ISSUE 26 ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒๖ เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔ Vol. 8 No. 26 April - May 2021
YESTERDAY ONCE MORE
Yesterday Once More เที่่�ยวชุุมชนเก่า่ ย้้อนวัันวาน
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
หนังสือแนะนำ�แหล่งท่องเที่ยวและของดี จังหวัดสมุทรปราการ
สงบงามยามราตรี ริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา ตำ�บลท้ายบ้าน อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ The night serenity along the Chao Phraya River, Thai Ban Sub-District, Mueang Samutprakan, Samutprakan
4
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
สารจาก นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
Message From..
Chief Executive of Samutprakan Provincial Administrative Organization สมุุทรปราการกัับดิิฉันั มีีความผููกพัันกััน ตั้้�งแต่่เด็็ก การใช้้ชีวิี ติ อยู่่�ที่่�นี่่� ทำำ�ให้้ได้้เห็็นว่่าจัังหวััดสมุุทรปราการนี้้�ยัังมีีศัักยภาพที่่�จะเติิบโต ต่่อไปได้้อีีกมาก รวมถึึงศัักยภาพทางด้้านการท่่องเที่่�ยวและเศรษฐกิิจ ซึ่่�งจากการได้้ลงพื้้�นที่่�ไปยัังชุุมชนต่่าง ๆ ก็็ได้้พบว่่าแต่่ละชุุมชนนั้้�น มีีของดีีซ่อ่ นอยู่่�มากมาย และสามารถนำำ�มาพััฒนาต่่อได้้อีกี ไกลเช่่นกััน โดยเฉพาะงานฝีีมือื ที่่มี� คี วามประณีีต และสอดแทรกเอาไว้้ด้ว้ ยภููมิปัิ ญ ั ญา ภููมิิปััญญาที่่�สืืบทอดกัันมานั้้�นเป็็นสิ่่�งสำำ�คััญสำำ�หรัับการสร้้าง เศรษฐกิิจระดัับชุุมชน เพราะนำำ�มาสู่่�ผลิิตภััณฑ์์ที่่มี� เี อกลัักษณ์์เฉพาะตััว ไม่่เหมืือนใคร และสิ่่�งเหล่่านี้้�สามารถส่่งต่่อจากคนรุ่่�นเก่่าสู่่�คนรุ่่�นใหม่่ได้้ ยิ่่�งหากคนรุ่่�นใหม่่นำำ�ความรู้้�ทางนวััตกรรมเข้้ามาผสานเข้้ากัับฝีีมืือและ ความคิิดสร้้างสรรค์์ เชื่่อ� ว่่าผลลััพธ์์ที่่ไ� ด้้นั้้น� คงน่่าสนใจไม่่น้อ้ ย เช่่นเดีียวกัับสถานที่่� หรืือย่่านเก่่าแก่่ ที่่�เต็็มไปด้้วยเรื่่อ� งราวที่่�มา หากได้้รัับการส่่งเสริิมอย่่างถููกทาง สถานที่่�เหล่่านั้้�นก็็สามารถสร้้าง เศรษฐกิิ จ ในภาคการท่่ อ งเที่่� ย วให้้ กัั บ ชุุ ม ชนให้้ เ กิิ ด ขึ้้�นได้้ใ นอีีก มิิติิ เพราะการท่่องเที่่�ยวบนพื้้�นฐานของประวััติิศาสตร์์และวััฒนธรรมนั้้�น คืื อ แนวทางที่่� ส อดคล้้ อ งในการพัั ฒ นาการท่่ อ งเที่่� ย วอย่่ า งยั่่� ง ยืื น ที่่�ทั่่�วโลกกำำ�ลัังยึึดเป็็นแนวทางอยู่่�เช่่นกััน
I have long been bonded with Samutprakan since childhood. Living here allowed me to see Samutprakan's incredible potentials to grow, especially in tourism and economics. After visiting local communities, I have discovered many hidden gems in each that could be further developed. Meticulous handicrafts and local wisdom inherited through generations, in particular, are essential keys to boosting the community economy and unique product development. They can be passed on from the old generation to the new generation, and when combined with innovative knowledge, craftsmanship, and creativity, I sincerely believe the result will be remarkable. The same goes for old districts full of history. With proper support, these places could spark a new economic dimension in community tourism because historical and cultural tourism is an approach that aligns with sustainable tourism development that the world currently adheres.
นางสาวนันทิดา แก้วบัวสาย Miss Nantida Kaewbuasai นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ Chief Executive of Samutprakan Provincial Administrative Organization
April - May 2021
5
Travel ปที่ ๘ ฉบับที่ ๒๖ เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔ Vol. 8 / No. 26 April - May 2021
ประธานที่ปรึกษา
President of Advisory Board
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
Chief Executive of Samutprakan Provincial Administrative Organization
นางสาวนันทิดา แก้วบัวสาย คณะที่ปรึกษา
นายสุนทร ปานแสงทอง รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ นายพิริยะ โตสกุลวงศ์ รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ นายสมลักษณ์ ควรสงวน รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
คณะทำ�งาน
นายธนวัฒน์ กล่ำ�พรหมราช รองปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ นางสาวทองดี กูลศิริ หัวหน้าสำ�นักปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด นางสุรีวัน สุขพัตร์ หัวหน้าฝ่ายบริหารงานท่ัวไป นางสาววชิราภรณ์ บุญเสริฐ นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการ นางสาวชนันรัตน์ สมณศักด์ิ นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการ นางปวีณา สีคำ� เจ้าพนักงานธุรการชำ�นาญงาน นางสาววรลักษณ์ เมฆสังข์ ผู้ช่วยนักประชาสัมพันธ์
จัดพิมพ์โดย
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ๒๙ ถนนสุทธิภิรมย์ ตำ�บลปากน้ำ� อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๘๙ ๐๖๐๐ ต่อ ๑๑๒ แฟกซ์ ๐ ๒๓๘๙ ๐๖๐๐ ต่อ ๑๑๐
ผลิตโดย
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โทรศัพท์ ๐ ๓๕๒๔ ๘๐๐๐ ต่อ ๘๕๓๓, ๘๕๕๕, ๘๕๕๖ แฟกซ์ ๐ ๓๕๒๔ ๘๐๐๐ ต่อ ๘๕๔๕
6
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Miss Nantida Kaewbuasai Advisory Board
Mr. Soontorn Pansangtong Deputy Chief Executive of Samutprakan PAO Mr. Piriya Tosakulwong Deputy Chief Executive of Samutprakan PAO Mr. Somlak Khuansa-nguan Deputy Chief Executive of Samutprakan PAO
Working Group
Mr. Tanawat Klamprommarach Deputy Chief Administrator of the Samutprakan PAO Miss Tongdee Kulsiri Head of the office of the PAO Mrs. Sureewan Sugapat Chief of General Administration Subdivision Miss Wachiraporn Boonsert Public Relations Officer, Professional Level Miss Chananrat Sommanasak Public Relations Officer, Professional Level Mrs. Paweena Sikham General Service Officer, Experienced Level Miss Woralak Maeksang Public Relations Assistant
Published By
Samutprakan Provincial Administrative Organization 29 Suthipirom Road, Paknam Subdistrict, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Province 10270 Tel. 0 2389 0600 ext. 112 Fax : 0 2389 0600 ext. 110
Created By
Mahachulalongkornrajavidyalaya Press Mahachulalongkornrajavidyalaya University Tel. 0 3524 8000 ext. 8533, 8555, 8556 Fax : 0 3524 8000 ext. 8545
Editor’s Talk
Welcome บนทางเดิินเล็็ก ๆ ที่่�นำำ�เราลััดเลาะเข้้าสู่่�ชุุมชนเก่่าแก่่ของ จัังหวััดสมุุทรปราการ สร้้างความตื่่�นตาตื่่�นใจให้้กัับทีีมงานของเรา ได้้ เ สมอ ด้้ ว ยเรื่่� อ งเล่่าจากปากของคนในชุุ ม ชนเอง หรืือจาก นัักประวััติศิ าสตร์์ผู้เ้� ก็็บข้้อมููลมาปะติิดปะต่่อเป็็นเรื่่อ� งราวจากหลัักฐาน ร่่องรอยที่่ยั� งั ปรากฏให้้เห็็น เรื่่อ� งราวจากย่่านเก่่าแก่่ หรืือวิิถีีของผู้ค้� นในอดีีต ที่่บ� างสถานที่่� อาจไม่่ทิ้้�งร่่องรอยเอาไว้้เด่่นชััด เพราะกาลเวลาที่่เ� ดิินไปข้้างหน้้านั้้น� ได้้พาเอาเรื่่อ� งราวต่่าง ๆ ที่่เ� คยเกิิดขึ้น้� มานัับหลายสิิบปีีจนนัับร้้อยปีี ให้้เลืือนหายไป แต่่เรื่่�องเล่่าที่่�ส่่งต่่อกัันมาจากอดีีตจนถึึงปััจจุุบัันนั้้�น คืือคุุณค่่าที่่�สมควรแก่่การเก็็บบัันทึึกไว้้เป็็นตััวหนัังสืือ เช่่นที่่�เราได้้ ถ่่ายทอดลงในเนื้้อ� หาของ @SAMUTPRAKAN ฉบัับนี้้� อีีกทั้้� ง ยัั ง พิิ เ ศษด้้ ว ยบทสัั ม ภาษณ์์ ชิ้้� น เอกซ์์ ค ลููซีีฟของ คุุณนัันทิิดา แก้้วบัวส ั าย นายกองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดสมุทุ รปราการ กัับเรื่่�องเล่่าครั้้�งยัังเยาว์์ที่่�สถานตากอากาศบางปูู แหล่่งท่่องเที่่�ยว สุุ ดคลาสสิิกของชาวสมุุทรปราการ ที่่� ยัังคงให้้ความรื่่�นรมย์์กัับ ผู้้�มาเยืือนจนปััจจุุบัันนี้้� รวมถึึงสถานที่่�ต่่าง ๆ ที่่�ยัังคงสอดแทรก ความน่่าค้้นหาเอาไว้้เช่่นเคย เพื่่�อให้้คุุณผู้้�อ่่านได้้มาตามรอยและ เพลิิดเพลิินกัับช่่วงเวลาในจัังหวััดสมุุทรปราการไปด้้วยกััน
facebook.com/ samut.magz.54
Small paths that lead into ancient communities of Samutprakan can always make our team excited. Believing that stories from the past to the present are worth cherishing and sharing in words, we present in this issue of @SAMUTPRAKAN the stories from real locals, historians who piece together traces of remaining evidence, and tales about the old districts or traditional ways of life that faded over decades or centuries. Moreover, we feature an exclusive interview with Nantida Kaewbuasia, Chief Executive of Samutprakan PAO, and her childhood memories at Bangpu Recreation Center, a classic tourist attraction in Samutprakan that still preserves its charm to visitors to these days. Plus, there are many more fascinating places waiting for our dear readers to follow, discover, and enjoy.
April - May 2021
7
Contents issue 26
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔ April - May 2021
Update
12 SAMUTPRAKAN BY NUMBER เรือ ่ งเล่าจากตัวเลข 14 PACKING UP จัดกระเป๋าเทีย ่ ว
ต่อยอด "ของเก่า " Enriching “old items”
16 THEN AND NOW วันวานสูป ่ จั จุบน ั
โรงเรียนนายเรือ ตระหง่านเหนือคุง้ น้�ำ เจ้าพระยา เพอื่ ปกป้องอธิปไตย Royal Thai Naval Academy Standing prominently at the Chao Phraya River bend to protect the sovereignty
18 ONE WORD
มอญใหม่ Mon Mai
20 PAKNAM STORY เกร็ดน่ารูเ้ มืองปากน้�ำ 22 PEACE PLACE
วัดพิชยั สงคราม การผสมผสาน ของศิลปะ ๒ ยุคสมัย Wat Phichai Songkhram Integration of art from two eras
26 CAN’T MISS
แหล่งท่องเทีย ่ วห้ามพลาด ภาพสวยไม่ซ�ำ้ ใคร กับมุมถ่ายภาพทีป่ อ้ มพระจุล Catch unique photos from new perspectives at Phra Chulachomklao Fort 30 IN CANVAS เส้้นสายลายศิิลป์์
Green Corner 34 GREEN STORY เรือ ่ งเล่าจากชุมชนสีเขียว
เพาะเลีย้ งเห็ดปลอดภัยในหมูบ่ า้ น เพอื่ คุณภาพชีวติ ทีด่ กี ว่า Mushroom Source by Mushroom Man Safe mushroom farming in the village for a better quality of life
38 WALKING IN THE NATURE เทีย ่ วธรรมชาติ
92 LOCAL BEST
กินลม ชมนก ตกหลุมรักพืน้ ทีส่ เี ขียว ทีส่ วนสาธารณะ เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษาฯ Enjoy a walk, glimpse on the birds, and fall in love 96 with the green area At His Majesty the King’s 84th Birthday Anniversary Park 44 COVER JOURNEY พร้อมเทีย ่ วเมืองสมุทรปราการ เทีย่ วชุมชนเก่าย้อนวันวาน Yesterday Once More
Feature
Lifestyle
88 OPEN KITCHEN คุยหน้าเตากับอาหารพืน ้ บ้าน
ยำ�หัวปลี กินดีอยูด่ ี แบบชาวสวนบางกะเจ้า Banana Blossom Salad Eat well and live well like farmers of Bang Kachao
BE OUR GUEST
118 DAY OFF วันว่างในสมุทรปราการ
เต้นรำ�ไปกับวัยเยาว์ ของสองพีน่ อ้ ง สราวุธ และ นันทิดา แก้วบัวสาย บนเวทีลลี าศทีบ่ างปู Dance along with the youth of the two siblings Sarawut and Nantida Kaewbuasai on the ballroom dance floor in Bangpu
Rest Day 108 CUISINE แนะนำ�ร้านเด็ด
114 CAF HOPPING
เปลไม้ถกั เชือก ภูมปิ ญ ั ญาโบราณทีบ่ างปลา Wooden swinging cradle with woven ropes Traditional local wisdom in Bang Pla
เพลินวิว เพลินพุง ที่ Krua Zapp Street Refreshing view and appetite at Krua Zapp Street
กิง่ กาณ ฟาร์ม คาเฟ่ Work From Caf จุดนัดหมายของคนทำ�งาน Ginggarn Farm Cafe Work from Caf
Goldenbetta Station เยี่่�ยมบ้้านเกิิดของปลากััดสีีทอง ตััวแรกของโลก Goldenbetta Station Visit the hometown of the world’s first Golden Betta 122 HAVE A NICE STAY แนะนำ�ทีพ ่ ก ั ในสมุทรปราการ
จากใจโฮมสเตย์ ทีพ ่ กั กลางดงหิง่ ห้อย Chak Chai Homestay Accommodation amidst the fireflies
126 PHOTOSCAPE มุมสวยสมุทรปราการ 130 MAP แผนทีท ่ อ ่ งเทีย ่ ว
..
Update . .. ..
SAMUTPRAKAN BY NUMBER PACKING UP THEN AND NOW ONE WORD PAKNAM STORY PEACE PLACE CAN’T MISS IN CANVAS
1010
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
ป่าชายเลนบางปูยามน้ำ�ลด ไม่ไกลจากชายสะพานวัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ ตำ�บลบางปูใหม่ อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ Bangpu Mangrove forest during low tide not far from the footbridge of Wat Si Chan Pradit, Bangpu-Mai Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan
April - May 2021
1111
SAMUTPRAKAN BY NUMBER
เรื่องราวน่ารู้ของจังหวัดสมุทรปราการ ที่บอกเล่าผ่านตัวเลขที่น่าสนใจ
Interesting facts
about Samutprakan via the number
๕๙ ปี
คืืออายุุประจำำ�การของเรืือหลวงแม่่กลอง เรืือรบที่่�ประจำำ�การยาวนานที่่�สุุดในประวััติิศาสตร์์ กองทััพเรืือไทย นัับตั้้�งแต่่ พ.ศ. ๒๔๘๐-๒๕๓๙ และยัังเป็็น เรืือรบที่่�ประจำำ�การนานเป็็นอัันดัับ ๒ ของโลก 59 years is the active duration of HTMS Mae Klong, the longest active warship in the Royal Thai Navy history (1937- 1996), and the second-longest in the world.
๔๐,๐๐๐ คน
คืือจำำ�นวนของผู้้�อพยพชาวมอญที่่�เข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐาน ในประเทศไทย ในสมััยรััชกาลที่่� ๒ (พ.ศ. ๒๓๕๘) ซึ่่�งถืือเป็็นการอพยพครั้้�งใหญ่่ที่่�สุุด ในประวััติิศาสตร์์ 40,000 persons refer to the number of Mon immigrants settling down in Thailand during King Rama II’s reign (1815), the largest migration in history.
12
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
๖๐ นิ้ว
คืือขนาดหน้้าตัักของ องค์์พระพุุทธชิินราชองค์์จำำ�ลองปางมารวิิชััย ซึ่่�งเป็็นพระคู่่�เมืืองปากน้ำำ�� มายาวนานกว่่า ๕๕ ปีีแล้้ว 60 inches is the lap width of the replicated Buddha image of Phra Buddha Chinnarat in Defeating the Mara attitude, long respected in Paknam city over 55 years.
๑๗๙.๕ เมตร
คืือความสููงของอุุทยานการเรีียนรู้้� และหอชมเมืืองสมุุทรปราการ แหล่่งเรีียนรู้้�ทางด้้านประวััติศิ าสตร์์ เกี่่ย� วกัับจัังหวััดสมุทุ รปราการ โดยจััดทำ�ำ เป็็นพิิพิธิ ภััณฑ์์ นิิทรรศการ ห้้องสมุุด คลัังข้้อมููล และอื่่น� ๆ 179.5 meters is the height of the Learning Park and historical learning center about Samutprakan. It houses museums, exhibitions, libraries, banks of knowledge, etc.
๒๖
คืือจำำ�นวนป้้อมปราการ เสริิมทััพยุุทธนาวีี ที่่�สร้้างขึ้้�นในพื้้�นที่่�บริิเวณตั้้�งแต่่ ปากแม่่น้ำำ�� อำำ�เภอเมืืองสมุุทรปราการ ไปจนถึึงอำำ�เภอพระประแดง จัังหวััดสมุุทรปราการ 26 is the number of fortresses built to strengthen the naval force from the river mouth in Mueang Samutprakan to Phra Pradaeng District, Samutprakan.
๒๐ ล้าน
๑๐ หมู่บ้าน
คืือจำำ�นวนชุุมชนชาวมอญในอำำ�เภอพระประแดง จัังหวััดสมุุทรปราการ ที่่จ� ะเวีียนกัันเป็็นประธาน จััดประเพณีีแห่่หงส์์ธงตะขาบขึ้้�น ในทุุกวัันที่่� ๑๓ เมษายนของทุุกปีี เพื่่�อเฉลิิมฉลองให้้กัับครั้้�งที่่�พระพุุทธเจ้้าเสด็็จกลัับลงมา จากชั้้�นดาวดึึงส์์ 10 villages refer to Mon communities in Phra Pradaeng District, Samutprakan, taking turns to host the Swan and Centipede Flag Procession every April 13 to celebrate the time Lord Buddha descended from heaven.
คืือมููลค่่าการซื้้�อขายหงส์์ฟ้้า ไก่่ดัังพัันธุ์์�เหลืืองหางขาว ในตำำ�บลบางปลา อำำ�เภอบางพลีี จัังหวััดสมุุทรปราการ ไก่่พัันธุ์์�นี้้�มีีหางที่่�สวยงาม ลัักษณะดีี เข้้าตำำ�รา พระเจ้้า ๕ พระองค์์ของสมเด็็จพระนเรศวรมหาราช จึึงได้้การยอมรัับ จากผู้้�คนในแวดวงไก่่ประกวดว่่า เป็็นสุุดยอดของไก่่สายพัันธุ์์�หายาก 20 million is the value of a white-tailed yellow rooster in Bang Pla Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan. With a gorgeous tail and auspicious features similar to King Naresuan’s rooster, it is praised among beautiful rooster contests as the ultimate rare breed.
๙
๙ คืือจำำ�นวนสถานีีรถไฟสายสีีเขีียว ที่่�ใช้้เดิินทางท่่องเที่่�ยวในสมุุทรปราการแบบครอบคลุุม ประกอบด้้วย สถานีีสำำ�โรง สถานีีปู่่�เจ้้า สถานีีช้้างเอราวััณ สถานีีโรงเรีียนนายเรืือ สถานีีปากน้ำำ�� สถานีีศรีีนคริินทร์์ สถานีีแพรกษา สถานีีสายลวด และสถานีีเคหะฯ 9 is the number of BTS Skytrain Green Line stations with a comprehensive network across Samutprakan: Samrong, Pu Chao, Chang Erawan, Royal Thai Naval Academy, Paknam, Srinagarindra, Phraeksa, Sai Luat, and Kheha. April - May 2021
13
PACKING UP
ต่อยอด "ของเก่า "
Enriching “old items”
มีน้อยสถานที่มากในวัน นี้ ที่เราจะสามารถใช้คำ�ว่าเดินเล่น เตร็ดเตร่ เพราะการพัฒนาโครงสร้างสังคมนั้นเปลี่ยนไป ไม่ได้มี ความเป็นหมู่บ้าน หรือชุมชนอย่างเช่นที่เคยเป็นมา แต่ก็ยังมีบ้าง ในบางพืน้ ที่ ทีก่ ารพัฒนาโครงสร้างยังควบคูไ่ ปกับการอนุรกั ษ์ หรือ รักษาความเป็นชุมชนให้คงมีชีวิต ทำ�ให้สามารถทำ�หน้าที่เป็นทั้งที่ พำ�นักของผู้คน และเป็นพิพิธภัณฑ์ท่ยี ังมีลมหายใจ เพราะยังมีชีวิต ของผูค้ นดำ�เนินอยูจ่ ริงเช่นในจังหวัดสมุทรปราการ Packing Up ฉบั บ นี้ เราเดิ น เข้ า ชุ ม ชน ยกกระบวนการ Up-cycle หรือการยกคุณค่าขยะหรือของเก่า ให้แปลงร่างเป็นของใช้ ในรูปแบบใหม่ ทีย่ งั มีชวี ติ และมีดีไซน์เข้ากับยุคสมัย และกลายเป็น แฟชัน่ ตามรูปแบบและความหมายจากวัสดุแต่ละชนิด
หน้ากากผ้าตัดเย็บจากเส้นใย ของขยะพลาสติกในทะเล
๑ ตะกร้าวัสดุเหลือใช้ ใส่ของ
ใครยังใช้ถุงพลาสติก หรือถือถุงพลาสติกในวันนี้ ดูเป็นเรื่องแปลก ไปแล้ว เพราะความตระหนักในการใช้ถุงใส่ของต่าง ๆ ในชีวิต ประจำ�วันนั้น มีทางเลือกมากมายที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น อย่างเช่นถุงผ้า ตะกร้าสานจากเส้นพลาสติกหรือเส้นไนลอนเหลือใช้ จากอุตสาหกรรมอืน่ หรือจะเป็นตะกร้าทีท่ �ำ จากวัสดุธรรมชาติอย่าง ใบจากสาน ทีน่ อกจากจะสามารถเก็บของและใส่ของทีซ่ อ้ื หาระหว่างทาง ในการเดินเข้าชุมชนไว้ด้วยกันแล้ว ยังสร้างความสนุกให้ผู้ใช้ใน การเลือกแบบและวัสดุตามความชอบให้เข้ากับทริปการเดินทางด้วย Upcycled storage basket
Carrying around plastic bags seems odder these days, thanks to the greater awareness of daily plastic bag waste and eco-friendly alternatives. Fabric bags, wicker baskets from leftover plastic, nylon straps from other industries, or natural materials like nipa-palm leaves make excellent shopping storages while traveling to local communities. They allow users to have fun matching their favorite patterns and materials for each trip. 14
Nowadays, there are few places for a leisure stroll due to social structural development, causing communitiness to subside. Fortunately, in some areas, the structural development occurred in parallel with conservation, keeping the communitiness alive, serving as a sanctuary for villagers and a living museum as in Samutprakan. In this issue, Packing Up walks you to the community to discover more about up-cycling or enriching waste or old materials by transforming them into a new cheerful, and fashionable product based on the pattern and meaning of each material.
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
เรายังคงต้องใช้ชีวิตอยู่กับการป้องกันตัวเองไปอีกสักระยะ สิ่งที่ ยังอยู่ ในชีวิตประจำ�วันของเราทุกคนจึงหนี ไม่พ้นหน้ากากปิดปาก และจมูก กลุม่ สมาคมนักดำ�น้�ำ PADI ได้ท�ำ หน้ากากทีน่ า่ สนใจออก มาจากขวดพลาสติกทีล่ อยเป็นขยะในทะเล โดยใช้เส้นใยรีไซเคิลจาก ขวดพลาสติกมาทอเป็นผ้า นอกจากจะเป็นการรักษาธรรมชาติทาง ทะเลแล้ว ยังเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพราะไม่ต้องผลิตเส้นใยใหม่ สามารถซักใช้ได้หลายครั้ง พร้อมมีแผ่นกรองอากาศสำ�หรับดักฝุ่น PM ๒.๕ ด้วย ได้ประโยชน์ ๓ ต่อ ทัง้ ความคิดสร้างสรรค์ สิง่ แวดล้อม และสุขภาพ
๒ Fabric face masks from ocean plastic waste
Since we still need to live our life with guards on for a long while, face masks become our daily essentials. The Professional Association of Diving Instructors (PADI) created a fascinating line of face masks from recycled polyester from plastic bottles in the ocean. They help conserve the marine environment and are environmentally friendly, not requiring new fiber production, washable, reusable, and come with PM 2.5 carbon filters, a triple-win for creativity, environment, and health.
ขยะ-ฮิปปี้ รองเท้ามีสไตล์
การเลื อ กใช้ เ ทคโนโลยี ม าปรั บ ให้ เ ป็ น ประโยชน์ สูง สุ ดในงาน ออกแบบและของใช้ ไม่ใช่เรือ่ งของคนกลุม่ เล็ก ๆ เพราะบริษัทใหญ่ ทีผ่ ลิตรองเท้ากีฬาก็ยน่ื มือเข้ามาดูแลรับผิดชอบสิง่ แวดล้อมด้วยกัน กับการเลือกใช้วสั ดุขยะหรือของเหลือใช้มาผลิตเป็นรองเท้าแฟชัน่ ระดับโลก หนึ่งในนั้นคือยี่ห้อ Nike ที่เลือกใช้วัสดุท่เี ป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม ทัง้ การใช้เส้นใยโพลีเอสเตอร์จากขวดพลาสติก วัสดุ เหลือใช้จากการผลิตรองเท้าคู่อ่ืน ๆ ผสานกับเทคโนโลยีทำ�ให้ เกิดเป็นรองเท้าที่สวมใส่สบาย น้ำ�หนักเบา ในรูปลักษณ์ท่ีเป็น เอกลักษณ์ และยังทำ�ให้เห็นวัสดุท่ีใช้ ทำ�ให้รสู้ กึ ถึงข้อแตกต่างว่า รองเท้าแต่ละคูท่ เ่ี ลือกใส่นน้ั มีรายละเอียดไม่เหมือนใคร Hip and stylish sneakers from waste
รองเท้าแตะจากเศษ “ขยะ”
รองเท้าแตะฟองน้ำ�ที่ลอยเป็นขยะมากมายในท้องทะเลไทย ได้รับการแปลงร่างและสร้างชีวิตใหม่ ให้เป็นงานศิลปะ รองเท้ า แตะฟองน้ำ � สี สั น สดใสคู่ ใ หม่ แต่ ล ะคู่ น้ั น ทำ � จาก ขยะรองเท้าแตะในทะเลจำ�นวน ๕ กิโลกรัม เป็นการทำ�งาน ร่วมกันของบริษัทเอกชน ผู้ผลิตรองเท้านันยางสุดคลาสสิก ทีเ่ รารูจ้ กั และใส่กนั คูเ่ ท้า กับทะเลจร (Tlejourn) ทีอ่ อกแบบ ขยะรองเท้าแตะให้เป็นรองเท้าแตะคู่ ใหม่ ภายใต้แบรนด์ Khya (ขยะ) ถึงน้ำ�หนักรองเท้าจะไม่เบาเหมือนแตะทั่วไป แต่ ก็ เ รี ย กว่ า ใส่ ส บายและเป็ น รองเท้ า ที่ มี เ อกลั ก ษณ์ เพราะแต่ละคูน่ น้ั จะมีสแี ละลายที่ไม่ซ�ำ้ กัน
Applying the right technology for maximum benefits in design and appliances is not restricted to a small group of people as big companies of athletic shoes jump in to save the environment by sourcing waste materials to create the world’s fashionable athletic shoes. Nike combines eco-friendly materials such as polyester from recycled plastic water bottles and leftover materials from producing other athletic shoes with innovative solutions to craft comfortable, lightweight, and one-of-a-kind shoe designs that reveal the raw materials for each pair.
๔
Flip-flops from “trash”
An incredible number of trashed flip-flops in Thai oceans have been transformed and given a new life as brand-new pairs of artistic and colorful flip-flops, each made of five kilograms of those trashed flip-flops. Nanyang, a classic canvas maker, cooperated with Tlejourn under the brand called Khya (Thai for trash) to design trashed flip-flops into new flip-flops. Khya flip-flops may not be as light as others but are comfortable and unique with individual colors and patterns. April - May 2021
15
THEN AND NOW
โรงเรียนนายเรือ
ตระหง่านเหนือคุ้งน้ำ�เจ้าพระยาเพื่อปกป้องอธิปไตย
Royal Thai Naval Academy
Standing prominently at the Chao Phraya River bend to protect the sovereignty ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประเทศไทยต้องรับมือกับกองก�ำลังทางเรือของต่างชาติ ที่มุ่งหวัง จะยึดเอาประเทศไทยเป็นอาณานิคม ก�ำลังทางเรือของไทยในยุคนัน้ ไม่สามารถต่อสูส้ กัดกัน้ ด้วยมีก�ำลังรบด้อยกว่า ท�ำให้ไทยต้องสูญเสีย ดินแดนไปถึง ๑ ใน ๓ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จึงส่งพระราชโอรส ไปศึกษาวิชาการทหารเรือ ณ ประเทศอังกฤษ และทรงก่อตั้ง โรงเรียนนายเรือขึ้น เพื่อเป็นรากฐานส�ำคัญในการพัฒนาก�ำลังพล ของกองทัพเรือให้มขี ดี ความสามารถในการปกป้องอธิปไตยทางทะเล มากยิง่ ขึน้ 16 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
During the reign of His Majesty King Chulalongkorn, foreign naval armed forces desired to colonize Thailand. However, the Thai navy was inferior and failed to intercept, causing Thailand to lose over one-third of the kingdom. Thus, King Rama V sent his sons to study naval science in England and founded the Royal Thai Naval Academy as a significant foundation to enhance the competence of the Thai navy in safeguarding marine sovereignty.
ก่อนหน้านั้นการเรียนการสอนนักเรียนนายเรือต้องโยกย้าย สถานที่ ไ ปมา ตั้ ง แต่ ใ ช้ เ รื อ พระที่ นั่ ง มหาจั ก รี และเรื อ หลวง มูรธาวสิตสวัสดิ์ เป็นสถานที่ฝึกสอนชั่วคราว ต่อมาย้ายไปอยู่ที่ สวนอนันตอุทยาน ธนบุรี และย้ายมาอยูท่ ตี่ กึ สุนนั ทาลัย ปากคลองตลาด จนกระทั่่�งวัันที่่� ๒๐ พฤศจิิกายน พ.ศ. ๒๔๔๙ พระบาทสมเด็็จ พระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััวเสด็็จพระราชดำำ�เนิินมาทรงเปิิดโรงเรีียน นายเรืือที่่�พระราชวัังเดิิมซึ่่�งปััจจุุบัันเป็็น ที่่�ตั้้�งของกองบััญชาการ กองทััพเรืือ และทรงลงลายพระราชหััตถเลขาในสมุุดเยี่่�ยมโรงเรีียน นายเรืือเป็็นข้้อความประวััติศิ าสตร์์ “การทหารเรืือสยาม” หยั่่�งราก แห่่งเกีียรติิยศและภาระหน้้าที่่�ของทหารเรืือว่่า “วัันที่่� ๒๐ พฤศจิิกายน รััตนโกสิินทร์์ศก ๑๒๕ เรา จุุฬาลงกรณ์์ ปร ได้้มาเปิิดโรงเรีียนนี้้� มีีความปลื้้�มใจซึ่่�งได้้เหนการทหารเรืือมีีรากหยั่่�ง ลงแล้้ว จะเปนที่่�มั่่�นสืืบไปในภายน่่า” ใน พ.ศ. ๒๔๙๕ ได้้ย้า้ ยโรงเรีียนนายเรืือมาที่่� ป้้อมเสืือซ่่อนเล็็บ ถนนสุุขุุมวิิท ตำำ�บลปากน้ำำ�� อำำ�เภอเมืืองสมุุทรปราการ จัังหวััด สมุุ ท รปราการ จนกระทั่่�งปัั จ จุุ บัั น ซึ่่�งในภาพนี้้�จะเห็็ น ความ เปลี่ยนแปลงจากเดิมโดยตึกด้านซ้ายและด้านขวาหายไป รวมทั้ง ร่องรอยของรถรางสายปากนำ�้ ทีป่ จั จุบนั กลายเป็นรถไฟฟ้ามาแทนที่ และมีสถานีโรงเรียนนายเรือ หนึ่งในโครงการส่วนต่อขยายช่วง แบริ่ง-สมุทรปราการ ซึ่งเปิดให้บริการมาตั้งแต่วันที่ ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ตัง้ อยูด่ า้ นหน้าโรงเรียนนายเรือ
Initially, the naval academy used HTMS Prathinung Mahachakri and HTMS Muratha Wasitsawat as temporary education facilities, relocated to Ananta Uthayan Park in Thonburi, and Sunanthalai Building at Pak Khlong Talat. On November 20, 1906, His Majesty King Chulalongkorn inaugurated the Royal Thai Naval Academy at the old palace (currently the Royal Thai Navy Headquarter) and wrote in the guest book: “On November 20, 1906, I, Chulalongkorn, have come to inaugurate this Academy. I am profoundly pleased to see that the Navy has its foundation established. It will constitute a firm base henceforth.” In 1952, the Naval Academy was relocated to Suea Son Lep Fort, Sukhumvit Road, Paknam Sub-District, Mueang Samutprakan, Samutprakan. At present, the left and right buildings have disappeared. Also, Paknam trams have been replaced with BTS sky trains with the Royal Thai Naval Academy Station as a part of the Bearing - Samutprakan line extension project, which opened on December 6, 2018, in front of the Naval Academy. April - May 2021
17
ONE WORD
มอญใหม่่
Mon Mai
ในอดีีต อำำ�เภอบางพลีีมีีประชากรอาศััยอยู่่�ด้้วยกััน ๓ กลุ่่�ม คืือ คนไทย คนมอญ (สมััยก่่อนเรีียกรามััญ ตามคำำ�ศััพท์์โบราณ) และคนลาว ซึ่่ง� แม้้จะมาจากต่่างถิ่่น� ต่่างที่่มา � แต่่ทั้้�ง ๓ กลุ่่ม ก็ � ส็ ามารถ อยู่่ � ร่่ วมกัั นได้้ อ ย่่างสัั น ติิ อัั น นำำ � มาซึ่่� ง ประเพณีี ท้ ้ อ งถิ่่� น อัั น ดีี ง าม ในรููปแบบต่่าง ๆ ที่่�แสดงถึึงความอบอุ่่�นและสามััคคีีของชุุมชน เช่่น ประเพณีีรับั บััว กระทั่่ง� ปีี พ.ศ. ๒๓๕๘ ในสมััยพระบาทสมเด็็จ พระพุุทธเลิิศหล้้านภาลััย (รััชกาลที่่� ๒) เกิิดเหตุุการณ์์สำำ�คััญ ครั้้�งใหญ่่ในพม่่าขึ้้�น โดยพระเจ้้าประดุุงผู้เ้� ป็็นกษััตริิย์์พม่่าในเวลานั้้�น ต้้องการสร้้างพระเจดีีย์์องค์์ใหญ่่ที่่�สุุดในโลกขึ้้�นที่่�เมืืองมััณฑะเลย์์ (อดีีตเมืืองหลวงของพม่่า และเป็็นเมืืองใหญ่่อัันดัับ ๒ รองจากย่่างกุ้้�ง) พระเจ้้าประดุุงจึึงออกคำำ�สั่่ง� ให้้เกณฑ์์คนพม่่าและคนมอญทั้้ง� ประเทศ มาช่่วยกัันสร้้างพระเจดีีย์์องค์์ที่่�ว่่านี้้� นำำ�มาซึ่่�งความเดืือดร้้อนของ In the past, there were three groups of population in ประชาชนกัันทั่่�วหน้้า ไม่่เป็็นอัันทำำ�มาหากิิน เพราะต้้องใช้้แรงและ Bang Phli District: Thai, Mon (formerly known as Raman), and เวลาทั้้�งหมดไปกัับการสร้้างพระเจดีีย์เ์ พื่่อ� ให้้กษััตริิย์์พอใจ Laotian. Despite different hometowns, they lived together in harmony and brought along various forms of gracious folk traditions that reflected their warmth and unity, for example, the Lotus Receiving Festival. It was not until 1815, during King Rama II’s reign, that King Bodawpaya (Padung) of Myanmar wanted to build the world’s largest pagoda in Mandalay (the former capital of Myanmar and the second-largest city next to Yangon). His recruitment of Myanma and Mon people across the country for the construction had caused great suffering to the people since they could not make their livelihood, wasting all their energy and time building the pagoda to please the king. 18
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
ในที่่�สุุดชาวมอญส่่วนหนึ่่�งเริ่่�มทนไม่่ไหว จึึงพากัันอพยพ เข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐานในประเทศไทยผ่่านทางจัังหวััดตาก รััชกาลที่่� ๒ ทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ ให้้จััดที่่�อยู่่�ที่่�ทำำ�กิินให้้กัับคนมอญกลุ่่�มนี้้� ทั้้ง� ที่่จั� งั หวััดปทุุมธานีี จังั หวััดนนทบุุรีี และจัังหวััดตาก โดยให้้เรีียก ชาวมอญกลุ่่มนี้้ � ว่่า � “มอญใหม่่” ในเวลาเดีียวกัันนั้้�นเอง ประเทศไทยก็็กำำ�ลัังอยู่่� ในช่่วงของ การสร้้างเมืืองนครเขื่่อ� นขัันธ์์ (อำำ�เภอพระประแดงในปััจจุุบันั ) รััชกาลที่่� ๒ ทรงพระกรุุณาโปรดเกล้้าฯ ให้้กลุ่่�มมอญใหม่่ส่่วนหนึ่่�งอพยพจาก จัังหวััดปทุุมธานีี เข้้ามาอยู่่�ที่่�เมืืองใหม่่แห่่งนี้้� กระทั่่�งเวลาผ่่านไป เข้้าสู่ส�่ มััยรััชกาลที่่� ๓ กลุ่่มม � อญใหม่่ที่่�กระจายตััวอยู่่�ในนครเขื่่อ� นขัันธ์์ ก็็ ข ยายพื้้� น ที่่� ทำำ � มาหากิินไปอยู่่ � ต ามริิมคลองสำำ � โรงกัั น มากขึ้้� น โดยประกอบอาชีีพเกษตรกรรม ทำำ�ไร่่ ทำำ�นา และเลี้้ย� งควาย
Eventually, some Mon decided to migrate and settle down in Thailand through Tak. King Rama II graciously bestowed them land to make a living in Pathumthani, Nonthaburi, and Tak, regarding them as “Mon Mai (or New Mon)”. At the time, Thailand was also building Nakhon Khuean Khan City (current Phra Pradaeng District). King Rama II royally permitted a new group of Mon immigrants from Pathumthani to reside in this new city. By King Rama III’s reign, the new Mon, who once scattered in Nakhon Khuean Khan, had expanded their living ground along Khlong Samrong, farming and raising buffaloes for a living. April - May 2021 19
PAKNAM STORY
เกร็ดน่ารู้เมืองปากน้ำ�
Paknam Tips
หอดููดาว Unseen แห่่งโรงเรีียนนายเรืือ
ด้้วยวััตถุุประสงค์์ด้า้ นการศึึกษาของนัักเรีียนนายเรืือ ที่่�ต้อ้ งการ ศึึกษาความสัั มพัั น ธ์์ ร ะหว่่างการหมุุนของโลกกัั บ การโคจรของ ดวงอาทิิตย์์ ดวงจัันทร์์ ดาวฤกษ์์ และดาวนพเคราะห์์ กรมยุุทธศึึกษา ทหารเรืือจึึงได้้จััดซื้้�อท้้องฟ้้าจำำ�ลองจาก Pitzlaboratokies Inc. สหรััฐอเมริิกา ในปีี พ.ศ. ๒๔๙๖ เมื่่�อถึึงปีี พ.ศ. ๒๕๐๑ โรงเรีียนนายเรืือจึึงได้้สร้้างอาคาร หอดาราศาสตร์์ขึ้้�น และได้้มีีการรวบรวมอุุปกรณ์์ทางดาราศาสตร์์ ทั้้ง� หมดมาไว้้ด้ว้ ยกัันที่่นี่่� � ประกอบด้้วย ตััวหอ โดมตรวจดาว กล้้องดููดาว ท้้องฟ้้าจำำ�ลอง เครื่่�องฉายดาว ถืือว่่าเป็็นการก่่อสร้้างหอดููดาว แห่่งแรกในประเทศไทย ปััจจุุบันั มีีการปรัับเปลี่่ย� นชั้้น� ล่่างของอาคาร เป็็นพิิพิิธภััณฑ์์ จััดแสดงเครื่่�องมืือเดิินเรืือต่่าง ๆ และมีีนิิทรรศการ เกี่่ย� วกัับการเดิินเรืือดาราศาสตร์์ และดาราศาสตร์์ เปิิดให้้ประชาชน ทั่่ว� ไปเข้้าชม โดยไม่่เสีียค่่าเข้้าชม หากต้้ อ งการเข้้ า ชมสามารถติิดต่่อล่่วงหน้้ า โทรศัั พ ท์์ ๐ ๒๔๗๕ ๓๙๓๙, ๐ ๒๔๗๕ ๓๙๗๒, ๐ ๒๔๗๕ ๗๔๐๓ และ ๐ ๒๔๗๕ ๓๘๐๐ 20
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Unseen Observatory of the Royal Thai Naval Academy
As an educational objective, the cadets had to study the relationship between the earth’s rotation and the orbits of the sun, moon, fixed stars, and planets. Hence, the Naval Education Department purchased a planetarium from Pitzlaboratokies Inc., the USA in 1953. In 1958, the Royal Thai Naval Academy built an astronomy observatory and gathered all astronomical equipment such as an observatory, an observation dome, telescopes, a planetarium, and star projectors. It is regarded as the first observatory in Thailand. The lower floor currently serves as a museum of marine navigation tools with an exhibition of celestial navigation and astronomy, open for the public free of charge. To visit, please make a prior phone contact at 0 2475 3939, 0 2475 3972, 0 2475 7403, and 0 2475 3800
leaves. The sap from the flower bud must first be marinated in a jar over 1-2 months before featuring in chili dipping for dried salted stingray or Sour Soup with Mullet or Sea Bass. วััดตำำ�หรุุ สวยงามดัังสวรรค์์จำำ�แลง
เรื่่�องมหััศจรรย์์ของ “จาก”
“จาก” เติิบโตได้้ ดีี ใ นช่่วงที่่� มีี น้ำำ� � จืื ด และน้ำำ� � กร่่อยปนกัั น เราจึึงเห็็นจากเกิิดขึ้้�นชุุกชุุมจนพบได้้ทั่่�วไปแถวปากน้ำำ�� บางปะกง ตลอดขึ้้�นไปจนถึึงฉะเชิิงเทรา ความพิิเศษเฉพาะตััวของจาก คืือเป็็น พืืชจำำ�พวกปาล์์มเพีียงชนิิดเดีียวที่่�มีีลำำ�ต้้นอยู่่�ใต้้ดิิน จากที่่�เราเห็็นว่่า ต้้นไม่่สููงนั้้น� แท้้จริิงแล้้วอาจสููงถึึง ๙ เมตร โดยไม่่มีีส่่วนของลำำ�ต้้น ให้้เห็็นเลย เพราะที่่เ� ราเห็็นนั้้น� คืือส่่วนใบและช่่อดอกเท่่านั้้�น และยัังเป็็น พืืชเก่่าแก่่ เคยมีีผู้พ้� บซากดึึกดำำ�บรรพ์์ของจาก ซึ่่ง� อายุุถึึง ๗๐ ล้้านปีี เลยทีีเดีียว คนไทยใช้้ประโยชน์์จากจากมาแต่่ครั้้�งโบราณกาล คนโบราณ ถืือกัันว่่า คนที่่จ� ะมีีอาชีีพทำำ�ป่่าจากนั้้น� ถ้้าอายุุไม่่ถึึง ๓๐ ปีี ห้ามทำ ้ �ำ เพราะจะอายุุสั้้�น หรืือชีีวิิตไม่่รุ่่�งเรืือง จนถึึงปััจจุุบัันจากก็็ยัังได้้รัับ ความนิิยม เช่่น ใบจาก ใช้้มุุงหลัังคา กัันแดดกัันฝนได้้เป็็นอย่่างดีี ใช้้ห่่ออาหารหรืือทำำ�ขนมจากที่่ร� สชาติิอร่่อย กลิ่่น� หอม ใช้้ใบห่่อยาสููบ ส่่วนน้ำำ�� เลี้้ย� งจากงวง (ช่่อดอก) ของจาก จะต้้องใช้้กระป๋๋องพลาสติิก เปิิดปากกว้้าง ไปรอน้ำำ�� ที่่ห� ยดไว้้ แล้้วนำำ�มาหมัักในไห ทิ้้�งไว้้ประมาณ ๑-๒ เดืือน ก็็มีคี นนิิยมนำำ�ไปทำำ�น้ำำ�� พริิกจิ้้มกั � บั ปลากระเบนเค็็ม หรืือไม่่ ก็็นำ�ำ ไปต้้มกับั ปลากระบอกหรืือปลากะพง เรีียกว่่า ปลาต้้มส้ม้ The Miracle of “Nipa Palm”
“Nipa palm” (or Chak) grows well where fresh and brackish water meet, hence, particularly abundant in Paknam, Bangpakong, and upwards to Chachoengsao. It is the only palm species with the trunk under the ground that a ninemeter-tall nipa-palm tree can seem short because no tree trunk is visible only the leaves and flowers can be seen. Moreover, the nipa palm is an ancient plant whose fossil was reported 70 million years old. Thai people have long benefited from nipa palm. As Chak also means depart, an ancient belief forbade people younger than 30 years old to run nipa-palm forest for a living to avoid a short or unsuccessful life. Today, nipa palm leaves remain popular for roof thatching, food wrapping, making the delicious and aromatic Khanom Chak, and wrapping tobacco
อีีกจุุดน่่าเยืือนที่่พ� ลาดไม่่ได้้ของจัังหวััดสมุุทรปราการ คืือการ แวะไปไหว้้พระที่่�วััดตำำ�หรุุ เพราะวััดนี้้�มีีพระมหาเจดีีย์์รััตนมงคล สวยงามโดดเด่่นเห็็นแต่่ไกล เพราะอยู่่ติิดกั � บั ถนนใหญ่่เส้้นตำำ�หรุุ-บางพลีี ภายในมีีวิิหารแก้้ว ๓ ชั้้�น งามวิิจิิตร ทุุกชั้้น� เปล่่งประกายระยิิบระยัับ เพราะเป็็นกระจกทั้้ง� หมด และเป็็นที่่ป� ระดิิษฐานหลวงพ่่อประกายมงคล องค์์จำ�ำ ลอง พระหยกสีีเขีียวมรกต รวมทั้้�งรููปปั้้น� พระอาจารย์์ต่่าง ๆ ที่่โ� ด่่งดัังในอดีีต การสร้้างวิิหารที่่�สวยงามเกิินธรรมดานี้้� เกิิดจากแรงจููงใจ ที่่ต้� อ้ งการให้้เด็็กและเยาวชนรู้้�จักั การทำำ�บุุญและเป็็นคนดีี ทางวััดยังั ได้้ จััดแสดงหุ่่�นซููเปอร์์ฮีีโร่่จำำ�นวนมากที่่�บริิเวณด้้านหน้้าวิิหารหลวงพ่่อ ประกายมงคล ไหว้้พระเสร็็จสามารถเดิินไปให้้อาหารปลา อาหารเต่่า กัันต่่อได้้ เรีียกว่่ามาเที่่�ยววััดทั้้�งครอบครััว ก็็ได้้ทั้้�งบุุญได้้ทั้้�งความ ตื่่น� ตาตื่่�นใจในจุุดเดีียวกััน
Wat Tam Ru, a paradise in disguise
Another must-visit in Samutprakan is Wat Tam Ru with the magnificent Phra Maha Chedi Rattana Mongkhon on Tam Ru- Bang Phli Road. The temple houses a glistening three-story crystal vihara, surrounded with glass mosaics on every floor. It enshrines a replicated Buddha image of Luang Pho Prakai Mongkhon, an emerald Buddha image, and statues of famous master monks from the past. To inspire children and youths to learn about merit-making and being noble, the temple came up with such extraordinary construction and the display of figures of superheroes in front of the vihara of Luang Pho Prakai Mongkhon. Here, visitors can enjoy feeding the fish and turtles with the family to fulfill the merits and excitement in one stop. April - May 2021 21
PEACE PLACE
วัดพิชัยสงคราม
การผสมผสานของศิลปะ ๒ ยุคสมัย
Wat Phichai Songkhram Integration of art from two eras
ถ้้าเทีียบวััดพิิชััยสงครามกัับวััดอีีกหลาย ๆ แห่่งในจัังหวััด สมุุทรปราการแล้้ว ความสวยงามของวััดแห่่งนี้้� อาจไม่่ได้้เด่่น สะดุุดตาถึึงขั้้�นต้้องจดไว้้ในลิิสต์์ห้้ามพลาด แต่่หากคุุณได้้ลองฟััง ที่่�มาที่่� ไปของวััดพิิชััยสงคราม ซึ่่�งตั้้�งอยู่่� ในตำำ�บลปากน้ำำ��แห่่งนี้้�แล้้ว เราเชื่่�อเหลืือเกิินว่่า ภายหลัังจากที่่�อ่่านจบ หลายคนจะรีีบคว้้า กล้้องถ่่ายรููป ขัับรถออกจากบ้้าน เพราะอยากมาเห็็นวััดแห่่งนี้้� ด้้วยตาตััวเอง สิ่่ง� แรกที่่ส� ร้้างความประทัับใจให้้กับั เรา คืือคำำ�เขีียนประดัับตกแต่่ง ไว้้ตรงบางจุุดของหน้้าจั่่ว� ซึ่่ง� มีีงานแกะสลัักลวดลายเทพพนมประดัับอยู่่� ด้้านใต้้ของเทพพนมนั้้�นมีีประโยคเขีียนไว้้ว่่า “มาดีี-ไปดีี” บอกถึึง ความสััมพัันธ์์ของผู้้�คนตามแบบวิิถีี ไทย เวลาเจอกััน เราก็็ทัักทาย พอจากกััน เราก็็ยกมืือไหว้้ อำ�ำ ลา และอวยพร
22
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Compared to other temples in Samutprakan, Wat Pichai Songkhram may not appear as mesmerizing to be included in the must-visit list. However, soon after reading its background in Paknam Sub-District, we honestly believe many would instantly grab their camera and drive out wishing to see the temple with their own eyes. Our first impression was the quote on the pediment decorated with carved angels in adoration. Under the angels, it said, “Arrive well. Leave Well.” It shows the Thai relationship between people. When we meet, we greet. When we depart, we press our palms together and bid farewell wishing the other good luck.
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ผ่านโครงสร้างของการผสมผสาน ระหว่างศิลปะสมัยอยุธยาและกรุงรัตนโกสินทร์ The historical evidence through the structure with integrated Ayutthaya and Rattanakosin arts.
April - May 2021
23
วััดพิิชััยสงคราม เป็็นวััดที่่�สร้้างขึ้้�นในสมััยกรุุงศรีีอยุุธยา เป็็นวััดที่่�มีีจุุดเด่่นในการผสมผสานระหว่่างศิิลปะสมััยอยุุธยาและ สมััยกรุุงรััตนโกสิินทร์์ไว้้ด้ว้ ยกัันได้้อย่่างลงตััว วััดแห่่งนี้้ตั้้� ง� อยู่่ภ� ายใน พื้้น� ที่่ข� องชุุมชน ด้้านหน้้าวัดั เป็็นตลาด และสุุดตลาด ฝั่่�งตรงข้้ามวัด ั ก็็จะเป็็นท่่าน้ำำ��ข้้ามไปยัังพระสมุุทรเจดีีย์์ ซึ่่�งแม้้รอบนอกของตััววััด จะดููพลุุกพล่่านอยู่่สั� กั หน่่อยด้้วยชุุมชนและผู้้�คนที่่อ� าศััยอยู่่�ในเขตเมืือง แต่่เมื่่�อเดิินเข้้ามาภายในตััววััดก็็กลัับสงบเงีียบ และการถููกรายล้้อม ด้้วยต้้นไม้้นานาพรรณ ชวนให้้นึึกถึึงวััดที่่ตั้้� ง� อยู่่ต� ามพื้้�นที่่ช� นบทห่่างไกล ของประเทศไทย ทั้้�ง ๆ ที่่�อยู่่เ� พีียงปากน้ำำ�� นี่่เ� อง วััดพิิชัยั สงครามนี้้�ชาวบ้้านนิิยมเรีียกกัันว่่า “วััดนอก” เนื่่อ� งจาก สมัั ย ก่่อนวัั ดนี้้� ถืื อ ว่่าตั้้� ง อยู่่ � เ ขตนอกเมืื อ ง เป็็ น วัั ดที่่� ส ร้้ า งขึ้้� น ราว พ.ศ. ๒๒๕๓ แต่่ไม่่เคยมีีปรากฏบัันทึึกหลัักฐานทางประวััติิศาสตร์์ ว่่าใครเป็็นผู้้�สร้้าง ทราบกัันเพีียงแต่่เดิิมทีีวััดนี้้�มีีชื่่�อว่่า “วััดโพธิ์์�” แต่่ถููกเปลี่่ย� นชื่่อ� มาเป็็นวััดพิิชัยั สงครามในช่่วงสมััยรััตนโกสิินทร์์ตอนต้้น เหตุุจากพระยาพิิชััยสงครามได้้รัับมอบหมายจากพระบาทสมเด็็จ พระพุุทธเลิิศหล้้านภาลััยให้้เป็็นผู้เ้� ดิินทางมาบููรณปฏิิสัังขรณ์์ อุุโบสถหลัังใหม่่ของวััดมีีความโดดเด่่นในเรื่่อ� งการใช้้สีี และความ แปลกตาของหลัังคาทรงจั่่ว� ซ้้อนทัับกััน หรืือที่่เ� รีียกกัันว่่าทรงจััตุุรมุุข โดยมีียอดเจดีีย์เ์ ป็็นทรงลัังกา หน้้าบันั อุุโบสถประดัับตราสััญลัักษณ์์
24
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Wat Phichai Songkhram was built in the Ayutthaya period with a distinctively harmonious integration of art from the Ayutthaya and Rattanakosin periods. The temple nestles in the community area with a market at the front and a rivercrossing pier to Phra Samut Chedi right across. Despite the bustling surroundings, the temple is peaceful and abundant with plants, similar to those in the remote rural areas of Thailand,right here in Samutprakan. Wat Phichai Songkhram is locally known as “Wat Nok” since, in the early days, it was outside the city. Anonymously built around 1710, the temple was originally called “Wat Pho” and renamed Wat Phichai Songkhram in the early Rattanakosin period when His Majesty King Buddha Loetla Naphalai (Rama II) appointed Phraya Phichai Songkhram to renovate the temple. The new Ubosot is remarkable with colors, a roof with four gable ends, a Langka-style pagoda top, and a pediment with the symbol of the 50th Anniversary Celebration of the Late King's Accession to the Throne. The arch doors and
งานฉลองสิิริิราชสมบััติิครบ ๕๐ ปีี ส่่วนซุ้้�มประตููและหน้้าต่่าง เป็็นงานปููนปั้้�น ประดัับด้้วยกระจกสีีและตกแต่่งด้้วยลายรดน้ำำ�� ที่่บ� านประตูู-หน้้าต่่าง เพีียงแค่่ยืืนมองจากภายนอกอุุโบสถ ก็็อดทึ่่�งไม่่ได้้ในฝีีมืือ แสนประณีีตของช่่างศิิลป์์ไทยในอดีีต ยิ่่ง� เมื่่อ� ก้้าวเข้้าสู่ภ�่ ายในอุุโบสถ ก็็ ยิ่�่ ง ตื่่� น ตาไปกัั บ ความงามที่่� ป รากฏ พระประธานปางมารวิิชัั ย ประดิิษฐานอยู่่�เบื้้�องหน้้า พร้้อมด้้วยพระอััครสาวกนั่่�งขนาบทั้้�งซ้้าย และขวา ฝาผนัังโดยรอบเขีียนขึ้้�นด้้วยลายกระหนก บานประตูู เขีียนภาพทวารบาล อัันว่่าด้้วยเรื่่อ� งของสััตว์์ เทพ และมนุุษย์์ ส่่วนอุุโบสถหลัังเก่่าของวััด ซึ่่�งกรมศิิลปากรได้้ขึ้้�นทะเบีียน ให้้เป็็นโบราณสถานของชาติิ สร้้างขึ้้น� ในสมััยกรุุงศรีีอยุุธยาตอนปลาย ประดัับช่่อฟ้้า ใบระกา และหางหงส์์ ภายในอุุโบสถหลัังนี้้ป� ระดิิษฐาน พระประธานปางสมาธิิและปางอื่่น� ๆ ไว้้อีกี หลายองค์์ อีีกจุุดที่่�น่่าสนใจ คืือบริิเวณใกล้้กัันกัับอุุโบสถเก่่า เป็็นที่่�ตั้้�ง ของพระเจดีีย์์ทรงเครื่่�อง ก่่อสร้้างเป็็นรููปทรงระฆัังประดัับด้้วย ถ้้วยชามเบญจรงค์์ของจีีน มีีสร้้อยสัังวาลย์์คล้้องเป็็นลายปููนปั้้�น และบััวกลุ่่�มปููนปั้้�นนั้้�นถููกประดัับไว้้ยัังรอบเจดีีย์์ ๓ ชั้้�น จนเกิิดเป็็น ลวดลายแปลกตา ชวนตั้้�งคำำ�ถามถึึงช่่างฝีีมืือไทยสมััยก่่อนที่่� ไม่่ได้้ มีีเครื่่�องมืือเครื่่�องใช้้อำำ�นวยความสะดวก แต่่สามารถสร้้างงานได้้ อย่่างวิิจิิตรจากสองมืือล้้วน ๆ ด้้วยความเงีียบสงบของที่่�นี่่� จึึงเหมาะเหลืือเกิินสำำ�หรัับใคร ที่่�ต้้องการปลีีกเวลาเข้้ามาทำำ�สมาธิิ หรืือสวดมนต์์ เพื่่�อพาตััวเอง ออกจากความวุ่่�นวายภายนอกสัักชั่่�วขณะ วัดพิชัยสงคราม เลขที่ ๒๙ ถนนประโคนชัย ตำ�บลปากน้ำ� อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๘๙ ๒๘๙๕, ๐ ๒๓๙๕ ๑๖๓๗
windows are decorated with stucco sculptures and stained glass and their panels with gilded black lacquer. Its exterior is captivating with the meticulous skills of ancient Thai artisans. Inside, it magnificently enshrines the principal Buddha image in subduing Mara attitude with Lord Buddha’s disciples on the left and right. There are paintings of Kranok patterns on the walls, and guardian angels, and stories of animals, angels, and humans on the doors. The old Ubosot, registered nation heritage by the Fine Art Department, was established in the late Ayutthaya period, with a gable apex, toothlike ridges on the sloping gable edges, and finials at two corners of the gable. It enshrines the principal Buddha image in meditation attitude and many others. Another notable spot nearby the old Ubosot is the bell-shaped Chedi decorated with Chinese porcelains, a stucco breast chain, and three-layers of intriguing lotus-flower-shaped stucco sculptures. It is a wonder how Thai artisans in the past handcrafted such splendid works without facilities. The serenity makes the temple a suitable spot to briefly escape the hectic world for meditation practice or praying. Wat Phichai Songkhram 23 Prakhonchai Road, Paknam Sub-District, Mueang Samutprakan, Samutprakan Tel. 0 2389 2895, 0 2395 1637 April - May 2021
25
CAN’T MISS
ภาพสวยไม่ซ้ำ�ใคร กับมุมถ่ายภาพ
ที่ป้อมพระจุล
Catch unique photos from new perspectives at
Phra Chulachomklao Fort ส�ำหรับคนในยุคเที่ยวไปเช็กอินไป สมุทรปราการจัดว่าเป็น จังหวัดที่ถูกใจนักถ่ายภาพเป็นอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะอยู่ใกล้ กรุงเทพฯ รถไฟฟ้าเชื่อมผ่าน มากมายด้วยอาหารอร่อย และไป กี่ครั้งก็ยังมีสถานที่ที่น่าสนใจให้ตามเก็บภาพได้ไม่ซ�้ำมุม วั น นี้ @SAMUTPRAKAN ภู มิ ใ จน� ำ เสนอจุ ด ถ่ า ยรู ป ที่ รับรองว่าต้องถูกใจคนชอบเก็บภาพในมุมสวยแปลกตา นั่นคือ ป้ อ มพระจุ ล จอมเกล้ า หรื อ ที่ ช าวบ้ า นเรี ย กกั น จนติ ด ปากว่ า “ป้ อ มพระจุ ล ” สถานที่ แ ห่ ง นี้ คื อ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ที่ เ ปิ ด ให้ ป ระชาชน เข้าชมเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ตั้งแต่ครั้งสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทีท่ รงสร้างป้อมขึน้ เพือ่ ป้องกันการรุกราน จากอังกฤษและฝรั่งเศส
For people who love checking in as they travel, Samutprakan is a dearly loved province among photographers. It is close to Bangkok, linked to the sky train, packed with delicious food and places with countless unique perspectives. Today, @SAMUTPRAKAN proudly presents photogenic spots that will surely win the hearts of exotic view photographers. Phra Chulachomklao Fort, locally called “Phra Chul Fort,” is a public museum for learning the history since His Majesty King Rama V constructed the fort to prevent the invasion from England and France.
หลายคนรูแ้ ค่วา่ ป้อมพระจุลตัง้ อยูด่ า้ นหลังอนุสาวรียข์ องพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั แต่ทหี่ ลายคนไม่รู้ คือทางเดินภายในป้อม มีจดุ ถ่ายภาพทีเ่ ห็นแล้วต้องร้อง…ว้าว
Many people know Phra Chul Fort sits behind HM King Rama V’s statue, but only a few know the remarkably photogenic spots along the walkway inside the fort.
26
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
เลือกเวลาบ่ายก�ำลังดี เพราะแสงจะเอียงได้ทที่ ำ� มุมกับ ก�ำแพงขาวและพืน้ อิฐสีแปลกตา กลายเป็นภาพทีม่ ี คอมโพสต์สวยเก๋ไม่ซำ�้ ใคร The afternoon light casting upon the white walls and unusual colored bricks at the right angle offers an exceptional photo composition.
April - May 2021
27
วันหยุดนีไ้ ม่ตอ้ งไปไหนไกล ชวนคนรูใ้ จไปเดินเล่น กินลม ชมวิว และเก็บภาพกลับไปเป็นความทรงจ�ำไม่รลู้ มื On upcoming holidays, take your favorite persons on a stroll, sightseeing, and capture memorable moments home.
ทริปนี้นอกจากเที่ยวชมสถานที่ประวัติศาสตร์ อยากให้ เตรียมตัวให้พร้อมในชุดเก่ง เพราะมีมุมเท่ ๆ ให้ถ่ายรูป โดยมี องค์ประกอบจากธรรมชาติอย่างแสงและเงาเป็นฉากเด่น เริ่มต้น ช็อตแรกกันด้วยการยืนคู่กับตัวป้อมพระจุลสีขาว ที่สวยเด่นเป็นสง่า ตัดกับแสงอาทิตย์ตรงหน้า หรือเดินลงไปด้านล่าง บริเวณที่เป็น ทางเดินภายในป้อมพระจุลก็จะได้ภาพสวยไม่ซ�้ำ ช่วงเวลาที่เหมาะส�ำหรับแสงเงาที่จะท�ำให้ภาพออกมาใน มุมเท่แปลกตานี้ แนะน�ำว่าควรเป็นเวลาสักบ่าย ๓ โมง เพราะแสง ก�ำลังเอียงได้ที่ โดยเฉพาะตอนที่แสงอาทิตย์สาดส่องมากระทบกับ เหล็กเส้นด้านบน ซึง่ เดิมทีเป็นรางรถไฟสมัยโบราณ แสงทีต่ กกระทบ จะท�ำให้เกิดเส้นเงาทอดยาว พาดตัง้ แต่ขอบด้านบนของก�ำแพงสีขาว จรดพื้นตัวหนอนสีส้มอิฐด้านล่าง กลายเป็นฉากหลังที่ขับให้ตัวแบบ ดูโดดเด่นขึ้นอีกมาก จากจุดนี้เราสามารถสนุกกับการลองสร้างสรรค์มุมใหม่ ๆ เช่น ถ่ายรูปกับช่องประตูเข้า-ออกที่เรียงรายอยู่สองฝั่ง เลือกได้ทั้ง ทรงโค้ง ทรงเหลี่ยมสไตล์โบราณ จากความเก่าแก่ของตัวป้อม และประตู ที่ก่ออิฐถือปูนเชิงช่างสมัยก่อน ท�ำให้ภาพที่ออกมาดูสวย และเปี่ยมมนต์ขลัง จนไม่อยากหยุดกดชัตเตอร์เลยทีเดียว ข้อแนะน�ำในการเล่นกับแสงและเงานั้น ช่างภาพซึ่งช�ำนาญ การถ่ายรูปสไตล์นแ้ี นะน�ำว่า ไม่ใช่เรือ่ งของอุปกรณ์ เพราะกล้องจาก โทรศัพท์มือถือก็ถ่ายรูปให้ออกมาสวยได้ไม่แพ้กัน ขอเพียงแค่ใส่ใจ เคล็ดลับเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงของแสงธรรมชาติที่ 28 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Besides the tour around historic sites, bring on your best outfits to strike poses with cool corners, natural light, and shadow for the camera. Start the first shot by standing next to the majestic white Phra Chulachomklao Fort against the sunlight. Then, walk down to the corridor inside for a change. The recommended timing to nail the shots with splendid lighting and shadow is around 3 pm. As the sunlight casts on the steel rod top, the railway track in the past, the shadow stretches from the top of the white walls to the orange worm bricks down below, creating a background that makes the model even more striking. Here, you can enjoy exploring new creative perspectives, for example, the traditional arched or angular entrances lining on both sides. The antiquity of the masonry fort and gates by ancient artisans magically complements the photos that you will never want to stop shooting. According to professional photographers, playing with light and shadow is not entirely the matter of equipment. Mobile cameras, too, can deliver just as incredible results with extra attention to small details. The change of natural light, the angles of posture, or the distance between the
น่าทึง่ เพราะทุกนาทีทขี่ ยับไป เราจะได้ภาพทีต่ า่ งกันเสมอ หรือแม้แต่ แค่เราขยับองศาในการยืน ระหว่างตากล้องกับตัวแบบ ภาพก็เปลีย่ น มิติได้อย่างน่าอัศจรรย์เช่นกัน ที่ บ ริ เ วณรอบ ๆ ป้ อ มพระจุ ล ยั ง มี อี ก หลายมุ ม ให้ เ ลื อ ก ทั้งพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือแม้แต่เรือรบหลวงแม่กลอง ที่เปิดเป็นพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งให้ บุคคลทั่วไปได้เข้าชม ซึ่งตัวเรือจะเปิดไฟตอนฟ้าเริ่มสลัว กลายเป็น แฉกประกายสวยงาม ท�ำให้ได้ภาพที่งามอลังการยิ่งขึ้น รวมทั้ง มุมในร้านอาหารริมน�้ำของสโมสรท้ายเรือแม่กลอง เป็นการปิดท้าย ทริปถ่ายรูปก่อนกลับบ้านก็น่าสนใจไม่น้อย
cameraman and the model can create new dramatic dimensions to the picture. Other interesting spots around the fort include HM King Rama V’s monument and HTMS Mae Klong, an outdoor museum to the public. As the skyline dims, the ship becomes illuminated with sparkling rays, adding more magnifique to the photo. Then, wrap up the shot and trip at Thai Ruea Luang Mae Klong Club before heading home.
ป้อมพระจุลจอมเกล้า ตั้งอยู่ที่ ตำ�บลแหลมฟ้าผ่า อำ�เภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ สามารถเดินทางไปชมด้วยรถโดยสารประจำ�ทางปรับอากาศสาย ๒๐ ป้อมพระจุล-ท่าดินแดง ส่วนผู้ที่สนใจเยี่ยมชมเป็นหมู่คณะหรือจัดกิจกรรม เข้าค่ายอบรม ติดต่อที่ : โทรศัพท์ ๐ ๒๔๗๕ ๖๒๖๐ วันจันทร์-วันศุกร์ : เวลา ๐๘.๓๐-๑๕.๓๐ นาฬิกา (ในวันและเวลาราชการ) Phra Chulachomklao Fort Laem Fa Pha Sub-District, Phra Samut Chedi District, Samutprakan To get there by bus, catch the air-conditioned bus no. 20 (Phra Chulachomklao Fort – Din Daeng Pier) For a group visit or organizing activities, camping, training, please contact: Tel. 0 2475 6260 Open Monday – Friday from 08.30 am – 03.30 pm (on official days and hours) April - May 2021
29
IN CANVAS
เสน่ ห ว ์ ันวาน ตลาดคลองสวน ๑๐๐ ปี
Yesterday's charm Khlong Suan 100 Year-Old Market
เทคนิค : สีน้ำ� Technique: Watercolor ศิลปิน : สุรัชต์ สดแสงสุก Artist: Surat Sodsangsuk
30
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
April - May 2021
31
Green. Corner GREEN STORY
32
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
WALKING IN THE NATURE
พื้นที่สีเขียวแห่งคุ้งบางกะเจ้า เห็นสะพานวงแหวนอุตสาหกรรมอยู่เบื้องหลัง ตำ�บลทรงคนอง อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ Khung Bang Kachao green area and the Industrial Ring Bridge in the background, Song Khanong Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan April - May 2021
33
GREEN STORY
เพาะเลี้ยงเห็ดปลอดภัยในหมู่บ้าน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า
Mushroom Source by Mushroom Man
Safe mushroom farming in the village for a better quality of life
34
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Mushroom Source by Mushroom Man เป็็นโครงการ ที่่เ� ริ่่ม� ขึ้้น� โดย คุุณนััท หรืือ กิิตติิพงศ์์ กีีรติิเตชะนัันท์์ เจ้้าของฟาร์์มเห็็ด Mushroom Man ที่่�เริ่่�มต้้นจากการเลี้้�ยงไส้้เดืือนมาสู่่�การทำำ�ฟาร์์ม เพาะเลี้ย้� งเห็็ดมิิลค์์กี้้� และแจกจ่่ายความรู้้�เรื่่อ� งการปลููกเห็็ดปลอดภััย ให้้กัับบุุคคลทั่่�วไปที่่�สนใจ ใครได้้ลองรสชาติิเห็็ดมิิลค์์กี้้�ของที่่�นี่่�แล้้ว เป็็นต้้องตาลุุกวาว กััดส่่วนก้้านเข้้าไปคำำ�แรกอาจเผลอคิิดว่่านี่่�คืือ เนื้้�อหมึึก เมื่่�อกััดส่่วนหััวเข้้าไปคำำ�ที่่�สอง อดนึึกไม่่ได้้ว่่านี่่�คืือรสชาติิ ของเนื้้อ� ไก่่ ที่่บ้� า้ นของ คุุณคิิว หรืือ พููนฤทธิ์์� วสุุพงศ์์พิิพัฒ ั น์์ สถาปนิิกอิิสระ และเกษตรกรในเมืืองวััย ๓๐ ปีี ซึ่่�งบริิเวณรอบบ้้านของเขาใช้้เป็็น ทั้้ง� พื้้น� ที่่ปลูู � กผัักสวนครััว ทดลองหมัักปุ๋๋ย� และยัังแบ่่งพื้้�นที่่ห� น้้าบ้้าน ส่่วนหนึ่่�งเป็็นฟาร์์มเห็็ดในร่่มเพื่่�อใช้้เป็็นศููนย์์ทดลองเพาะเลี้้�ยงเห็็ด แนวตรงและแนวข้้าง ทุุกอย่่างที่่�นี่่�เริ่่�มขึ้้�นจากภายหลัังที่่�เขาเรีียนจบ คณะสถาปััตยกรรมศาสตร์์ แล้้วคุุณคิิวเกิิดความสงสััยและตั้้ง� คำำ�ถาม กัับตััวเองว่่า การต้้องอดหลัับอดนอนเพื่่อ� แลกมากัับรายได้้ของอาชีีพ สถาปนิิก แต่่ต้้องสููญเสีียสุุขภาพที่่ดีี� ไปนั้้�น มัันคุ้้�มค่่ากัันไหม วัันหนึ่่ง� เมื่่อ� คุุณคิิวได้้มาทำำ�ความรู้้�จักั กัับคุุณประโยชน์์ของเห็็ด ซึ่่ง� อุุดมด้้วยวิิตามิินบีีรวม และเป็็นแหล่่งเกลืือแร่่ที่สำ่� �คั ำ ญ ั เขาจึึงเกิิด ความสนใจในการเพาะเลี้้�ยงเห็็ดอย่่างจริิงจััง จนมีีโอกาสได้้ไปเป็็น หนึ่่�งในสมาชิิกของ Mushroom Source by Mushroom Man ของคุุณนััท เขาจึึงได้้เรีียนรู้้�ว่่า โดยหลัักการแล้้ว เห็็ดถููกเลี้ย้� งมาแบบไหน มัันก็็ให้้คุณ ุ ประโยชน์์กับั ผู้้�บริิโภคในแบบนั้้น� “เห็็ดของผมจะต่่างจากที่่�อื่่�นเพราะเราใช้้วิิธีีเลี้้�ยงบนฟางข้้าว ซึ่่�งเป็็นฟางข้้าวปลอดสารเคมีีที่่� ได้้มาจากกลุ่่�มชาวนาอิินทรีีย์์จริิง ๆ ในประเทศออสเตรเลีียหรืื อ ญี่่� ปุ่่ � น เขาก็็ ใ ช้้ ฟ างแบบนี้้� เ หมืื อ นกัั น การเพาะเห็็ดแบบนี้้�จะทำำ�ให้้เห็็ดได้้ความหวานจากกลููโคสที่่�มีีอยู่่�ใน ตััวฟางข้้าว เพื่่อ� นำำ�ไปสร้้างการเจริิญเติิบโต ผลพลอยได้้ที่เ่� กิิดขึ้้น� คืือ เห็็ดจะมีีรสชาติิหวานกว่่าเห็็ดโดยทั่่ว� ไป”
Mushroom Source by Mushroom Man is a project initiated by Nat, or Kittiphong Kiratitechanan, the owner of Mushroom Man Farm. He advanced from worm farming to milky mushroom farming and offering knowledge on safe mushroom farming to interested persons. His milky mushroom makes all eyes bright as the stem tastes surprisingly similar to squid and the cap to chicken. Khiu or Phunrit Wasuphongphiphat is a 30-year-old freelance architect and an urban farmer whose house is surrounded by a kitchen garden, a composting experiment area, and an indoor mushroom farm, used as an experiment center of both vertical and horizontal mushroom cultivation. After graduating with a degree in Architecture, he questioned if sleep deprivation in exchange for an architect's salary was worth the health damage. One day, Khiu discovered the benefits of mushrooms, how they were abundant with vitamin B complex and a great mineral source, and developed a keen interest in mushroom cultivation. Becoming a member of Nat’s Mushroom Source by Mushroom Man helped him learn that, principally, mushrooms benefited consumers the way they grew. “My mushrooms are different because I grow them on chemical-free rice straw from the real organic farmer group. In Australia and Japan, they grow on straw, too. This way, the mushrooms draw the sweetness from glucose in the rice straw to grow, and, as a bonus, these mushrooms become sweeter than general.”
April - May 2021
35
ฟาร์์มเห็็ดในร่่มของคุุณคิิว เป็็น พื้้�น ที่่�เพาะเลี้้�ยงเห็็ดที่่�เรา ไม่่เคยเห็็นที่่� ไหนมาก่่อน รวมไปถึึงอุุปกรณ์์ในการเพาะเลี้้�ยงที่่�เป็็น วััสดุปุ ระเภทนำำ�กลัับมาใช้้ใหม่่ แกลลอนถัังสีีถููกนำำ�มาเจาะรูู และปิิดรููเหล่่านั้้น� ด้้วยพลาสติิกใส ที่่� ได้้มาจากส่่วนปากของขวดน้ำำ��พลาสติิกเหลืือใช้้ เพื่่�อทำำ�เป็็นถััง เพาะเลี้้�ยงเห็็ดแนวข้้าง เห็็ดที่่�จะขึ้้�นได้้ดีีด้้วยการเพาะเลี้้�ยงแนวข้้าง ก็็อย่่างเช่่นเห็็ดฟางและเห็็ดนางฟ้้าภููฏาน “การปลููกเห็็ดที่่�นี่่�เป็็นเรื่่�องของการควบคุุมอุุณหภููมิิความชื้้�น ไม่่มีีการใช้้น้ำ� ำ� เพราะถ้้าเมื่่อ� ไหร่่เราใช้้น้ำ� มั ำ� นั ก็็จะมีีเรื่่อ� งของความชื้้น� ตามมา รวมไปถึึงราที่่�เกิิดขึ้้�นจากตะไคร่่ตามท่่อน้ำำ�� โดยทั่่�วไป เขาจะนิิยมเพาะเลี้้�ยงเห็็ดกัันในถุุง ซึ่่�งมัันเปลืืองถุุงพลาสติิกมาก ๆ แต่่อย่่างถัั ง ที่่� ผ มนำำ � มาเจาะรููใช้้ แ บบนี้้� มัั น คืื อ การรีียููสโดยไม่่มีี การสร้้างขยะเพิ่่ม� ” แถวตั้้�งเรีียงเป็็นแนวของถัังเพาะเลี้้�ยงเห็็ดที่่�คุุณคิิวออกแบบ ขึ้้น� มา ทำำ�ให้้เรานึึกถึึงที่่พั� กั ในรููปแบบคอนโดมิิเนีียม จะต่่างกัันก็็ตรง สิ่่ง� ที่่อ� ยู่่ต� รงหน้้าเรา คืือคอนโดมิิเนีียมของประชากรชาวเห็็ด “ผมมีีพื้้�นที่่�เท่่านี้้�ก็็เลยต้้องลดขั้้�นตอนการปลููกที่่�เกษตรกร โดยทั่่�วไปเขาใช้้กััน ฟางของเราเป็็นฟางที่่�นำำ�มาหมัักกัับจุุลิินทรีีย์์ ธรรมชาติิที่่� ผ่่ านกระบวนการอบแห้้ งแล้้ ว ซึ่่�งมัั นจะเป็็ นตัั วช่่วย ในการฆ่า่ แบคทีีเรีียที่่อ� าจมีีอยู่่�ในฟาง พอฟางได้้รับั ความชื้้น� ที่่เ� กิิดขึ้้น� จากจุุลิินทรีีย์์เข้้าไป มัันก็็เลยไม่่มีีความจำำ�เป็็นที่่ต้� อ้ งให้้น้ำ� ำ� การปลููกเห็็ด ด้้วยฟางแบบนี้้�ใช้้เวลา ๑ เดืือน เพื่่อ� ได้้ผลผลิิต” แผนระยะใกล้้ ข องคุุ ณ คิิว คืื อ การจัั ด จำำ � หน่่ายเห็็ ด ด้้ ว ย การจััดส่่งถึึงประตููบ้้านให้้กัับสมาชิิกรายเดืือนในหมู่่�บ้้านของเขาเอง ส่่วนแผนระยะยาว คืือการสร้้างพื้้�น ที่่�ปลููกเห็็ดแบบดาวกระจาย มีีบริิการให้้ คำำ �ปรึึ กษาและจัั ด สร้้ า งพื้้� น ที่่� ปลูู กเห็็ ด ในร่่มให้้ กัั บ บุุคคลทั่่�วไปที่่�สนใจ
Mushroom Source by Mushroom Man เลขที่ ๒๐๐/๘๘๘ หมู่ ๑๔ ซอยกิ่งแก้ว ๒๑ ถนนกิ่งแก้ว ตำ�บลบางพลีใหญ่ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๒๙๔๖ ๔๔๕๔
36
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Khiu’s indoor mushroom farm was a cultivation area we had never seen elsewhere. Even his cultivation tools were reusable materials. Paint buckets were drilled with holes, covered with clear plastic from leftover plastic bottles. They were used in horizontal mushroom cultivation, a suitable method for straw and Bhutanese oyster mushrooms. “The cultivation here is all about temperature and moisture control without supplying water since water brings humidity problems and fungi from algae in the water pipe. While mushrooms are generally grown in plastic bags, I prefer these reusable drilled buckets not to create more waste.” Stacks of mushroom cultivation buckets designed by Khiu reminded us of a condominium. Although, it was a condominium of mushroom populations. “Due to limited space, I had to cut down commonly used processes. Our straw is co-fermented with bake-dried natural prebiotics, which helps kill bacteria in the straw. When exposed to the moisture from prebiotics, there is no need for water. This cultivation method takes about a month before ready for harvest.” Khiu also revealed a short-term plan to offer a front-door mushroom delivery to monthly subscribers in his village and a long-term plan to scatter mushroom cultivation areas, offer consultancy, and build indoor mushroom cultivation areas for interested persons.
Mushroom Source by Mushroom Man 200/888 Moo 14, Soi Kingkaeo 21, Kingkaeo Road, Bang Phli Yai Sub-District, Samutprakan Tel. 08 2946 4454
April - May 2021
37
WALKING IN THE NATURE
พื้นที่สีเขียว ทำ�หน้าที่เสมือนปอดที่ฟอกอากาศ ให้บริสุทธิ์ ลดอุณหภูมิของเมือง และยังช่วยกรองมลพิษ และฝุ่นละอองในอากาศอีกด้วย The green area serves as lungs that purify the air, cool down the city, filter pollution and dust particles in the air.
38
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
กินลม ชมนก ตกหลุมรักพื้นที่สีเขียว
ที่สวนสาธารณะ เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษาฯ Enjoy a walk, glimpse on the birds, and fall in love with the green area
At His Majesty the King’s 84th Birthday Anniversary Park เพราะเมืองทีด่ ไี ม่ได้ดกู นั ทีค่ วามเจริญทางวัตถุเพียงอย่างเดียว หนึ่งในดัชนีชี้วัดความอยู่ดีมีสุขของคนเมือง ก็คือเรื่องของ “พื้นที่ สีเขียว” ที่มีคุณภาพ สามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก และมีปริมาณ พื้นที่ที่เหมาะสม มีผลการวิจัยจ�ำนวนมากระบุว่า คนที่อยู่ในสภาพ แวดล้อมเขียวขจี จะลดความเศร้าหมองและความซึมเศร้าลงได้ รวมทั้งเป็นโรควิตกกังวลน้อยกว่าคนในละแวกที่ขาดแคลนพื้นที่ สีเขียว Good cities are not only measured solely by material progress. One of the indicators of urban well-being is the “green areas” that are quality, easily accessible, and of proper sizes. Researches pointed that living in a green environment could reduce a person’s sadness, depression, and anxiety than in a neighborhood that lacked green spaces. April - May 2021
39
เวลาไปดูนก ถ้าให้ดีอย่าลืมพรางตัวให้เต็มที่ เลือกเสื้อผ้าสีตุ่น ๆ เทา ๆ งดใส่น้ำ�หอมทุกชนิด งดส่งเสียงดัง แล้วอย่าลืมงดทิ้งขยะ On a bird observation trip, camouflage well, pick toned-down or grayish outfit, refrain from perfume, keep quiet and no littering.
ข้อมูลนีผ้ ดุ ขึน้ ในความคิด ขณะทีเ่ ราก�ำลังย่างเท้าก้าวเข้าเขต อ�ำเภอบางพลี เพือ่ ไปยังสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โครงการลูกพระดาบสสมุทรปราการ อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ สวนขนาดกะทัดรัดทีซ่ กุ ซ่อนอยู่ กลางเมืองเศรษฐกิจ ในพื้นที่ขนาด ๖,๔๐๐ ตารางเมตร ภายในสวนสาธารณะแห่งนี้มีหอดูนกสูง ๗ เมตร ที่แวดล้อม ด้วยต้นไม้น้อยใหญ่ เป็นสถานที่ดูนกอพยพที่บินผ่านมาแวะพักและ เติมอาหารเติมแรงเพื่อบินต่อ หรือนกท้องถิ่นที่มีตามฤดูกาลทั่วไป ในละแวกนี้ และยังเป็นมุมถ่ายรูปชัน้ ดี ทีน่ กั นิยมธรรมชาติหลาย ๆ คน ต้องแวะมาเยือนกัน ส�ำหรับนักดูนกมือใหม่ การมาดูนกที่หอดูนกท�ำให้ได้รับ ความสะดวกหลายประการ เช่น เลือกได้ตามใจชอบว่าจะอยู่ชั้นบน ที่สูงหน่อย ส�ำหรับมองหานกตามยอดไม้ หรือลดหลั่นลงมาตาม ชั้น ๒ ชั้น ๑ เพื่อส่องนกที่ท�ำรังตามพุ่ม แล้วยังท�ำให้นักส่องนก อยู่รวมกันเป็นกลุ่มก้อน ไม่เดินเปะปะไปมาท�ำให้นกตื่นและบิน หายไป เพราะนั่นหมายถึงว่าอาจจะต้องซุ่มรออีกนานนับชั่วโมง กว่านกจะยอมบินกลับมาให้ยลโฉมอีกครั้ง นักดูนกเขาให้ค�ำแนะน�ำมาบอกต่อว่า ใครที่สนใจมาแอบดู นกอาบน�ำ ้ นกร้องเพลง แนะน�ำให้มาแต่เช้าตรู่ เพราะบริเวณใกล้เคียงสวน นีเ้ ป็นชุมชนทีม่ สี วนผลไม้และบึงน�ำ้ ตามธรรมชาติอยูใ่ กล้ ๆ รับรองว่า ได้เห็นทัง้ นกกินพืช นกกินหนอน นกกินแมลง นกกินปลา เช่น นกกวัก นกกระปูดใหญ่ นกแซงแซวสีเทา นกตะขาบทุ่ง นกกระเต็นอกขาว นกกระเต็ น ใหญ่ ธ รรมดา นกตี ท อง นกเปล้ า อกสี ม ่ ว งน�้ ำ ตาล นกกระจิบธรรมดา นกกินปลีอกเหลือง นกหัวขวานสีน�้ำตาล ข้ อ มู ล จากส� ำ นั ก งานโครงการลู ก พระดาบส ผู ้ ดู แ ล สวนสาธารณะเฉลิ ม พระเกี ย รติ ๘๔ พรรษาฯ เปิ ด เผยว่ า 40 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
The data popped into our heads while heading to His Majesty the King’s 84th Birthday Anniversary Park under the Luk Phra Dabos Samutprakan Project, Bang Phli District, Samutprakan, a 6,400-sqm park hidden amid the economic city. Inside, a 7-meter-tall bird observatory, encompassed by big and small trees, is where you could see migratory birds that stop by for food before continuing on their journey and local seasonal birds. It is a brilliant photo spot that nature lovers frequent. Amateurs can enjoy various conveniences when watching the birds at the bird observatory. It is optional to go higher to look for birds on the treetops or lower on the second or first level to peek on birds building nests in the bush. It also keeps bird-watchers in groups, not all over the place, and scaring away the birds since that means more hours of waiting before the birds reappear. Bird enthusiasts recommended visiting early morning because orchards and natural swamps in the neighboring communities offered a peek at plant-eating birds, worm-eating birds, bug-eating birds, and fish-eating birds. For example, White-breasted waterhen, Greater Coucal, Ashy Drongo, Indian Roller, white-throated Kingfisher, Stork-billed Kingfisher, Coppersmith Barbet, Orange-breasted Green Pigeon, Common Tailorbird, Olive-backed Sunbird, and Rufous Woodpecker.
According to the Office of the Luk Phra Dabos Project, HM The King’s 84th Birthday Anniversary Park, designed by the Faculty of Forestry, Kasetsart University, is compact-sized yet abundant with various plant species. It serves as a learning venue for growing salt-tolerant plants. Together with the brackish water ecosystem restoration, and trees had been planted to help reduce global warming, including Cork trees, Sonneratia ovata, Borneo Mahogany, Lumnitzera racemosa Willd, Lumnitzera littorea, Portia Tree, Excoecaria indica, Cordia subcordata, Xylocarpus granatum Koenig, Xylocarpus Moluccensis, and Ceriops Tagal. The park’s shady and lush greenery invites people to drop by on holidays to enjoy working out, biking, feeding fish, strolling among the cool breeze by the pond. So, come and fill your lungs with fresh air and feel the incredible green embrace. สวนสาธารณะนีไ้ ด้รบั การออกแบบโดย คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ แม้วา่ จะเป็นสวนสาธารณะขนาดเล็ก แต่กอ็ ดุ มไปด้วย พืชหลากหลายพันธุ์ และที่นี่ยังใช้จัดกิจกรรมเป็นแหล่งเรียนรู้ การปลูกพืชทนสภาพดินเค็มในพื้นที่โครงการลูกพระดาบส และมี การฟื ้ น ฟู ร ะบบนิ เ วศน�้ ำ กร่ อ ย ตลอดจนช่ ว ยลดภาวะโลกร้ อ น ด้วยการปลูกต้นไม้นานาชนิด เช่น ล�ำพู ล�ำแพน สารภีทะเล ฝาดดอกขาว ฝาดดอกแดง โพทะเล สมอทะเล หมั น ทะเล ตะบูนขาว ตะบูนด�ำ โปร่งแดง จัดเป็นสวนสาธารณะที่แตกต่างกับ สวนสาธารณะทั่วไป เพราะแม้จะเล็กแต่ก็ร่มรื่นและอุดมสมบูรณ์ ไปด้ ว ยพรรณไม้ น านา วั น หยุ ด จะมี ค นแวะเวี ย นมาพั ก ผ่ อ น ออกก�ำลังกาย ปัน่ จักรยาน ให้อาหารปลา เดินเล่นสูดอากาศบริสทุ ธิ์ มีลมเย็นโชยมาเบา ๆ จากบึงน�ำ้ ข้างสวนสาธารณะพอให้ได้ผอ่ นคลาย หากใครอยูไ่ ม่ไกลลองแวะมาเติมออกซิเจนเข้าปอดกันดู แล้วจะรูว้ า่ การได้อยู่ท่ามกลางใบไม้เขียว ๆ มันดีอย่างนี้เอง
นกทุกชนิดจะมีพฤติกรรมในการดำ�รงชีวิตแตกต่างกันไป การได้เฝ้าดูอยู่ ห่าง ๆ นอกจากความเพลิดเพลินแล้ว ยังทำ�ให้เราเข้าใจธรรมชาติและหลงรัก เจ้าสัตว์ปีกตัวน้อยอีกด้วย All birds have different living behaviors. Watching from afar is not only entertaining but also allows us to understand nature and fall in love with these winged animals. สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โครงการลูกพระดาบสสมุทรปราการ ๘๙ หมู่่� ๑๔ ตำำ�บลบางปลา อำำ�เภอบางพลีี จัังหวััดสมุุทรปราการ เปิดให้เข้าชม : เวลา ๐๖.๐๐-๑๗.๐๐ นาฬิกา His Majesty the King’s 84th Birthday Anniversary Park, the Luk Phra Dabos Samutprakan Project 89 Moo 14, Bang Pla Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan Open from 06.00 am – 05.00 pm
April - May 2021
41
Feature 42
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
วิถีแห่งสายน้ำ�เจ้าพระยา ผ่านโค้งน้ำ�คดเคี้ยว บริเวณจุดเชื่อมปากคลองบางปลากด ในเขตอำ�เภอพระสมุทรเจดีย์ The way of the Chao Phraya River along the winding curves connected to the mouth of Khlong Bang Pla Kot, Phra Samut Chedi District
April - May 2021
43
COVER JOURNEY
Yesterday Once More เที่่�ยวชุุมชนเก่า่ ย้้อนวัันวาน ก้้อนอิิฐที่่ฝั� งั ตััวจนกลืืนเข้้ากัับผืืนดิิน สะพานเก่่าแก่่ที่ส่� ร้้างขึ้้น� มา ตั้้�งแต่่คราวที่่�จัังหวััดสมุุทรปราการเปิิดเส้้นทางรถไฟสายปากน้ำำ�� ใหม่่ ๆ ห้้องแถวโบราณ สามล้้อถีีบ ไปจนหนัังกลางแปลงที่่น� าน ๆ จะได้้มีีโอกาสมากางจอฉายสัักทีี คืือแรงดึึงดููดชั้้�นดีีที่่�ชวนให้้เรา ออกสำำ�รวจร่่องรอยแห่่งอดีีต ที่่�ผสมปนเปอยู่่�กัับปััจจุุบัันของวัันนี้้� @ SAMUTPRAKAN ฉบัับนี้้ ข � อพาคุุณผู้้�อ่า่ นออกเดิินทางไปกัับ เรื่่อ� งเล่่าและเรื่่อ� งราวที่่ห� วนคิิดถึึง บางเรื่่อ� งอาจไม่่มีีโอกาสได้้สัมั ผััส ด้้วยตา แต่่ก็ยั็ งั คงปรากฏหลัักฐานให้้จินิ ตนาการถึึงเรื่่อ� งราวเก่่าก่่อน บางเรื่่�องเล่่าก็็เคยอยู่่�ในความทรงจำำ� เพราะเคยได้้มีีประสบการณ์์ ร่่วมอยู่่�กัับสถานที่่�หรืือเหตุุการณ์์นั้้�น ๆ และการได้้ย้้อนกลัับไปสู่่� รอยทางเดิิ ม ก็็ ยิ่่� ง ทำำ �ให้้ เ ราได้้ เ ห็็ น เสน่่ ห์ ์ อีีกมุุ ม หนึ่่� ง ของจัั ง หวัั ด สมุุทรปราการ The bricks that blended with the ground, the ancient bridge built when Samutprakan first operated Paknam Railway Road, ancient shophouses, tricycle taxi, and rarely seen outdoor movies are great magnets that made us want to set foot to explore traces of the past that mingled with the present. This issue of @ SAMUTPRAKAN takes you on a journey with tales and stories of the good old times. Although some can no longer be seen, there are pieces of evidence to let you imagine of the past. Some stories were memories from direct experiences with the place or the event. Following traces of the past will unveil other enchanting aspects of Samutprakan.
44
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
April - May 2021
45
COVER JOURNEY
ลััดเลาะตามตรอก เที่่�ยวชุุมชนหััวน้ำำ��วน
Through the alleys
Explore Hua Nam Won Community
46
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
April - May 2021
47
ชุุมชนหััวน้ำำ�� วนเป็็นชุุมชนเก่่าแก่่ซึ่ง่� ตั้้ง� อยู่่�บริิเวณติิดคลองปากน้ำำ�� เชื่่�อมต่่อกัับวััดกลาง ซึ่่�งเป็็นวััดเก่่าแก่่ สร้้างขึ้้�นตั้้�งแต่่สมััยอยุุธยา ตอนปลาย ย้้อนกลัับไปในสมััยกรุุงศรีีอยุุธยา ชาวบ้้านที่่�อาศััยอยู่่�ใน ชุุมชนหััวน้ำำ��วน มีีทั้้�งชาวไทย ชาวจีีน และชาวมอญ โดยชาวจีีน ที่่เ� ดิินทางเข้้ามาอาศััยอยู่่�ในชุุมชนแห่่งนี้้�ในยุุคแรก ๆ เป็็นผู้้�ชายทั้้ง� หมด เพราะกฎหมายของประเทศจีีนในเวลานั้้�นไม่่อนุุญาตให้้ผู้้�หญิิงจีีน เดิิ น ทางไปใช้้ แรงงานนอกประเทศได้้ จะอนุุ ญาตเฉพาะผู้้�ชาย ตามที่่รั� ฐั บาลจีีนเชื่่อ� ว่่า อย่่างไรเสีีย ถ้้าผู้้�ชายมีีครอบครััวรออยู่่�ที่บ้่� า้ น ทำำ�งานเสร็็จ พวกเขาก็็ต้้องกลัับประเทศมาหาครอบครััว ส่่วนผู้้�ชายจีีนที่่�เดิิน ทางเข้้ามาทำำ�งานในประเทศไทยที่่�ยััง ไม่่มีีครอบครััว ก็็มาแต่่งงานกัับผู้้�หญิิงไทย เกิิดการขยายกลุ่่�มของ ครอบครััวไทยเชื้้อ� สายจีีน แม้้กระทั่่ง� วััดที่่ตั้้� ง� อยู่่�ในชุุมชนหััวน้ำำ�� วนเอง เจ้้าอาวาสในยุุคแรก ๆ ก็็เป็็นคนจีีนเช่่นกัันการผสมผสานทาง วััฒนธรรมไทย-จีีนเหล่่านี้้ นำ � �ำ มาซึ่ง่� ประโยคที่่พู� ดกั ู นั ว่่า คนจีีนเข้้าวััด คนไทยไหว้้เจ้้า เพราะในยุุคหนึ่่ง� ศาลาที่่ตั้้� ง� อยู่่�ตามวััดในชุุมชนหััวน้ำำ�� วน ก็็มัักจะมีีรายชื่่�อผู้้�บริิจาคเป็็นคนจีีน ขณะที่่�คนไทยจะนิิยมลงขัันกััน สร้้างศาลเจ้้า
ชุุมชนหััวน้ำำ��วนชุุมชนที่่�มีีความเก่่าแก่่ ยาวนานแห่่งหนึ่่�งของจัังหวััดสมุุทรปราการ Hua Nam Won Community, an ancient community in Samutprakan
48
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Hua Nam Won Community is an ancient community situated at Khlong Pak Nam. It is connected to Wat Khlang, an old temple built in the late Ayutthaya period. In the Ayutthaya period, villagers in Bang Chao Phraya Community were Thai, Chinese, and Mon. At the time, the Chinese laws prohibited women from traveling to work abroad, and only men were allowed, believing they would return to their families once they finished their jobs. Nonetheless, single Chinese men who came to work in Thailand married Thai women, and the Thai-Chinese families multiplied. Even early abbots of the temples in Hua Nam Won Community were Chinese. Such cultural integration led to the saying, “Chinese went to temples, and Thai worship the Chinese gods." as names of Chinese donators appeared at Hua Nam Won community temple pavilions and Thais donated for the shrine construction.
อุุโมงค์์จากในคลองปากน้ำำ��มีีให้้เห็็นเป็็นระยะ สร้้างทััศนีียภาพที่่�ดีี และยัังคลายความร้้อนให้้กัับชาวบ้้านขณะพายเรืือ The nipa palm tunnels in Khlong Paknam offers a pleasant view and cool off the heat for villagers when paddling their boats. April - May 2021
49
เรืือนไม้้โบราณสมััยรััชกาลที่่� ๕ อดีีตโรงเรีียนสตรีีหญิิงแห่่งแรกของจัังหวััดสมุุทรปราการ The ancient wooden building since King Rama V’s period was once Samutprakan’s first girl school.
ระหว่่างเดิินเข้้าชุุมชนหััวน้ำำ�� วน เราผ่่านตลาดราชา ซึ่่ง� สร้้างขึ้้น� ในสมัั ย รัั ชก าลที่่� ๕ เดิิ ม ทีี ตลาดโบราณแห่่ ง นี้้� ตั้้� ง อยู่่�ในเขต ของวััดกลาง แต่่ด้้วยความพลุุกพล่่านของประชากรที่่�เพิ่่�มขึ้้�นจาก การทำำ�มาค้้าขาย จึึงได้้มีีการย้้ายตลาด ข้้ามฝั่่�งคลองไปอยู่่�ทาง ด้้านเดีียวกัับวััดพิชัิ ยั สงคราม เราแวะชมความงามในสถาปััตยกรรมไทย ซึ่่�งเคยเป็็น ที่่�ตั้้�งของโรงเรีียนสมุุทรสตรีี อดีีตโรงเรีียนสตรีีหญิิง แห่่งแรกของจัังหวััดสมุุทรปราการ โดยปััจจุุบันั คืือโรงเรีียนเฉลิิมวิิทยา เรืือนไม้้โบราณขนาด ๒ ชั้้น� แห่่งนี้้ ถู � กู สร้้างขึ้้น� ในปีี พ.ศ. ๒๔๔๙ โดยพระยาราชายสาธก (เจ้้าพนัักงานศุุลกากร สัังกััดกรมศุุลกากร) ยุุคนั้้น� เวลาที่่เ� ด็็ก ๆ ในต่่างจัังหวััดอยากจะเรีียนหนัังสืือก็็ต้อ้ งไปเรีียน กัันที่่วั� ด ั หรืือถ้้าอยากเรีียนโรงเรีียนดีี ๆ ก็็ต้อ้ งเดิินทางเข้้ากรุุงเทพฯ ใช้้ทั้้�งเวลาในการเดิินทางและค่่าใช้้จ่่ายที่่�สููงมาก สถานศึึกษาตาม พื้้�นที่่ชุ� มุ ชนในต่่างจัังหวััดก็็ไม่่ค่อ่ ยมีีใครสร้้างกััน ยิ่่�งถ้้าเป็็นสถานศึึกษา สำำ�หรัับนัักเรีียนหญิิงล้้วนด้้วยแล้้วยิ่่ง� ถืือเป็็นเรื่่อ� งแปลก เพราะวิิถีีของ เด็็กผู้้�หญิิงในสมััยก่่อนคืือการอยู่่�บ้้าน ฝึึกทำำ�กัับข้้าวและงานฝีีมืือ ถึึงเวลาก็็ออกเรืือนไปอยู่่�กับั สามีี 50
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
On the way to Hua Nam Won Community, we visited Racha Market, built during the reign of His Majesty King Rama V. It was formerly in Wat Klang, but as the area became crowded because of the trade, it was moved across the canal to Wat Phichai Songkhram's bank. Later, we admired a beautiful Thai architecture, formerly Satri Samutpakan School, Samutprakan's first girl school, and currently Chaloem Witthaya School. This two-story traditional wooden building was built in 2006 by Phraya Rachayasathok (a customs officer under the Customs Department). Previously, children went to school at temples. For a greater school, they had to travel to Bangkok, which was time-and-budget-consuming. Community schools were not popularly built in rural areas. All girls' schools, in particular, were considered offbeat as they were normally expected to stay home, practice cooking and handicrafts, and live with husbands after marriage.
ด้้ ว ยวิิ สัั ย ทัั ศ น์์ ข องพระยาราชายสาธกในเรื่่� อ งการศึึกษา ที่่ต้� อ้ งการพััฒนาเด็็ก ๆ ในย่่านปากน้ำำ�� ให้้มีีความรู้้� บวกกัับอยากจะหา โรงเรีียนใกล้้ บ้ ้ า นเพื่่� อให้้ ลูู ก สาวไปเรีียน จึึงตัั ดสิิ น ใจสร้้ า ง โรงเรีียนเสีียเอง โดยต่่ อ มาได้้ ส่ ่ ง มอบโรงเรีียนให้้ กัั บ ครูู เ ฉลิิ ม เอี่่�ยมโอภาส เป็็นผู้้�รัับผิิดชอบ จึึงมีีการเปลี่่�ยนชื่่�อโรงเรีียนมาเป็็น โรงเรีียนเฉลิิมวิิทยา ซึ่ง่� เป็็นโรงเรีียนสหศึึกษา โรงเรีียนแห่่งนี้้มีีลั � กั ษณะเป็็นเรืือนไม้้โบราณ ๒ ชั้น้� ใต้้ถุนุ สููง ได้้ รัั บ การบูู ร ณะอย่่ า งต่่ อ เนื่่� อ ง ปัั จ จุุ บัั น พื้้� น ที่่� ใ ต้้ ถุุ น ของอาคาร ใช้้เป็็นห้้องสมุุดและห้้องเรีียนของเด็็กนักั เรีียนชั้น้� ประถม ส่่วนชั้น้� บน เป็็ น ห้้ อ งโถงและห้้ อ งเก็็ บ ภาพถ่่ า ยโบราณหายาก ทั้้� ง ภาพของ พระยาราชายสาธก และภาพของเด็็กนัักเรีียนหญิิงในชุุดผ้้าซิ่่�น ผมสั้้� น เท่่ า ติ่่� ง หูู ที่่� กำำ �ลัั ง เดิิ น แถวอยู่่�บริิ เ วณหน้้ า อาคารเรีียน โดยนัักเรีียนสตรีีที่่�ปรากฏในภาพเหล่่านี้้� เคยได้้รัับการขนานนามว่่า มารยาทงามเป็็นที่่ห� นึ่่ง� เรีียบร้้อยดั่่ง� ผ้้าพัับไว้้
Along with the vision to develop education for children in Paknam, Phraya Rachayasathok wished to find a school close to home for his daughter. He decided to establish a school himself before handing it over to Teacher Chaloem Iam-ophas. Hence, the school was renamed Chaloem Witthaya, a coeducational school. The two-story traditional wooden building with an elevated basement has been constantly renovated. At present, the basement serves as a library and classrooms for primary school students. On upper floors, there is a hall and a gallery of rare ancient photos of Phraya Rachayasathok, and girl students in sinh outfits and lower-ear hair length walking in front of the school were renowned for their exquisite manners.
April - May 2021
51
เราเดิินผ่่านมายัังสะพานข้้ามคลองเล็็ก ๆ ในชุุมชน ที่่ปั� จั จุุบันั มีีการปููถนนทัับไปจนไม่่เห็็นโครงสร้้างสะพานเดิิม แต่่ก็็มีีหลัักฐาน จากเศษตอม่่อที่่�หลงเหลืือ ว่่าสร้้างขึ้้�นโดยกััปตััน ทีี.เอ. ก็็อตเช่่ (Captain T.A. Gottsch) วิิศวกรเดิินรถ ขบวนรถไฟสายปากน้ำำ�� ชาวเดนมาร์์ก ในสมััยที่่�เริ่่�มมีีการเปิิดเส้้น ทางรถไฟสายปากน้ำำ�� ใหม่่ ๆ กััปตัันผู้้�นี้้� ได้้เข้้ามาตั้้�งรกรากในชุุมชนหััวน้ำำ��วน และสร้้าง สะพานปููนแห่่งนี้้� ให้้กัับชุุมชน ในปีี พ.ศ. ๒๔๗๕ ความสนุุกของ การเดิินชมวิิถีีชีีวิิตชุุมชนหััวน้ำำ�� วน คืือการได้้เดิินไปตามถนนแคบ ๆ ที่่� มีีบ้ ้ า นเรืื อ นของคนในชุุ ม ชนขนาบอยู่่�สองฟากมีีตรอกเล็็ ก ๆ ที่่�ชวนให้้แวะเข้้าไปสำำ�รวจเส้้นทางใหม่่ ๆ มีีอาคารเรืือนไทยไม้้สััก แทรกตััวอยู่่�ให้้เห็็นเป็็นระยะ หนึ่่�งในเรืือนไทยที่่�ถููกปิิดตายไว้้ เคยเป็็นโรงเรีียนสหศึึกษา ที่่�ชื่่�อโรงเรีียนอนุุสาส์์นวิิทยา ซึ่่�งปััจจุุบัันได้้ย้้ายสถานที่่�ตั้้�งไปแล้้ว มีีร้้านกาแฟเล็็ก ๆ ที่่คุ� ณ ุ ลุุงเจ้้าของร้้านไม่่ได้้เปิิดขายแค่่กาแฟโบราณ แต่่ยัังเขีียนป้้ายกำำ�กัับหน้้าร้้านไว้้ว่่า รัับซื้้�อของเก่่าของโบราณ ทุุกประเภท จึึงไม่่แปลกใจที่่�บรรยากาศภายในร้้านกาแฟขนาด ๒ ห้้ องนี้้� จะตกแต่่ งด้้ วยเครื่่� องใช้้ และเฟอร์์ นิิเจอร์์ เก่่ าหายาก และถ้้าใครหิิวขึ้้�นมาระหว่่างทาง ขอแนะนำำ�ร้้านก๋๋วยเตี๋๋�ยวเนื้้�อตุ๋๋�น อโณทััย ที่่อ� ยู่่�ไม่่ไกลนัักจากร้้านกาแฟ พููดถึึงคำำ�ว่่าโรงมหรสพประจำำ�ชุุมชน เราอาจนึึกถึึงภาพของ ลานอเนกประสงค์์ขนาดใหญ่่กลางหมู่่�บ้้าน แต่่โรงมหรสพของ ชุุมชนโบราณแห่่งนี้้มีีลั � กั ษณะเป็็นเพีียงอาคารปููน ๒ ชั้้น� ขนาดหน้้าแคบ Next, we arrived at the remaining foundation pillars of a small mortar canal-crossing bridge, which had now been paved over with a road. It was constructed in 1932 by Captain T. A. Gottsche, a Danish engineer who led the newly launched Paknam Railway operation after settling down in Hua Nam Won Community. The fun of admiring Hua Nam Won Community by foot was following the narrow street flanked by local houses and some sights of traditional Thai houses along the way. One of the permanently closed traditional Thai buildings was where Anusan Witthaya School, a coeducational school once located. At a small coffee house, the owner uncle sold traditional coffee and bought all types of antiques. Hence, his coffee shop on the second floor was decorated with rare vintage appliances and furniture. To fill your hungry stomach during the trip, we recommend the nearby Anothai Braised Beef Noodles. Speaking of a community theater, many would picture an enormous multi-purpose courtyard amid the village. In this ancient community, it was simply a two-story mortar building. Its front was so narrow that non-locals could not possibly tell 52 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
เท่่ากัับบ้้านของคนในชุุมชน ชนิิดที่่ค� นภายนอกไม่่มีีทางรู้้�เลยว่่านี่่คื� อื โรงมหรสพที่่เ� ป็็นศููนย์์รวมในการทำำ�กิจิ กรรมของคนทั้้ง� ชุุมชน ด้้านหลััง โรงมหรสพเป็็นที่่�ตั้้�งของศาลปู่่�ทรงธรรม ศาลเจ้้าศัักดิ์์�สิิทธิ์์�ประจำำ� หมู่่�บ้้าน ที่่ช� าวบ้้านมัักจะมาประกอบพิิธีีทำ�บุ ำ ญ ุ ร่่วมกัันที่่นี่� ่� ชุุมชนหััวน้ำำ�� วนยัังเป็็นที่่ตั้้� ง� ของวััดสำ�คั ำ ญ ั อีีก ๒ แห่่ง ซึ่่ง� ทางเข้้าวััด ตั้้ง� อยู่่�ตรงข้้ามกัันพอดีี โดยมีีเพีียงคลองกั้้น� คืือ วััดมอญ (วััดชัยั มงคล) ซึ่่�งสร้้างในยุุคเดีียวกัันกัับการสร้้างกรุุงศรีีอยุุธยา (พ.ศ. ๑๘๙๓) และวััดในสองวิิหาร ซึ่ง่� สร้้างในช่่วง ประมาณ ๒๐๐ กว่่าปีีถัดั มา ใครอยากมาเดิินเล่่นที่่ชุ� มุ ชนหััวน้ำำ�� วน แนะนำำ�ว่า่ สััก ๗ โมงเช้้า กำำ�ลังั ดีี เพราะเป็็นช่่วงที่่พ� ระสงฆ์์กำ�ลั ำ งั ออกบิิณฑบาต แสงกำำ�ลังั สวย และไม่่ร้อ้ นจนเกิินไป
that it was the activity center for the whole community. At its back, there located the sacred Pu Songtham Shrine where villagers made merits together. Besides, two significant temples facing each other with a canal in between were Wat Mon (Wat Chai Mongkhon), built during the establishment of the Ayutthaya kingdom (1350), and Wat Nai Song Wihan, built in the following two centuries. To walk around Hua Nam Won Community, we recommend starting around 07.00 am when monks receive alms, the sunlight is just right and not too hot.
ชุมชนหัวน้ำ�วน Hua Nam Won Community ถนนศิริราษฎร์ศรัทธา ตำ�บลปากน้ำ� Sirirat Sattha Road, Paknam Sub-District, อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ Mueang Samutprakan District, Samutprakan April - May 2021
53
COVER JOURNEY
ปลายทางที่กลมกล่อม ในชุมชนบางหัวเสือ
Harmonious Destinations in Bang Hua Suea Community
เอกลักษณ์ คือความเป็นโบสถ์ ๒ ชั้นขนาดใหญ่ ทำ�ให้เห็นมุมสะพานภูมิพลในมุมสวยแปลกตา The identity is the gigantic two-story chapel with an exotic view of Bhumibol Bridge
54
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
April - May 2021
55
56
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
ชุมชนที่ยังอยู่กันแบบดั้งเดิม ในบรรยากาศความสงบร่มรื่น The community living a traditional way of life in a peaceful environment
คลองและป่าจากของชุมชน The community canal and nipa palm forest
ในบางครั้้� ง การได้้ อ อกไปใช้้ เ วลาในที่่� โ ล่่ ง ที่่� ป ราศจาก ความพลุุกพล่่านของสิ่่ง� ก่่อสร้้างหรืือผู้้�คน สััมผััสกัับเสน่่ห์ใ์ นความเป็็น ธรรมชาติิของชุุมชน ก็็พอเพีียงสำำ�หรัับการใช้้เวลาในการเตร็็ดเตร่่ เพลิิดเพลิินไปกัับวิิถีีชีีวิิตที่่� ไ ม่่ปรุุงแต่่ง เช่่น ที่่� ชุุมชนบางหััวเสืือ ที่่�มีีส่่วนผสมกลมกล่่อมของความเป็็นชุุมชน ตั้้�งแต่่บ้้าน ป่่าจาก วััดโบราณ คลองเล็็ก และแม่่น้ำำ�� ที่่�เหมาะกัับการค้้นหาในวัันว่่าง และใช้้เวลาอย่่างมีีคุุณภาพในรููปแบบที่่แ� ตกต่่างไปจากที่่อื่่� น� จริิ ง อยู่่�ที่่� วิิ ถีี เดิิ ม ของวัั ฒ นธรรมท้้ อ งถิ่่� นได้้ เ ปลี่่� ย นไปบ้้ า ง การทำำ�สวนมะพร้้าว หรืือน้ำำ��ตาลมะพร้้าว ที่่�กลายเป็็นเรื่่�องเล่่า ประชากรส่่วนใหญ่่ไม่่ใช่่คนดั้้ง� เดิิมแล้้ว เรืือกสวนกลายเป็็นบ้้านจััดสรร มีีถนนหนทางแทนลำำ�คลอง แต่่ศูนู ย์์กลางของชุุมชนอยู่่�ที่วั่� ดั บางหััวเสืือ ที่่มีี� คลองบนและคลองล่่าง กลัับเป็็นเสน่่ห์ข์ องชุุมชนที่่ยั� งั คงอยู่่� ปััจจุุบัันที่่�คลองนี้้�มีีการสร้้างแนวเขื่่�อนกั้้�นน้ำำ�� และมีีประตูู ระบายน้ำำ��เปิิด-ปิิดป้้องกััน น้ำำ��ท่่วม ชาวบ้้านในย่่านนี้้�จึึงเริ่่�มปลููก มะม่่วงน้ำำ�ด � อกไม้้ ผลไม้้ และพืืชสวนอื่่น� ๆ กัันอีีกครั้้ง� ถึึงจะไม่่มาก เหมืือนในอดีีต แต่่ถ้า้ ไปถููกฤดูู เช่่น ช่่วงหน้้าร้้อน ต้้องไม่่ลืมื ถามหา มะม่่วงน้ำำ�ด � อกไม้้จากสวนของที่่�นี่่� เพราะจะมีีรสหวานเข้้มไม่่เหมืือน ที่่�อื่่�น และหากได้้ไปเยืือนชุุมชนนี้้� ในวัันอาทิิตย์์ ก็็สามารถเดิินเล่่น ที่่ตล � าดริิมน้ำำ�วั � ดั บางหััวเสืือได้้ และอาจจะโชคดีีได้้เลืือกผลไม้้ พืชผั ื ก ั ที่่ป� ลููกเองในชุุมชนมาชิิม
Sometimes, open space free from hassles, buildings, or people, but the charming nature of community is simply enough for a stroll to admire the simple lifestyle. Bang Hua Suea Community offers a harmonious combination of houses, nipa palm forests, ancient temples, small canals, and rivers, waiting to be discovered and spent a different quality holiday.
April - May 2021
57
เมื่่�อได้้เข้้าไปถึึงศููนย์์กลางของชุุมชนนี้้�ที่่�บริิเวณวััดบางหััวเสืือ อาจจะได้้ แ ปลกใจที่่� ยัั ง สามารถเห็็ น รอยอดีีตของชนชาติิ ม อญ ที่่�หลงเหลืืออยู่่�ตรงเจดีีย์์รููปเรืือสำำ�เภา แม้้จะมองไม่่เห็็นลัักษณะ ของเจดีีย์์แล้้วเพราะทางวััดได้้ปรัับปรุุงพื้้�นที่่�ถมดิินและไม่่ได้้ดึึงเจดีีย์์ ขึ้้น� มาก่่อน เจดีีย์์จึึงมีีลัักษณะจมใต้้ดินิ แต่่ปัจั จุุบันั ลููกหลานที่่เ� คยสร้้าง เรืือสำำ�เภาก็็ได้้มาสร้้างเรืือสำำ�เภาใหม่่ขึ้้�นและทาสีีสดใสไว้้ตรงท่่าน้ำำ�� วััดบางหััวเสืือ เพื่่�อเป็็นอนุุสรณ์์แทนที่่เ� ดิิมที่่ฝั� งั ดิินอยู่่�ใต้้ดินิ ความน่่าสนใจของวััดบางหััวเสืือ คืือเป็็นวััดเก่่าแก่่ที่่�ไม่่ทราบ นามผู้้�สร้้าง มีีประวััติสัิ นั นิิษฐานว่่า น่่าจะได้้รับั การสร้้างขึ้้น� ในช่่วงปีี พ.ศ. ๒๓๐๐ ตรงกัับปลายสมััยกรุุงศรีีอยุุธยา มีีเอกลัักษณ์์เป็็นโบสถ์์ ๒ ชั้้�น ขนาดใหญ่่ มีีเอกลัักษณ์์ซึ่่�งประดัับด้้วยเซรามิิกทั้้�งหลััง สวยและงดงามสะดุุดตา เมื่่อ� มาถึึงที่่วั� ดนี้้ ั แ� ล้้ว ต้้องไม่่พลาดที่่จ� ะเข้้าชม ภายในอุุโบสถชั้้�นบนด้้วย เพราะมีีจุุดเด่่นอยู่่�ที่่�ประติิมากรรมปููนปั้้�น เป็็นพุุทธประวััติิแบบ ๓ มิิติินููนออกมาจากผนััง ว่่ากัันว่่าเป็็นฝีีมืือ ของช่่างสิิบหมู่่�จากจัังหวััดเพชรบุุรีี ที่่�มีีชื่่�อเสีียงในเรื่่�องของฝีีมืือ ที่่�วิิจิิตรติิดอัันดัับต้้น ๆ ของประเทศ และสวยเป็็นที่่�หนึ่่�งในจัังหวััด สมุุทรปราการเลยทีีเดีียว โบสถ์ ๒ ชั้น มีเอกลักษณ์ที่การประดับด้วยเซรามิกทั้งหลัง The entire two-story chapel uniquely adorned with ceramic
เจดีย์รูปเรือสำ�เภา รอยอดีตของชนชาติมอญที่หลงเหลืออยู่ The Chinese junkboat-shaped pagoda, a trace of the Mon's past
ส่่วนโบสถ์์เก่่าของวััด ที่่เ� คยเป็็นฉางข้้าวของพระเจ้้าตากสิินนั้้น� มีีพระพุุทธรููปน้ำำ�� หยด ชื่่�อว่่าหลวงพ่่อน้ำำ�� มนต์์ทิพิ ย์์ ปางประจำำ�วันั พุุธ คืือ ปางอุ้้�มบาตร เดิิมนั้้�นอยู่่�ที่่�มณฑปศาลาการเปรีียญหลัังเก่่า แต่่เมื่่�อทางวััดมีีโครงการสร้้างมณฑปและศาลาการเปรีียญหลัังใหม่่ เมื่่อ� ปีี พ.ศ. ๒๕๕๐ ทำำ�ให้้มีีการย้้ายพระพุุทธรููปต่่าง ๆ ซึ่ง่� มีีทั้้�งหมด ๒๙ องค์์ มาไว้้อีีกฝั่่ง� หนึ่่ง� มีีเรื่่อ� งเล่่าว่่า เมื่่อ� ย้้ายมาถึึงองค์์หลวงพ่่อ น้ำำ�� มนต์์ทิพิ ย์์ คนที่่ทำ� �ก ำ ารย้้ายได้้สังั เกตเห็็นว่่ามีีน้ำำ�� ไหลออกมาระหว่่าง อุ้้�งมืือพระพุุทธรููปที่่อุ้้�� มบาตร และเมื่่อ� ดููที่บ่� าตร ก็็ไม่่ได้้เห็็นว่่ามีีน้ำำ�ขั � งั จะมีีก็็เพีียงแค่่เศษฝุ่่�นเกาะเท่่านั้้�น ซึ่่�งนัับเป็็นความน่่าอััศจรรย์์ใจ เป็็นอย่่างมาก จนถึึงปััจจุุบััน ก็็ยัังปรากฏว่่า มีีน้ำำ��หยดออกมาบ้้าง ในปริิมาณเล็็กน้อ้ ย 58 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
หลวงพ่อวัดบ้านแหลม ปางพระอุ้มบาตร พระประจำ�วันของคนเกิดวันพุธ Luang Pho Wat Ban Laem, a Buddha image of Wednesday holding an alms bowl
ประติมากรรมปูนปั้น เป็นพุทธประวัติสามมิตินูนออกมาจากผนัง 3D high-relief stucco sculptures from the wall depecting the Buddha's life April - May 2021
59
ชีวิตริมแม่น้ำ� เพิ่มความกลมกล่อมและมีสีสันให้ชุมชน A riverine life bringing colors to the community.
The traditional local lifestyle had partially changed. For instance, most residents are no longer native, coconut farming and coconut sugar became stories, plantations turned into housing estates, and roads replaced canals. However, the community center at Wat Bang Hua Suea with Khlong Bon and Khlong Lang remain charming. Since the dam and floodgate installation at the canal, locals began to grow fruits and vegetables again. In summer, visitors should not miss a chance to try their uniquely sweet Nam Dok Mai mangoes, explore Wat Bang Hua Suea Waterfront Market, and, with some lucks, taste locally grown fruits and vegetables on Sunday. At the community center at Wat Bang Hua Suea, visitors will be amazed by Mon traces at the Chinese junk-boatshaped pagoda. During the renovation, the temple filled the land without pulling the pagoda up first, leaving it sunk in the ground. Later, a new Chinese junk boat was constructed and 60 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
painted vividly at Wat Bang Hua Suea Pier as a new monument. Interestingly, Wat Bang Hua Suea is an ancient temple by an anonymous builder, presumably built around 1757, during the late Ayutthaya period. Its entire two-story gigantic chapel was uniquely and magnificently adorned with ceramic. The upper floor houses the must-see distinctive 3D high-relief stucco sculptures from the walls that depict the Lord Buddha’s life by the royal artisans from Phetchaburi. The masterpieces are among the finest in the country and the most exquisite ones in Samutprakan. The old chapel, a former King Taksin’s rice barn, enshrines Luang Pho Nam Mon Thip, a Buddha image of Wednesday holding an alms bowl. After a new sermon hall with a pyramidal roof was constructed in 2007, a total of 29 Buddha images in various poses were invited from the old sermon hall. The person who relocated Luang Pho Nam Mon Thip noticed the water dripping through its palms, and was surprised by
หลัังจากชมความงามของสถาปััตยกรรมที่่วั� ด ั และได้้กราบไหว้้ นมััสการสิ่่�งศัักดิ์์�สิิทธิ์์�ของวััดแล้้ว ควรเผื่่�อเวลาสำำ�หรัับเดิินบริิเวณ รอบวััดด้ว้ ย ที่่�ท้า้ ยวััดจะมีีบัันไดเล็็ก ๆ ให้้เดิินไปที่่ค� ลองบน ซึ่ง�่ อยู่่� ทางด้้ า นที่่� จ ะทำำ � ให้้ ม องเห็็ น สะพานภูู มิิ พ ล เมื่่� อ ลงเดิิ น ไปตาม สัันเขื่่�อนแล้้ว จะเห็็นบรรยากาศของแม่่น้ำำ��เจ้้าพระยา ที่่�มีีวิิวของ สะพานภููมิิพล กัับเรืือจอดรัับ-ถ่่ายสิินค้้า ซึ่่�งเป็็นมุุมสวยแปลกตา มากมุุมหนึ่่ง� ส่่ ว นอีีกมุุ ม หนึ่่� ง ของวัั ด อยู่่�ฝั่่� ง ด้้ า นข้้ า งเป็็ น มุุ ม ตะวัั น ตก ซึ่่� ง มีีอีีกบรรยากาศ ที่่� ทำำ �ให้้ นึึกย้ ้ อ นไปถึึงชุุ ม ชนในสมัั ย ก่่ อ นได้้ บ้้างว่่า ครั้้�งหนึ่่�งก่่อนที่่�จะมีีถนน ชุุมชนแบบที่่�อยู่่�กัันดั้้�งเดิิมนั้้�น มีีความสงบร่่มรื่่น� ในบรรยากาศเป็็นอย่่างไร ทำำ�ให้้พอจะจิินตนาการ วิิถีีชีีวิิตของความเป็็นชุุมชนแห่่งแม่่น้ำำ��เจ้้าพระยาที่่�คลองล่่างนี้้� ได้้ จากคลองล่่างที่่�เป็็นฝั่่�งดงต้้นจาก ยัังเผยให้้เห็็นบางส่่วนของโบสถ์์ ที่่ส� วยจากอีีกมุุม เสาหงส์์ที่โ่� ดดเด่่นแต่่ไม่่เดีียวดาย เหมืือนเชื้้อ� เชิิญ ให้้เราเดิินเข้้าหาชุุมชน เปิิดสายตาพบในสิ่่�งที่่� ไม่่เคยเห็็น และเป็็น เหมืือนสััญลัักษณ์์ที่เ่� ชื่่อ� มต่่อถึึงการเป็็นอยู่่�แห่่งอดีีตกัับสภาพแวดล้้อม สัันเขื่่�อนทางเดิิน และสะพานไม้้เล็็ก ๆ ที่่�ทอดลึึกเข้้าไปใน ดงจาก สุุดทางเป็็นบ้้านแต่่ละบ้้าน นิ่่�งสงบจนเหมืือนสบตากัับภาพวาด ที่่อ� ยู่่�บนแผ่่นผ้้าใบผืืนใหญ่่มากกว่่าเป็็นภาพจริิง ในความธรรมดาของชุุ ม ชนที่่� ไ ม่่ ไ ด้้ มีี ความหวืื อ หวาเป็็ น องค์์ประกอบ แต่่มีีธรรมชาติิในแบบที่่�ไม่่ได้้รับั การปรัับแต้้มแต่่งเติิม ปลายทางการเดิินทางของวัันนั้้น� ก็็อาจจะกลายเป็็นห้้องเรีียนเคลื่่อ� นที่่� ที่่ทำ� �ำ ให้้เราได้้เปิิดตาเปิิดใจรู้้�จักสิ่่ ั ง� ใหม่่ ๆ ใกล้้ ๆ ตััวได้้
how there was no water but some dust in the bowl. Even at present, it appears that water still drips in a small amount. After admiring the temple architecture and worshipping the sacred Buddha images, spare time for a walk around the temple. Take a small stair at the back to Khlong Bon to enjoy the view of Bhumibol Bridge, and further down the dam ridge to witness a rare view of the Chao Phraya River with Bhumibol Bridge and ships docking to transfer goods. Khlong Lang on the west of the temple reveals a peaceful atmosphere of traditional ways of life of the communities along the Chao Phraya River in the olden days before the road cut. On one of the banks with abundant nipa palm trees, a beautiful perspective of the chapel and swan pillars does not only invites visitors to discover the unseen in the community but also represents the linkage of the past living and environment. Tracing the dam ridge and the tiny wooden bridge that lay deep into the nipa palm forest, houses rest calmly as if an illustrated scene on a canvas. The community simplicity with nothing superficial but sincere nature transforms an ordinary destination into a mobile classroom that opens up your eyes and hearts to nearby hidden gems.
April - May 2021
61
COVER JOURNEY
ตามหาอัมสเตอร์ดัม ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา
In search of Amsterdam by the Chao Phraya River
ลึึกเข้้าไปในชุุมชนยัังมีีแนวกำำ�แพงหลงเหลืืออยู่่�ในเขตบ้้านคนอาศััยของชุุมชนคงกระพัันชาตรีี The remaining ancient wall line in the residential area of Khongkraphan Chatri Community
62
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
April - May 2021
63
“ถ้้าไม่่มีีการสร้้างอััมสเตอร์์ดััมโดยวิิลัันดา ก็็อาจจะไม่่มีี สมุุทรปราการ” อาจารย์์ ส มชาย ชัั ย ประดิิ ษ ฐ์์ รัั กษ์ ์ นัั ก ประวัั ติิ ศ าสตร์์ สมุุทรปราการ พาเราออกเดิินทางแต่่เช้้าตรู่่� เพื่่อ� ย้้อนกลัับไปตามหา ชุุมชนโบราณ ที่่�ไม่่ใช่่แค่่มีีความสำำ�คัญ ั กัับสมุุทรปราการ แต่่สำ�คั ำ ญ ั ต่่อการเรีียนรู้้�เรื่่�องประวััติิศาสตร์์ชุุมชนโบราณในแผ่่นดิิน ที่่�เป็็น ประเทศไทยในวัันนี้้� เราเริ่่�มต้้นกัันที่่�วััดแค เดิินเท้้าข้้ามสะพานชััน มีีโครงเหล็็ก สีีเหลืื อ งข้้ า มคลองบางปลากด ใกล้้ กัั บ แม่่ น้ำำ� � เจ้้ า พระยาที่่� อ ยู่่� ทางด้้านขวา เสีียงหวููดดัังกัังวานของเรืือสิินค้้าลำำ�มหึึมาเคลื่่�อนผ่่าน จุุดที่่�เราหยุุดอยู่่�กลางสะพาน ดึึงสายตาเราให้้หัันมองไปทางแม่่น้ำำ�� จนกระทั่่�งเรืือลำำ�นั้้�นผ่่านไป อาจารย์์สมชายจึึงเริ่่�มเรื่่�องการเดิินทาง ของเมืืองอััมสเตอร์์ดััม ตามหลัักฐานที่่�ระบุุไว้้ในเอกสาร และ ข้้อสัันนิิษฐานของนัักประวััติศิ าสตร์์ท่า่ นนี้้� เขาชี้้มื� อื ไปยัังด้้านซ้้ายของสะพาน แล้้วเล่่าว่่า “สมััยก่่อนจาก คลองบางปลากดนี้้� สามารถล่่องไปถึึงเมืืองอู่่�ทอง ที่่ยิ่่� ง� ใหญ่่ในเรื่่อ� ง ค้้าขายในเวลานั้้น� เวลาเขาค้้าขาย เขาจะมาตามเส้้นทางแม่่น้ำ�ท่ ำ� า่ จีีน ไปถึึงแม่่น้ำำ��สาขาต่่าง ๆ ที่่�ต่่อไปถึึงสุุพรรณบุุรีี ชััยนาท อู่่�ทอง เป็็นเส้้นทางการค้้าโบราณ ส่่วนอีีกฝั่่�งที่่อ� ยู่่�ตรงข้้ามนั่่น� มีีคลองสำำ�โรง ซึ่่�งเชื่่�อมต่่อไปยัังแม่่น้ำำ��บางปะกง แล้้วเป็็นเส้้นทางยาวที่่�สามารถ ล่่องต่่อไปจนถึึงนครวััด ซึ่่�งคลองสำำ�โรงนี้้�เป็็นคลองโบราณที่่�เก่่าแก่่ เพราะมีีหลัักฐานกล่่าวว่่า “ต้้องมีีการขุุดลอกคลองสำำ�โรง” ในสมััยนั้้น� นั่่� นแปลว่่ า คลองนี้้� มีี มานานแล้้ ว และเป็็ น เส้้ น ทางการค้้ าขาย แต่่ในประวััติศิ าสตร์์ไทยมัักพูดถึึ ู งแค่่เรื่่อ� งการรบกัับอาณาจัักรนครวััด คนสมััยนั้้�นไม่่คุ้้�นเรื่่�องทะเล จึึงไม่่มีี ใครเลี้้�ยวออกไปทางอ่่าวไทย แต่่จะข้้ามแม่่น้ำ�ำ� ไปอีีกฟาก ออกทางคลองสำำ�โรง เพื่่อ� ไปนครวััดแทน” แม่่น้ำำ��เจ้้าพระยา จากกลางสะพานข้้ามคลองบางปลากด Chao Phraya River from the bridge over Khlong Bang Pla Kot
64
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
จากฝั่่�งวััดแค มีีสะพานโครงเหล็็กสีีเหลืือง ข้้ามคลองบางปลากด From Wat Khae, a yellow steel-structured bridge over Khlong Bang Pla Kot
“Without Amsterdam built by Vilanda, there would have been no Samutprakan.” Ajarn Somchai Chaipraditrak, a Samutprakan historian, headed us out since early morning in search of an ancient community that played a significant role to Samutprakan and the historical studies of ancient communities in Thailand today.
สุุดชุุมชนริิมน้ำำ�� ครั้้�งหนึ่่�งสัันนิิษฐานว่่า เป็็นอู่่�ซ่่อมเรืือใหญ่่ วัันนี้้�ชาวบ้้านใช้้เป็็นที่่�ซ่่อมเรืือเล็็ก The edge of the waterfront community was once a large shipyard where locals now repair boats.
April - May 2021
65
จากฝั่่�งชุุมชนกัับความเวิ้้�งว้้างกว้้างใหญ่่ของแม่่น้ำำ��เจ้้าพระยา The vastness of the Chao Phraya River from the shore
แผ่่นแผนที่่�จากปีี พ.ศ. ๒๔๕๕ Ancient maps from 1912
อาจารย์์ให้้ข้้อมููลทางประวััติิศาสตร์์ในขณะที่่�มืือถืือแผนที่่� ที่่�วาดจากชาวต่่างชาติิ ระบุุชื่่�อสถานที่่�รอบ ๆ คลองบางปลากด และในนั้้�นระบุุเมืืองอััมสเตอร์์ดััม ในตำำ�แหน่่งบนฝั่่�งที่่�เรากำำ�ลััง ข้้ามสะพานไปที่่�ชุุมชนบ้้านคงกระพัันชาตรีี ลึึกเข้้าไปด้้านคลองห่่าง แม่่น้ำ�ำ� ไปถึึง ๑.๔ กิิโลเมตร “แต่่ผมว่่าไม่่น่า่ ใช่่ เพราะมีีหลัักฐานบัันทึึก จากคนเดิินทางที่่�มาจากทะเลว่่า มีีการเห็็นเรืือมาจอดที่่�บ้้านวิิลัันดา ซึ่่ง� คืืออััมสเตอร์์ดัมั ณ บริิเวณชุุมชนนี้้ม� ากกว่่า” ในช่่วงประมาณกลางพุุทธศตวรรษที่่� ๒๒ ชาวฮอลัันดาเริ่่ม� ติิดต่อ่ กัับอาณาจัักรกรุงุ ศรีีอยุุธยา และได้้รับั เอกสิิทธิ์์ท� างการค้้าขายสิินค้้า มากมาย จนถึึงสมััยสมเด็็จพระเจ้้าทรงธรรม กองเรืือชาวฮอลัันดา ได้้ช่่วยปกป้้องราชสำำ�นััก พระองค์์จึึงโปรดเกล้้าฯ พระราชทาน ที่่�ดิิน บริิเวณด้้านเหนืือของคลองบางปลากดให้้สร้้างเมืือง (นิิว) อััมสเตอร์์ดัมั เป็็นชุุมชนอยู่่�อาศััยและคลัังเก็็บสิินค้้า “พอมีีการสร้้าง อััมสเตอร์์ดััมตรงนี้้� สมเด็็จพระเจ้้าทรงธรรมทรงมีีความกัังวลว่่า หากไม่่มีีการสอดส่่องใกล้้ ๆ แล้้ว อาจจะไม่่ปลอดภััย เพราะมีี การขอสร้้างป้้อม และมีีปืืนเพื่่อ� ป้้องกัันสิินค้้า ดัังนั้้น� จึึงมีีพระราชดำำ�ริิ ให้้สร้้างเมืืองใหม่่ขึ้้�นตรงนี้้� เพื่่�อเป็็นการป้้องกัันราชธานีี นั่่�นก็็คืือ เมืืองสมุุทรปราการอยู่่�ทางฝั่่�งใต้้” การเดิินเท้้าเที่่�ยวชุุมชนยิ่่�งตื่่�นเต้้นขึ้้�น เพราะการที่่�เราได้้เห็็น ภููมิิทััศน์์ปััจจุุบััน อัันเผยให้้เห็็นว่่า ถ้้าไม่่มีีการสร้้างอััมสเตอร์์ดััม ก็็จะไม่่มีีการสร้้างสมุุทรปราการ นั้้�นใกล้้ชิิดกัันขนาดไหน เราเดิิน เข้้าชุุมชนไปจนเกืือบถึึงริิมแม่่น้ำำ�� ทางขวามืือมีีบ้้านของ ป้้าน้้อย หรืือ กรกมล สุ่่�นจัันทร์์ รองประธานชุุมชนบ้้านคงกระพัันชาตรีี อาจารย์์เอาแผนที่่ฝรั่่ � ง� ที่่พ� กมาด้้วยกางคุุยกัับป้้าน้้อย ทั้้�งสองไล่่นิ้้ว� ไป 66 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
ตามแผ่่นแผนที่่จ� ากปีี พ.ศ. ๒๔๕๕ ที่่ทำ� �ำ ให้้เห็็นชััดว่า่ สมุุทรปราการนั้้�น เป็็นเมืืองหน้้าด่่านก่่อนถึึงพระนคร อาจารย์์ชี้้� ไปเล่่าไปว่่า “ตรงนี้้� คืือเมืืองอััมสเตอร์์ดััมที่่�คนฝรั่่�งฮอลัันดามาค้้าขายกััน มีีบัันทึึกจาก คนฮอลัันดาเล่่าว่่า กำำ�ลัังมีีการลงสิินค้้า ๕๐๐ ตััน และกำำ�ลััง มีีของเดิินทางมาลงอีีก ๑,๐๐๐ ตััน แสดงว่่าอััมสเตอร์์ดัมั สามารถ รัับของได้้มากถึึง ๑,๕๐๐ ตััน และมีีคนเดิินเรืืออาศััยอยู่่� ป้้าน้้อย ต่่อประโยคของอาจารย์์ทันั ทีีว่่า “แสดงว่่าอััมสเตอร์์ดัมั ต้้องมีีมาก่่อน ป้้อมคงกระพััน เพราะป้้อมนี้้ส� ร้้างในรััชกาลที่่� ๒” เรานิ่่�งกัันไปชั่่�ววิินาทีีจากคำำ�สัันนิิษฐาน จากนั้้�นจึึงเก็็บแผนที่่� แล้้วออกเดิินเข้้าชุุมชนไปหาหลัักฐานแห่่งอดีีตของเมืืองโบราณ ที่่เ� หลืือ เราผ่่านบ้้านที่่มีีน้ำ � �ขั ำ� งั บนพื้้�นบ้้าง บนทางเดิินไม้้แผ่่นเดีียวบ้้าง พื้้�นดิินน้ำำ��แห้้งบ้้าง สัักครู่่�เดีียวก็็สู่่�เส้้นทางเลีียบแม่่น้ำำ�� ที่่�อิิฐโบราณ ก้้อนใหญ่่แน่่นกลืืนตััวเป็็นเนื้้�อเดีียวกัับดิิน ลุุ ง ตึ๋๋� ง เดิิ น ออกมาจากบ้้ า นที่่� ติิ ด อยู่่�กัั บ บริิ เ วณที่่� เ หมืื อ น เมืืองโบราณของซากป้้อมเก่่า พาเราเดิินเลาะไปบนพื้้�นนุ่่�มจากใบไม้้ กึ่่�งแห้้งกึ่่�งเปีียก ที่่�ร่่วงลงมาจากต้้นไม้้ใหญ่่คลุุมทั่่�วบริิเวณร้้าง ที่่�มีีป้้อมอยู่่�ด้้านในสุุด เราเห็็นแผ่่นอิิฐชิ้้�นใหญ่่โผล่่แทรกรากไม้้ เพ่่ ง หนัั ก เข้้ า จึึงเห็็ น ว่่ า อิิ ฐ ก่่ อ นั้้� น คืื อ แนวกำำ � แพงหนาปรัั กหัั กพัั ง เป็็นแนวเดีียวกัันไปถึึงป้้อม ในร่่มเงาของต้้นไม้้ที่่�เป็็นเหมืือนป่่า “เดิิมทีีมีีทีีมฝรั่่�งเข้้ามาสำำ�รวจเมื่่อ� ๑๐ กว่่าปีีที่แ่� ล้้วมาถ่่ายรููปกำำ�แพงไป เข้้าใจว่่าเป็็นซากเมืืองอััมสเตอร์์ดัมั แต่่สองสามปีีหลัังจากนั้้�น เขาแก้้ใหม่่ ว่่าเป็็นซากของป้้อมคงกระพััน ซึ่่�งแสดงว่่าป้้อมนี้้� สร้้างทัับสถานที่่� ที่่�เคยเป็็นชััยภููมิิเมืืองอััมสเตอร์์ดััมเก่่า เพราะในการทำำ�การค้้า ต้้องมีีอาวุุธ เรืือรบ คนเฝ้้า เพื่่�อตรวจดัักคนชาติิอื่่�นอย่่างฝรั่่�งเศส
ระหว่่างทางเดิินเข้้าชุุมชน Top: On the way into the community
เห็็นตามแผนที่่�ว่่า สมุุทรปราการนั้้�นเป็็นเมืืองหน้้าด่่านก่่อนถึึงพระนคร The map showed Samutprakan as an outpost before the capital
อิิฐโบราณก้้อนใหญ่่แน่่นเป็็นเนื้้�อเดีียวกัับดิิน Large ancient bricks blended with the ground
From Wat Khae, while crossing a steep, yellowstructured bridge over Khlong Bang Pla Kot, the resonant whistle of an enormous cargo ship made us turn around to the Chao Phraya River on the right and watch as it passed by. Ajarn Somchai began sharing the journey of Amsterdam City, evidenced in his documents and hypotheses. He pointed to the left and said, “In the past, you could sail down this Khlong Bang Pla Kot to U-thong, a former famous trade city. Traders traveled along the Tha Chin River to other river branches, connected to Suphanburi, Chainat, and U-thong, an ancient trade route. The opposite is Khlong Samrong, connected to Bang Pakong River and further to Angkor Wat. Despite ancient records about the excavation of Khlong Samrong and its role as a trade route, Thai history usually mentioned the battle of Angkor Wat. People were unfamiliar with the sea, so instead of the Gulf of Thailand, they crossed the river, exited via Khlong Samrong to Angkor Wat. Ajarn shared historical information while holding a map drawn by foreigners with names of places around Khlong Bang Pla Kot, specifying Amsterdam city was on the other side of the bridge to Ban Khongkraphan Chatri Community, 1.4 km deep into the canal from the river. “I don’t think so. A record by sea travelers witnessed ships docking at Ban Vilanda, so Amsterdam was more likely in this community.” In the mid-22nd Buddhist Era, the Dutch began their contact with the Ayutthaya Kingdom and received many trade privileges. During the reign of King Songtham, the Dutch fleet helped protect the royal court; hence, the king bestowed land on the north of Khlong Bang Pla Kot to build (New) Amsterdam City as a living community and warehouse. “Afterwards, King Songtham realized it could be unsafe without close observation due to their requests to build forts and carry guns to guard the products. He ordered the construction of a new city to protect the capital, Samutprakan in the South.” The community walk got more exciting as we watched the landscape, realizing that without building Amsterdam, there would have been no Samutprakan. Almost to the riverffront, on the right, was the house of Aunty Noi – Konkamon Sunchan, VP of Ban Khongkraphan Chatri Community. While talking to Aunty Noi, Ajarn traced his fingers on the map from 1912 that clearly showed Samutprakan as an outpost before the capital. He said, “this is Amsterdam where the Dutch came to trade. A Dutch record mentioned unloading 500 tons April - May 2021 67
ไม่่ ใ ห้้ ไ ปซื้้� อ ของในอยุุ ธ ยา เพราะฮอลัั น ดาได้้ รัั บ พระราชทาน ให้้ผูกข ู าดการค้้าเพีียงชาติิเดีียว ผมเข้้าใจว่่า ตอนสิ้้น� กรุุงศรีีอยุุธยา น่่าจะโดนเผาจากพม่่าด้้วย เพราะพม่่าก็็มาธนบุุรีี แล้้วข้้ามมาตีี ถึึงที่่� นี่่� พอสมัั ย รัั ชก าลที่่� ๒ มีีการสร้้ า งป้้ อ มป้้ อ งกัั น พระนคร ขึ้้�นใหม่่หลายป้้อม และคาดว่่าป้้อมแห่่งนี้้�สร้้างทัับพื้้�น ที่่�เก่่าที่่�มีี ความเป็็นเนิินอยู่่�แล้้ว ไม่่งั้้น� ก็็ต้อ้ งถมใหม่่ ข้้อสัันนิิษฐานของการสร้้าง ป้้อมคงกระพััน น่่าจะเป็็นการสร้้างทัับเมืืองอััมสเตอร์์ดััม ไม่่ได้้ สููญสลายไปไหน” อาจารย์์อธิิบายขณะที่่เ� รายืืนอยู่่�ริมิ แม่่น้ำ�ำ� ถึึงจะจิิ น ตนาการไม่่ ง่ ่ า ย แต่่ เ ข้้ า ใจตามภูู มิิ ทัั ศ น์์ ริิ ม น้ำำ� � ซึ่ง่� เป็็นที่่จ� อดเรืือ ลุุงตึ๋๋ง� เองก็็ใช้้เป็็นที่่ซ่� อ่ มเรืือเหมืือนกัันกัับสมััยก่่อน มีีการบัั น ทึึกว่่ า มีีการลากเรืือจากชวามาซ่่อมที่่�อู่่�อััมสเตอร์์ ดััม เพราะฝีีมือื ช่่างไทยเยี่่ย� มและราคาถููก “ในบัันทึึกโบราณยัังมีีเขีียนอีีก บอกว่่า ในตอนที่่�มีีฝรั่่�งนอนเมาอยู่่� ก็็ถููกเสืือคาบไป แสดงได้้ว่่า เคยเป็็นป่่าและมีีเสืือมาก่่อน ส่่วนอีีกฉบัับบอกว่่า จะมีีคนเข้้าไป สำำ�รวจข้้างในแต่่เข้้าไปไม่่ได้้ มีีแต่่ ลิิง และลึึกไปอีีกก็็จะมีีเสืือ เพราะมีีกะลาสีีเรืือถููกคาบไปอะไรแบบนี้้�” อาจารย์์เล่่าขณะที่่�เรา เดิินเลาะตุ่่�มโบราณ ท่่ามกลางรากไทรและบ้้านไม้้เก่่าของผู้้�ที่่�เคย อาศััยอยู่่�ล่า่ สุุด ข้้าง ๆ ซากป้้อมที่่ถู� กู ลืืม เราเดิินตามทางลึึกเข้้าไปในชุุมชน ในจุุดที่่�ยัังมีีแนวกำำ�แพง หลงเหลืืออยู่่�ในเขตบ้้านคนอาศััย ซึ่ง่� ป้้าน้้อยได้้เล่่าระหว่่างทางไปว่่า สมััยก่่อนเห็็นแนวกำำ�แพงยาวเข้้าไปในชุุมชนมากกว่่านี้้� แต่่เพราะ
of products as 1,000 tons more were on the way. It means Amsterdam had over 1,500 tons of capacity, and seafarers lived here.” Aunty Noi added, “That means Amsterdam existed before Khongkraphan Fort, built in King Rama II’s period.” We paused for a second at the hypothesis, rolled the map, and continued to the community to look for the remaining evidence of the ancient city. Past waterlogged houses, on a single wooden board and dry land, to a riverfront path, paved with large ancient bricks and dirt. Uncle Tueng appeared from a house next to ancient fort remains and led us to the deserted area covered with half wet and half dry leaves from large trees with a fort at the innermost corner. With a close look, we realized the large bricks between the tree roots were the ruins of a thick wall line that stretched to the fort in the forest-like shadiness. “A western team surveyed ten years ago and believed the wall was the ruin of Amsterdam, but later corrected as the ruin of Khongkraphan Fort. It means the fort was built on the former strategic location of Amsterdam. Trading required weapons, warships, and guards to prevent foreigners such as the French from trading in Ayutthaya because the Dutch were royally
ลุุงตึ๋๋�ง ป้้าน้้อย และอาจารย์์สมชาย ริิมน้ำำ��หน้้าซากป้้อมคงกระพััน Uncle Tueng, Aunty Noi, Ajarn Somchai, and remains of an ancient fort
เรืือไม้้ที่่�จอดรอการซ่่อม A wooden boat waiting for a repair
68
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
ซากป้้อมคงกระพัันที่่�ควรได้้รัับการเก็็บรัักษาให้้เป็็นอนุุสรณ์์สถาน Ancient fort remains worth preserving as a monument
ช่่องกำำ�แพงสำำ�หรัับส่่องปืืน The wall slit for gunfire
ริิมฝั่่�งเจ้้าพระยาวัันนี้้�ยัังใช้้เป็็นอู่่�ซ่่อมแซมเรืือเหมืือนครั้้�งอดีีต The shore along the Chao Phraya River is still used as a dockyard to fix boats
ไม่่มีีใครรู้้�เรื่่อ� งราวความเป็็นมา ทำำ�ให้้กำ�ำ แพงโบราณถููกทุบุ ทิ้้ง� ไปบ้้าง ตามการขยายครอบครััว และยัังไม่่มีีการสำำ�รวจแน่่ชัดว่ ั า่ มีีอาณาเขต ที่่แ� ท้้จริิงขนาดไหน น่่าเสีียดายที่่� นิิวอััมสเตอร์์ดััม แห่่งสมุุทรปราการไม่่เหลืือ แม้้แต่่ซากให้้ใครได้้เห็็น และไม่่มีีใครสามารถชี้้จุ� ดุ เมืืองเก่่าแก่่นั้้น� ได้้ แต่่อาจารย์์และป้้าน้้อยยัังมีีความหวัังว่่า หากมีีการศึึกษาหาหลัักฐาน จากซากโบราณสถานเท่่าที่่�ยัังหลงเหลืืออยู่่� ณ วัันนี้้�อย่่างจริิงจััง อาจจะนำำ �ไปสู่่�การค้้ น พบหน้้ า ประวัั ติิ ศ าสตร์์ โ บราณที่่� มีีคุุ ณ ค่่ า อย่่างคาดไม่่ถึึงได้้ เพราะทำำ�เลที่่�ตั้้�งยัังแสดงว่่าใช่่ และยัังมีีซาก ส่่วนความทรงจำำ�ให้้ปะติิดปะต่่ออยู่่� granted trade monopoly. It must have been burned during the fall of Ayutthaya because Myanmar attacked Thonburi, then here. When King Rama II built new fortresses in old areas to protect the capital, I assume that Khongkraphan Fort was built atop the preexisted Amsterdam City,” Ajarn explained as we stood by the river. The waterfront landscape, or the dockyard where Uncle Tueng repaired boats appeared in the record that boats were towed from Java to fix at Amsterdam Dockyard because of excellent Thai craftsmanship and prices. “It also said sleeping drunk westerners got caught by tigers, meaning the area was a forest with tigers. Another said people couldn’t explore inside due to monkeys and tigers as sailors had been caught previously,” said Ajarn while walking past ancient jars among banyan tree roots and old wooden houses next to forgotten fort ruins. สามารถแลกเปลี่่�ยนความรู้้�และเรีียนรู้้�เรื่่�องราวของ ชุุมชนบ้้านคงกระพัันชาตรีี ด้้วยการติิดต่่อป้้าน้้อยที่่� โทรศััพท์์ ๐๘ ๘๐๑๕ ๕๘๖๒
We followed the path deeper into the residential area. Aunty Noi said the ancient wall line used to stretch deep into the community, but because no one knew its background, certain parts had been demolished as families extended, yet there had been no study on its actual territory. Unfortunately, not even the slightest ruin of New Amsterdam of Samutprakan is left to see, and not a person can pinpoint the ancient city. Ajarn and Aunty Noi honestly hope that a serious study on evidence from the remaining ancient ruins today may lead to inestimable discoveries of history when the location echoes its past, and pieces of memories remain to be reconnected.
บริิเวณที่่�โอบล้้อมป้้อมคงกระพััน Embracing Khongkraphan Fort To exchange knowledge and learn more about Ban Khongkraphan Chatri Community, please contact Aunty Noi at Tel. 08 8015 5862 April - May 2021
69
COVER JOURNEY
ตลาดพระประแดง
ย่านจีนในเมืองมอญ ความทรงจำ�ที่ยังมีลมหายใจ
Phra Pradaeng Market,
the Chinatown in a Mon city, and the living memories 70
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
April - May 2021
71
ศาลเจ้้าพ่่อหลัักเมืืองพระประแดง ถืือเป็็นแห่่งเดีียวในประเทศไทย ซึ่่�งประดิิษฐานองค์์พระพิิฆเนศบนเสาหลัักเมืือง Phra Pradaeng City Pillar Shrine, the only place in Thailand with Ganesha statue on the city pillar
72
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
ถนนนครเขื่่� อ นขัั น ธ์์ จากเชิิ ง สะพานข้้ า มคลองลัั ด หลวง บรรจบถนนศรีีนครเขื่่�อนขัันธ์์ ตรงท่่าเรืือโดยสารเทศบาลเมืือง พระประแดง คลาคล่ำำ��ไปด้้วยผู้้�คนตั้้�งแต่่เช้้าตรู่่� หลายชีีวิิตเริ่่�มต้้น วิิถีีชีีวิิตวัันใหม่่บนถนนสายนี้้� ทั้้�งใส่่บาตร จัับจ่่ายกัับข้้าวกัับปลา หอบหิ้้�วสััมภาระ เรีียกใช้้บริิการสามล้้อถีีบ พาหนะที่่�ยัังได้้รัับ ความนิิยมมาถึึงปััจจุุบันั ซึ่ง่� ส่่วนใหญ่่จะปัักหลัักพักั คอยผู้้�โดยสารบริิเวณ หััวมุุมถนนบ้้านแซ่่ ฝั่่ง� ตรงข้้ามซุ้้�มเฉลิิมพระเกีียรติิ ๘๘ พระชนมพรรษา ศาลเจ้้าพ่่อหลัักเมืืองพระประแดง ฉลอง ๒๐๐ ปีี เมืืองนครเขื่่อ� นขัันธ์์ เหล่่าบรรดาสามล้้อถีีบต่่างบอกเป็็นเสีียงเดีียวกัันว่่า ตรงนี้้คื� อื จุุดนััดหมายสำำ�คััญมาแต่่ไหนแต่่ไร เพราะอยู่่�ตรงข้้ามศาลเจ้้าพ่่อ หลัักเมืืองพระประแดง ที่่ตั้้� ง� อยู่่�ในซอยเล็็ก ๆ ชื่่�อ ถนนหลัักเมืืองสถิิตย์์ ซึ่่�งผู้้�คนต่่างให้้ความเคารพนัับถืือ เป็็นที่่�พึ่่�งในวัันที่่�ต้้องการกำำ�ลัังใจ การได้้กลิ่่�นธููปลอยตามลมออกมาจากศาลหลัักเมืืองจึึงเป็็นเรื่่�อง คุ้้�นชิินของคนแถวนี้้� คุุ ณ สุุ พ จน์์ ลิิ ขิิ ตจิิ ต ถะ เจ้้ า หน้้ า ที่่� ดูู แ ลศาลบอกเราว่่ า เดิิมจะเรีียกกัันว่่า เสาหลัักเมืือง หรืือศาลประจำำ�เมืือง เป็็นศาลไม้้เล็็ก ๆ คล้้ายศาลพระภููมิิ ภายหลัังได้้เปลี่่ย� นมาเรีียกว่่า ศาลเจ้้าพ่่อหลัักเมืือง พระประแดง เป็็นแห่่งเดีียวในประเทศไทยซึ่่�งประดิิษ ฐานองค์์ พระพิิ ฆเนศบนเสาหลัั กเมืือง มาตั้้�งแต่่เริ่่�มสร้้างบ้้านแปงเมืือง ในสมััยรััชกาลที่่� ๒ ที่่�อพยพครอบครััวชาวมอญเข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐาน บริิเวณนี้้� ต่่อมาชาวจีีนเริ่่�มเข้้ามาอยู่่�อาศััย ประกอบอาชีีพค้้าขาย จึึงกลายเป็็นย่่านคนจีีน รายล้้อมด้้วยชุุมชนชาวมอญ From the footbridge, over Khlong Lat Luang, and to Sri Nakhon Khuean Khan Road at Phra Pradaeng Town Municipality Pier, the road was crowded with people since early morning - giving alms, buying food, carrying belongings, and grabbing a tricycle taxi. Most drivers waited for passengers at Ban Sae Road corner, opposite Phra Pradaeng City Pillar Shrine Gate to commemorate HM King’s 88th birthday anniversary and Sri Nakhon Khuen Khan’s 200th anniversary. The tricycle taxi drivers agreed it had always been an important meeting point because it was right opposite Phra Pradaeng City Pillar Shrine, a highly revered spiritual anchor, in a small alley called Lak Mueang Sathit Road. Therefore, locals are familiar with the scent of incense sticks from the shrine. Suphot Likhitchittha, the shrine supervisor, explained that the shrine was originally called City Pillar Shrine, looking similar to a small wooden spirit house. Later, it was renamed Phra Pradaeng City Pillar Shrine, the only place in Thailand with a Ganesha statue on the City Pillar. It was first built during King Rama II’s reign. After Mon immigrants settled down in the April - May 2021
73
“ศาลเจ้้าพ่่อหลัักเมืืองฯ มีีการบููรณะปรัับปรุุงในปีี พ.ศ. ๒๕๑๙ แล้้วเสร็็จ พ.ศ. ๒๕๒๒ สมััยก่่อนรอบ ๆ บริิเวณนี้้�จะมีีโรงยาฝิ่่�น ช่่วงหนึ่่ง� เกิิดค่า่ นิิยมบนบานศาลกล่่าวด้้วยฝิ่่น� เมื่่อ� สำำ�เร็็จจะนำำ�ยางฝิ่่น� มาป้้ายตรงใต้้คางองค์์พระพิิฆเนศเป็็นการแก้้บน ปััจจุุบันั ถููกทองคำำ�เปลว ปิิดทัับจนมองไม่่เห็็นร่่องรอยแล้้ว วััน ที่่� ๒ มิิถุุนายนของทุุกปีี ซึ่่ง� ตรงกัับวัันตั้้ง� พิิธีีลงอาถรรพ์์เสาหลัักเมืืองตามโบราณราชประเพณีี เมื่่อ� ปีี พ.ศ. ๒๓๕๘ จะมีีพิิธีีแห่่พระพิิฆเนศองค์์จำ�ล ำ องไปรอบตลาด เพื่่อ� ให้้ประชาชนสัักการะ และมีีมหรสพเฉลิิมฉลองในตอนกลางคืืน” ถััดจากศาลเจ้้าพ่่อหลัักเมืืองฯ จะพบเห็็นร้้านรวงเก่่าแก่่อย่่าง ร้้านจิินดา เตชะเสน ที่่�อยู่่�มานานร่่วมร้้อยปีี จากคำำ�บอกเล่่าของ คุุณจิิระนัันท์์ เตชะเสน ในวััย ๗๐ ปีี ที่่�สืืบทอดกิิจการจากพ่่อ เดิิมร้้านไม่่ได้้ขายเฉพาะหนัังสืือ แต่่มีีของจิิปาถะทั้้�งเครื่่�องบวช ดอกไม้้กระดาษ เครื่่�องเขีียน ฯลฯ เป็็นสวรรค์์ของเด็็ก ๆ แถวนี้้� เพราะเจ้้าของร้้านใจดีี อนุุญาตให้้มุุดลงไปใต้้แผงหนัังสืือเพื่่�ออ่่าน การ์์ตูนู ที่่เ� รีียงเป็็นสต็็อกเก็็บไว้้ “ชื่่� อ ร้้ า นเป็็ น ชื่่� อ -นามสกุุ ลข องพ่่ อ เมื่่� อ ก่่ อ นถนนสายนี้้� มีีรถเข้้า-ออก มาลงแพขนานยนต์์ข้า้ มไปฝั่่ง� ปู่่เ� จ้้าสมิิงพราย รวมถึึง จากฝั่่�งโน้้นข้้ามมาตลอด การค้้าขายเริ่่�มตั้้�งแต่่เที่่�ยงคืืนไปจนดึึกดื่่�น ของอีีกวััน พระประแดงเป็็นเหมืือนศููนย์์กลางการค้้า คนจากสำำ�โรง ปู่่�เจ้้าสมิิงพราย แม้้แต่่คนกรุุงเทพฯ แถบวงเวีียนใหญ่่ ดาวคะนอง พระราม ๓ ก็็ยัังมาซื้้�อของที่่�นี่่� เพราะมีีทุุกอย่่างทั้้�งอาหารทะเล อาหารแห้้ ง ผลหมากรากไม้้ ตร งวัั ด จวนดำำ �ร งค์์ ร าชพลขัั น ธ์์ มีีท่่าเรืือรัับ-ส่่ง คนจากทุ่่�งครุุ ขึ้้�นจากท่่าเดิิน ทะลุุมาออกถนน นครเขื่่�อนขัันธ์์ ซอยจากท่่าเรืือถึึงตลาดจึึงเป็็นย่่านค้้าขายที่่�คึึกคััก มีีทั้้�งตลาด โรงหนััง โรงงิ้้�ว เรีียกว่่าซอยชุุมนุุมพานิิช แต่่เดี๋๋�ยวนี้้� เปลี่่ย� นคำำ�เรีียกจากซอยเป็็นถนนชุุมนุุมพานิิช”
area, the Chinese poured in for trading and gradually formed a Chinatown amid the Mon community. “The City Pillar Shrine was renovated in 1976 and completed in 1979. Early on, with opium houses in the area, locals redeemed their vow to the holy spirit by applying opium latex under Ganesha’s chin. Now, it is fully covered with gold leaves. On every June 2, marking the anniversary of ancient city pillar consecration day in 1815, there is a land procession of Ganesha replica around the market for public worship and festive performances at night.” Next to the City Pillar Shrine was a century-old Chinda Techasen shop. According to Chiranan Techasen, a 70-year-old owner, who inherited from his father, the shop initially sold mis-
บรรยากาศบริิเวณปากซอยชุุมนุุมพานิิช The entrance of Soi Chumnum Phanit
74
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
April - May 2021
75
บ๊๊ะโป้้ว-หมููแผ่่น อาแปะเอี่่�ยมเซ้้ง ขายมานานกว่่า ๖๙ ปีี Uncle Iam-seng selling Chinese Pork Jerky over 69 years
ห้้องแถวตรงปากซอยเคยเป็็น ที่่�ตั้้�งของธนาคารกรุุงเทพ ธนาคารแห่่งแรกของพระประแดง ต่่อมาได้้เปลี่่ย� นเป็็นร้้านจำำ�หน่่าย รองเท้้าบาจา จึึงเรีียกกัันติิดปากว่่า “ซอยบาจา” แม้้ปัจั จุุบันั จะเปลี่่ย� น เป็็นร้้านสะดวกซื้้�อแล้้วก็็ตาม สิ่่�งที่่�ยืืนยัันความเป็็นย่่านจีีนได้้ดีี คืือ ศาลปึึงเถ่่ากง เทพเจ้้าที่่�เปรีียบเสมืือนเทพารัักษ์์ประจำำ�ชุุมชน ซึ่่� ง มัั ก พบในย่่ า นที่่� ช าวจีีนเข้้ า อยู่่�อาศัั ย หรืื อ ค้้ า ขาย ติิ ด ศาลเจ้้ า ที่่เ� รีียกว่่าตลาดบน จะพบอาแป๊๊ะเอี่่ย� มเซ้้ง สุุตรีีวิวัิ ฒ ั น์์ นั่่ง� ย่่างบ๊๊ะโป้้ว หรืือหมููแผ่่น ด้้วยเตาถ่่านที่่�ดััดแปลงจากกะละมัังใบเล็็ก เป็็นร้้าน ในตำำ�นานของเมืืองพระประแดง ที่่�ย่่างไปขายไปเช่่นนี้้�มาตั้้�งแต่่ปีี พ.ศ. ๒๔๙๕ “ตอนแรกผมขายอยู่่�แถวตรอกไก่่ (ถนนสมิิงปราบพยััคฆา) จำำ�ได้้ว่า่ ขายหมููแผ่่นขีีดละ ๗ บาท ปััจจุุบันั ขีีดละ ๖๐ บาท เมื่่อ� ก่่อนจะทำำ� หมููแผ่่นเอง ใช้้มีีดแล่่เป็็นชิ้้น� บาง ๆ ทีีละชิ้้น� แต่่ชิ้้น� ไม่่ใหญ่่เหมืือนเดี๋๋ย� วนี้้� เอาไปคลุุกน้ำ�ำ� ปลา น้ำำ�ต � าล แล้้วเรีียงบนกระจาด อบจนเนื้้อ� หมููแห้้ง ใช้้เวลาประมาณ ๖-๗ ชั่่�วโมง ถ้้าสัังเกตให้้ดีี หมููแผ่่นที่่ยั� งั ไม่่ได้้ย่า่ ง จะมีีลายของกระจาดติิดอยู่่� แต่่เดี๋๋ย� วนี้้ทำ� �ำ ไม่่ไหว เพราะอายุุ ๘๖ ปีีแล้้ว ต้้องสั่่ง� หมููแผ่่นจากของเพื่่อ� น ซึ่ง่� หมัักด้ว้ ยสููตรเดีียวกััน และเรีียงบน กระจาดเข้้าอบเหมืือนกััน” 76 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
cellaneous items, including ordination supplies, paper flowers, stationery, etc. It was a paradise for local children because the kind owner let them read comics stocked underneath the bookstand. “It was named after my father. This road had cars in and out, taking off at Khananyon Raft, crossing to Pu Chao Saming Phrai bank, and vice versa. From midnight to late night on the following day, Phra Pradaeng was a trade center where people from Samrong, Pu Chao, Wong Wian Yai, Dao Khanong, Rama III bought seafood, dried food, fruits, and vegetables. Ferry passengers from Thung Khru got off at Wat Juan Damrong Rachaphonlakhan, walked through the pier to Nakhon Khuean Khan Road. Soi Chumnum Phanit, a bustling trade district packed with the market, cinemas, Chinese opera houses, is now called Chumnum Phanit Road.” The shophouse at the entrance was where Bangkok Bank, the first bank in Phra Pradaeng, located before changing to Bata shoe shop, and the alley was called “Soi Bata” even
จากร้้ า นหมูู แ ผ่่ น บ๊๊ ะ โป้้ ว เดิิ น ผ่่ า นตลาดเข้้ า มาในซอย ชุุ ม นุุ ม พานิิ ช ร้้ า นรวงหลายแห่่ ง ยัั ง อยู่่�ยืื น หยัั ดผ่ ่ า นกาลเวลา มานานหลายสิิ บ ปีี อย่่ า งซิิ ง เต็็ กไล้้ ที่่� เ ด่่ น เรื่่� อ งขนมเปี๊๊� ย ะเค็็ ม แสงศิิลป์-์ ร้้านถ่่ายภาพ ซึ่ง่� กดชััตเตอร์์ ล้า้ งอััดขยายภาพมานานกว่่า ๖๐ ปีี ฝั่่ง� ตรงข้้ามเป็็นร้้านจิ้้น� เฮง ขายของไหว้้ เครื่่อ� งจัันอัับ ถััดไปเป็็น ร้้านตััดผมชาย แก้้วฟ้้าบาร์์เบอร์์ หลายแห่่งก็็เหลืือเพีียงชื่่อ� ให้้พูดถึึ ู ง และจดจำำ� ในวััน ที่่�ห้้องแถวไม้้และตึึกคอนกรีีต อดีีตกัับปััจจุุบััน ยัังอยู่่�ร่ว่ มกัันได้้อย่่างงดงาม
ร้้านค้้าริิมถนนชุุมชุุมพานิิช กลิ่่�นอายของอดีีตที่่�ยัังงดงามอยู่่�จนถึึงปััจจุุบััน The remaining traditional shops by Chumnum Phanit Road at present
though it is now a convenience store. Another significant element of a Chinatown was the shrine of Pueng Thao Kong, the community guardian deity. At Bon Market, Uncle Iam-seng Sutriwiwat grilled Chinese Pork Jerky on a charcoal stove modified from a small basin. His shop is one of the city’s legends since 1952. “I started selling Chinese Pork Jerky at Trok Kai (On Saming Prap Phayakkha Road) at 7 baht per 100 grams, but now it’s 60 baht per 100 grams. I used to prepare everything myself – finely slicing one by one, blending with fish sauce and sugar, arranging them on trays, and baking for 6-7 hours until dry. Now, I can’t because I’m already 86 years old. I must order from a friend who follows the same marinating recipe and arrangement on the tray before baking.” Then, a walk past the market into Soi Chumnum Phanit, many shops stood tall over decades. For example, Sing Tek Lai - famous for salted Chinese pastry, Saeng Sin - a 60-year-old traditional photo shop, Chin Heng - worshipping supplies and auspicious Chinese sweetmeats, and Kaeo Fa Barbershop. It is simply amazing how wooden shophouses of the past and concrete buildings of the present stand side by side in harmony.
ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองพระประแดง ถนนหลักเมืองสถิตย ตำ�บลตลาด อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เปิดทุกวัน เวลา ๐๖.๐๐-๑๘.๐๐ นาฬิกา
บ๊ะโป้ว-หมูแผ่น อาแปะเอี่ยมเซ้ง ถนนนครเขื่อนขันธ์ (ตรงข้ามห้างทอง ทองใบ๑) ตำ�บลตลาด อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เปิดขายทุกวัน เวลา ๑๒.๐๐-๑๘.๐๐ นาฬิกา โทรศัพท์ ๐๘ ๕๓๗๘ ๔๐๑๗
ร้านจินดา เตชะเสน ถนนนครเขื่อนขันธ์ ตำ�บลตลาด อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เปิดขายทุกวัน : เวลา ๐๖.๐๐-๑๙.๐๐ นาฬิกา โทรศัพท์ ๐ ๒๔๖๒ ๖๒๖๒
Phra Pradaeng City Pillar Shrine Lak Mueang Sathit Road, Talat Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Open daily from 06.00 am – 06.00 pm
Uncle Iam-seng’s Chinese Pork Jerky Nakhon Khuean Khan Road (opposite Thongbai 1 Gold Shop), Talat Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Open daily from 12.00 pm – 06.00 pm Tel. 08 5378 4017
Chinda Techasen Nakhon Khuean Khan Road (opposite Thongbai 1 Gold Shop), Talat Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Open daily approximately from 06.00 am – 07.00 pm Tel. 0 2462 6262 April - May 2021
77
COVER JOURNEY
ปััจจุุบัันยัังมีีผู้้�นำำ�หนัังกลางแปลงไปถวายแก้้บนหรืืองานมงคลทั่่�วไป ซึ่่�งทำำ�ให้้คนรุ่่�นหลัังได้้มีีโอกาสสััมผััสความบัันเทิิงแบบเก่่ากัันอยู่่�บ้้าง At present, new generations can still see traditional entertainment as people still offer outdoor movies to spirits to redeem the vows, and at auspicious ceremonies.
78
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
หอบเสื่อจูงมือกันไปดู หนังกลางแปลง ต่อลมหายใจให้มหรสพพื้นบ้าน
Grab a mat,
walk hand in hand to see outdoor movies, and resuscitate folk entertainment
April - May 2021
79
หนัังกลางแปลงเป็็นมหรสพกลางแจ้้งที่่ค� นไทยในยุุคสมััยหนึ่่ง� ยกให้้เป็็นสุุดยอดแห่่งความบัันเทิิง และเป็็นศููนย์์รวมของทุุกกิจิ กรรม ทางสัังคม ทั้้�งงานประจำำ�ปีี งานฉลองศาลเจ้้า งานบุุญ งานแต่่ง กระทั่่ง� งานศพ เมื่่อ� ไรที่่มีีก � ารฉายหนัังกลางแปลง คืืนนั้้น� จะกลายเป็็น ที่่�พบปะสัังสรรค์์ของคนในชุุมชน ที่่�บางครั้้�งก็็รวมกลุ่่�มดููหนัังกัันจน ค่่อนสว่่าง เมื่่� อโลกเปลี่่� ย นแปลงไปด้้ ว ยการเข้้ า มาของเทคโนโลยีี ผู้้�คนหัันไปเสพความบัันเทิิงชนิิดอื่่�นแทน พฤติิกรรมของการดููหนััง เปลี่่ย� นไปตามยุุคสมััย มหรสพกลางแจ้้งค่่อย ๆ เสื่่อ� มความนิิยมลง ปััจจุุบันั หนัังกลางแปลงจึึงกลายเป็็นของหายาก จนแทบจะเลืือนหาย ไปจากหน้้าประวััติศิ าสตร์์บันั เทิิงท้้องถิ่่น� ของเมืืองไทยเลยก็็ว่า่ ได้้ “นางกวัักภาพยนตร์์” ธุุรกิิจหนัังกลางแปลงสามชั่่�วอายุุคน ของครอบครััวบััวเผืือก เป็็นธุุรกิิจฉายหนัังเจ้้าสุุดท้้ายที่่ยั� ังหลงเหลืือ อยู่่�ของสมุุทรปราการ คุุณเพชร หรืือ สิิทธิโิ ชค บััวเผืือก ทายาทรุ่่�น ๓ ของครอบครััวซึ่ง่� ยัังทำำ�ธุรกิ ุ จิ นี้้� เล่่าให้้เราฟัังระหว่่างที่่กำ� �ลั ำ งั จััดเตรีียม อุุ ปกรณ์์ ฉายหนัั ง เพื่่� อ มอบความบัั น เทิิ ง ให้้ กัั บ คนในชุุ ม ชนย่่ าน คลองตาเค็็ด ตำ�ำ บลท้้ายบ้้าน ในค่ำำ�คื � นื หนึ่่ง� 80 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
To Thai people in the early days, outdoor movies were the ultimate outdoor entertainment and the center of social events such as New Year celebration, shrines’ festivals, meritmaking, wedding and funeral ceremonies. On outdoor movie nights, locals hung out and sometimes enjoyed until dawn. As the world evolved and technologies swept over, people turned to other types of entertainment. The popularity of outdoor entertainment subsided. Now, outdoor cinema becomes so rare and nearly fades off from the local entertainment history of Thailand. “Nang Kwak Phapphayon”, a three-generation old movie projection business of Bua-phueak family, is the last one standing in Samutprakan. Phet or Sitthichok Bua-phueak, the third generation, told us while preparing outdoor movie projection equipment for villagers in Khlong Ta Khet Community, Thai Ban Sub-District.
April - May 2021
81
“ปู่่�ผมชื่่�อ สำำ�รวย บััวเผืือก เดิิมเป็็นคนขัับรถเมล์์ ตอนนั้้�น หนัังกลางแปลงบููมมาก จอแรกของสมุุทรปราการ คืือ เสรีีภาพยนตร์์ ปู่่เ� ห็็นว่่ารายได้้ดีีเลยสนใจ ขอเงิินทุุนจากย่่ามาเปิิดกิจิ การปีี พ.ศ. ๒๕๒๑ ใช้้ชื่่อ� ‘แม่่นางกวััก’ เป็็นชื่่อ� ที่่พ� ระอาจารย์์ที่วั�่ ดั เขาเขีียว จัังหวััดราชบุุรีี ตั้้ง� ให้้ แล้้วจััดฉายงานแรกที่่วั� ดั บางปิ้้ง� วัันเดีียวกัับที่่� สายััณห์์ สัญ ั ญา ออกเพลง ‘นางกวัักมหาเสน่่ห์์’ พอดีี สมััยก่่อนรายการทีีวีีอะไร ก็็ไม่่มีี คนเขารอดููหนัังกลางแปลงกัันทั้้�งนั้้�น เป็็นมหรสพอัันดัับ ๑ ที่่�คนจะหาดููได้้ทุุกวัันสำำ�คััญ อย่่างถึึงวัันพ่่อเมื่่�อไร ที่่�สมุุทรปราการ จะมีีหนัังฉายแทบทุุกจุด ทุ ุ กวั ุ ด ทุ ั กวิ ุ นิ มอเตอร์์ไซค์์ ที่่ศ� าลหลัักเมืือง ตลาดปากน้ำำ� � ศาลากลาง เรีียกว่่ามีีเกิิน ๒๐ จอ” ได้้ ฟั ั ง ทายาทของครอบครัั ว ฉายหนัั ง รำำ �ลึึกถึึ งช่่ ว งวัั น อัันแสนสุุขแล้้ว ภาพในความทรงจำำ�ผุุดพรายขึ้้�น มาเป็็นฉาก ๆ โดยเฉพาะสำำ�หรัับคนที่่�อายุุ ๔๐ ปีีขึ้้�นไป หรืือเกิิดทัันหนัังพากย์์ยุุค ๑๖ มม. ต้้องได้้รู้้�จัักชื่่�อหรืือคุ้้�นหน้้าดาราคู่่�ขวััญยอดนิิยมของยุุค อย่่าง มิิตร-เพชรา, สมบััติ-ิ อรััญญา ฯลฯ รวมทั้้ง� ชื่่อ� หนัังเรื่่อ� งโปรด ในดวงใจของใครต่่อใคร ที่่�ฟัังแล้้วก็็อดคิิดถึึงวัันเวลาเหล่่านั้้�นไม่่ได้้ เช่่น จอมประจััญบาน ร้้อยป่่า อ้้อมอกดิิน เหนืือเกล้้า แมวเหมีียว สายเปล เพื่่�อนรััก ไอ้้แก่่น เทพธิิดาบ้้านไร่่ และแสนรััก ฯลฯ
82
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
“Back when outdoor cinema was a big hit and Seri Phapphayon was Samutprakan’s first screen, Samruai BuaPhueak, my grandfather and a former bus driver, started his own in 1978 named “Nang Kwak” by a master monk of Wat Khao Khiao, Ratchaburi. It was premiered at Wat Bang Ping, when Sayan Sanya released the song “Nang Kwak Mahasane”. With nothing much on TV, everyone looked forward to outdoor movies, the number one entertainment, on important days. On National Father’s Day, it was everywhere in Samutprakan, including temples, motorcycle taxi stations, city pillar shrines, Paknam market, and Provincial Hall. While listening to him reminiscing on good old days, scenes of countless memories reappeared. Especially for those in their 40’s and older, or born in time for 16 mm. dubbed films, must be familiar with the golden couples of the era like Mitr-Phetchara, Sombat-Aranya, etc. or iconic movies like Chom Prachanban, Roi Pa, Aom Ok Din, Nuea Klao, Maeo Miao, Sai Ple, Phuean Rak, Ai Kaen, Thepthida Ban Rai, Saen Rak, etc.
คน ๓ เจเนอเรชัันของแม่่นางกวัักภาพยนตร์์ ผู้้�สืืบทอดอุุดมการณ์์หนัังกลางแปลงเจ้้าสุุดท้้ายของจัังหวััดสมุุทรปราการ Three generations of Mae Nang Kwak Phapphayon and the last outdoor movie operator in Samutprakan.
ในยุุคนั้้น� หากวัันไหนมีีหนัังเร่่มาฉาย คนทั้้ง� หมู่่�บ้า้ นจะได้้ยินิ เสีียง รถหนัังวิ่่ง� มาประกาศสโลแกน “หนัังไทย ฉายชััด ขาดน้้อย” เมื่่อ� ตกเย็็น ก็็จะมีีแม่่ค้า้ ไปจัับจองพื้้�นที่่ที่� เ่� ขาจััดฉาย เพื่่�อขายของกััน อย่่าง ผััดหมี่่� ข้้าวโป่่ง นางเล็็ด ขนมฝัักบััว ถั่่�วลิิสงทั้้�งคั่่�วทั้้�งต้้ม อ้้อยควั่่�น และ ปลาหมึึกบด ส่่ ว นรถหนัั ง ก็็ มีี ยามาขายด้้ ว ย คนจึึงเรีียกกัั น ว่่ า “หนัังขายยา” เป็็นยุุคที่่ค� นหนุ่่�มสาวได้้มีีโอกาสพบกััน และแต่่งงานกััน เพราะหนัังขายยาก็็หลายคู่่� เจ้้าของหนัังกลางแปลงเล่่าต่่ออีีกว่่า สมััยก่่อนสปอนเซอร์์หลััก ของการฉายหนัังจะเป็็น หน่่วยงานราชการ ที่่�มัักต้้องจ้้างไปฉาย กัันทุุกงานอย่่างขาดไม่่ได้้ คนทำำ�หนัังกลางแปลงยุุคนั้้�นก็็แข่่งกััน ที่่แ� สง สีี เสีียง ความอลัังการ จอต้้องสวย ภาพต้้องคมชััด คนฉายหนััง ก็็ต้อ้ งมีีความชำำ�นาญด้้วย ไม่่มีีการปล่่อยให้้หนัังขาดตอน คนลุุกหนีี กลางคัันให้้เสีียชื่่�อ และแข่่งกัันแม้้กระทั่่�งเสีียงคนพากย์์ว่่าใครจะมีี ลููกเล่่นมากกว่่าใคร “แม่่นางกวัักดังั ติิด ๑ ใน ๕ อัันดัับของจัังหวััด เราถููกเลืือก เป็็นตััวแทนจัังหวััดให้้ไปงานฉายหนัังร้้อยจอที่่�ท้้องสนามหลวงทุุกปีี หรืือเวลาวััดไหนมีีงาน เจ้้าภาพจะเอาหนัังจากหลายเจ้้ามาตั้้�งชนกััน แข่่งที่่�คนดูู ใครเยอะสุุดเจ้้านั้้�นชนะ นางกวัักภาพยนตร์์ลงทุุนเต็็มที่่� ถ้้างานระดัับศาลเจ้้าพ่่อหลัักเมืือง หรืืองานไหนเจ้้าภาพจ้้างเรา แบบชุุ ด ใหญ่่ บอกเลยว่่ า หลัั ง คากระเบื้้� อ งวัั ดมีี หล่่ น กัั น บ้้ า ง เพราะเสีียงเราอลัังการมาก April - May 2021 83
น้ำำ��จรวด น้ำำ��อััดลมแบบโบราณ ทั้้�งซาสี่่� น้ำำ��สีี และโซดา ที่่�หลายคนเห็็นแล้้วต้้องบอกว่่า วัันวานยัังหวานอยู่่� Traditional carbonated drinks like Sasi, vibrant drinks, and soda were popular in the old days.
“สมััยก่่อนงานเยอะ ทั้้�งเดืือนไม่่มีีวัันว่่างเลย คิิวเต็็มล้้น ข้้ามปีีตลอด ไปฉายที่่�ไหนถ้้า ๔ โมงเย็็นแล้้วคุุณยัังไม่่มากางเสื่่อ� นะ อย่่าหวัังว่่าจะได้้นั่่ง� ดููสบาย ๆ เพราะที่่จ� ะเต็็มก่่อน ถ้้ามา ๕-๖ โมงเย็็นนี่่� ต้้องไปยืืนชะเง้้อรอดููจากที่่�ไกล ๆ แล้้ว” จากอดีีตที่่�หนัังกลางแปลงเป็็นดััชนีีบ่่งชี้้�ความมีีหน้้ามีีตา ของเจ้้าภาพ มาถึึงวัันนี้้�กลัับเป็็นวัันที่่�คนทำำ�อาชีีพฉายหนัังยอมรัับว่่า เหนื่่อ� ย ดัังที่่เ� จ้้าตััวเปรยอย่่างตััดพ้อ้ ว่่า ปััจจุุบันั นี้้ง� านวััดก็็ไม่่ฉายหนััง งานราชการก็็ไม่่จ้า้ ง ดููเหมืือนว่่าทุุกคนลืืมหนัังกลางแปลงไปหมดแล้้ว เหลืือแต่่งานแก้้บนที่่ยั� งั พอมีีประปรายให้้ได้้ฉายหนัังอยู่่� “ทั้้� ง ๆ ที่่� ห นัั ง กลางแปลงคืื อ รากเหง้้ า ทางวัั ฒ นธรรม หนัังกลางแปลงไม่่เคยมีีข่่าวคนดููทะเลาะวิิวาท ไม่่มีีคนหััวร้้อน เต้้นเหยีียบเท้้ากััน แต่่มัันคืือบรรยากาศความบัันเทิิงแบบบ้้าน ๆ ที่่ทำ� �ำ ให้้เราคิิดถึึงอดีีต พ่่อแม่่ลูกู มากัันทั้้ง� ครอบครััว ซื้้�อลููกชิ้้น� หมึึกย่่าง มานั่่�งกิินกัันไป หนัังตลกก็็หััวเราะเสีียงดัังไม่่มีี ใครว่่า หนัังฉาย ทั้้ง� คืืนมีีคนพากย์์คนเดีียว พากย์์ทั้้ง� พระเอก นางเอก ตััวโกง เจ้้าเมืือง ยายแก่่ หนัังฉาย ๆ อยู่่�มีีพัักโฆษณาขายของ ถ้้าไม่่ซื้้�อไม่่ฉายต่่อ บรรยากาศแบบนี้้ ผ � มก็็ไม่่อยากให้้คนลืืมเลืือนมัันไป” จากอดีีตที่่� เ คยเป็็ น มหรสพคู่่�วิิ ถีีชีีวิิ ต แบบไทย และเป็็ น ความบัันเทิิงที่่ค� นทั่่ว� ไปสามารถเข้้าถึึงได้้ มาถึึงวัันนี้้ที่� ห่� นัังกลางแปลง ถููกลดทอนคุุณค่่าลงมา เหลืือแค่่เป็็นตััวประกอบของการจััดกิจิ กรรม เล็็ก ๆ น้้อย ๆ ซึ่ง่� ไม่่รู้้�เลยว่่าอนาคตของพวกเขาจะเป็็นอย่่างไรต่่อไป ได้้แต่่ตั้้�งความหวัังว่่าความบัันเทิิงรููปแบบนี้้�จะยัังได้้ยืืนหยััดสร้้าง ความสุุขให้้กัับกลุ่่�มคนที่่�หวนหาบรรยากาศในอดีีตที่่�ครั้้�งหนึ่่�งเราเคย หอบเสื่่�อจููงมืือกัันมานั่่�งดููหนัังกลางแปลงกัันโต้้รุ่่�ง 84 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
On a projection day, villagers would hear a movie promotion truck and the slogan “Thai movies, clear and consistent projection.” By evening, vendors gathered to sell Stir-Fried Noodles, Khao Pong, Nang Let, Khanom Fak Bua, peanut, sugar cane, and grilled squid. Since the projection truck also sold medicine, it was called the “medicine-selling movie” where singles met and even married. The outdoor cinema business owner added that the key sponsors were government officials who hired this indispensable feature at every event. Outdoor movie operators competed on the spectacular lighting, sound, and screen, crystal-clear and professionally smooth projection to keep the audience in seats, as well as brilliant dubbing skills. “Mae Nang Kwak,” as the top-five, was chosen as the province’s representative at the 100 outdoor cinema screens event at Sanam Luang every year. At temple fairs, the host had operators screening next to one another, and whoever had the most audience won. So, we went full-on extravaganza, particularly at city pillar shrine fairs or highly paid events.” “We were fully booked over the years and not a day off. Wherever we screened, if you hadn’t unrolled your mat by 4 pm, you could forget comfortable seats. Arriving at 5-6 pm meant standing while watching from afar.”
ฟิิล์์มหนััง เครื่่�องฉายแบบเก่่า หรืือแม้้กระทั่่�งคนพากย์์หนััง ซึ่่�งปััจจุุบััน กำำ�ลัังจะกลายเป็็นแรร์์ไอเทม ของหายากส่่วนหนึ่่�งในวััฒนธรรมชุุมชนของไทย The movie reel, traditional projector, and voice actor become rare in Thai community culture.
Outdoor movies once indicated the host’s reputation. However, these days, temple fairs no longer screen movies, the government no longer hires, everyone seems to have entirely forgotten outdoor cinema, and operators survive on sparse Kae Bon events (redeeming a vow to the holy spirit). “Outdoor cinema was a cultural root. Without any fight among the audience, this modest local entertainment reminds us of families buying and eating meatballs and grilled squid while laughing at a movie together. All the movies throughout the night were voiced over by one person covering protagonists, antagonists, city rulers, and old lady. A commercial break would cut in the middle. No buying, no continuation. I don’t want people to forget such atmosphere.” From a commonly accessible entertainment alongside Thai lives, outdoor movies have become a mere addition of a small event at present. Although their future path remains unclear, we honestly wish that it could continue to bring happiness to nostalgic people and the time we once grabbed a mat, walking hand in hand to see outdoor movies until sunrise. สนใจจัดฉายหนังกลางแปลง สามารถติดต่อได้ที่ แม่นางกวักภาพยนตร์ โทรศัพท์ ๐๘ ๑๘๓๔ ๔๐๕๓, ๐๘ ๕๑๑๕ ๐๒๕๔ For an outdoor movie projection service, please contact Mae Nang Kwak Phapphayon. Tel. 08 1834 4053, 08 5115 0254
April - May 2021
85
วิถีประจำ�วันอันน่าถวิลหา ในตลาดโบราณบางพลี ตำ�บลบางพลีใหญ่ อำ�เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ The charming daily lifestyle in Bang Phli Ancient Market, Bang Phli Yai Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan
86
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Lifestyle . .
OPEN KITCHEN
LOCAL BEST
BE OUR GUEST
April - May 2021
87
OPEN KITCHEN
ยำ � หั ว ปลี กินดีอยู่ดีแบบชาวสวนบางกะเจ้า
Banana Blossom Salad
Eat well and live well like farmers of Bang Kachao พื้้�นที่่�รอบ ๆ บ้้านไม้้ริิมน้ำำ��ของ อาจารย์์วััชริินทร์์ นุุชนาคา ข้้าราชการบำำ�นาญ จากตััวบ้้านจรดแม่่น้ำ�ำ� เจ้้าพระยา รายล้้อมด้้วยต้้นลำำ�พูู ที่่�เคยเป็็นสััญลัักษณ์์แสดงแนวเขตขนััดสวน กระแสน้ำำ��ได้้สร้้าง ความเปลี่่ย� นแปลงทางลัักษณะภููมิศิ าสตร์์ แต่่ความทรงจำำ�ในวััยเยาว์์ ของหญิิงชาวสวนที่่เ� กิิดและเติิบโตบนพื้้�นที่่คุ้้�� งบางกะเจ้้ายัังติิดตรึึงใจ ไม่่รู้้�ลืมื ในน้ำำ�มีีกุ้้� � ง ปลา ในสวนมีีพืืชผัก ั สมุุนไพร ผลไม้้ ให้้หยิิบนั่่น� ฉวยนี่่�มาปรุุงเป็็นเมนููแสนอร่่อย รวมถึึง “ยำำ�หััวปลีี” อาหารสามััญ ประจำำ�ครอบครััวที่่ตกท � อดมาตั้้ง� แต่่รุ่่�นคุุณทวด “บ้้านเราเป็็นครอบครััวใหญ่่ที่่�ปลููกอาศััยอยู่่�ใกล้้ ๆ กััน ทุุกเย็็นวัันศุุกร์์ คุุณปู่่� คุุณพ่่อ คุุณอา จะมีีนััดมาเล่่นดนตรีีไทย ผู้้�หญิิงก็็นั่่�งทำำ�งานไปฟัังดนตรีีไป เสร็็จแล้้วก็็จะมานั่่�งล้้อมวงกิินข้้าว ด้้วยกััน เราเลยคุ้้�นชิินกัับการทำำ�อาหารจานใหญ่่ ๆ โดยใช้้วััตถุุดิิบ ใกล้้ตัวั ที่่ห� าได้้ง่า่ ยทั้้ง� บนบกและในน้ำำ�� ” ยำำ�หัวั ปลีี จะเลืือกใช้้เฉพาะหััวปลีีของกล้้วยน้ำำ�ว้ � า้ ถ้้าจะกิินหััวปลีี คืือต้้องยอมเสีียกล้้วยทั้้ง� เครืือ แต่่สมััยก่่อนกล้้วยน้ำำ�ว้ � า้ ยัังไม่่มีีมูลค่ ู า่ ทางการตลาดอย่่างปััจจุุบััน จึึงเป็็นเรื่่�องที่่�ตัดสิ ั ินใจได้้ไม่่ยาก อีีกทั้้�ง เป็็นพืืชที่่ดู� แู ลง่่าย เติิบโตไวอยู่่�เต็็มสวน โดยเลืือกหััวปลีีขนาดกลาง ๆ ซึ่่�งจะให้้รสสััมผััสกรอบ มััน หากปลีีใหญ่่เกิินไป รสจะออกไปทาง
88
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
The waterfront wooden house of Ajarn Watcharin Nutnakha, a retired government officer, was enclosed by cork trees, once a symbol of the farm border. Despite the geographical changes, her memory while born and raised in Khung Bang Kachao lingers on. With shrimps and fish in the water, vegetables, herbs, and fruits on the farm, many delightful menus can be cooked, including “Banana Blossom Salad,” the long-inherited recipe from her great grandfather. “We were a big family with houses nearby. Every Friday evening, my grandfather, father, and uncles met up to play Thai instruments as the ladies worked before sharing a meal. So, I got used to preparing large dishes with nearby and easy-to-find ingredients on land and in the water.” Banana Blossom Salad requires only the blossom of cultivated banana, which means sacrificing the cluster. Yet, it was an easy decision since its market value was not as great, and the plant itself was easy to take care of, grew quickly and abundantly. Pick the medium blossom for
April - May 2021
89
90
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
ฝาดและเหนีียว นำำ�มาตััดมาล้้าง หั่่�น หย่่อนลงไปแช่่ในน้ำำ�� ที่่เ� จืือด้้วย มะขามเปีียกและมะนาว เพื่่�อไม่่ให้้ผิิวออกสีีดำำ�คล้ำำ�� ก่่อนนำำ�มาล้้าง ด้้วยน้ำำ�� สะอาดอีีกรอบ ขั้้�นตอนการปรุุงไม่่ซัับซ้้อนยุ่่�งยาก เริ่่�มจากนำำ�น้ำำ��พริิกเผา น้ำำ��ตาลมะพร้้าว น้ำำ��มะนาว น้ำำ��ปลา เคล้้าให้้เข้้ากัันในชามใบใหญ่่ สำำ�หรัับตระเตรีียมเป็็นน้ำำ�ยำ � � ชิ ำ มิ ให้้ได้้รสเปรี้้ย� ว เค็็ม หวาน ๓ รส เติิมหััวปลีี มะม่่วง ตะไคร้้ซอย พริิกขี้้�หนููซอย เพิ่่�มความหอมด้้วย ใบมะกรููดและผัักชีีฝรั่่�ง เคล้้าให้้เข้้ากััน โรยหน้้าด้้วยกุ้้�งแห้้งป่่น กุ้้�งสดลวกสุุ ก ไข่่ เ ป็็ ดต้ ้ ม เม็็ ด มะม่่ ว งหิิ ม พานต์์ ใบสะระแหน่่ พร้้อมยกเสิิร์ฟ์ “สููตรดั้้�งเดิิมของที่่�บ้้านเรา เนื้้�อสััตว์์จะมีีแค่่กุ้้�งแห้้งโขลก สมัั ย ก่่ อ นแถวนี้้� มีีกุ้้� งฝอยชุุ กชุุ ม เวลาคลื่่� น จากเรืื อใหญ่่ เ รืื อ เล็็ ก ซััดเข้้าฝั่่ง� แล้้วไหลย้้อนลงแม่่น้ำ� กุ้้� ำ� งจะกระโดดบนพื้้�นริิมตลิ่่�งเต็็มไปหมด บางครั้้ง� ก็็ได้้จากการล้้อมซั้้ง� หรืือกร่ำำ� � (ที่่สำ� �ำ หรัับล่่อปลาให้้เข้้าไปอยู่่�) ตามริิมฝั่่ง� หรืือริิมป่่าจาก เหลืือจากนำำ�มาปรุุงอาหารก็็ตากแห้้งเก็็บไว้้ เวลาจะหยิิบใช้้ก็็กะเทาะเปลืือกออกที่่�เรีียกว่่า กุ้้�งฝััดหรืือกุ้้�งฟััด ส่่วนกุ้้�งสดและไข่่ต้้มมาเพิ่่�มเติิมในช่่วงหลััง สมััยก่่อนแต่่ละบ้้าน จะเลี้้ย� งเป็็ดไว้้ ๔-๕ ตััว สำำ�หรัับกิินไข่่ เม็็ดมะม่่วงหิิมพานต์์ก็ม็ าปรัับ ให้้เข้้ากัับยุุคสมััย ของเดิิมจะใช้้ถั่่�วลิิสงคั่่�วกะเทาะเปลืือก ไม่่ ใช้้ ถั่่ว� ลิิสงป่่น เพราะจะทำำ�ให้้น้ำ�ยำ ำ� �ำ ข้้นเกิินไป เป็็นอาหารที่่นิ� ยิ มกิินคู่่�กัับ เมนููปลา พวกปลาย่่าง ปลาทอด” อาจารย์วัชรินทร์ นุชนาคา บ้านแม่ริมน้ำ�โฮมสเตย์ เลขที่ ๒๓ หมู่ ๑ ตำ�บลบางกะเจ้า อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๑๘๒๐ ๖๒๑๑
crunchiness as the large one is quite astringent and chewy. Rinse well, chop, soak in the water with diluted tamarind and lime juice to prevent browning, and rinse again. The seasoning is not complicated. First, mix roasted chili paste, coconut sugar, lime juice, and fish sauce to prepare the sour, salted, and sweet dressing. Add banana blossom, green mango, finely sliced lemongrass, chili, kaffir lime leaves, and cilantro. Mix well, top with shrimp powder, blanched shrimps, boiled duck egg, cashew nuts, mint leaves, and serve. “We originally used only pounded dried shrimps. Baby shrimps were so abundant that when the wave from the sailing boats crashed the shore and back to the river, they danced all over the shore. Sometimes, we got them from the fish traps along the bank or nipa palm forest. Leftovers from cooking were sundried for storage, and shells must be threshed before use. Fresh shrimps and boiled eggs came later when every family raised 4-5 ducks for eggs. Cashew nuts were a switch up of roasted and peeled peanut but never the ground one as it makes the dressing too thick. The dish pairs well with the grilled or deep-fried fish menu.” Ajarn Watcharin Nutnakha Ban Mae Rim Nam Homestay 23 Moo 1, Bang Kachao Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Tel. 08 1820 6211 April - May 2021
91
LOCAL BEST
คุณรัศมี ปักษา หรือ ป้าดา บรรจงถักเปลเชือกแบบโบราณ อย่างตั้งใจ Ratsami Paksa or Aunty Da neatly weaving the traditional cradle net
92
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
เปลไม้ ถ ก ั เชื อ ก ภูมิปัญญาโบราณที่บางปลา
Wooden swinging cradle with woven ropes
Traditional local wisdom in Bang Pla หากไม่บอกว่า ผูห้ ญิงซึง่ ก�ำลังนัง่ หยิบเชือกไนลอนสีขาวนับร้อยเส้นไขว้สอดไปมา สร้างลวดลายเชื่อมโยงเป็นตาข่ายชิ้นเดียวกันอย่างสวยงาม ด้วยท่วงท่ากระฉับกระเฉง สายตาแม่นย�ำคนนี้ ผ่านร้อนผ่านหนาวมานานกว่า ๗๙ ปี อีกทัง้ เป็นปราชญ์ชาวบ้านเพียง คนเดียวที่สร้างเปลไม้ถักเชือกแบบโบราณในพื้นที่ของต�ำบลบางปลา อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ก็คงไม่มใี ครนึกคาดเดาได้ คุณรัศมี ปักษา หรือ ป้าดา นอกจากมีอธั ยาศัยไมตรี เป็นทีร่ กั ใคร่แก่ผพู้ บเห็น ยังพกพาพรสวรรค์ด้านการถักทอมาตั้งแต่เด็ก ไม่ว่าจะเป็นการถักแห อวน ไปจนถึง งานเย็บปักถักร้อย ปักชือ่ นักเรียน ถักเสือ้ ไหมพรม แม้กระทัง่ การน�ำมะละกอมาสานเป็น ปลาตะเพียน ส�ำหรับเป็นวัตถุดิบในแกงส้ม จนได้เป็นตัวแทนของต�ำบล ไปโชว์ฝีมือใน งานอุน่ ไอรัก คลายความหนาว สายน�ำ้ แห่งรัตนโกสินทร์ ณ สนามเสือป่า มาแล้ว Without anyone telling, it would be hard to guess that the lady energetically and precisely weaving hundreds of white nylon ropes into a net with a beautiful pattern was already 79 years and the only local scholar capable of building traditional wooden swinging cradle with woven ropes in Bang Pla Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan. Ratsami Paksa or Aunty Da was friendly and dearly loved. Since childhood, she was talented in knitting and weaving - from knitting fishing nets and trawls to embroidery, knitting sweaters, and even weaving papaya into carp fish for Thai Sour Curry. She represented the Sub-District at the “Un Ai Rak Khlai Khwam Nao: The River of Rattanakosin” Festival at Sanam Suea Pa.
April - May 2021
93
เปลที่ทำ�สำ�เร็จด้วยฝีมือป้าดา
“เราชอบเรือ่ งงานถัก งานทอ งานจักสาน เพราะท�ำมาตัง้ แต่ จ�ำความได้ เวลาเห็นใครท�ำอะไร เราแอบมองครู่เดียวก็จ�ำได้แล้ว เหมือนมีกญ ุ แจลายอยูใ่ นหัว” ส่วนเรือ่ งเปลไม้ถกั เชือกทีใ่ ช้แขวนโยงกับขือ่ บ้าน ส�ำหรับไกว ให้เด็กนอน ซึง่ เป็นของโบร�ำ่ โบราณนี้ ป้าเล่าให้ฟงั ว่า “เปลไกวแบบนี้เหมือนพื้นที่ส่วนตัวของเด็ก เป็นทั้งที่นอน หัดนั่ง หัดยืน แล้วยังป้องกันไม่ให้ออกไปซุกซน ที่คนสมัยก่อน เขาเรียกว่า เอาไว้ขงั เด็ก เปลตาข่ายท�ำให้อากาศถ่ายเท เด็กจะหลับสบาย เมือ่ ก่อนในต�ำบลบางปลามีคนท�ำอยูเ่ พียงคนเดียว อยูห่ มูบ่ า้ นใกล้ ๆ กับบ้านป้า แต่แกหวงวิชาไม่ยอมสอนใคร หลังจากแกเสียชีวติ ป้าเลย ไปขอตาข่ายเปลทีเ่ ขากองทิง้ ไว้จากลูกหลานของเขา มานัง่ แกะเชือก ทีละเส้นจนถอดลายออก แล้วก็ทำ� เรือ่ ยมาจนถึงปัจจุบนั ” ส่วนประกอบของเปล นอกจากเชือกไนลอน ยังมีไม้ขอบเปล และไม้้พื้้�นเปล ขอบหรืือปากเปลมีี ๒ แบบ คืือ ขอบแบนและขอบไขว้้ ขอบแบนจะเข้้ าไม้้ เ สมอกัั น เหมืื อ นกรอบรูู ป ส่่ ว นขอบไขว้้ นั้้� น การเข้้าไม้้จะเหลืือด้้านยาวยื่่�นออกมา ไม้้แต่่ละด้้านจะถููกเจาะรูู ในแนวเฉีียง ๔๕ องศา ไว้้สำำ�หรัับร้้อยเชืือกถัักเปล “ไม้ ท� ำ ปากเปลต้ อ งใช้ ไ ม้ เ นื้ อ แข็ ง ซึ่ ง สั่ ง มาจากที่ อื่ น เพราะสมุทรปราการไม่มีใครท�ำ ด้านยาวเจาะ ๕๔ รู ด้านกว้าง ๓๔ รู เป็นขนาดมาตรฐานทัว่ ไป ไม้พนื้ เปลทีเ่ ป็นไม้แผ่นเดียวก็เจาะรู เท่ากัน เชือกจะตัดเกินด้านยาวของไม้ปากเปลประมาณ ๑ คืบ เผือ่ ไว้สำ� หรับถักชายเปล เราจะถักเดินลายไปเรือ่ ย ๆ ลายจะมีแค่ 94 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Aunty Da's finished products
“I love knitting, weaving, and wickerwork since I could remember. With a glance at how others do it, I memorize all the key patterns in my head.” Regarding the traditional wooden swinging baby cradle with woven ropes, usually hung from the crossbeam, she said, “It is a personal space for baby to sleep, learn to sit and stand while keeping them from wandering off. The cradle net allows good air ventilation and the baby to sleep comfortably. In Bang Pla, an aunty living near my house was the only expert but would not teach anyone. After she died, I asked her family for her discarded cradle net to unlock the pattern, gradually mastered it and continue to these days.” A cradle also consists of a wooden edge and support. While the flat edge connects wood evenly like a picture frame, the crossed type has the longer sides sticking out. Drill each side at a 45-degree angle for rope threading and weaving. “The cradle edge must be hardwood from other areas. For standard size, drill 54 holes on the length, 34 holes on the width, and the same amount on the single wooden cradle support. Cut the rope 25 cm longer than the edge for fringe weaving. Weave either straight or interlaced patterns to the cradle support level and tie a loose knot. Weigh the cradle
ลายตรงกับลายสับหว่าง จนถึงระดับทีต่ อ้ งสอดพืน้ เปล แล้วถักล็อกไว้ ยังไม่ตอ้ งถักชาย ใช้ครกหิน ๒ ลูก ถ่วงทีพ่ นื้ เปลทิง้ ไว้ไม่นอ้ ยกว่า ๔ วัน เพือ่ ให้ลายแน่นตึง แล้วจึงถักชายเปลต่อให้เสร็จสมบูรณ์” จากปากต่อปาก เปลไม้ถักเชือกของป้าดาเริ่มเป็นที่รู้จัก บางคนน�ำขอบและพื้นเปลของเดิมมาให้ช่วยถักตาข่ายชุบชีวิตขึ้นมา อีกครั้ง เปล ๑ ปาก หากท�ำเป็นงานอดิเรกจะใช้เวลาประมาณ ๒๐ วัน หากตั้งใจท�ำเต็มวันแบบไม่วางมือ เวลาจะลดลงเหลือแค่ ๑๐ วัน เมือ่ เข้าสูย่ คุ ดิจทิ ลั กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วน ต�ำบลบางปลา ได้เข้ามารวบรวมองค์ความรู้ ประชาสัมพันธ์ผา่ นทาง เฟซบุ๊ก แต่สิ่งที่ป้าภูมิใจมากกว่าชื่อเสียงและรายได้ คือได้สืบสาน ภูมปิ ญ ั ญาโบราณ เป็นกิจกรรมยามว่าง ช่วยบริหารสมอง ท�ำให้ปา้ ยังดูสดใส ร่างกายแข็งแรง ความทรงจ�ำยังแม่นย�ำ เป็นคนสูงอายุทมี่ ี คุณภาพ และเต็มเปีย่ มไปด้วยพลังเกินวัย support with two stone mortars for four days for a tight pattern before weaving the fringe to complete.” As words spread, Aunty Da’s cradles gain more recognition. Some ask her to revive their used cradle edges and support with her net. Each takes 20 days to finish as a hobby and only ten days when working non-stop. In the digital age, the Division of Social Welfare, Bang Pla SAO, gathered and published the body of knowledge on Facebook. Rather than fame and money, she is prouder to inherit traditional local wisdom as a hobby and a brain exercise, keeping her cheerful, healthy, and sharp memory - basically a quality elder full of energy.
ลายถักมี ๒ แบบคือ ลายตรง และ ลายสับหว่าง Two patterns: straight and interlaced เปลไม้ถักเชือกโบราณ คุณรัศมี ปักษา (ป้าดา) เลขที่ ๒ หมู่ ๖ ตำ�บลบางปลา อำ�เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๖๙๘๑ ๙๙๘๙ เฟซบุ๊ก : กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำ�บลบางปลา โทรศัพท์ ๐ ๒๓๑๒ ๑๘๑๖-๗, ๐๘ ๗๙๔๓ ๒๑๑๗
Traditional wooden swinging cradle with woven ropes Ratsami Paksa (Aunty Da) 2 Moo 6, Bang Pla Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan Tel. 08 6981 9989 Facebook: กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำ�บลบางปลา Tel. 0 2312 1816-7, 08 7943 2117 April - May 2021
95
BE OUR GUEST
เต้้นรำำ�ไปกัับวััยเยาว์์ของสองพี่่�น้้อง
สราวุุธ และ นัน�ทิิดา แก้้วบััวสาย บนเวทีีลีีลาศที่่�บางปูู
Dance along with the youth of the two siblings
Sarawut and Nantida Kaewbuasai on the ballroom dance floor in Bangpu
หนึ่ ง ในคอนเสิ ร ์ตที่ตราตรึง และประทับใจคนดู ม ากที่ สุ ด ตลอดกาล จะไม่มคี อนเสิรต์ “NANTIDA This is My Life” ของ คุณตู่ หรือ นันทิดา แก้วบัวสาย อยูใ่ นนัน้ คงเป็นไปได้ยาก เพราะคอนเสิรต์ ในคราวนั้นไม่ใช่แค่การไปฟังเพลง แต่เป็นเหมือนการเดินเข้าไป ในบ้าน และได้นั่งคุยกับเธออย่างใกล้ชิดในห้องรับแขก มากกว่าที่ จะเรียกว่าเวทีการแสดง การแสดงในวันนั้น คุณตู่ปรากฏตัวจากหลังม่าน เล่าความ ทรงจ�ำของตัวเองตั้งแต่เด็กผ่านเพลง รวมถึงได้ไล่นิ้วลงบนเปียโน ตัวเดิม ที่เคยเล่นเมื่อตอนอายุ ๑๒ ปีอีกครั้ง ตอนหนึ่งในการพูดคุย ยังมีการฉายสไลด์บนเวที เป็นภาพตอนเด็กของคุณตู่กับพี่ชาย
When it comes to the audience’s most impressive concerts of all time, it is impossible to leave out “NANTIDA This is My Life” of Tu-Nantida Kaewbuasai. Rather than attending the concert to listen to music, it felt more like stepping inside the house and having an up-close conversation with her in the living room than on a performing stage. At the performance that day, Tu appeared behind the curtain, shared her memories since childhood through songs, playing the same piano she used to play at 12. During the
สองพี่น้องคู่หู คุณเต้ยกับคุณตู่ ที่เป็นคู่เต้นรำ�กันตั้งแต่เด็ก Tu and Toey, the sibling dance buddy since childhood
96
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
ไม่ว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่คุณเต้ย-สราวุธ และคุณตู่-นันทิดา พบกัน จังหวะเต้นรำ� ทุกจังหวะในโลกจะกลับมาในลีลา ของทั้งสองทันที Every time Toey-Saravoot and Tu-Nantida meet, the rhythm of every dance in the world instantly resumes to their postures
April - May 2021
97
ชุดเต้นรำ�ทุกชุดตั้งแต่สมัยเด็กๆ ยังได้รับการเก็บรักษาไว้ ให้อยู่ในสภาพดีทุกชุด Every dance outfit since they were young has been well-preserved
98
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
คือ คุณเต้ย หรือ สราวุธ แก้วบัวสาย (คุณพ่อของ คุณเค้ก หรือ นัทธวัชร์ และ คุณพาย หรือ รินรดา แก้วบัวสาย นักแสดง) เต้นร�ำ ด้วยกัน “แล้วตู่ก็ท�ำเซอร์ไพรส์ ถามจากบนเวทีว่า ‘พี่เต้ยจ�ำได้ หรือเปล่า ตอนเด็ก ๆ เราเต้นร�ำกัน’ แล้วก็ชวนให้ขึ้นมาเต้นบนเวที ผมก็เดินไปหา เต้นช่าช่าช่ากันสด ๆ กับตูบ่ นเวทีเลย สนุกมาก ดีมาก และหอบมาก ! เพราะไม่ได้เต้นกันนานแล้ว และมันดีมากจน พี่ฉอด หรืิอ คุณสายทิพย์ มนตรีกุล ณ อยุธยา ขอให้มาเต้นทุกรอบกับตู่ ในงาน ไม่ใช่เป็นเซอร์ไพรส์แค่รอบเดียว !”
talk, there was a slideshow of the young Tu and her brother, Toey-Saravoot Kaewbuasai, (father of actor Cake-Nattavat and actress Pie-Rinrada Kaewbuasai) dancing together. “And Tu surprised me by asking, ‘Toey, do you remember how we danced when we were kids?’ I was invited on stage and we Cha-Cha danced live. It was so fun, so good, and a lot of gasping because it’s been forever. It was so good that Chod-Saithip Montrikul Na Ayudhaya invited me to dance with Tu in every other round of concert!”
สองพี่น้องกับลีลาการเต้นกลางฟลอร์ The two siblings on the dancefloor
เสีียงหััวเราะจากเรื่่�องเล่่าในความทรงจำำ�ที่่�สนุุกของคุุณเต้้ย เติิมบรรยากาศให้้ห้้องรัับแขกที่่�เรานั่่�งคุุยกัันอยู่่�ได้้ครึึกครื้้�น ก่่อนที่่� คุุณตู่่�จะเดิินเข้้ามาร่่วมวง หลัังจากกลัับมาจากการประชุุมในชุุด เครื่่�องแบบสีีกากีีกัับงานในหน้้าที่่� นายกองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััด สมุุทรปราการ “เพราะเรื่่�องเต้้นนี่่�ละที่่�ทำำ�ให้้ครอบครััวเรามีีความผููกพััน กัับสมุุทรปราการมากเหลืือเกิิน โดยเฉพาะที่่�บางปูู”
เพราะเรื่องเต้นนี่ละ ที่ทำ�ให้ครอบครัวเรา มีความผูกพันกับ สมุทรปราการมากเหลือเกิน โดยเฉพาะที่บางปู
The joyous laughter from Toey’s fun memory filled the living room as Tu walked in to join us after returning from a meeting in a khaki uniform as the Chief Executive of Samutprakan Provincial Administrative Organization. “It is the dance that keeps our family so bonded to Samutprakan, especially in Bangpu.” Tu flipped through chronologically sorted photo albums and reminisced about the good old family moments with us. The messages on the album spines were handwritten by her mother and the photos taken by her father. “These albums are like the diary of my family.” Tu and Toey took turns pointing at pictures and sharing stories. “Our family loved going to Bang Saen Beach and stayed in a Bangalow Room 546. Because my sister and mom loved cooking their own food, we buried pots in the sand to use in our next return.” Besides Bang Saen trips, there were family photos at a Ballroom party where two children dancing with big smiles. They brought Sukta bridge and Sala Sukjai of Bangpu along with the memories of the young dancing siblings back to life. April - May 2021
99
คุณตู่เรียนเต้นรำ�กับแชมป์โลกญี่ปุ่นที่มาเมืองไทย Tu learning from a world champion who flew from Japan to Thailand
คุณตู่ยังหอบอัลบั้มรูปที่ได้รับการล�ำดับจัดเรียงเรื่องราว ตามสถานที่และตามเหตุการณ์ มาเปิดดูร�ำลึกถึงความทรงจ�ำของ ครอบครัวไปพร้อม ๆ กัน สันปกอัลบัม้ รูปเขียนด้วยปากการะบุหวั ข้อ เป็นลายมือของคุณแม่ ส่วนรูปถ่ายคือฝีมอื คุณพ่อ “อัลบัม้ รูปเหมือน เป็นบันทึกของครอบครัวพี่” คุณตู่ชี้ภาพ คุณเต้ยเล่าเรื่อง ผลัดกับ ที่คุณเต้ยชี้รูป คุณตู่เล่าบ้าง เราหยุดดูทีละรูป “ดูสิคะ บ้านเรา ชอบไปทะเลที่บางแสน จ�ำได้เลยว่าอยู่บังกะโลห้อง ๕๔๖ เราต้อง ฝังหม้อฝังไหไว้ในทราย ไม่เอากลับบ้าน เพราะพี่สาวกับแม่ชอบท�ำ กับข้าวเองไง พอกลับมาอีก ก็ขุดขึ้นมาใช้อีก” มากไปกว่ารูปทะเลบางแสน งานเลี้ยงที่บ้านกับครอบครัว ก็มีรูปงานเต้นร�ำ ที่มีภาพเด็กสองคนเต้นร�ำกับใบหน้ายิ้มแย้ม และนั่นเหมือนเป็นการเปิดม่านเรื่องย้อนอดีต ที่มีสะพานสุขตาและ ศาลาสุขใจแห่งบางปู คู่ความทรงจ�ำของพี่น้องนักเต้นเท้าไฟวัยเด็ก ให้กลับมามีชีวิตอีกครั้ง คุณเต้ย “ความทรงจ�ำกับบางปูคือพ่อแม่ เพราะตั้งแต่จ�ำความได้ ป๋๋าของเรานี่่�เป็็นคนหััวสมััยใหม่่ อาจเป็็นเพราะว่่าท่่านทำำ�งานที่่�สถานทููต อเมริิ กัั น ก็็ ไ ด้้ คืื อในยุุ ค นั้้�นครอบครัั ว เราจะค่่ อ นข้้ า งล้ำำ�� ล้ำำ��ใน การใช้้ชีวิี ติ เช่่น ที่่�บ้้านนี่่�จะมีีเครื่่�องเล่่นแผ่่นเสีียง มีีทีวีี มี ี เี ครื่่�องดนตรีี อะไรแบบนี้้� แล้้วในวัันเสาร์์-อาทิิตย์์เราจะขัับรถพากัันไปที่่�นั่่�นที่่�นี่่� ซึ่่�งสถานที่่�ที่่�ไปประจำำ� คืือ บางปูู 100 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
เสื้อแขนระบายฟูตัวเดิมของคุณเต้ย กับอัลบั้มบันทึกความทรงจำ� Bottom: Toey’s old dance shirt with puffy sleeves and the memories photo albums
Toey “The memory with Bangpu was our parents. Since I could remember, dad was a liberal. Maybe it was because he worked at the US Embassy. Back then, our family lived quite an extraordinary life. We had record players, television, music instruments at home, and we’d drive to places on weekends. Our regular was Bangpu.”
It is the dance that keeps our family so bonded to Samutprakan, especially in Bangpu.
“สมัยก่อนขับรถจากกรุงเทพฯ ไปบางปู ไม่ใกล้เลยนะ ต้องขับรถ เลาะบนถนนเล็ก ๆ ที่ต้องแล่นสวนกันไปตามสุขุมวิท ไปพระโขนง รอว่าเมื่อไหร่จะได้เห็นหอนาฬิกาตรงปากน�้ำ เพราะนั่นแปลว่าใกล้ถึง บางปูแล้ว จากตรงนั้นเลี้ยวซ้ายไป เราจ�ำได้ว่าจะเห็นที่รอรถเมล์อยู่ ในน�้ำ นาน ๆ จะมีรถเมล์มาสักคัน เราผ่านไปจะเห็นคนยืนรอ เห็นน�้ำ จนเห็็ น สะพานทอดยาวไปในทะเล นี่่�แหละบางปูู มััน น่่ าทึ่่�งมาก คืือตอนนั้้�น มีีความรู้้�สึึกทึ่่�งว่่า เขาสร้้างสะพานไม้้ยาวออกไปเป็็น เมตร ๆ ได้ยังไง ทอดไปในน�้ำทะเลเหมือนมีเกาะลอยอยู่ในน�้ำ “บางปูสมัยก่อน เราจะไปกันวันเสาร์-อาทิตย์ เพราะมีกจิ กรรม มีดนตรีดี ๆ มีวงสุนทราภรณ์บรรเลงสด ในยุคนั้นจะมีแต่นักร้องดัง ๆ ไปที่นั่น แล้วเขาก็จะมีการเต้นลีลาศกันที่นั่น บ้านเราไปกันเพราะ คุณแม่ก็ชอบเต้นร�ำมาก ส่วนคุณพ่อชอบฟังเพลง แล้วเผอิญช่วงนั้น หลั ง โรงเรี ย นเลิ ก คุ ณ แม่ จ ะพาเราไปเต้ น ร� ำ ด้ ว ยในวั น ธรรมดา เพราะพ่อแม่เราไม่ยอมให้ทงิ้ เวลาว่างให้เปล่าประโยชน์ แล้วเราสองคน พี่น้องนี่ก็ชอบอยู่กับผู้ใหญ่กับพ่อกับแม่ ตอนนั้นผมอายุประมาณ ๗-๘ ขวบ ตู่ก็แค่ ๔ ขวบ เราก็เรียนเต้นร�ำกันจริงจังมาก”
ศาลาสุขใจบางปู Sala Sukjai, Bangpu
คุณตู่
“เราไปเรีียนเต้้นที่่�ตึึกเฉลิิมเขต การที่่�เราได้้มาเรีียนเต้้นรำำ�นี่่�เป็็น เพราะคุุณพ่่อคุุณแม่่ที่่�ชอบพาเราไปเต้้นรำำ�ด้้วยทุุกวัันศุุกร์์ที่่�สวนลุุมพิินีี จะมีีวงสุุนทราภรณ์์เล่่นที่่�นั่่�น เขาเรีียกว่่า Tea Dance บััตรแค่่ ๕๐ บาท เป็็นตั๋๋�วผ่่านเข้้าไปในงานเต้้นรำำ� สุุนทราภรณ์์เขาก็็จะเล่่นทั้้�งจัังหวะ บอลรููมและละติิน จัังหวะบอลรููมก็็คืือ วอลซ์์ แทงโก้้ ควิิกสเต็็ป ถ้้ า เป็็ น ละติิ น แดนซ์์ ก็็ มีี ช่ ่ า ช่่ า ช่่ า คิิ ว บา รุุ ม บ้้ า แซมบ้้ า หรืื อ จะ ร็็อกแอนด์์โรล เราก็็เต้้นกัันได้้ เริ่่�มต้้นจำำ�จากคุุณแม่่นี่่�แหละ ที่่�สอน ให้้เราเต้้นรำำ�ก่่อน เพราะคุุณแม่่สอนภรรยาเจ้้านายคุุณพ่่อให้้เต้้นรำำ� เราก็ได้เต้นร�ำไปด้วย แล้วเวลาจะเลิก ทุกคนจะท�ำ Bunny Hop เต้นกันไปรอบ ๆ ฟลอร์กันทั้งหมด เต้นกันให้ฟลอร์สะเทือนตอนจบ แล้วกลับบ้าน” คุณเต้ย “คือสมัยก่อนทุกวันศุกร์น่ี คนจะไปเต้นลีลาศกันที่สวนลุมพินี ตัง้ แต่ ๕ โมงเย็นถึง ๓ ทุม่ แล้วพอวันเสาร์-อาทิตย์กต็ อ้ งไปเต้นร�ำกัน ที่บางปู บ้านเราจึงไปบ่อยมาก และที่ฟลอร์เต้นร�ำบางปู เวลาผู้ใหญ่ เต้นร�ำกัน ก็จะมีเด็กอายุ ๔-๕ ขวบ และ ๗-๘ ขวบ คือเราสองคน นี่แหละมาเต้นบนฟลอร์ด้วย ผู้ใหญ่ก็งงว่าเด็กสองคนนี้เป็นใครกันนี่ แล้วเขาก็สนใจดู คือสมัยก่อนวงดนตรีเขาจะเล่นเพลงแบบหมุน จัังหวะเต้้นไปเรื่่�อย ๆ เช่่น เล่่นเพลงจัังหวะช่่าช่่าช่่าครบสามสี่่�เพลง ก็็ขึ้้�นจัังหวะใหม่่เป็็นรุุมบ้้า ตามด้้วยบีีกิิน ต่่อด้้วยตะลุุง ต่่อด้้วยไจว์์ฟ แทงโก้้ อะไรแบบนี้้� คืือจะเปลี่่�ยนไปเรื่่�อย ๆ ผู้้�ใหญ่่บางคู่่�ก็็จะเต้้นเก่่ง เป็็นจัังหวะ ๆ เช่่น เต้้นรุุมบ้้าก็็เต้้นไป แต่่พอเพลงชุุดต่่อมาเป็็นวอลซ์์ เขาเต้้นไม่่เป็็น เขาก็็ถอยออกไปพััก แต่่เด็็กคู่่�นี้้�เต้้นเป็็นทุุกจัังหวะ ควิิกสเต็็ป วอลซ์์ แทงโก้้ ได้้หมด กลายเป็็นว่่าในยุุคนั้้�นใครก็็รู้้�จััก
ภาพครอบครัวแก้วบัวสาย คุณเต้ยและคุณตู่ยืนชิดกันขวาสุด Kaewbuasai family photo with Toey and Tu standing on the rightmost
“At the time, driving from Bangkok to Bangpu was quite a trip. Down the narrow street of Sukhumvit to Phra Khanong, when the Clocktower in Paknam came into sight, you nearly arrived at Bangpu. Turning left, I remember a bus stop amidst the water with buses showed up occasionally. I saw people waiting, the water, and totally amazed by the wooden bridge reaching into the sea and how it was constructed. It looked like a floating island.” “We visited Bangpu on weekends because of brilliant music bands, live performances by Suntharaphon Band and famous singers, and ballroom dancing. My mom loved dancing and my dad loved music. Moreover, after school on weekdays, mom would also take us to dance. Our parents never let free times go to waste and we both loved hanging with grownups and parents. I was about 7-8 years old, and Tu was only 4, but we took dancing lessons seriously. Tu “Our dancing lessons at Chaloemkhet Building started initially because our dad and mom always took us out for a dance every Friday at Lumphini Park. We paid 50 baht for a Tea Dance ticket. The Suntharaphon Band performed music for Ballroom dance (Waltz, Tango, and Quickstep) and April - May 2021 101
“เขาเป็นคนที่มีของเยอะ มีอาวุธเยอะ เขาไม่ใช่ศิลปินฝึกหัด เพราะเขาเรียนมาตั้งแต่เด็ก และทำ�ได้ดีทุกอย่าง เขาถึงเป็นธรรมชาติ” คุณเต้ย-พี่ชาย พูดถึงคุณตู่ “She was fully armed because she had been learning since young and excelled at everything. Everything she did was natural,” Toey, the brother talked about Tu.
102
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
เด็กคู่นี้ ทั้งฟลอร์ที่สวนลุมพินี และฟลอร์บางปู เหมือนในหนังเรื่อง Flash Dance ตอนที่ยิ่งเต้น ตรงกลางฟลอร์ยิ่งขยายเป็นวงว่าง เพื่อให้เด็กสองคนนี้เต้นกันตรงกลาง แล้วเขาก็ยืนเชียร์กัน” คุณตู่ “ป๋าจะส่งเราให้ได้เรียนกับครูเต้นร�ำระดับแชมป์ประเทศไทย นะคะ หรือมีแชมป์โลกจากญีป่ นุ่ มาไทย เราก็ได้เรียนกับครูญปี่ นุ่ ด้วย จ�ำได้ว่าชื่อ ชิโนดะ คิดดูว่าสมัยนั้นทองบาทละ ๔๐๐ บาท แต่เรา เรีียนเต้้นรำำ�กัันชั่่�วโมงละ ๕๐๐ บาท คืือจริิงจัังมาก เพราะครอบครััว เราทำำ�กิิจกรรมร่่วมกััน ทั้้�งพ่่อแม่่ลููกเลย เราก็็ชอบเต้้นในฟลอร์์กัับ ผู้้�ใหญ่่ด้้วย พอเห็็นว่่าลููกมีีพรสวรรค์์ ท่่านเลยสนัับสนุุน ทำำ�ให้้ เรามีีโอกาสแสดงออกมากกว่่าเด็็กในวััยเดีียวกััน และมีีความสุุข ไปด้้วยกัันด้้วย “แล้้วช่่วงปีี พ.ศ. ๒๕๑๑ เราก็็ ได้้เป็็นแชมเปี้้�ยนรุ่่�นจิ๋๋�วแห่่ง ประเทศไทย สมาคมลีีลาศแห่่งประเทศไทยบััน ทึึกชื่่�อ สราวุุธนุชจรีย์ แก้วบัวสาย เป็นแชมเปี้ยนลีลาศรุ่นจิ๋วแห่งประเทศไทย ชื่อจริงเราคือนุชจรีย์ไง แต่พอจะส่งไปประกวดที่อังกฤษก็ไม่ได้ เพราะรุ่นที่เล็กที่สุดต้องมีอายุ ๑๒ ปีขึ้นไป เราแค่ ๖ ขวบเอง พี่เต้ย ก็แค่ ๘ ขวบ แล้วเราก็ไม่สามารถไปประกวดกับใครได้ เพราะในไทย ตอนนั้นไม่มีเด็กคนไหนเต้นแบบเรา ป๋าบอกว่าตอนเด็ก ๆ เราเต้น น่ารัก แต่พอโตขึน้ พีเ่ ต้ยเริม่ แขนขาเก้งก้าง พีเ่ ต้ยเลยไปเรียนดนตรี เรียนกีต้าร์ ส่วนพี่ไปเรียนเปียโนที่สยามกลการ บัตรที่เรียนที่นั่น ยังเก็บไว้เลย เป็นการเก็บบันทึกแต่ละช่วงของชีวติ แล้วเรียนร้องเพลง เรียนหลายอย่างมาก คือเราชอบและเราก็ท�ำได้ ซึ่งป๋ามักจะบอกว่า ‘ลูกป๋าท�ำได้’ ค�ำนี้เป็นอาวุธของเราที่ท�ำให้ท�ำทุกอย่างได้”
ท่าโพสจบประทับใจ เอกลักษณ์สองพี่น้อง The siblings’ loveable signature ending pose
Latin dance (Cha Cha, Cuban, Rumba, Samba, and Rock and Roll). First, mom taught us to dance because she also taught my dad’s boss’s wife so we could all dance along. At the end of the party, everyone bunny-hopped around and shook the floor before heading home.”
Toey “In old days, every Friday, people went ballroom dancing at Lumphini Park from 5 pm - 9 pm, and, on คุณเต้ย Saturday-Sunday, in Bangpu. So, our family went often. “ตู่เต้นเก่งมาก เขาเป็นเด็กที่มีความสามารถมาก เป็นทั้ง At Bangpu dancefloor, while adults danced, two kids, a ร�ำไทย บัลเลต์ และเต้นร�ำ เขาเป็นคนที่มีของเยอะ มีอาวุธเยอะ 4-5-year-old, and a 7-8-year-old, joined. They were curious เขาไม่ใช่ศลิ ปินฝึกหัด เพราะเขาเรียนมาตัง้ แต่เด็ก และท�ำได้ดที กุ อย่าง who we were. The band in the past kept performing music of different beats in rotation, for example, 4-5 Cha-Cha songs, เขาถึงเป็นธรรมชาติ เพราะเขาจะท�ำอะไร เขาท�ำให้มันเป็นจริง then Rumba, Begin, Talung, Jive, and Tango. Some adults couples specialized only certain dance styles, so they danced to Rumba, but when Waltz came on, they stepped aside. ที่ต้องพูดถึงบางปูเพราะเราไปบางปู However, these two kids danced through it all. It turned out มากกว่าใคร ๆ ในสมุทรปราการในตอนนัน ้ เลย everyone in the era knew these two kids, both at Lumphini มันเป็นที่ที่ผู้ใหญ่เขาจะมามีความสุข Park and Bangpu dancefloor. Just like in the movie called ในการเต้นรำ�กัน มีนกนางนวล ท้องฟ้า Flashdance, the longer you dance, the crowd formed into a circle cheering the two kids dancing in the middle.” สะพานไม้สำ�หรับวิ่งเล่น เราก็จะใส่ชุดเต้นรำ� วิ่งกันไปจนสุดสะพาน แล้วก็วิ่งกลับมาเต้นรำ� ในจังหวะที่เราชอบเต้นต่อ และนี่เป็นเหตุ ที่ทำ�ให้เราเป็นคนคุ้นเคยกับสมุทรปราการ ตั้งแต่เด็ก ๆ แล้ว ไม่ใช่เฉพาะแค่ตอนนี้
Tu “Dad let us learn from national champions and a world champion who flew from Japan to Thailand, Shinoda. Imagine one baht of gold (15.244 Gram) was 400 baht, April - May 2021 103
We have to speak of Bangpu because we went there more often than anyone in Samutprakan. It was where grownups have fun dancing. There were seagulls, the sky, and a wooden bridge. We ran in our dancing outfits to the end of the bridge and back to dancing to our favorite groove. We have always been familiar with Samutprakan, not just recently. “เราจะใส่ชุดเต้นรำ�วิ่งกันไปจนสุดสะพาน แล้วก็วิ่งกลับมาเต้นรำ� ในจังหวะที่เราชอบเต้นต่อ” ความทรงจำ�ที่บางปูของคุณตู่ “We ran in our dancing outfits to the end of the bridge and back to dancing to our favorite groove.” was Tu’s memory in Bangpu
“ตอนหลังก็กลายเป็นว่า มีคนจ้างไปเต้นโชว์กนั เลย แล้วก็ได้ เงินเยอะมากในสมัยนั้น คิดดูในช่วงประมาณปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ได้ตังค์ ค่าเต้นโชว์ทีละ ๒,๐๐๐ บาทนะ แล้วยังได้ทิปอีก เหมือนนักร้อง ลูกทุ่งที่ได้พวงมาลัยกัน มีคนทิป ๕๐๐ บ้าง ๑,๐๐๐ บ้าง คนทิป ก็อยากได้ใกล้ชิดกับนักเต้นไง ได้หน้าไปด้วย คือแต่ละอาทิตย์ เรารับตังค์กันเยอะมาก แต่เราไม่ได้อยากได้เงินหรอกที่ท�ำกันน่ะ มันสนุกมากกว่า เพราะได้ท�ำงานแบบนี้ ท�ำให้ได้เดินทางไปโชว์กัน ทั่วประเทศไทยเลย ยิ่งปิดเทอมนี่เดินทางตลอด แล้วเราก็ไปพร้อม กันหมดทั้งครอบครัว เราจึงมีการเต้นร�ำในสายเลือดกัน พวกเราจึง ผูกพันกับบางปูมาก เหมือนเป็นทีไ่ ปปล่อยของ ทัง้ พ่อทัง้ แม่กช็ อบไป ทีน่ นั่ กันหมดเลย มันคือความทรงจ�ำของการได้เห็นคนแต่งตัวสวย ๆ ไปเต้นร�ำที่บางปู” คุณตู่ “ที่ต้องพูดถึงบางปูเพราะเราไปบางปูมากกว่าใคร ๆ ใน สมุทรปราการในตอนนั้นเลย มันเป็นที่ที่ผู้ใหญ่เขาจะมามีความสุข ในการเต้นร�ำกัน มีนกนางนวล ท้องฟ้า สะพานไม้ส�ำหรับวิ่งเล่น เราก็จะใส่ชุดเต้นร�ำวิ่งกันไปจนสุดสะพาน แล้วก็วิ่งกลับมาเต้นร�ำ ในจังหวะที่เราชอบเต้นต่อ และนี่เป็นเหตุที่ท�ำให้เราเป็นคนคุ้นเคย กับสมุทรปราการตั้งแต่เด็ก ๆ แล้ว ไม่ใช่เฉพาะแค่ตอนนี้ “อยากจะเน้้นอีีกทีีเลยค่่ะว่่า ป๋๋าจะบอกเสมอว่่าเราต้้องใช้้ เวลาว่่างให้้เป็็นประโยชน์์ และแม่่ก็็จะเป็็นผู้้�สนัับสนุุนลููกทุุกอย่่าง ขับรถไปรับไปส่งเวลาไปท�ำงาน ครอบครัวเราจะปลูกฝังเรื่องนี้ และให้อิสรภาพในการแสดงออกกับลูก ๆ ทุกคน ซึ่งเราเองก็ให้ สิ่งเดียวกันกับลูกเรา เหมือนที่เราได้รับการสอนจากป๋ากับแม่ ใช่ไหมพี่เต้ย ?” (คุณตู่พูดจบก็ลุกจากโซฟา เดินออกไปอีกห้อง แต่ยังฮัมเพลงเบา ๆ ให้เราได้ยินกัน) 104 เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
but our classes cost 500 baht per hour. Our family enjoyed activities together, and we loved jamming the dancefloor with adults. Having realized our talents, our parents encouraged and gave us more chances to express than kids of the same age while having fun together.” “Then, in 1968, Thailand DanceSport Association recorded the name Saravoot-Nutcharee Kaewbuasai as juvenile national ballroom dance champions since my former name was Nutcharee. We couldn’t join the competition in England because the youngest dancers must be at least 12 years old. I was six, Toey was eight, and no one danced like us in Thailand. Dad said our dance was cute as kids. Then, Toey grew taller, it became awkward, so he learned to play guitar, and I learned the piano at Siam Kolkan Music School. I still have the student card as a chapter of my life. We learned singing and so many more. Dad always said, ‘my kids can do it.’ It became the weapon that helped us pull everything off.” Toey “Tu danced so well, extremely well-talented in traditional Thai dance, ballet, and ballroom. She was fully armed because she had been learning since young and excelled at everything. Everything she did was natural.” “Later, people hired us to perform, and we earned a lot of money every week. In 1967, we made 2,000 baht a show, plus tips from the audience, sometimes 500 baht, sometimes 1,000 baht. Tippers wanted to get close to the dancers and gain faces. We didn’t do it for the money but rather for the fun because it allowed us to travel across the country to perform, especially during semester breaks. We traveled with our family, so dancing was in our blood. We bonded with Bangpu where we danced off, and our dad and mom all love visiting. It’s the memory of seeing everyone dressing beautifully to enjoy dancing in Bangpu.
คุณเต้ย คุุณเต้้ยพยัักหน้้าและยัังพลิิกดููรููปไปเรื่่�อย ๆ พร้้อมรอยยิ้้�ม “ผมมั่่�นใจว่่าเด็็กชายสราวุุธกัับเด็็กหญิิงนุุชจรีีย์์ในช่่วงอายุุนั้้�นไป บางปููมากกว่่าใครในประเทศไทย ยกเว้้นคนไปทำำ�งานที่่�นั่่�น บางปููคือื เกืือบทุุกวัันเสาร์์-อาทิิตย์์ของบ้้านเรา เราไปเต้้นรำำ� พ่่อชอบฟัังเพลง และแม่่ชอบเต้้นรำำ� เราจะเต้้นรำำ�กัันกลางวััน กิินข้้าว กิินหอยแมลงภู่่� อบหม้้อดิิน ดููนกนางนวลจิิกหอยจากเสาในทะเล เชื่่�อไหม แม้้จะโต ขนาดนี้้�แล้้ว เวลามีีเพื่่�อนมาจากต่่างประเทศ ผมยัังพาเพื่่�อนไปที่่�เดิิม อยู่่�เลย เป็็นความทรงจำำ�ที่่�ฝัังแน่่นมาก” คุ ณ ตู ่ เ ดิ น กลั บ เข้ า มาอี ก ครั้ ง พร้ อ มลากกระสอบใบใหญ่ แต่เหมือนไร้น�้ำหนัก ในนั้นมีชุดเต้นร�ำพองฟู ระยิบระยับหลากสี จากวัยเด็กของทัง้ สองพีน่ อ้ งทีไ่ ด้รบั การเก็บรักษาไว้อย่างดีเลิศ ไม่วา่ จะกี่ชุดกี่ชิ้นที่ถูกดึงออกมา ไม่มีสักชุดที่มีฝุ่นจับ ยังคงเป็นเหมือน ชุดเต้นร�ำที่พร้อมสวมใส่ให้อวดลีลาได้ทุกเมื่อ ยามที่พูดถึงบางปู และการเต้้นรำำ� เราได้้เห็็นเด็็กชายสราวุุธในความเป็็นคุุณเต้้ย และเด็็กหญิิงนุุชจรีีย์์ในความเป็็นคุุณตู่่� “ไม่่ใช่่แค่่เรื่่�องเต้้นรำำ�เท่่านั้้�นที่่�ทำำ�ให้้เรามีีความผููกพัันต่่อบางปูู สำำ�หรัั บ เราแล้้ ว ที่่�นี่่�คืื อ อีี ก จุุ ด หนึ่่�งที่่�สวยที่่�สุุ ด ของสมุุ ท รปราการ ที่่�เราสามารถเข้้ามาสััมผััสกัับบรรยากาศริิมทะเลได้้โดยใช้้เวลา ไม่่นาน เพราะอยู่่�ใกล้้กรุุงเทพฯ นิิดเดีียว และพ้้นจากตััวเมืืองมาแค่่ ไม่่กี่่�นาทีี เราก็็ได้้มายืืนอยู่่�ท่่ามกลางธรรมชาติิ ได้้สููดอากาศดีี ๆ ได้้เห็็นความเขีียวสดของป่่าชายเลน และยิ่่�งช่่วงปลายปีีถึึงต้้นปีีที่่�มีี นกนางนวลอพยพบิินมาอาศััยอยู่่�ที่่�นี่่�ด้้วยแล้้ว บางปููมีีเสน่่ห์์ที่่�สุุดเลย เราอยากให้้ทุกุ คนได้้มาเห็็นความงดงามแบบนี้้�ด้ว้ ยกััน" และไม่่ว่า่ คุุณนัันทิิดา แก้้วบััวสาย จะเป็็นแชมเปี้้ย� นประกวด ลีีลาศในวััย ๖ ขวบ หรืือชนะการประกวดร้้องเพลงในวััย ๑๖ หรืือ ในวััย ๖๐ ปีี กับั หน้้าที่่�นายกองค์์การบริิหารส่่วนจัังหวััดสมุุทรปราการ เธอยัังคงใช้้พลัังและความสามารถในการเข้้าถึึงงานให้้ถึึงแก่่น และทำำ�ให้้ดีีที่่�สุุด มากเหมืือนทุุกสิ่่�งทุุกอย่่างที่่�เธอได้้ผ่่านมาในชีีวิิต
Tu “We have to speak of Bangpu because we went there more often than anyone in Samutprakan. It was where grownups have fun dancing. There were seagulls, the sky, and a wooden bridge. We ran in our dancing outfits to the end of the bridge and back to dancing to our favorite groove. We have always been familiar with Samutprakan, not just recently.” “I’d like to highlight again. Dad always told us to spend spare time wisely, and mom always supported everything we did, including driving us to and back from work. They emphasized the freedom of expression to all their kids, and we instill the same in our kids. Right, Toey?” (Tu walked to the other room but still humming a song.) Toey Toey nodded, flipping through the album smilingly. “I’m sure young Saravoot and Nutcharee visited Bangpu more often than anyone in Thailand, except for people who worked there. Every weekend, Bangpu was our home. We danced, dad listened to music, and mom loved dancing. We’d have Baked Mussels in Clay Casserole and watch seagulls picking shells on the pillars in the sea. Even now, I still bring my friends from abroad to this old place. What a deeply-rooted memory.” Tu walked back in, dragging a huge bag but seemed weightless. There were well-preserved puffy, colorful, and glittering dance outfits of the two siblings from childhood, absolutely no dust, and ready to be worn and shine at any moment. When speaking of Bangpu and dancing, we saw the young Sarawut in Toey and the young Nutcharee in Tu. "Dancing is not our only bond with Bangpu. To us, it is one of the most beautiful places in Samutprakan. Where else can you conveniently experience seaside? It is extremely close to Bangkok and a brief moment from the city to be surrounded by nature, breathe fresh air, and admire the greenery of the mangrove forest. Bangpu is especially charming during seagull migration to live here from year-end to the beginning of the new year. We wish everyone could witness such beauty together." Whether Nantida Kaewbuasai was a dance champion at the age of six, a winner of singing competitions at 16, or the Chief Executive of Samutprakan PAO at 60, she always brings out her best ability and effort, works to the core, and delivers nothing but the best like everything she had conquered in life. April - May 2021
105
106
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
. .
. .
.
CUISINE CAFE HOPPING DAY OFF HAVE A NICE STAY PHOTOSCAPE MAP
Rest Day . . . . .
CUISINE CAFE HOPPING DAY OFF HAVE A NICE STAY PHOTOSCAPE MAP
April - May 2021
107
CUISINE
เพลินวิว เพลินพุง ที่
ร้านครัวแซ่บสตรีท
Refreshing view and appetite at
Krua Zapp Street
108
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
เราคุ้นเคยกับการน�ำผลฉ�่ำน�้ำ รสเปรี้ยวจี๊ดจนต้องหยีตาของ ตะลิงปลิงมาล้าง ฝาน จิม้ กะปิหรือพริกกะเกลือ เป็นของกินยามว่าง แบบคนไทย แต่่หลัังจากได้้ชิมิ น้ำำ��ตะลิิงปลิิงปั่่น� เปรี้้�ยวอมหวานชุ่่�มคอ แก้้ วโปรดของร้้ า นครัั ว แซ่่ บ สตรีี ท เหมืื อ นได้้ เ ปิิ ดโลกใหม่่ ใ น การลิ้้�มรสชาติิที่่�ต่่างไปจากของเดิิมอย่่างสิ้้�นเชิิง นั่่�งจิิบเคล้้าลมเย็็น เพลินวิวสะพานภูมิพล ๑ สะพานภูมิพล ๒ และคลองลัดโพธิ์ ดื่มด�่ำ กับบรรยากาศแสนวิเศษที่อยู่ตรงหน้า We have long enjoyed the juicy and extremely sour bilimbi fruit in slices with shrimp paste or salt-and-chili dipping as a Thai snack, but a sip of Bilimbi Smoothie, the sweet, sour, and thirst-quenching signature drink at Krua Zapp Street, was an entirely different experience especially with the cool breeze, and an indulging view of Bhumibol Bridge I and II, and Khlong Lat Pho.
บรรยากาศยามเย็นกับมุมสบายบนชั้น ๓ A relaxing corner on the third floor in the evening April - May 2021
109
คุณมี่ หรือ วยุรี วัฒนวงศ์สกุล และ คุณโจ หรือ ชัยณรงค์ วงศ์บญ ุ มี สองสามี-ภรรยาเจ้าของร้าน บอกกับเราว่า ครัวแซ่บสตรีท เริ่มเปิดบริการตั้งแต่เดือนตุลาคม ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ก่อนหน้านี้ทั้งคู่ ท� ำ ธุ ร กิ จ ร้ า นอาหารในชื่ อ เดี ย วกั น อยู ่ ที่ อื่ น แต่ ด ้ ว ยพื้ น เพเป็ น คนพระประแดง เมื่อย้ายร้านมาอยู่ตรงต�ำแหน่งซึ่งเป็นประตูสู่ คุ้งบางกะเจ้า จึงได้หยิบชูวัตถุดิบท้องถิ่นเข้ามาใส่ในเมนูอาหาร “เราใช้วัตถุดิบที่หาได้ในพื้นที่บางกะเจ้าอย่างตะลิงปลิง และกุง้ แม่นำ ซ �้ งึ่ บางครัง้ รับซือ้ มาจากชาวบ้านทีห่ าได้ในคลองลัดโพธิ์ และริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยารอบ ๆ พื้นที่ ความพิเศษของกุ้งจาก ธรรมชาติ คือเนื้อจะหวาน เด้งสู้ฟัน มันเยอะ และมันของกุ้งแม่น�้ำ จะสีสวยกว่ากุ้งเลี้ยง แต่กุ้งแม่น�้ำก็ขึ้นอยู่กับฤดูกาลด้วย ไม่ได้มี ตลอดทั้งปี “ส่วนพืชผักวัตถุดบิ ในการปรุงอาหาร เราอุดหนุนผลผลิตจาก ศูนย์การเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อคนพิการ สมาคมคนพิการ จังหวัดสมุทรปราการ ที่อยู่ในต�ำบลบางกระสอบ อาหารร้านเรา ไม่เน้นหวาน เราจึงใช้น�้ำตาลมะพร้าวแทนน�้ำตาลทราย เพราะมี ความหอม รสไม่หวานโดดเกินไป”
110
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Mi - Wayuri Watthanawongsakun and Jo - Chainarong Wongbunmi, the owner couple, told us that Krua Zapp Street opened for service in October 2020. They both ran a restaurant under the same name in another area, but with their Phra Pradaeng background, after relocated to the gate to Khung Bang Kachao, they highlighted local ingredients in their menu. “We use locally available ingredients in Bang Kachao like bilimbi and river prawns, which are sometimes bought from locals by Khlong Lat Pho and the Chao Phraya River. Natural river prawns have superior sweetness, bounciness, amount and color of fat than farmed prawns, but not available all year long.” “For vegetables, we support produces from the New Theory Agricultural Learning Center for the Disabled, Samutprakan Disabled Persons Association in Bang Krasop Sub-District. Instead of cane sugar, we use coconut sugar for better aroma and mellow sweetness.”
น้ำ�ตะลิงปลิงปั่น Bilimbi Smoothie
กุ้งทอดซอสตะลิงปลิง Deep-Fried Prawns with Bilimbi Sauce
“กุ้งทอดซอสตะลิงปลิง” จานแนะน�ำของครัวแซ่บสตรีท พลิ ก แพลงจากกุ ้ ง ทอดซอสมะขาม จั บ กุ ้ ง ตั ว อวบมาผ่ า หลั ง ล้างท�ำความสะอาด หย่อนลงในน�ำ้ มันร้อน ๆ ทอดไม่ให้สกุ จนเกินไป ตักพักไว้ในจาน น�ำตะลิงปลิงมาปั่นจนเนื้อละเอียดเนียน จับมา เคี่ยวไฟพร้อมน�้ำตาลมะพร้าว เติมเกลือนิดหน่อย ราดลงบนกุ้ง เคียงด้วยพริกทอด หอมซอยทอด และเนือ้ ตะลิงปลิงฝาน รสเปรีย้ วหวาน ของซอส ผสมผสานกั บ ความหอม เนื้ อ กรอบเด้ ง ของกุ ้ ง ทอด ใครอยากเพิ่มความเผ็ดลิ้นให้กัดพริกทอดตามไป จึงเป็นจานโปรด ที่กินได้ทั้งครอบครัวเช่นเดียวกับข้าวผัดสับปะรด
“Deep-Fried Prawns with Bilimbi Sauce” is a recommended switch up from the ordinary tamarind sauce. Cut chubby prawns’ backs open, rinse thoroughly, deep-fried but not overcooked, let rest. Then, blend bilimbi until smooth, simmer with coconut sugar and a pinch of salt, top it over the prawns before serving with crispy chili, shallot, and bilimbi slices. With the sweet and sour sauce marrying perfectly with the bouncy prawns and a bite of crispy chili, it is the dish for everyone just like Pineapple Fried Rice.” April - May 2021 111
ข้าวผัดสับปะรด Pineapple Fried Rice
พล่ากุ้ง Spicy Prawn Salad
“ที่อื่นจะเป็นข้าวอบสับปะรด แต่ร้านเราจะใช้วิธีผัดด้วย ไฟแรง เมล็ดข้าวจะร่วน อารมณ์เดียวกับข้าวผัดปู เติมเนื้อสับปะรด ลงไปผัดตอนท้ายก่อนปิดเตา จะมีกลิ่นหอมของข้าวและสับปะรด เสิร์ฟพร้อมปลาหมึก หอยแมลงภู่นิวซีแลนด์ กุ้งแม่น�้ำ” ใครชอบรสจัดจ้าน เปรี้ยว หวาน เผ็ด ต้องลองสั่งเมนู พล่ากุ้ง ที่คุณมี่บอกเคล็ดลับมาว่า พล่ากุ้งสูตรโบราณจะใส่ส้มซ่า แต่สูตรของร้านนี้ถูกแทนที่ด้วยตะลิงปลิง คุณมี่บอกเหตุผลว่า ผลไม้ทุกชนิดแม้จะมีความเปรี้ยว แต่จะเป็นรสเปรี้ยวธรรมชาติท่ีมี ความหวานอยูใ่ นตัว เมือ่ ผสมกับกลิน่ หอมของสมุนไพรอย่าง พริก ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด จึงเป็นจานทีร่ สชาติถกู ปากคนไทยและถูกถามถึง อยู่บ่อย ๆ ส�ำหรับใครทีห่ ลงรักกาแฟ ทีน่ ค่ี ดั สรรเมล็ดกาแฟชัน้ ดี ทัง้ แบบ คั่วอ่อนและคั่วเข้ม อยากให้ลองชิมอเมริกาโน่เย็นหวานน้อยของ ที่ร้าน มานั่งดื่มกาแฟแกล้มเบเกอรี่และขนมไทยในช่วงบ่าย แต่ถ้า มากินมือ้ เย็น ทางร้านแนะน�ำให้โทรศัพท์จองโต๊ะเข้ามาก่อนล่วงหน้า จะดีกว่า
“While others offer Pineapple Baked Rice, we stir-fry rice over high heat to keep it loose, drop pineapple at final tosses before turning off the heat, and serve the fragrant Pineapple Fried Rice with squids, New Zealand mussels, and river prawns.” If you are into zesty, sour, sweet, and spicy options, Phla Kung is a must. Mi replaced the citron in this traditional Spicy Prawn Salad with Bilimbi. Since all sour fruits are naturally sour with certain sweetness, when combined with aromatic herbs like chili, galangal, lemongrass, and kaffir lime leaves, it makes the dish irresistibly mouthwatering. For coffee lovers, the restaurant selects fine coffee beans, light, and dark roast. Try the slightly sweet Iced Americano with some bakery and Thai desserts for the afternoon. For dinner, a call reservation in advance is recommended.
Krua Zapp Street เลขที่ ๓๙/๔๕ หมู่ ๙ ถนนเพชรหึงษ์ ต�ำบลทรงคนอง อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เปิดบริการทุกวัน : เวลา ๑๑.๐๐-๒๓.๐๐ นาฬิกา โทรศัพท์ ๐๙ ๖๐๓๕ ๔๙๙๙ เว็บไซต์ : www.kruazappstreet.com เฟซบุ๊ก : Krua Zapp Street
Krua Zapp Street 39/45 Moo 9, Phetchahueng Road, Song Khanong Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Open daily from 11.00 am – 11.00 pm Tel. 09 6035 4999 Website: www.kruazappstreet.com Facebook: Krua Zapp Street
112
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
อเมริกาโน่เย็น Iced Americano
April - May 2021
113
CAFE HOPPING
กิ่งกาณ ฟาร์ม คาเฟ่
Work From Cafe จุดนัดหมายของคนทำ�งาน
Ginggarn Farm Cafe' Work from cafe
ความรู้สึกแรกที่เดินเข้ามาในร้านกาแฟขนาด ๒ ชั้นแห่งนี้ คืือคำำ�ว่่าเป็็นมิิตร ซึ่่�งเป็็นมิิตรที่่�ว่า่ นี้้� มาจากบุุคลิิกและความยิ้้�มแย้้ม ของบาริิสต้้าที่่�กำำ�ลัังชงกาแฟอยู่่�ด้้านหลัังเคาน์์เตอร์์ รวมไปถึึง การจััดโต๊๊ะที่่�นั่่�งภายในร้้าน ที่่�ทุุกโต๊๊ะสามารถมองเห็็นต้้นไม้้และแปลงผััก สวนครััว ซึ่่�งปลููกอยู่่�ทั้้�งภายนอกตััวร้้าน และวางประดัับอยู่่�ภายในร้้าน ทำำ�ให้้ลููกค้้าประจำำ�โดยเฉพาะกลุ่่�มคนทำำ�งาน นิิยมถืือคอมพิิวเตอร์์ โน้้ตบุ๊๊�กมาปัักหลัักนั่่�งทำำ�งานกัันเป็็นชั่่�วโมง ๆ ซึ่่�งแทนที่่�จะ Work From Home แบบคนทั่่�วไป เราคงต้้องเรีียกลัักษณะการนั่่�งทำำ�งาน ของคนกลุ่่�มนี้้�ว่า่ Work From Cafe'
114
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Soon as we stepped into this two-story cafe, we felt the friendliness. Besides the gentle characteristics and smile of the Barista brewing coffee behind the counter, every table inside the cafe could see the trees and kitchen garden planted outside and decorated inside. Regular customers, especially working people, would carry their notebook computers and settle down to work for hours. Therefore, instead of Work From Home like others, it would be more accurate to say they Work From Cafe'.
โฮมเมดบานาน่าเค้ก เมนูเด็ดของทางร้านที่ใครมาก็ต้องลอง The must-try Homemade Banana Cake
April - May 2021
115
คุุณนรััณ รติิพาณิิชย์ว์ งศ์์ เจ้้าของร้้าน เล่่าให้้เราฟัังว่่า ที่่�ดิิน ผืืนนี้้�เป็็นของครอบครััว ส่่วนจุุดเริ่่�มต้้นในการทำำ�ร้้านกาแฟมาจาก การที่่�คุุณนรััณมีีความสนใจเรื่่�องเกษตรอิินทรีีย์เ์ ป็็นทุุนเดิิม แต่่ครั้้�นจะ ให้เริ่มต้นธุรกิจด้วยการท�ำฟาร์มเพียงอย่างเดียว ก็เกรงว่าจะเสี่ยง เกินไปในการลงทุน ขณะเดียวกันคุณนรัณยอมรับว่าตัวเองยังมีความรู้ ในเรื่องเกษตรอินทรีย์น้อยเหลือเกิน เมื่อเทียบกับคนที่มีเวลาศึกษา กันจริงจัง แต่คณ ุ นรัณก็พยายามหาความรูด้ ว้ ยตัวเองอย่างสม�ำ่ เสมอ จึงตัดสินใจลงทุนเปิดร้านกาแฟก่อนเพือ่ น�ำร่องในการเป็นต้นแบบธุรกิจ และพัฒนาต่อไปให้เกิดภาพใหญ่ของการผสมผสานระหว่างร้านกาแฟ และเกษตรอินทรีย์ “ต้องบอกว่าร้านนี้เป็นร้านที่เราสร้างขึ้นส�ำหรับเป้าหมาย ระยะสั้น เราต้องการสร้างพื้นที่ในรูปแบบของคอมมูนิตี้ ใกล้ชิด ธรรมชาติ เป็นจุดนัดสังสรรค์ของเพื่อนฝูง หรืออาจจะนัดมานั่ง ประชุมงานกัน ซึง่ ถ้าใครมาแล้วเกิดสนใจในสิง่ ทีเ่ ราปลูกไว้ ก็อาจจะ อยากรู้จักร้านและทีมงานของเรามากขึ้น เพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยน ข้อมูลในเรื่องของอาหารโฮมเมดและผักของเรา ซึ่งอาหารในร้าน ทัง้ หมด เราใช้ผกั ปลอดสารพิษจากแปลงเล็ก ๆ ทีป่ ลูกไว้ ส่วนเป้าหมาย ระยะยาวเรามองในมุมของความต้องการทีอ่ ยากจะสร้างแหล่งอาหาร ปลอดภัยทีบ่ า้ น ตัวเราเองศึกษาเรือ่ งอาหารปลอดภัยมาในระดับหนึง่ นอกจากกินอาหารปลอดภัยภายในครอบครัวของเราเองแล้ว เราก็อยาก แจกจ่ายความรู้ที่พอมีอยู่ให้กับลูกค้าของเราผ่านกาแฟและอาหาร ผมเชื่อว่าวันหนึ่ง ร้านเราจะกลายเป็นร้านกาแฟของชุมชน ที่คุณ สามารถเดินเข้ามาซือ้ ผลิตผลทางการเกษตรติดมือออกไปได้ดว้ ย”
คอมมูนิตี้เล็ก ๆ ของผู้สนใจในอาหารปลอดภัย เริ่มขึ้นที่แปลงผัก ซึ่งปลูกไว้บริเวณรอบ ๆ ร้าน A small community of people who cares for safe food started with vegetable plots around the shop.
116
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Naran Ratiphanichvong, the owner, explained that the property belonged to his family and the cafe business started with his primary interest in organic farming. In the beginning, he admitted it would be too great of a risk to invest in the farm operation alone and that he still had little knowledge in organic farming when compared to those who keenly studied it. After a continuous self-study, Narun decided to open a cafe first as a pilot business prototype and develop a bigger picture to integrate the cafe and organic farming. “I have to say that this cafe was our short-term goal. We wanted to create a community space close to nature as a hang-out space or a meeting place to discuss works. In case our visitors got interested in what we grew, they might want to know us better, or exchange information about homemade food and our vegetables. All of our menus feature organic vegetables from our small plots. Our long-term goal was initially to establish a safe food source for our household consumption. Having studied safe food at a certain level myself, I wanted to offer my knowledge to our customers via coffee and food. I believe that
ก่อนหน้าทีจ่ ะเปิดร้าน คุณนรัณศึกษาถึงความนิยมในประเภท กาแฟของกลุ่มเป้าหมาย จนได้พบว่าลูกค้าละแวกนี้นิยมดื่มกาแฟ รสชาติเข้มถึงขัน้ มีกลิน่ ไหม้ กาแฟทีเ่ สิรฟ์ ในร้านจึงเน้นส�ำหรับกลุม่ คน ทีช่ อบดืม่ อเมริกาโน่ แต่ขณะเดียวกันก็สามารถเติมนมให้กลายเป็น ลาเต้รสชาติแบบเบา ๆ ได้ เขาจึงเลือกเมล็ดกาแฟแบบคัว่ เข้มในระดับ เข้มปานกลาง โดยไม่เน้นว่ากาแฟของตัวเองต้องดีทสี่ ดุ ในย่านนี้ แต่ตอ้ ง มีความพิเศษ มีเอกลักษณ์เฉพาะในแบบตัวเอง เมือ่ ลูกค้าได้มาดืม่ แล้ว ต้องจดจ�ำได้ในทุกโสตสัมผัสของบรรยากาศทีเ่ กิดขึน้ นอกจากเมล็ดกาแฟแบบคัว่ เข้มแล้ว ทางร้านยังมีเมล็ดกาแฟ แบบคั่วกลาง ที่มีความหอมของกลิ่นผลไม้ ตามความชอบส่วนตัว ของเจ้าของร้าน ส่วนขนมทีแ่ นะน�ำและขายดีทสี่ ดุ คือ บานาน่าเค้ก เสิรฟ์ มาในลักษณะแบบแท่ง รวมไปถึงวาฟเฟิลทีผ่ สมแป้งเอง ให้สมั ผัส เหนียวนุม่ อย่างไม่ควรพลาดทีจ่ ะลอง
one day, our cafe will become a community cafe where you can walk in and grab some farm produces on the way out.” Before the opening, Narun studied the popular coffee types among the target group and found the locals loved dark coffee and even with a burnt smell. The coffee menus are mainly for fans of americano but also enjoyable with milk as a toned-down latte. Therefore, Naran chooses medium-roasted coffee beans. He does not strive to serve the best coffee in the neighborhood but rather the special and unique ones. Once tasted, his customers must remember all the sensory experiences. Apart from dark roasted coffee beans, the cafe also offers medium roasted options with fruity notes, the owner’s personal favorite. The bestselling desserts are the banana cake sticks and the tender-yet-chewy waffles from homemade dough.
กิ่งกาณ ฟาร์ม คาเฟ่ เลขที่ ๒๙๘/๒ หมู่ ๑๓ (อยู่ในซอยกิ่งแก้ว ๒๕/๑) ตำ�บลราชาเทวะ อำ�เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เปิดบริการทุกวัน : เวลา ๐๗.๐๐-๑๘.๐๐ นาฬิกา โทรศัพท์ ๐๙ ๗๙๘๔ ๔๔๙๐
Ginggarn Farm Cafe' 298/2 Moo 13 (in Soi King Kaeo 25/1), Rachathewa Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan Open daily from 07.00 am – 06.00 pm Tel. 09 7984 4490 April - May 2021
117
DAY OFF
มุมพักผ่อนด้านหน้า GOLDENBETTA STATION A relaxing corner in front of GOLDENNETTA STATION
118
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Goldenbetta Station
เยี่ยมบ้านเกิดของปลากัดสีทองตัวแรกของโลก
Goldenbetta Station
Visit the hometown of the world’s first Golden Betta นัับเป็็นเรื่่อ� งน่่าภููมิใิ จอย่่างยิ่่ง� สำำ�หรัับชาวจัังหวััดสมุุทรปราการ เมื่่อ� ปลากััดสีีทอง (Golden Betta) ตััวแรกของโลก ถููกบัันทึกึ ไว้้ว่า่ เพาะพัันธุ์์�ได้้สำำ�เร็็จที่่�บ้้านหลัังหนึ่่�ง ในซอยบุุญศิิริิ ๑๘/๑ ของ คุุณธีีรศัักดิ์์� สุุพิิน พง ที่่�วงการนัักนิิยมปลากััดสวยงามจดจำำ�และ รู้้�จักั ในชื่่อ� “ลุุงอ๋๋า ปลากััดทอง” ชายผู้้�ไ ม่่ได้้ร่ำำ��เรีียนศาสตร์์การเพาะเลี้้�ยงสััตว์์น้ำำ��มาจาก สถาบัั น การศึึ ก ษาแห่่ ง ใด หากบ่่ ม เพาะความรู้้�ด้้ ว ยความรัั ก บวกประสบการณ์์ในอาชีีพช่่างเคาะพ่่นสีปร ี ะจำำ�อู่่�รถยนต์์ นำ�สิ่่ ำ ง� ที่่ช� อบ มาหลอมรวมกัับสััมมาชีีพที่่�ทำำ� จนเกิิดความคิิดว่่า หากนำำ�ทฤษฎีีสีี ไปใช้้ในการผสมพัันธุ์ป�์ ลา น่่าจะเป็็นเรื่่อ� งที่่ทำ� �ำ ได้้ กระทั่่ง� ได้้ผลลััพธ์์ เป็็นหลัักสููตรของตนเอง “เราเริ่่ม� จากเรื่่อ� งง่่าย ๆ ก่่อน โดยนำำ�ปลากััดหม้้อ ตััวเป็็นสีี แต่่หน้้าดำำ� มาผสมกัับปลากััดป่่า ที่่�สีสี วยมัันวาวเหมืือนเคลืือบเมทััลลิิก เพื่่อ� ให้้สีดำี �ที่่ ำ เ� คลืือบบนหน้้าปลากััดหม้้อหายไปกลายเป็็นสีเี ดีียวทั้้ง� ตััว แต่่ผสมหลาย ๆ รุ่่�นจนได้้สายพัันธุ์์ที่่� นิ่่� ง� บางครั้้�งก็็มีเี รื่่อ� งโชคเข้้ามา ช่่วยด้้วย อย่่างปลากััดยุุคแรกจะเป็็นคอปเปอร์์ สีีออกทองแดง ที่่�เกิิดโทนสีีและลวดลายแปลกตาโดยบัังเอิิญ หรืือปลากััดตระกููล Black Light สีีสะท้้อนแสง ปลากััดสีีธงชาติิ”
It was the pride of Samutprakan residents when the world’s first Golden Betta was successfully bred in Soi Bunsiri 18/1 at the house of Theerasak Suphinphong, well-recognized among fans of ornamental fish as “Uncle Ah, Golden Betta”. Without a degree in aquaculture from any institute, the man cultivated knowledge with love. He integrated his previous automotive color denting and spraying experiences at a garage into his career when he realized he could apply the color theory to fish breeding and successfully came up with his formulas. “I basically cross-bred the colorful short-fin betta with a black head to the wild betta with a vibrant, reflective, and metallic-like body to remove the black feature and create the same color throughout the body until gradually stable. Luck also came in handy with the exotic tones and patterns on copper bettas in early days, the reflective Black Light Betta family, the Thai national flag-colored bettas.”
คุณธีรศักดิ์ สุพินพง หรือ ลุงอ๋า ปลากลัดทอง Theerasak Suphinphong or Uncle Ah, Golden Betta April - May 2021
119
ชื่่อ� เสีียงของลุุงอ๋๋าโด่่งดัังสุุดขีีด เมื่่อ� สามารถเพาะพัันธุ์ป�์ ลากััด สีีทองได้้สำำ�เร็็จเป็็นคนแรกของโลก โดยเริ่่�มจากผสมปลาสีีทองแดง หรืือคอปเปอร์์ กัับสีีขาวแพลติินััม ให้้ได้้สีีบริิสุุทธิ์์�ร้้อยเปอร์์เซ็็นต์์ แล้้วนำำ�ทั้้�ง ๒ พัันธุ์์�มาผสมให้้ออกมาเป็็นทองอ่่อน ทำำ�ซ้ำำ��ไปซ้ำำ��มา หลายคอก ตั้้�งแต่่ปีี พ.ศ. ๒๕๔๗ จนได้้สีที องบริิสุทุ ธิ์์� ไม่่ติดิ เขม่่าหรืือสีีอื่น ่� ในปีี พ.ศ. ๒๕๔๙ แต่่สายพัันธุ์ที่่�์ นิ� ยมทั้้ ิ ง� ในประเทศและต่่างประเทศคืือ “โพธิ์์ท� อง หรืือปลากััดสีีทอง หางใบโพธิ์์”� Goldenbetta Station ของลุุงอ๋๋า จึึงเป็็นทั้้ง� ฟาร์์มเพาะพัันธุ์�์ ร้้านจำำ�หน่่าย แหล่่งเรีียนรู้้�ของกลุ่่�มคนรัักปลากััดสวยงาม ทั้้�งมืือใหม่่ และมืือเก่่าที่่�แวะเวีียนเข้้ามาแลกเปลี่่�ยนความรู้้� สถาบัันการศึึกษา ส่่งนัักศึึกษาเข้้ามาฝึึกงาน เป็็นพื้้�นที่่�สำำ�หรัับกิิจกรรมวัันหยุุดของ ครอบครััว ใช้้เวลาอยู่่�ที่่นี่่� ครึ่่ � ง� ค่่อนวััน พักั เบรกด้้วยการนั่่�งจิิบเครื่่อ� งดื่่ม� ในคาเฟ่่เล็็ก ๆ ที่่�หยิิบยืืมคาแรกเตอร์์ของปลากััดมาสร้้างเป็็นเมนูู อย่่าง Pure Gold น้ำำ��ผึ้้�งมะนาวโซดา ราดหน้้าด้้วยฟองครีีมชีีส และเนื้้อ� บุุกสีีทอง ฯลฯ คุุณรถเมล์์ หรืือ นิิภา สุุพินิ พง ลููกสาวซึ่่ง� มีีความรอบรู้้�ไม่่ต่า่ ง จากพ่่อ ได้้พาลุุงอ๋๋าและเหล่่าปลาสวยงาม ออกเดิิน ทางเข้้าสู่่� โลกยุุคดิจิิ ทัิ ลั ผ่่านแอปพลิิเคชััน GOLDENBETTA เล่่าให้้ฟังั ว่่า “ก่่อนจะเกิิดวิิกฤติิโควิิดระบาด หลายคนเดิินทางข้้ามน้ำำ�� ข้้ามทะเลเพื่่อ� มาซื้้อ� หาปลากััดสีีทอง พร้้อมถ่่ายรููปกับั พ่่อ การัันตีว่ี า่ ได้้มาถึึงต้้นกำำ�เนิิดของปลากััดสีีทองของจริิง ตอนนี้้�แม้้ยัังไม่่สะดวก เดิินทาง แต่่ชาวต่่างชาติิยัังสั่่�งซื้้�อกัับเราอยู่่�ตลอด พ่่ออยากให้้ที่่�นี่่� เป็็นแหล่่งเรีียนรู้้�ของทุุกคน เราจึึงสร้้างแอปพลิิเคชัันขึ้้นม � า ในนั้้�นมีี องค์์ความรู้้�ทุุกอย่่าง สามารถสื่่�อสารกัับเราได้้ตลอด ที่่�สำำ�คััญคืือ เราสร้้างการ์์ตููน เรื่่อ� งราวการผจญภััยของปลากััดนัักสู้้� โดยใช้้ปลากััด แต่่ละแบบเป็็นตััวละคร อััปโหลดให้้อ่า่ นเดืือนละตอน นอกจากจะสนุุก ชวนติิดตาม ยัังได้้เรีียนรู้้�ไปในตััว เวลาเข้้ามาที่่ร้� า้ น เขาจะบอกได้้เลยว่่า ปลากััดแต่่ละสีีมีชื่ี อ่� ว่่าอะไรบ้้าง”
120
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Pure Gold เครื่องดื่มที่นำ�คาแร็กเตอร์ของปลากัดมาใช้ Pure Gold, a drink inspired by the betta’s characteristics
ลุงอ๋ากับปลากัดสีทองหางใบโพธิ์ Uncle Ah and Spadetail Golden Betta
Uncle Ah’s fame reached its peak when he became the world’s first successful golden betta breeder. First, I mixed the copper betta with platinum white betta to get 100 percent pure color. Then, continue mixing over generations since 2004 until achieving the absolute pure golden color in 2006. However, the domestically and internationally popular species is the “Pho Thong” or the “Spadetail Golden Betta”. Uncle Ah’s Goldenbetta Station is a cultivation farm, a distribution shop, and an ornamental fish learning center where amateurs and experts exchange knowledge, institutes send their students for internships, and families spend their holidays. Visitors can enjoy sipping refreshments at a small caf . Inspired by the betta’s characteristics, Pure Gold is the signature honey-lemon soda topped with cheese foam, golden konjac, etc. Rot-me or Nipha Suphinpong, an equally knowledgeable daughter, who led Uncle Ah and ornamental fishes on a digital journey via the GOLDENBETTA application, said “Before the COVID-19 crisis, people traveled overseas to buy our golden bettas and took photos with dad as proof. Despite the current travel inconvenience, foreigners still Goldenbetta Station เลขที่ ๔๙/๔๙ ซอยบุญศิริ ๑๘/๑ ตำ�บลบางเมืองใหม่ อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เปิดบริการทุกวัน : เวลา ๐๘.๓๐-๑๘.๐๐ นาฬิกา โทรศัพท์ ๐๘ ๖๓๖๓ ๐๙๒๓ เว็บไซต์ : www.goldenbetta.com เฟซบุ๊ก : Goldenbetta Products แอปพลิเคชัน : GOLDENBETTA
ปลากัดหูช้างสีทอง (Gold Big Ears) Gold Big Ears
order. Since my dad wanted this place to be a learning center for everyone, I created an application that offers knowledge and a communication channel with us. My original monthly comic uploads about the fun and educational adventure of the fighting fish feature different species as characters. So, next time they visit us, they can immediately distinguish each betta.”
ปลากัดหางมงกุฎสีธงชาติ Thai Flag Crowntail Betta Goldenbetta Station 49/49 Soi Bunsiri 18/1, Bang Mueang Mai Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Open daily from 08.30 am – 06.00 pm Tel. 08 6363 0923 Website: www.goldenbetta.com Facebook: Goldenbetta Products Application: GOLDENBETTA April - May 2021
121
HAVE A NICE STAY
ที่พักในรูปแบบเรือนไม้ ทาสีสด ตัดกับสีของธรรมชาติ ที่อยู่รอบตัว The vibrant wooden accommodation in contrast with surrounding nature
122
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
จากใจโฮมสเตย์ ที่พักกลางดงหิ่งห้อย
Chak Chai Homestay
Accommodation amidst the fireflies
โฮมสเตย์์ คืือบรรยากาศของการเข้้าพัักในรููปแบบของ การอาศััยร่ว่ มกัับวิิถีชี าวบ้้านพื้้น� ถิ่่น� การพัักผ่่อนในรููปแบบนี้้�ไม่่ใช่่แค่่ การพาตััวเองไปนอนพัักตากอากาศในวัันหยุุด แต่่คือื การใช้้เวลาช่่วง วัันหยุุดให้้เกิิดคุุณค่่าในการเรีียนรู้้�วิถีิ ชีี วิี ติ วััฒนธรรม และประเพณีีของ พืน้ ถิน่ นัน้ ๆ รวมถึงการท�ำความรูจ้ กั กับพืชพืน้ ถิน่ หายาก ทีช่ าวบ้าน นิยมปลูกไว้เพือ่ ใช้ในการประกอบอาหารและเป็นยารักษาโรค @SAMUTPRAKAN ฉบับนี้ เราพามาเช็กอินยังที่พกั ขนาดเล็ก ตั้งอยู่ใกล้ตลาดน�้ำคุ้งบางกะเจ้าของ คุณป้าจ�ำลอง เปลี่ยนเปรม ซึ่งการมาพักกับคุณป้าท�ำให้เราได้ฟังเรื่องเล่าจากอดีตในช่วงก่อนที่ ความเจริญจากการท่องเที่ยวจะเดินทางเข้ามา
Homestay is an accommodation that allows you to live harmoniously with the local way of life. It is not just taking yourself out on another holiday but also creating value to your holiday by learning the local lifestyle, culture, tradition, and rare indigenous plants grown by locals for food and medicine. This issue of @SAMUTPRAKAN introduces you to a small accommodation close to Khung Bang Kachao Floating Market by Aunty Chamlong Plianprem, who kindly shared the past before tourism brought in civilization. April - May 2021
123
ภาพวัยเด็กของคุณป้าจ�ำลอง คือต้องท�ำงานหนักตั้งแต่เล็ก เพือ่ ช่วยหาเลี้ยงครอบครัว ซึง่ ทีบ่ า้ นนัน้ มีสวนมะม่วงและสวนมะพร้าว เป็นของตัวเอง มีแปลงผักและผลไม้ที่ปลูกไว้หลังบ้านไว้เก็บไป เดินเร่ขายเมือ่ ได้เวลาตัดเก็บ และด้วยอาชีพทีบ่ งั คับให้คณ ุ ป้าต้องเดิน เยอะมากในแต่ละวัน คุณป้าจึงรูจ้ กั ทุกตรอกซอกซอยของบางกะเจ้า เป็นอย่างดี เรียกว่าแขกทีม่ าพักทีน่ ก่ี ม็ กั จะได้ลายแทงสถานทีท่ อ่ งเที่ยว แปลก ๆ ไม่ซ�้ำใครมาจากคุณป้าด้วย “เมือ่ ก่อนท�ำมาหากินยากนะ แต่ฉนั เองก็ไม่เคยหวังรวยหรอก ฉันเดินตามวิถชี วี ติ แบบพอเพียงมาตลอด แต่ความพอเพียงทีเ่ กิดขึน้ กับฉันในช่วงแรก ๆ มันก็ลำ� บากอยูเ่ หมือนกัน เพราะอาชีพปลูกผัก เขาก็ทำ� กันแทบทุกบ้าน จนวันที่ความเจริญเข้ามา มีคนมาเที่ยวทีน่ กี่ นั มากขึน้ มีตลาดให้ไปขายของ มันก็เริม่ เพิม่ รายได้ให้กบั เรา ไม่ตอ้ ง เร่ขายเหมือนเมือ่ ก่อน” เพราะล�ำบากมาทัง้ ชีวติ ท�ำให้คณ ุ ป้าจ�ำลองเก็บออม และน�ำ เงินออมส่วนหนึ่งไปลงทุนเปิดร้านค้า ซึ่งสมัยนั้นร้านสะดวกซื้อยังมี ไม่มากเหมือนทุกวันนี้ พอขายของไปได้สกั ระยะ บวกกับการเอาลูกจาก ไปขายทีต่ ลาดน�้ำ เลยท�ำให้คณ ุ ป้าเก็บเงินได้อกี ส่วน เพือ่ น�ำมาซือ้ ทีด่ นิ ท�ำที่พกั ในรูปแบบของโฮมสเตย์ เริม่ จากที่พกั ขนาด ๒ ห้อง ขยับขยาย จนเป็นบ้านพัก ๓ หลัง หลังใหญ่รบั แขกได้ ๒๐ กว่าคน หลังรองลงมา รับได้ ๕ คน และหลังเล็กสุดรับได้ ๒ คน แต่สามารถเสริมฟูกนอนได้ ถ้ามากัน ๓ คน “ตั้งใจไว้ว่าไม่อยากท�ำที่พักใหญ่โต ขอแค่เวลาคนมาพัก เขารู้สึกได้ถึงความสะอาด ร่มรื่น ไม่มีฝุ่นควัน ล้อมด้วยสวนผลไม้ อากาศดี ส่วนเรื่องความสวยงามในการตกแต่ง ฉันเองก็ไม่ได้มีหัว ทางนี้ และก็ไม่พยายามที่จะกดดันตัวเอง ฉันแค่อยากให้คนได้มา ใช้ชวี ติ ตามแบบวิถชี าวบ้านทีไ่ ม่ตอ้ งปรุงแต่งอะไรมาก” 124
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
Aunty Chamlong worked hard since she was young to take care of her family. Every day, she harvested produces from her mango and coconut farms and plots of vegetables and fruits in the backyard and wandered the street to sell. Therefore, she knows every alley and street of Bang Kachao like the back of her hands. Her guests always learn fascinating routes and destinations from her. “It was tough making a living, but I never wanted to be rich. I’ve always lived a sufficiency life, which was also hard at first because almost everyone grew vegetables, too. When civilization came, there were more tourists and more markets to distribute. My income grew without having to wander around.” Having struggled all her life, Aunty Chamlong saved money to run a grocery store back when convenience stores had not mushroomed like today. Simultaneously, she sold nipa palm fruits at the floating market, collected more money, and bought a piece of land to operate a homestay accommodation, starting from two rooms to three buildings. The largest accommodates up to 20 guests, the second-largest, five, and the smallest, two, or three with an extra futon. “I did not plan on a gigantic place, but a place where my guests could experience the hygiene, shadiness, orchards, fresh air, and no pollution. I’m neither good with the design or wish to pressure myself. I just want people to soak up the natural simplicity.”
Trees are literally at the front and the back, including rose apple, bilimbi, Ok Rong Mango, and jackfruit. If her guests would love to try, she could not be any happier. “I want them to have a comfortable stay,” said Aunty Chamlong. For food adventure, there are bunches of savories and desserts near the accommodation. You can bike a little further to check in at a 400-year-old ordination hall, Sri Nakhon Khuean Khan Park and Botanical Garden, and Siamese Fighting Fish Gallery. For those seeking to witness beautiful fireflies at night, the accommodation rests amidst their meeting ground among the serenity and not overly bright light, so you can peek through the window to enjoy the glistening sky.
หน้าบ้านก็ตน้ ไม้ หลังบ้านก็ตน้ ไม้ ต้องบอกแบบนีจ้ ริง ๆ ค่ะ มีทงั้ ชมพู่ ตะลิงปิง มะม่วงอกร่อง ขนุน ซึง่ ถ้าผูเ้ ข้าพักอยากจะเด็ด มากิน คุณป้าจ�ำลองก็ยนิ ดีมาก ๆ เลยนะคะ “อยากให้มานอนแล้วสบายใจ” คุณป้าบอกแบบนัน้ ส่วนเรือ่ งอาหารการกินนัน้ ในละแวกใกล้ ๆ ที่พกั มีครบทัง้ อาหารคาว อาหารหวาน และถ้าปั่นจักรยานต่อไปนิดเดียวก็ถึง โบสถ์เก่า ๔๐๐ ปี สวนสาธารณะและสวนพฤกษชาติศรีนครเขือ่ นขันธ์ และพิพธิ ภัณฑ์ปลากัดไทย ที่คนมาเที่ยวบางกะเจ้าต้องเช็กอินกันแล้ว หากใครตั้งใจมาเที่ยวบางกะเจ้าเพื่อชื่นชมความงามของหิ่งห้อย ยามค�่ำคนื การเข้าพักทีน่ น่ี นั้ ราวกับได้อยูก่ ลางดงหิง่ ห้อย ด้วยความ เงียบสงบของสถานที่ต้ังและดวงไฟที่ไม่ได้เปิดไว้จนสว่าง ท�ำให้ หิ่งห้อยมักจะมารวมตัวกันในยามค�่ำคืน แค่นอนมองจากหน้าต่าง ห้องพัก ก็เห็นแสงหิง่ ห้อยวิบวับแล้ว
บรรยากาศห้องนอนเรียบง่ายเหมาะกับวันพักผ่อนสบาย ๆ The simple atmosphere for relaxing holidays
จากใจโฮมสเตย์ เลขที่ ๔/๖ หมู่ ๑๑ ซอย ๗ ถนนบัวผึง้ พัฒนา ตำ�บลบางน้�ำ ผึง้ อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๔๓๓๑ ๔๑๗๔ Chak Chai Homestay 4/6 Moo 11, Soi 7, Bua Phueng Phattana Road, Bang Nam Phueng Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Tel. 08 4331 4174 April - May 2021
125
PHOTOSCAPE
สงบงามยามเย็น
Evening Calm
พระสมุทรเจดีย์ / สุวัฒน์ Phra Samut Chedi / Suwat
126
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
เรือหลวงแม่กลอง / ดาริน HTMS Mae Klong / Darin
April - May 2021
127
วัดอโศการาม / สุรเชษฐ์
Asokaram Temple / Surachet
128
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
โรงไฟฟ้าพระนครใต้ / กรองทอง
South Bangkok Power Plant / Krongthong
April - May 2021
129
MAP
1
ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองพระประแดง (ศาลหลักเมืองสมุทรปราการ) Phra Pradaeng City Pillar Shrine
3
2
จากใจ โฮมสเตย์ Chak Chai Homestay
ครัวแซ่บสตรีท Krua Zapp Street
4 วัดบางหัวเสือ Wat Bang Hua Suea
พระสมุทรเจดีย์ Phra Samut Chedi
5 กลุ่มชุมชนย่อย หมู่บ้านคงกระพันชาตรี หมู่ ๑ Ban Khongkraphan Chatri Community
130
เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๖๔
10
กิ่งกาณ ฟาร์ม คาเฟ่ Ginggarn Farm Cafe
Tourist Map Of Samutprakan แผนที่ท่องเที่ยวสมุทรปราการ
6 Goldenbetta Station
7 วัดพิชัยสงคราม Wat Phichai Songkhram
9
8 ป้อมพระจุลจอมเกล้า Phra Chulachomklao Fort
สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติฯ ๘๔ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โครงการลูกพระดาบส His Majesty the King’s 84th Birthday Anniversary Park, the Luk Phra Dabos Samutprakan Project
April - May 2021
131