฏิบัตินั่นเอง แตวาปฏิบัติใหเหมาะสมแกฐานะของตน อันนี้ก็เปนปญญาวุฒิธรรม เปนสิ่งที่ทําใหปญญาเจริญ ทําอยางนี้แลวปญญาเจริญ คนมีปญญามีความรู ใชความรูเปน มันก็เกิดประโยชนมากมายมหาศาล ไมรูจะพรรณนาอยางไรวามันไดประโยชนอยางไร เปนประโยชนอยางไร ทั้งแกตนแกสังคม ถามีความรูแตใชความรูไมเปน ใชความไมถูกตอง ก็เปนการฆาคนผูมีความรูนั้นเอง อยางพระพุทธภาษิตในพระไตรปฎกเลม 25 ขอ 15 วา ความรูเกิดแกคนพาล เพียงเพื่อความพินาศของคนพาลนั่นเอง ความรูนั้นก็จะฆาสวนดีของคนพาลเสีย ทําใหปญญาของเขาตกไป เอาความรูไปใชในทางที่ไมดี ในทางที่ผิด ตัวอยางในอรรถกาถาธรรมบทก็ไดเลาไวประกอบพระพุทธภาษิตนี้ เรื่องคนงอยเปลี้ยไปเรียน คนงอยเปลี้ยมีความรูในทางดีดกรวด แลวลูกศิษยคนหนึ่งไปขอเรียนดวย แตเรียนแลวไมไดใชความรูใหเปนประโยชน กลับไปดีดกรวดถูกพระปจเจกพุทธเจาเพื่อจะทดลองความรู ดีดเขาทางหู แลวก็ทานก็ทนความเจ็บปวดไมไหว ทานก็นิพพานไป เจาทดลองความรูคนนี้ก็ถูกประชาทัณฑ ตายแลวก็ไปนรกอีก

70 อาหาร 4


นี่ก็คือใชความรูไมเปน นี่ก็เปนแตเพียงตัวอยางหนึ่งของคนที่ใชความรูไมเปน แตอาจารยของคนนี้ก็ใชความรูเปน ก็ไดทรัพยสมบัติมากมายจากพระราชาก็เพราะใชความรูเปน เหมือนมีมีดเหมือนมีอาวุธ ถาเผื่อใชมันเปนมันก็ใหประโยชน ใชมันไมเปนมันก็ใหโทษ ดังนั้น คนที่มีความรูตองรูจักเรียนรูวิธีใชความรู บางคนนาเสียดาย ความรูเยอะ ความรูอะไรก็คลอง แตวาใชความรูไมเปน คือวามันพราไปหมด แลวก็ไมมุงลงเปนหนึ่ง ไมทําอะไรใหจริงจังตามความรูที่มี มันก็เลยกลายเปนเลนไปหมด กลายเปนจับฉายไปหมด ฉาบฉวยไปหมด อันนี้ก็ใชความรูไมเปน คนที่เขาใช เปนสุภาษิต โดยนัยหนึ่งโดยปริยายหนึ่ง หรือจะใชใหลึกลงไปกวานั้นก็ไดวา ไมมีศัตรูใดเสมอดวยกิเลส กิเลสเปนศัตรูลําดับหนึ่งของมนุษย นตฺถิ อตฺตสมํ เปมํ ไมมีความรักใดเสมอดวยความรักตน ถึงจะรักอยางอื่นก็ตาม แตวาการรักตนก็เปนความรักที่เหนียวแนนของมนุษย นตฺถิ กมฺมสมํ พลํ ไมมีพลังใดเสมอดวยพลังกรรม มี สุภาษิตอยู 4 ตอน อันนี้ถาจะพูดไปมันก็ยาว แตก็อธิบายไดเยอะ แลวก็ดีดวย อันนี้นํามาประกอบวาวิชชาหรือปญญาหรือความรู มันเปนมิตรที่ยอดเยี่ยมของมนุษย นตฺถิ วิชชฺ าสมํ มิตตํ ไมมีมิตรใดเสมอดวยวิชชา อันขาไทไดพึ่งเขาจึงรัก แมถอยศักดิส์ ิ้นอํานาจวาสนา เขาหนายหนีมิไดอยูคูชีวา แตวิชชาชวยกายจนวายปราณ เพราะฉะนั้น ผูฉลาดทั้งหลายจึงกลาววา ปญญานั่นแล ประเสริฐที่สุดดุจดวงจันทร สวางกวาดวงดาวทั้งทองฟา ปฺٛ า หิ เสฏฐา กุสลา วทนฺติ นกฺขตตราชา ริว ตารตนํ สีลํ สิรญ ิ จาป สตฺจ ธมฺโม อนฺวายิกา ปฺٛ วโต ภวนฺติ และธรรมของสัตบุรุษก็คลอยตามผูมีปญญา เพราะฉะนั้นก็ใหอบรมปญญา เพิ่มพูนปญญา ฝกฝนปญญา แสวงหาปญญา ผูมีชีวิตดวยปญญา บัณฑิตทั้งหลายกลาววา ผูมีชีวิตดวยปญญา เปนชีวิตที่ประเสริฐ

71 อาหาร 4


ถามวาชีวิตอยางไรเปนชีวิตที่ประเสริฐ พระพุทธเจาตรัสตอบวา ชีวิตที่มีปญญาเปนชีวิตที่ประเสริฐที่สุด ศีล สมาธิ ปญญา ปญญานี่แหละเปนยอดของคุณธรรม ความรู เทาที่มนุษยจะมีได เทาที่มนุษยจะหาได แตก็นาเสียดายวา บางทีมนุษยเราใชเวลาทั้งชีวิตไปหาเงิน ไปหาทรัพยภายนอก ทรัพยที่เปนปญญาซึ่งติดตัวไปไดทุกหนทุกแหง แลวก็ดีกวาตั้งเยอะ คนไมคอยจะแสวงหาเทาไร อันนี้ก็นาเสียดาย

72 อาหาร 4


ภาคผนวก เมื่อตอนบายมีโทรศัพทจากทานผูหนึ่งที่อยูจังหวัดนครปฐม เปนขาราชการชั้นผูใหญเกี่ยวกับสถาบันการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ทานโทรศัพทมาถามวา “พระพุทธรูปบังพระพุทธเจา คัมภีรบังพระธรรม และลูกชาวบานบังพระสงฆ” หมายความวากระไร” ทานโทรศัพทมาขอใหอธิบายใหฟงอีกสักหนอย อันนี้เปนคําพูดของทานอาจารยพุทธทาส เมื่อหลายปมาแลว ประมาณ 40 ปลวงมาแลว ทานไดมาปาถกถาธรรมทีพ่ ุทธสมาคมแหงประเทศไทย ตรงขามกับวัดบวรนิเวศนวิหาร ตรงนั้นเมื่อกอนนี้เปนมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา ตรงหนาวัดบวรฯ หลังจากเปนพุทธสมาคมแหงประเทศไทย ก็มาเปนมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาแหงประเทศไทย เรียกชื่อวา สภาการศึกษามหามกุฎราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาอยูระยะหนึ่ง ตอมาทางสภาการศึกษามหามกุฎราชวิทยาลัย ยายเขาไป อยูในวัดบวรฯอยูในตึกที่พระเณรเรียนกันอยูในปจจุบันนี้ ประมาณ พ.ศ. 2501 ตอนนี้ที่ตรงนั้น ตรงหนาวัดกลายมาเปนสมาคมโหรแลวก็อายุรเวชวิทยาลัย ตรงตึกนี้นะครับทานพุทธทาสไดเคยมาปาถกถา เรื่อง ภูเขาแหงพุทธธรรม หรือวิถีแหงพุทธธรรม ทานพูดถึงเรื่องพระพุทธรูปบังไมใหเห็นพระพุทธเจา ก็ฮือฮากันเปนการใหญ แตวาพอทานอธิบายแลว ก็พอเขาใจ ทานอธิบายความหมายวา “การที่พระพุทธอยางที่คนทั้งหลายนับถือยึดมั่นถือมั่นในสิ่งเหลานี้วาขลังวาศักดิ์สิทธิ์ แลวก็สามารถจะบันดาลสิ่งตางๆใหได อยางนั้น เปนการบังไมใหเห็นพระพุทธเจาองคจริง คือวาถาไปติดอยูเพียงแคนั้น ก็ไปไมถึงพระพุทธคุณ มีพระปญญาคุณ พระกรุณาคุณ พระบริสุทธิคุณ ที่เรียกวา กราบพระไมถึงพระ ติดอยูที่พระพุทธรูปปางนั้นๆ แลวก็เปนกันมากขึ้น ถาจะพูดถึงเรื่องนี้สักครั้งหนึ่งคงจะพูดไดเยอะเหมือนกันนะครับ

73 อาหาร 4


ทีนี้มาพูดถึงคัมภีรบังพระธรรม คือถามัวแตอานคัมภีร ศึกษาคัมภีร ยึดมั่นถือมั่นแตคัมภีร แตวาไมไดปฏิบัติธรรมใหรูแจงเห็นจริง ทําใหคัมภีรนั้นมาบังพระธรรม คือวาหลงอยูในคัมภีร ติดอยูในคัมภีร คิดวาการไดเลาเรียนนักธรรมตรี นักธรรมโท นักธรรมเอก เปรียญสาม ถึงเปรียญเกา ไดเรียนอะไรตออะไรที่เขาเรียนกันอยูมากมาย ก็ถือวาเปนความสําเร็จแลว ก็เลยนอนกอดคัมภีรอยูอยางนั้น ไมไดปฏิบัติธรรมใหสมควรแกธรรม คือวาไมไดเอาธรรมที่ไดศึกษาเลาเรียนมาปฏิบัติใหบังเกิดผลขึ้น ก็เรียกวา คัมภีรมาบังพระธรรมตัวจริง เพราะวาพระธรรมตัวจริงนั้นอยูที่การปฏิบัติ แตวาการศึกษาเลาเรียนเปนการนําเขาไปเปนแผนที่ที่บอกทางใหวาเราควรจะไปทางไหน ควรจะไปอยางไร อันนี้ถาเผื่อไมไดนํามาปฏิบัติก็เปนการวา เอาคัมภีรมาบังพระธรรม มาถึงขอที่วา ลูกชาวบานบังพระสงฆ คือสมมุติสงฆ ที่วาลูกชาวบานไปบวชแลวก็เปนพระสงฆ ไมตองทําอะไรอยางอื่น เพียงแตถือศีล 227 ขอก็เพียงพอแลว แลวบางคนมาลาไปบวช บอกวาจะไดเปนหนึ่งในพระรัตนตรัย ผมบอกวายังนะยังไมเปน เปนเพียงสมมุติสงฆ ที่เปนหนึ่งในพระรัตนตรัยนั้นเปนพระอริยสงฆ ดูบทสังฆคุณก็รู สังฆคุณทานระบุชัดเจนวา เปนบุคคล 4 คู 8 จำพวก ตามที่เราสวดๆกันอยูนะครับ เมื่อเชาวันที่ 8 นั้น ผมฟงรายการวิทยุรายการหนึ่ง ไมทราบวาคลื่นอะไร ผูพูดเปนใครก็ไมทราบนะครับ เขาพูดวา พระสมัยนี้อยาวาแตศีล 227 ขอเลย เพียงแตศีล 5 มีครบหรือเปลา พูดอยางนี้นะครับ นากลัวเหมือนกัน คือวาทาทายเหลือเกิน ทาทายพระเหลือเกิน ฟงแลวก็รูสึกขนลุกเหมือนกัน นักจัดรายการวิทยุคนนั้นนะ ผมจําไมไดครับวาเปนใคร สถานีอะไร พูดออกมาอยางนี้ เขาพูดวิจารณเรื่องวัดเรื่องวาก็นาขนลุกอยู ถาคนนับถือพระสงฆที่เพียงแตนุงเหลืองหมเหลือง โกนศีรษะเปนพระสงฆ โดยไมคํานึงถึงขอปฏิบัติของพระสงฆ ไมไดคํานึงถึงสังฆคุณ ที่วาสุปฏิปนโน ปฏิบัติดี อุชุปฏิปนโน ปฏิบัติตรง ญายปฏิปนโน ปฏิบัติเพื่อญายธรรม คือธรรมที่ควรรู หรือนิพพาน สามีจิปฏิปนโนปฏิบัติชอบ 74 อาหาร 4


ไมมีคุณสมบัติอยางนี้ แลวก็ไปบํารุงลูกชาวบานที่มาบวชเปนพระสงฆ เพื่ออาชีพ หรือเพื่ออะไรก็แลวแต โดยไมมีคุณสมบัติของพระสงฆที่แทจริง อยางนี้เขาเรียกวาลูกชาวบานบังพระสงฆ ก็ไดอธิบายไปอยางนี้นะครับ อันนี้ผมก็นํามาฝากทานผูฟงดวย ก็คิดวาเปนประโยชนนะครับ ถาทานผูถามที่โทรศัพทมาถาม ปกติทานมักจะฟงรายการของธรรมะที่พล ม.2 นี่แหละครับ เปนประจํา ถาทานฟงอยูคิดวาฟงซ้ําก็แลวกัน ผมตอบใหในวิทยุดวย ถาทานขอใหผมเขียนสงไปใหดวยก็จะทําให ผมขอยุติการบรรยายลงเพียงเทานี้ ขอความสุขสวัสดี จงมีแดทุกทาน สวัสดีครับ ขอเชิญฟงการบรรยายธรรมโดยอาจารย วศิน อินทสระ ที่วัดบวรนิเวศวิหาร บางลําภู ทุกเชาวันอาทิตย เวลา 10.15 น. เวนวันอาทิตยตนเดือน

75 อาหาร 4


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.