Issue 23 ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔ Vol. 8 No. 23 December 2020 - January 2021
Eating Well, staying healthy องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
Eating Well, staying healthy
กินดี อยู่ดี วิถีชาวสมุทรปราการ หนังสือแนะนำ�แหล่งท่องเที่ยวและของดี จังหวัดสมุทรปราการ
ทัศนียภาพเมืองสมุทรปราการ เห็นโครงการตลาดเชิงทองเที่ยว ริมถนนท้ายบ้านที่กำ�ลังจะกลายเป็นแลนด์มาร์คแห่งใหม่ A city view of Samutprakan with a glimpse of Tourism-Based Market on Thai Baan Road, soon to become a new landmark
4
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
สารจาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
Message From.. Samutprakan Provincial Administrative Organization
คุณภาพชีวิตของมนุษย์เรานั้นเริ่มต้นด้วยสุขภาพ เพราะ การมีสุขภาพที่ดีนั้นย่อมเป็นพื้นฐานส�ำคัญในการสร้างสุขภาวะที่ดี ทั้งทางกายและสังคม แต่การจะมีสุขภาพที่ดีนั้นก็ต้องตั้งต้นด้วย การบริ โ ภคอาหารที่ ดี ซึ่ ง ก็ ม าจากวั ต ถุ ดิบ ที่ ดีแ ละปลอดภั ย เป็ น พื้นฐานหลักอีกเช่นกัน สมุทรปราการได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์ด้วยอาหาร การกิน ทัง้ ในแง่ความหลากหลายของวัฒนธรรมการกิน และทีม่ าของ แหล่งอาหาร ด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เอื้อต่อการผลิต ทั้งการมี เรือกสวนไร่นา การท�ำประมงน�้ำจืดและน�้ำเค็ม รวมถึงการสร้างพื้นที่ อาหารปลอดภั ย อย่ า งการเพาะปลู ก แบบอิ น ทรี ย ์ ห รื อ ออร์ แ กนิ ก ทีป่ ลอดสารเคมี ซึง่ ก�ำลังได้รบั ความนิยมแพร่หลาย ทีส่ ำ� คัญผลผลิต ปลอดสารนัน้ ยังสร้างรายได้ให้กบั ผูผ้ ลิต ซึง่ เติบโตขึน้ ตามความต้องการ ของผูค้ นในยุคนี้ ทีต่ า่ งก็ให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งสุขภาพมากขึน้ การจะส่งเสริมให้สมุทรปราการเป็นเมืองแห่งอาหารปลอดภัย นอกจากจะดูแลสุขอนามัยของผู้ผลิตอาหารและผู้บริโภคแล้ว จะต้อง ส่ ง เสริ ม ไปถึ ง ภาคของผู ้ ผ ลิ ต ที่ ต ้ น ทางด้ ว ย และนั่ น เป็ น อี ก หนึ่ ง ความส�ำคัญที่ทางองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการเล็งเห็น และให้การสนับสนุนมาโดยตลอด เราจึงต้อนรับศักราชใหม่ของปี ๒๕๖๔ ด้ ว ยเรื่ อ งราวอั นเป็ น แรงบั น ดาลใจในการเริ่ ม ต้ น การมีสุขภาพที่ดี เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากอาหารการกิน และหวังอย่างยิ่งว่า หากเมือ่ ใดทีค่ ณ ุ ผูอ้ า่ นได้มาเยือนสมุทรปราการ จะได้เข้าไปแลกเปลีย่ น เรียนรูแ้ ละได้ลมิ้ รสอาหารกันถึงแหล่งผลิต
Human’s life quality begins with health. Good health is a vital foundation for physical and social well-being. And good health starts with consuming good food prepared with quality and safe raw ingredients. Samutprakan is a city abundant with food both in terms of culinary culture and food sources. It is fully equipped with geography that favors the production, including rice paddies and plantations, freshwater and saltwater fisheries, as well as safe food growing areas. The currently popular organic farming is free from chemicals, and more importantly, their produces help farmers generate extra income. It grows according to the greater demand of people who become more oriented to health. To promote Samutprakan as the city of safe food would not only care for the health and well-being of food producers and consumers but also need to foster the producer section from its origin. Samutprakan has long realized its importance and supported it all along. To welcome the New Year 2021, we would like to present inspirational stories to encourage the beginning of good health for a better life quality via food. We sincerely wish our readers a chance to visit Samutprakan, exchange knowledge, learn and taste good food from the source.
ท้ า ยนี้ ข อกล่ า วเชิ ญ ชวน และอ� ำ นวยพรให้ ทุ ก ท่ า นประสบ แต่ความโชคดีมชี ยั สวัสดีปใี หม่ครับ Lastly, we would like to wish our dear readers a year full of prosperity. Happy New Year.
December 2020 - January 2021
5
Travel ปีท่ี ๘ ฉบับที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔ Vol. 8 / No. 23 December 2020 - January 2021
คณะทำ�งาน
นายธนวัฒน์ กล่ำ�พรหมราช รองปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ นางสาวทองดี กูลศิริ หัวหน้าสำ�นักปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด นางสุรีวัน สุขพัตร์ หัวหน้าฝ่ายบริหารงานท่ัวไป นางสาววชิราภรณ์ บุญเสริฐ นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการ นางสาวชนันรัตน์ สมณศักด์ิ นักประชาสัมพันธ์ชำ�นาญการ นางปวีณา สีคำ� เจ้าพนักงานธุรการชำ�นาญงาน นางสาววรลักษณ์ เมฆสังข์ ผู้ช่วยนักประชาสัมพันธ์
จัดพิมพ์โดย
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ถนนสุทธิภิรมย์ ตำ�บลปากน้ำ� อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๘๙ ๐๖๐๐ แฟกซ์ ๐ ๒๓๙๕ ๔๕๖๐ ต่อ ๒๐๙
ผลิตโดย
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โทรศัพท์ ๐ ๓๕๒๔ ๘๐๐๐ ต่อ ๘๕๓๓, ๘๕๕๕, ๘๕๕๖ แฟกซ์ ๐ ๓๕๒๔ ๘๐๐๐ ต่อ ๘๕๔๕
6
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
Working Group
Mr. Tanawat Klamprommarach Deputy Chief Administrator of the Samutprakan PAO Miss Tongdee Kulsiri Head of the office of the PAO Mrs. Sureewan Sugapat Chief of General Administration Subdivision Miss Wachiraporn Boonsert Public Relations Officer, Professional Level Miss Chananrat Sommanasak Public Relations Officer, Professional Level Mrs. Paweena Sikham General Service Officer, Experienced Level Miss Woralak Maeksang Public Relations Assistant
Published By
Samutprakan Provincial Administrative Organization Suthipirom Road, Paknam Subdistrict, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Province 10270 Tel. 0 2389 0600 Fax : 0 2395 4560 ext. 209
Created By
Mahachulalongkornrajavidyalaya Press Mahachulalongkornrajavidyalaya University Tel. 0 3524 8000 ext. 8533, 8555, 8556 Fax : 0 3524 8000 ext. 8545
Editor’s Talk
Welcome ค� ำ โบราณที่ ก ล่ า วถึ ง ความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องเมื อ งไทย ทีเ่ รานึกถึงเมือ่ ต้องการเปรียบเปรย คือค�ำว่า “ในน�ำ้ มีปลา ในนามีขา้ ว” แต่หากพูดถึงจังหวัดสมุทรปราการแล้ว เห็นทีว่าควรต้องเพิ่มค�ำว่า “บนดินมีพชื พรรณอาหารปลอดภัย” เข้าไปอีกสักหนึง่ ประโยค เพราะหากได้เดินทางไปยังอ�ำเภอต่างๆ ของสมุทรปราการแล้ว เราจะพบว่าแต่ละท้องถิน่ จะมีเรือ่ งราวของการเป็นแหล่งผลิตอาหาร ปลอดสาร เพื่อการกินอยู่อย่างปลอดภัย แทรกตัวอยู่ในพื้นที่เสมอ โดยเฉพาะการท�ำสวนเกษตรอินทรีย์ ซึ่งเป็นต้นทางของวัตถุดิบ ให้ผบู้ ริโภคได้มอี าหารทีด่ ตี อ่ สุขภาพ เพือ่ การ “กินดี” และ “อยูด่ ”ี อย่างสมบูรณ์แบบ @Samutprakan ฉบับนี้ เราจึงขอท�ำหน้าที่พาคุณผู้อ่าน ไปสั ม ผั ส เรื่ อ งราวของต้ น ทางผู ้ ผ ลิ ต อาหารปลอดภั ย ในจั ง หวั ด สมุทรปราการ ไม่ว่าจะเป็นพืชผักในสวนบนดิน ฟาร์มในหมู่บ้าน กลางเมือง ไปจนถึงอาหารทะเลทีท่ ำ� ประมงและดูแลแหล่งทรัพยากร กันในวิถพี นื้ บ้าน ซึง่ สอดแทรกประเด็นของการปกป้องรักษาธรรมชาติ เพือ่ คงไว้ให้เป็นแหล่งอาหารทีย่ งั่ ยืนต่อไป และเช่นเคยที่เรายังเฟ้นหาเรื่องราวของผู้คนและสถานที่ ทีน่ า่ ไปเยือนในจังหวัดสมุทรปราการ เพือ่ เติมประสบการณ์การท่องเทีย่ ว ให้คุณรู้จักสมุทรปราการในแง่มุมที่กว้างขึ้นกว่าเดิม
facebook.com/ samut.magz.54
Since ancient times, the abundance of Thailand has often been regarded as “Plenty of fish in the water and plenty of rice in the paddies”, but when it comes to Samutprakan, we might as well add “plenty of safe food plants on the ground”. If you have a chance to travel to each district in Samutprakan, you will always find fascinating stories of being chemical-free food producers for a safe living. In particular, organic farming is the source of raw ingredients that allows consumers to enjoy quality healthy food to “eat well” and “live well”. This issue of @Samutprakan would like to guide our dear readers on a journey to experience the origin of safe food producers in Samutprakan, from vegetable farms, village farms amidst the city, and seafood sources, harvested and conserved with local methods. It also presents topics on nature conservation as a sustainable food source. As usual, we have cherry-picked stories of people and places worth visiting in Samutprakan for truly fulfilling travel experiences with a broader perspective of the province.
December 2020 - January 2021
7
Contents issue 23
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔ December 2020 - January 2021
Update
12 Travel CALENDAR ปฏิทน ิ ท่องเทีย ่ ว 14 What’s Up ข่าวสารทีเ่ กิดขึน ้ ในจังหวัดสมุทรปราการ
ลอยกระทงลงอ่าวไทย ไปปากน้�ำ สืบสานประเพณีทส่ี มุทรปราการ Loi Krathong Festival from the Gulf of Thailand to Paknam for Tradition Conservation in Samutprakan
16 Travel INFO เกร็ดข้อมูลท่องเทีย ่ ว เมืองสมุทรปราการ 18 Packing Up จัดกระเป๋าเทีย ่ ว
เทีย่ วแบบใส่ใจ ไม่สร้างขยะ A caring and waste-free travel
20 Then and Now วันวานสูป ่ จั จุบน ั
องค์พระสมุทรเจดีย์ ทีค่ รัง้ หนึง่ เคยอยูก่ ลางน้�ำ Phra Samut Chedi Once Amidst the Water
22 One Word
ตักบาตรพระร้อย Tak Bat Phra Roi
24 PAKNAM Story เกร็ดน่ารูเ้ มืองปากน้�ำ 26 PEACE PLACE
วัดสร่างโศกกับชุมชนคนรักชาติ ทีบ่ า้ นคลองด่าน Wat Sang Sok and a patriot community at Ban Khlong Dan
30 CAN’t Miss
แหล่งท่องเทีย ่ วห้ามพลาด ชิม ช้อป ชม แบบชิลล์ทกุ สิง่ ต้องเช็กอินที่ “ตลาดน้�ำ เรือบิน” Leisurely Taste, Shop, and Watch at “Ruabin Floating Market” 34 IN CANVAS เส้นสายลายศิลป์
Green Corner Lifestyle 38 GREEN STORY เรือ ่ งเล่าจากชุมชนสีเขียว
ห้อยขา นวดประคบริมคลอง กิจกรรมเพือ่ สุขภาพ ริมฝัง่ น้�ำ บางกอบัว Dangling legs and herbal compress massage by the canal A healthcare activity at Bang Ko Bua waterfront
42 Walking in the Nature เทีย ่ วธรรมชาติ
รับลม ชมนก ทำ�ความรูจ้ กั โกงกางเทียม ในวันทีล่ มหนาวมาเยือน Feel the winter breeze, watch the bird, and get familiar with artificial mangroves
Feature
48 COVER JOURNEY พร้อมเทีย ่ วเมืองสมุทรปราการ
เยือนแหล่งอาหารดี ทีส่ ง่ ต่อการ “กินดี” ในสมุทรปราการ Visit the good food sources that pass on “well-eating” in Samutprakan
92 BE OUR GUEST
ความใฝ่รทู้ ไ่ี ม่มวี นั หมดของ ชิษณุพงศ์ สินชัยวราธรณ์ ผูใ้ หญ่บา้ นเจ้าของรางวัลแหนบทองคำ� คนแรกของตำ�บลบางปลา The Endless Thirst for Knowledge of Chitsanuphong Sinchaiwarathon Bang Pla District’s first village headman with Naep Thong Kham Award 96 Open Kitchen คุยหน้าเตากับอาหารพืน ้ บ้าน
แกงกระเจีย๊ บ อาหารคูค่ รัวชาวรามัญ Okra Curry A common Mon recipe 100 LOCAL BEST ฬ จุฬา ว่าวไทยโบราณ งานหัตถกรรม ฝีมอื ของชาวบางเสาธง Traditional Thai Chula Kite Handicrafts of Bang Saothong’s locals
Rest Day 106 Cuisine แนะนำ�ร้านเด็ด
Tastebud รสชาติอาหารทีอ่ อกแบบมาเพือ่ อนาคต Tastebud Tasty food designed for the future
112 CAF HOPPING
Roastery at Home ร้านกาแฟสไตล์โฮมมี่ ทีเ่ ปลีย่ นบ้านพ่อมาเป็นโรงคัว่ กาแฟ Roastery at Home A Homey Caf that transformed father’s house into a roastery
116 DAY OFF วันว่างในสมุทรปราการ
Street Art ปลูกศิลปะบนก�ำแพงโรงเรียน Street Art Growing art on the school walls
122 Have a Nice Stay แนะนำ�ทีพ ่ ก ั ในสมุทรปราการ
สามพีน่ อ้ งโฮมสเตย์ อยูก่ บั ชาวบ้านแบบบ้านๆ ทีบ่ า้ นขุนสมุทรจีน Sam Phi Nong Homestay Live like a local at Ban Khun Samut Chin
128 PHOTOSCAPE มุมสวยสมุทรปราการ 130 Map แผนทีท ่ อ ่ งเทีย ่ ว
1010
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
..
Update . . . . . . .
TRAVEL CALENDAR WHAT’S UP TRAVEL INFO PACKING UP THEN AND NOW ONE WORD PAKNAM STORY PEACE PLACE CAN’T MISS IN CANVAS
December 2020 - January 2021
1111
Travel Calendar
ปฏิทินท่องเที่ยวจังหวัดสมุทรปราการ
ชมนกนางนวลยามเย็น
บริเวณสถานตากอากาศบางปู ต�ำบลบางปูใหม่ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ - เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔
Evening Seagull Watching At Bangpu Recreation Center,
Bangpu Mai Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan From December 2020 – April 2021 12
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
Travel Calendar
ส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่
ศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
Samutprakan Countdown 2021 At Samutprakan City Hall,
Paknam Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan On December 31, 2020 December 2020 - January 2021
13
WHAT’S UP
ลอยกระทงลงอ่าวไทย ไปปากน้ำ� สืบสานประเพณีที่สมุทรปราการ
Loi Krathong Festival from the Gulf of Thailand to Paknam
for Tradition Conservation in Samutprakan เมือ่ เวลา ๑๙.๓๐ นาฬิกา วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๓ นายวันชัย คงเกษม ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสมุทรปราการ ได้เป็นประธานเปิดงาน ประเพณีลอยกระทงจังหวัดสมุทรปราการ ทีท่ างจังหวัดสมุทรปราการ ได้รว่ มกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการและเทศบาลนคร สมุทรปราการ หอการค้าจังหวัดสมุทรปราการ จัดขึน้ ทีบ่ ริเวณลาน หน้าศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ และริมเขื่อนแม่น�้ำเจ้าพระยา ศาลากลางจังหวัด ในชือ่ งานว่า “พระสมุทราสัตยาธิษฐาน สืบสาน ประเพณีลอยกระทง ลงอ่าวไทย ไปปากน�ำ้ ” เพือ่ สืบสานวัฒนธรรม แห่งสายน�ำ ้ ทีไ่ ด้ถอื ปฎิบตั สิ บื ต่อกันมา ให้คงอยูต่ ลอดไป
ภายในงานมีการประกวดกระทงสวยงามหลายประเภท และ การแสดงมหรสพบั นเทิ ง การประกวดนางนพมาศ การแสดง มินคิ อนเสิรต์ จากศิลปิน ขบวนแห่กระทงสุดอลังการ รวมทัง้ กิจกรรม ลอยกระทงแบบสไลเดอร์ที่ทางจังหวัดสมุทรปราการได้เปิดให้ ประชาชนเข้าใช้บริการน�ำกระทงมาวางบนราง ซึ่งสร้างให้ทอดยาว ลงไปในแม่นำ�้ เจ้าพระยา เพือ่ ลดความเสีย่ งจากการแออัดพลัดตกน�ำ้ หรือแพล่ม จากภาพความสวยงามของประเพณีลอยกระทงครั้งนี้พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ได้พร้อมใจกันใช้กระทงที่ท�ำจากวัสดุธรรมชาติ ทีส่ ามารถย่อยสลายได้งา่ ย มีการประดิษฐ์กระทงจากต้นกล้วย ใบตอง เปลือกข้าวโพด ขนมปัง และกาบมะพร้าว อีกทั้งยังมีจุดคัดกรอง เพือ่ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙ ตามมาตรการป้องกันโรค ที่ ก ระทรวงสาธารณสุ ข ก� ำ หนด เพื่ อ ให้ ป ระชาชนชาวจั ง หวั ด สมุทรปราการและนักท่องเที่ยวที่พากันหลั่งไหลมาร่วมลอยกระทง ได้รบั ทัง้ ความสนุกสนานเพลิดเพลินและปลอดภัยกันถ้วนหน้า 14
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
At 07.30 pm on October 31, 2020, Wanchai Khongkasem, Samutprakan Governor, presided over the opening of Loi Krathong Festival 2020, held by Samutprakan Provincial Administration Organization in collaboration with Samutprakan Town Municipality and Samutprakan Chamber of Commerce, at the court and the dyke-front of the Chao Phraya River in front of Samutprakan City Hall under, the name “Phra Samut Loi Krathong Festival from the Gulf of Thailand to Paknam�. At the event, there were Krathong contest, entertainment performances, Nang Nopphamat beauty contest, and miniconcerts by various artists, a magnificent Krathong parade, and a creative Loi Krathong water slide, which the public could launch their Krathong on the ramp that led into the Chao Phraya River to decrease the risk of an accident. This year, the public marvelously opted for a Krathong made of natural biodegradable materials such as banana trunks, banana leaves, corn leaves, bread, and coconut spathe. A screening point was also installed to contract the COVID-19 transmission following the preventive measures by the Ministry of Public Health to ensure the maximum joy and safety of Samutprakan locals and tourists attending the events.
December 2020 - January 2021
15
TRAVEL INFO
16
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
December 2020 - January 2021
17
PACKING UP
เที่ยวแบบใส่ใจ ไม่สร้างขยะ
A caring and waste-free travel
การอยูด่ มี สี ขุ แบบครบวงจรนัน้ คือห่วงโซ่ความเป็นอยูท่ ส่ี มั พันธ์กนั ตัง้ แต่ตน้ ทางของ อาหาร จนถึงปลายทางของการบริโภค และไม่ใช่เพียงแค่เรือ่ งของอาหารทีเ่ รากิน เท่านัน้ แต่รวมถึงการใช้ชวี ติ ทีช่ ว่ ยดูแลสิง่ แวดล้อม ด้วยเรือ่ งง่ายๆ ทีเ่ ราไม่ควรละเลย และในแต่ละการเดินทางนัน้ เราจัดการกับเรือ่ งเหล่านี้ได้อย่างไรบ้าง Complete well-being is an interconnected chain of living from the food source to the consumption end. Besides the food we eat, it is also a matter of our lifestyle that cares for the environment with simple actions that should not be taken for granted. What can we help with during each journey?
๑ พกผ้าไขผึ้งส�ำหรับห่ออาหาร
บางครัง้ เราก็มอี าหารทีเ่ หลือเก็บเข้าตูเ้ ย็นในห้องพัก ซึง่ การเก็บรักษาอาหารใน ตู้เย็นนี้ เราสามารถเลือกใช้วัสดุท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ใช้ซำ้�ได้บ่อยครั้ง และให้ประโยชน์ในการเก็บความสดรวมทัง้ ป้องกันกลิน่ อาหารไม่ให้กระจายใน ตูเ้ ย็นได้ การใช้ผา้ เคลือบไขผึง้ เป็นทางออกทีน่ า่ สนใจ ทัง้ ยังสามารถใช้ซ�ำ้ ได้นาน ถึง ๒๔ เดือนต่อชิน้ เพียงแค่ลา้ งให้สะอาดด้วยน้�ำ สบูห่ ลังจากใช้ ประโยชน์ท่ี ไม่เหมือนการเก็บอาหารด้วยวัสดุอ่ืน คือไขผึ้งในผ้าจะไม่เพียงแค่เก็บอาหาร อย่างเดียว แต่ยงั สามารถช่วยลดการเกิดแบคทีเรียในอาหารได้ดว้ ย มากไปกว่านัน้ คือความสนุกในการหยิบใช้ เพราะผูผ้ ลิตสร้างสรรค์จากลวดลายผ้าหลากสีสนั ทีน่ �ำ มาเคลือบไขผึง้ ในขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ ตามการใช้งาน Beeswax Wrap
When storing leftover food in the refrigerator in our room, we can choose eco-friendly materials that can often be reused, help preserve the freshness while preventing the food odor from spreading in the refrigerator. Beeswax wrap is an interesting solution that can be reused for up to 24 months and easily cleaned with soap water. Unlike other food storage materials, beeswax helps reduce the formation of bacteria in food. Moreover, it is more enjoyable to use with various patterns, colors, and sizes to choose from. 18
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
๒ สมุนไพรแช่เท้า ในทริปที่ต้องเดินหนักๆ
สมุนไพรไทยไม่ได้มปี ระโยชน์เพียงแค่การประกอบอาหาร ให้เท่านัน้ แต่ยงั เป็นสิง่ ทีส่ ามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ในการ บรรเทาอาการเจ็บและรักษาอาการปวดได้ สิง่ หนึง่ ที่ไม่ควร มองข้าม คือแพ็กสมุนไพรตากแห้งสำ�หรับใช้แช่เท้า ที่มี คุณสมบัตใิ นการช่วยลดอาการช้�ำ บวม และคลายกล้ามเนือ้ จากการเดิน และต้องยืน นานๆ ได้ สมุนไพรสำ�คัญที่ จะช่วยในเรือ่ งนี้ คือ ขมิน้ ไพร ทีช่ ว่ ยสมานแผลให้ผวิ สมาน ชุมเห็ดเทศ ช่วยเรือ่ งการหมุนเวียนของน้�ำ เหลือง ใบมะขาม หรือใบส้มป่อย จะช่วยเรือ่ งของเส้นเอ็นตึง แต่ยงั สามารถ ช่วยระงับกลิ่นอับที่เกิดจากการใส่ถุงเท้าได้ และบรรเทา ความเมือ่ ยล้า ชา โดยเปิดน้�ำ อุน่ ๆ ลงอ่าง นำ�สมุนไพรใส่ ลงไป แล้วหย่อนเท้าลงไปแช่ไว้ คืนนัน้ หลับสบายแน่ Herbal Foot Soak for a trip with lots of walking
Thai herbs are not only beneficial as food, but also as pain relievers or treatments. Never underestimate the dried herbal packs for foot soaking that can reduce bruises and swelling, and relax muscles from a long walk or stand. The key ingredients include the turmeric and Bengal roots that help heal the wound, the ringworm bushes that promote better lymphatic circulation, the leaves of tamarind and soap pod that ease the tense tendon, deodorize stuffy smell from wearing socks, relieve fatigue and numbness. Fill a basin with lukewarm water, add the herbs, soak your feet, and enjoy a good night's sleep.
สัมผัสดี กับจานชามใบไม้
โลกกำ�ลังเผชิญปัญหาจากวิกฤติขยะสังเคราะห์โดยเฉพาะจากจานชามพลาสติก หรือโฟม ซึง่ ต้อง ใช้เวลาย่อยสลายนานกว่า ๓๐๐ ปี ประเทศไทยเป็นประเทศทีม่ ขี ยะในทะเลมากเป็นอันดับ ๖ ของโลก หากเราต้องการใช้จานชามที่ใช้เพียงครัง้ เดียว เรามีทางเลีย่ งและเลือกได้ ด้วยการ ใช้ของทีท่ �ำ จากวัสดุธรรมชาติทม่ี นี �ำ้ หนักเบา พกพาง่าย ของใช้จ�ำ พวกถ้วย จาน ชาม จากใบไม้และใบจาก น่าจะเป็นทางออกที่ทำ�ให้เราใช้ชีวิตได้กลมกลืนกับธรรมชาติ และลดขยะให้กับโลกได้มาก โดยจานที่ทำ�จากกาบหมากใช้ได้ถึง ๒-๓ ครั้ง ในราคาประมาณ ๕ บาทขึน้ ไป ส่วนชามใบไม้หรือใบจากใช้ครัง้ เดียวหรือ ๒ ครัง้ ในราคาเพียงแค่ ๑ บาท เท่านัน้ สามารถติดต่อได้ท่ี โครงการสัมมาชีพชุมชน บ้านบางหมู ไม่ว่าจะเป็นการไปขอเรียนการทำ� หรือสั่งซื้อจานชามใบไม้ท่ี กำ�นันโต้ง โทรศัพท์ ๐๘ ๑๔๙๐ ๐๒๒๒ Leaf food containers
Our earth is facing a synthetic waste crisis, particularly plastic and foam food containers, which take over 300 years to degrade. Thailand is the world’s sixth-biggest contributor to ocean waste. Even when in need of single-use food containers, we can still choose lightweight and portable natural materials such as leaves and Nipa Palm leaves to live in harmony with nature and cut back the waste. Betel sheath dishes can be reused a few times, starting from five baht each, while one-baht leaf or Nipa-palm leaf dishes can be reused once or twice. To study how-to, contact Ban Bang Mu Community Honest Livelihood Project or order at Village Headman Tong via 08 1490 0222.
๔
เติมเต็มในภาชนะเดิม
กระบอกน้�ำ เก็บความร้อนและเย็น เป็นได้ทง้ั ภาชนะบรรจุน�ำ้ และสามารถใช้บรรจุอาหาร ได้ดว้ ย จึงสารพัดประโยชน์หากจะพกติดตัวเดินทาง เรือ่ งการบรรจุน�ำ้ ไม่มอี ะไรน่าสงสัย แต่ถา้ ให้บรรจุอาหารนัน้ ทำ�อย่างไรได้บา้ ง ลองนึกภาพการซือ้ ของกินเล่นอย่างลูกชิน้ หรือ ไส้กรอกเสียบไม้ แล้วปฏิเสธถุงพลาสติกจากแม่คา้ โดยให้ใส่ของกินเล่นเหล่านัน้ ลงใน กระบอกแทนแล้วปิดฝา จะทำ�ให้เราสามารถมีอาหารอุน่ ๆ กินได้ทง้ั วัน หรืออาจจะใช้ ใส่ผลไม้แช่เย็นทีห่ น่ั เป็นชิน้ หยิบกินเมือ่ ไรก็ชน่ื ใจ Fulfill the same old container
A thermos tumbler can store both beverages and food, thus, a multi-purpose item for traveling. Imagine buying street snacks like meatballs or sausages on a skewer, refusing plastic bags from the vendor, storing them in a thermos tumbler before closing the lid. You can enjoy warm food all day long. You can also keep chilled fruit slices in the tumbler and feel refreshed whenever you have a bite.
December 2020 - January 2021
19
THEN AND NOW
องค์พระสมุทรเจดีย์ ที่ครั้งหนึ่งเคยอยู่กลางน้ำ�
Phra Samut Chedi Once Amidst the Water
“องค์พระสมุทรเจดีย”์ เป็นปูชนียสถานคูเ่ มืองและเป็นหนึง่ ในค�ำขวัญ ของจั ง หวั ด สมุ ท รปราการ คื อ “ป้ อ มยุ ท ธนาวี พระเจดี ย ์ ก ลางน�้ ำ ฟาร์มจระเข้ใหญ่ งามวิไลเมืองโบราณ สงกรานต์พระประแดง ปลาสลิดแห้ง รสดี ประเพณี รั บ บั ว ครบถ้ ว นทั่ ว อุ ต สาหกรรม” แต่ ใ นปั จ จุ บั น องค์พระสมุทรเจดีย์ไม่ได้อยู่กลางน�้ำอีกต่อไปแล้ว เพราะธรรมชาติท�ำให้ กระแสน�ำ้ ค่อยๆ พัดเอาตะกอนดินมาตกทับถมด้านหลังเกาะพระเจดียก์ บั ฝัง่ แผ่นดินใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ หลังจากมีการสร้างท่าเรือคลองเตยขึน้ ในปี ๒๔๘๓ ผลจากการขุ ด ลอกร่ อ งน�้ ำ ให้ เ รื อ เดิ น สมุ ท รเข้ า -ออก ได้สะดวก ท�ำให้ในย่านนีเ้ กิดเป็นสันดอนทีป่ ากอ่าวเร็วขึน้ จนกระทัง่ เกาะกับ ฝัง่ ได้เชือ่ มเป็นผืนดินเดียวกันไปในทีส่ ดุ วัดพระสมุทรเจดีย์ เป็นพระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ซึ่งมีพระวิสัยทัศน์กว้างไกล ทรงสร้าง ป้อมปราการเรียงรายทั้งสองฝั่งไว้ป้องกันข้าศึกทางทะเล และทรงสร้าง เมืองสมุทรปราการขึน้ ใหม่หลังจากเมืองเก่าทรุดโทรม โดยมีพระราชด�ำริ 20 ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
“Phra Samut Chedi” is a sacred place and a part of Samutprakan’s motto, “Marine Battle Fortresses, Chedi in the Water, Large Crocodile Farm, Exquisite Ancient City, Phra Pradaeng Songkran Festival, Tasty Dried Snakeskin Gourami, Rap Bua Festival, Industrial Estate.” Nowadays, it no longer sits among the water due to the riverine silt deposition at the back of the Chedi island and the mainland. The Khlong Toei Port construction in 1940 to facilitate ocean liners sped up the river mouth bar formation before gradually connected to the mainland. Wat Phra Samut Chedi was royally initiated by King Rama II as a part of his visionary plan to both construct fortresses along the riverbanks to prevent the enemy’s sea intrusion and rebuild Samutprakan after the old city
ทีจ่ ะสร้างพระมหาเจดียข์ นึ้ บนเกาะนัน้ แต่ระหว่างทีโ่ ปรดเกล้าฯ ให้ออกแบบ พระเจดีย์ รัชกาลที่ ๒ ได้เสด็จสวรรคต พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่น เจษฎาบดินทร์ พระราชโอรสผู้ทรงเป็นแม่กองถมดิน ได้ขึ้นครองราชย์ เป็นรัชกาลที่ ๓ จึงทรงสานต่อ โดยเริม่ สร้างในวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๓๗๐ แล้วเสร็จในวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๓๗๑ เป็นเวลา ๗ เดือน กับ ๕ วัน สิน้ พระราชทรัพย์ไป ๒๓๓ ชัง่ หรือ ๑,๘๖๔ บาท โดยองค์พระสมุทรเจดียน์ ี้ เป็นเจดียท์ บี่ รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ ๔ พระองค์ไว้ภายในองค์พระสมุทรเจดีย์ แต่หลังจากสร้างเสร็จไม่นาน ก็มโี จรแอบปีนขึน้ ไปเจาะองค์พระสมุทรเจดีย์ ขโมยพระบรมสารีรกิ ธาตุไป ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ มีพระราชด�ำรัสว่า “พระเจดีย์องค์นี้ ดูต�่ำเตี้ยไม่สง่างาม” และเมื่อทรงทราบว่ามีโจรปีนขึ้นไปขโมยพระบรม สารีรกิ ธาตุไป จึงโปรดเกล้าฯ ให้ชา่ งไปถ่ายแบบพระเจดียท์ รงระฆังคว�ำ่ องค์ ห นึ่ ง ที่ ก รุ ง ศรี อยุธ ยา ก่อ สร้า งสวมทับพระเจดี ย ์ อ งค์ เ ดิ ม ไว้ ด้ วย พระราชทรัพย์สว่ นพระองค์ และอัญเชิญพระบรมสารีรกิ ธาตุ ๑๒ พระองค์ จากพระบรมมหาราชวังมาบรรจุไว้ ทัง้ ยังถมเกาะให้กว้างขึน้ ด้วย องค์พระสมุทรเจดีย์มีประเพณีที่สืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน ก็คือ ประเพณีหม่ ผ้าแดง ซึง่ ได้เริม่ มาตัง้ แต่ภายหลังจากสร้างองค์พระสมุทรเจดีย์ เสร็จในสมัยรัชกาลที่ ๓ มีการเฉลิมฉลองกัน ๕ วัน ๕ คืน เพือ่ สักการะ พระบรมสารีริกธาตุที่บรรจุอยู่ในองค์พระสมุทรเจดีย์ ทั้งยังได้น�ำผ้าแดง ผืนใหญ่มาห่มองค์พระสมุทรเจดียใ์ ห้เห็นสะดุดตา ให้ชาวต่างชาติทเี่ ดินเรือ เข้ามาได้เห็นผ้าแดงผืนใหญ่ ซึง่ เป็นเสมือนธงชาติไทยในสมัยนัน้ โดยจะ มีการแห่ผา้ แดงทัง้ ทางบกและทางน�ำ้ ให้ประชาชนได้มสี ว่ นร่วม ก่อนจะมา แห่ทกั ษิณาวรรตรอบองค์พระสมุทรเจดียแ์ ล้วน�ำขึน้ ห่ม
dilapidated with a great chedi on the island. Following King Rama II’s death during the design, King Rama III continued His father’s project. The Chedi construction began on October 30, 1827, and completed on May 2, 1828, a total of seven months and five days, and a cost of 233 chang (18,640 baht). Inside, Phra Samut Chedi enshrined four Buddha’s relics, although stolen soon after. King Rama IV found the Chedi short and not quite elegant, and also learned how thieves broke in to steal. Thus, He ordered artisans to take a photo of the bell-shaped pagoda in Ayutthaya and build accordingly on top of the original Chedi with His private fund, installed 12 Buddha’s relics from the Grand Palace within, and expanded the island. The long-descended Phra Samut Chedi’s Red Robe Wrapping Tradition began after a five-day celebration upon the Chedi completion to pay homage to the Buddha’s relics. A massive red robe, similar to the Thai national flag at the moment, was also wrapped around the Chedi to catch the eyes of foreign navigators. The residents would join the red robe procession on land and water before marching clockwise around Phra Samut Chedi and proceeding to wrap. December 2020 - January 2021 21
One Word
ตักบาตรพระร้อย
Tak Bat Phra Roi ในสมัยก่อนมีการสันนิษฐานว่าทีว่ ดั หนามแดงมักจะมีพระบวช ในช่วงเข้าพรรษาเป็นร้อยรูป จนพอถึงในช่วงออกพรรษาซึ่งเป็น ช่วงเวลาของการท�ำบุญตักบาตรเทโว พระสงฆ์จะเดินต่อแถวรับบาตร กันยาวมาก ชาวบ้านจึงเรียกการตักบาตรเทโวด้วยอีกชื่อหนึ่งว่า “ประเพณีตักบาตรพระร้อย” เพื่อเป็นการบอกกล่าวให้ประชาชน ได้ทราบถึงจ�ำนวนพระที่มาเข้าแถวรอรับบาตรอยู่ ชาวบ้านจะได้ เตรียมของใส่บาตรได้พอเพียงกับจ�ำนวนพระ และบ้างก็เรียก พิธีกรรมนี้ด้วยอีกชื่อว่า “ตักบาตรพระลอย” เพราะเชื่อกันว่านี่คือ วันส�ำคัญทีพ่ ระพุทธเจ้าเสด็จลอยลงมาจากชัน้ ดาวดึงส์ พิธตี กั บาตรพระร้อย หรือ ตักบาตรพระลอย จะถูกจัดรูปขบวน อย่างสวยงาม น�ำหน้าด้วยขบวนกลองยาว ขบวนธงชาติ ตามด้วย เงาะ รจนา พระอินทร์ ชูชก กัณหา ชาลี นางฟ้า เทวดา เปรต ยมฑูต ราชรถพระพุทธรูป และแถวของพระสงฆ์ 22 ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
In the early days, Wat Nam Daeng had 100 monks ordained during the Buddhist Lent. At the end of Buddhist Lent, the time for Tak Bat Thewo Alms-Giving ceremony, there would be a long line of monks receiving the alms. Thus, the tradition was locally called “Tak Bat Phra Roi” (100-monk alms-giving) so that the villagers could prepare sufficient offerings for the monks. Occasionally it was called “Tak Bat Phra Loi” (floating monk alms-giving), believing to be the day the Lord Buddha descended from heaven. The ceremony features meticulous parades led by a tom-tom parade and a national flag parade and followed with Ngo, Rotchana, Indra, Jujaka, Kanha, Chali, angels, Devas, Pretas, Death, Buddha Image chariot, and monk parade.
จินตนาการที่น�ำมาสู่การสร้างสรรค์ด้วยการจัดขบวนเช่นนี้ ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ในจังหวัดสมุทรปราการเล่าว่าเป็นแรงบันดาลใจทีไ่ ด้มาจาก พระไตรปิฎก เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จลงมาโปรดพุทธมารดาและ เปิดโลกในวันแรม ๑ ค�ำ ่ เดือน ๑๑ อันถือเป็นวันส�ำคัญทีม่ นุษย์ เทวดา พระอินทร์ และผีเปรตจะมองเห็นกัน โดยเทวดาและพระอินทร์ จะเป็นผู้ส่งพระพุทธเจ้าให้เดินผ่านมาทางบันไดแก้วและบันไดเงิน เพื่อลงมายังโลกมนุษย์ ขณะที่พระอินทร์และเทวดาจะเดินมาทาง บันไดธรรมดา โดยประชาชนที่มาตักบาตรพระร้อยจะร่วมแสดง ความยินดีดว้ ยการน�ำขนมข้าวต้มลูกโยนมาใส่บาตร ข้าวต้มลูกโยน ถือเป็นขนมไทยที่มีความส�ำคัญและมีความเป็นมาเกี่ยวข้องกับ เรื่องราวในพระพุทธศาสนา ขนมชนิดนี้ท�ำจากข้าวเหนียวผัดกับ น�ำ้ กะทิผสมน�ำ้ ตาลทรายและเกลือ ห่อด้วยใบมะพร้าวอ่อนหรือใบเตย มียอดแหลมและไว้หางยาว และทีแ่ ต่งตัวไม่แพ้กนั เลยกับเหล่าเทวดา นางฟ้า คือประชาชน ที่มาร่วมงาน ถือเป็นวันส�ำคัญของการแสดงอัตลักษณ์ความงาม เป็นไทยผ่านเสือ้ ผ้าชุดแต่งกาย เสือ้ ม่อฮ่อมบ้าง เสือ้ ลูกไม้สขี าวใส่คู่ กับผ้าถุงบ้าง
According to elders in Samutprakan, the parades were inspired by the Buddhist Scripture. When Lord Buddha descended to preach to his mother and open the three worlds on the first day of the waning moon of the 11th month, humans, Devas, Indra, and Pretas could see each other. The Devas and Indra sent the Lord Buddha to walk down a glass and silver staircase to the human world while Indra and Devas took the ordinary one. Ceremony participants would extend their congratulations by offering Khao Tom Luk Yon (literally Tossed Rice Ball), a significant dessert related to the Buddhist history. It is sticky rice stir-fried with coconut milk, sugar, and salt before being wrapped with young coconut or banana leaves with pointed ends and a long tail. Moreover, the participants would delicately demonstrate their Thai identity through outfits. Some wear a Mo Hom Shirt while some match a white lace blouse with a wrap skirt.
December 2020 - January 2021
23
PAKNAM STORY
เกร็ดน่ารู้เมืองปากน้ำ�
Paknam Tips ธงชาติไทยก�ำเนิดขึน ้ ในสมุทรปราการ
จากหนังสือ "ของดีเมืองสมุทรปราการ" วารสารสภาวัฒนธรรม จังหวัดสมุทรปราการ ๒๕๔๐ ระบุวา่ ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีตา่ งชาติ ฮอลันดาเข้ามาติดต่อค้าขายกับคนไทย อีกทัง้ กระท�ำความดีความชอบ กับทางราชการแผ่นดินหลายอย่าง จนได้รับพระราชทานที่ดิน บริเวณเหนือคลองปลากด ใช้เป็นที่ตั้งคลังสินค้าที่มั่นคงใหญ่โต ถึงกับมีการยกย่องในหมูช่ าวฮอลันดาว่าเป็นเมือง "นิวอัมสเตอร์ดมั " ต่อมามีประชาชนได้เข้ามาค้าขาย ก่อสร้างบ้านเรือน ร้านค้า ชุมชน ขยายตัวออกไปจากเดิม จนในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองสมุทรปราการเป็นเมืองหน้าด่าน ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ครั้ น ภายหลั ง มี เ รื อ ฝรั่ ง เศสเข้ า มาทางปากน�้ำ ไทยเรายังไม่มีธงชาติใช้เพื่อแสดงสัญลักษณ์ของอาณาเขต จึงเอา ธงชาติฮอลันดาชักขึ้น แต่ฝรั่งเศสไม่ยอมค�ำนับธงชาติฮอลันดา ไทยจึงแก้ปัญหาด้วยการเอาผ้าแดงชักขึ้นแทน จนกระทั่งภายหลัง มีการเพิ่มรูปช้างเผือกในรูปผืนผ้าแดง จึงนับได้ว่าธงชาติไทย ได้เกิดขึ้นครั้งแรกที่เมืองสมุทรปราการนี้ ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็น ธงไตรรงค์ทใี่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั Thai National Flag originated in Samutprakan
According to “Khong Di Mueang Samutprakan” Samutprakan Cultural Council Magazine in 1997, in the Ayutthaya period, the Dutch started trading with Thai people, contributed greatly to the kingdom, and was royally granted the land above Bang Pla Kot Canal. They built an enormous warehouse, praised as the “New Amsterdam”. As residents joined the area to trade, they built houses and shops, and the community expanded. Later, King Songtham commanded the construction of Samutprakan as a significant outpost. When French warships intruded the estuary, Thailand did not have a national flag to signify the territory and, instead, raised the Dutch national flag, to which the French refused to bow. Thailand solved the problem with a red flag before a picture of a white elephant was added afterward. Considerably, the Thai national flag was first created in Samutprakan before being replaced with the current tricolor flag. 24
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
Phra Buddha Lokkachet The standing จุดเด่นของวัดบางปิง้ ทีเ่ ป็นเสมือนสัญลักษณ์แห่งความรุง่ เรือง Buddha image of Wat Bang Ping
พระพุทธโลกเชฏฐ์ พระยืนวัดบางปิง้
ของพระพุทธศาสนา คือ พระพุทธรูปปูนปั้นสีขาวองค์ใหญ่ที่มี ความงดงามตามแบบศิลปะคันธาระ (ศิลปะแบบอินเดียที่ได้รับ อิทธิพลมาจากศิลปะกรีก-โรมัน) ปางพระพุทธเจ้าเปิดโลก (เสด็จลง จากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์) เกิดจากด�ำริของพระครูพิพิธพัฒพิธาน (นา ธฺมมธีโร) ที่ต้องการสร้างศูนย์รวมจิตใจของวัด จนมาส�ำเร็จ ลุ ล ่ ว งในสมั ย ของพระครู วิ ส าลพั ฒ นากร (พระครู ป ลั ด สมชาย กิตฺติปาโล ในขณะนั้น) ขึ้นด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ซึ่งได้น�ำแบบ พระพุ ท ธรู ป ปางเปิ ดโลกมาจากวัดพุท ธอุทยาน (ดอยอิ นทรี ย ์ ) จังหวัดเชียงราย โครงสร้างภายในเป็นแท่งคอนกรีตเสริมเหล็กตั้งแต่พื้น จรดพระเศียร โครงสร้างส่วนรากฐานใช้เข็มเจาะจ�ำนวน ๙ ต้น ต้นละ ๒๑ เมตร ความสูงจากพื้นถึงพระเศียร รวม ๓๒ เมตร จากพระบาทถึงพระเศียร ๒๕ เมตร ภายนอกพ่นสีขาวตลอดทั้ง องค์พระ มีฉพั พรรณรังสี (ธรรมจักรด้านหลัง) ซึง่ ใช้สเตนเลสขึน้ รูป ภายนอกพ่นสีทองงดงามตามแบบพุทธศิลป์ ภายหลังสร้างเสร็จ ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ วัดปากน�ำ ้ ภาษีเจริญ ได้เมตตาประทานนามให้ว่า “พระพุทธโลกเชฏฐ์ วิเศษกิตติปาล มหาชนบูชิต” เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
The highlight of Wat Bang Ping, the symbol of Buddhism prosperity, is the massive white stucco Buddha image with majestic Gandhara art (an Indian art influenced by Greek-Roman art) in the attitude of Opening the Three Worlds (descending from heaven). It was initiated by Phra Khru Phiphit Phatthana Phithan as a spiritual anchor of the temple and completed when Phra Khru Wisan Phattanakon (Phra Khru Palat Somchai Kittipalo at the time), became the abbot, following the model from Wat Buddha Utthayan (Doi In See), Chiang Rai. The internal from the ground to the head was steel-reinforced concrete bars with nine foundation piles, 21 meters each, at the base. It is 32 meters tall from the ground and 25 meters tall from the feet. The entire exterior is sprayed white. The halo (Dhamma wheel) is stainless steel, spray-painted with magnificent gold following the Buddhist art style. Once completed, Lord Abbot Somdet Phra Maha Ratchamangalacharn of Wat Paknam Phasi Charoen bestowed the name “Phra Buddha Lokkachet Wisetkittapan Mahachonbuchit” on Thursday, March 14, 2013. December 2020 - January 2021
25
PEACE PLACE
วัดสร่างโศก
กับชุมชนคนรักชาติที่บ้านคลองด่าน
Wat Sang Sok
and a patriot community at Ban Khlong Dan “สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงล่องเรือจากอยุธยา มาทางแม่นำ�้ เจ้าพระยาในฤดูนำ�้ หลาก ตัง้ ใจไว้วา่ จะหาทีต่ งั้ กรุงใหม่ ถ้าชนะศึกพม่า จนเรือแล่นมาถึงคลองด่าน สมัยนั้นเป็นชุมชนจีน ชาวประมง มีนักเดินเรือฝีมือดีและประสงค์จะร่วมกู้ชาติอยู่มาก และคลองด่านยังเป็นชัยภูมิเหมาะที่จะมาต่อเรือ เนื่องจากเรือ ที่พระเจ้าตากน�ำมาเป็นเรือเล็ก ไม่เหมาะจะเดินทางไกลออกทะเล ไม้ต่อเรือที่คลองด่านก็สมบูรณ์พร้อม พระเจ้าตากจึงได้สะสม เสบียงอาหารและได้เรือใหม่ทคี่ ลองด่านนีเ้ อง” เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเล่าปากต่อปากจากคนเฒ่าคนแก่ ในชุมชนแห่งนี้ เวลามีใครถามถึงความเป็นมาของวัดสร่างโศก คนแถวนีม้ กั กล่าวอย่างภาคภูมใิ จถึงผืนดินบ้านเกิดของตน ว่าเป็นจุด “สะสมเสบียง ซ่องสุมผูค้ น และต่อเรือศึกจากบางเหีย้ ” (คลองด่าน ในอดีตเคยถูกเรียกว่าแม่น�้ำบางเหี้ย) ที่แม้แต่มัคคุเทศก์ตัวน้อยๆ ที่คอยต้อนรับนักท่องเที่ยวยังต้องกล่าวถึงต�ำนานของการน�ำทัพที่มี ชาวชุมชนไปร่วมรบหลายร้อยคนประกอบการพาชมวัดทุกครัง้ ไฮไลต์ของวัดสร่างโศก คือ พิพิธภัณฑ์ที่สร้างด้วยไม้เกือบ ทัง้ หลัง เต็มไปด้วยความงดงามวิจติ รบรรจง เสา บานประตู หน้าต่าง ทุกอย่างถูกประดับไปด้วยบานไม้แกะสลัก อีกทั้งยังมีศิลปวัตถุ พระพุทธรูปโบราณมากมาย อายุกว่า ๒๐๐-๔๐๐ ปี หลวงพ่อทันใจ พระมหามุนี เศียรพ่อแก่ เทวรูป พระแม่กวนอิมพันมือ พระธาตุ เครื่องใช้โบราณต่างๆ และบนชั้น ๒ ของอาคารพิพิธภัณฑ์ยังเป็น ที่เก็บรักษาพระบรมสารีริกธาตุ สามารถเข้าไปสักการะและลอด ใต้ฐานเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลได้
26
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
“King Taksin cruised from Ayutthaya down the Chao Phraya River during flood season, searching for a place to reestablish the capital if He won the Burmese battle, and past Khlong Dan he came across a Chinese fisherman community full of exceptional navigators wishing to help reunify the kingdom and a strategic shipbuilding spot. Since the King’s boat was small and unfitting for distant sailing in the sea, He assembled food supplies and new boats in Khlong Dan.” The locals proudly share a folk story by the community elders regarding the history of Wat Sang Sok, their homeland, as a place for “assembling supplies and manpower and building warships from Bang Hia River” (a former name of Khlong Dan). Even tiny guides always mention the army legend joined by hundreds of community members while showing tourists around the temple. The highlight of Wat Sang Sok is the wooden museum with exquisitely carved wooden pillars, doors, and window panels. It houses numerous ancient art items and Buddha images over 200-400 years old, including Luang Pho Than Chai, Phra Maha Muni, Pho Kae hermit head, deity figures, Kuan Yin with 1,000 arms, relics, and appliances. The second floor enshrines the Buddha’s relics to pay homage and walk under the base for good lucks.
December 2020 - January 2021
27
วัดสร่างโศกนีส้ ร้างขึน้ เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๐๐ ไม่ปรากฏ หลักฐานว่าใครเป็นผูส้ ร้าง และได้รบั การบูรณปฏิสงั ขรณ์ให้สมบูรณ์ เมือ่ พ.ศ. ๒๓๖๐ ตามหลักฐานของกรมทีด่ นิ ระวางที่ ๔๑ ระบุชอื่ วัดนี้ ว่า “วัดปากอ่าว” ชาวบ้านนิยมเรียกว่า “วัดมอญ” เพราะอยูใ่ กล้กบั คลองมอญหรือชาวรามัญที่อพยพจากพระประแดงมาตั้งถิ่นฐานที่นี่ แต่จากการบอกเล่าสืบต่อกันมา บ้างก็เรียกว่า “วัดอัศวราราม” เพราะวัดนี้เป็นที่ตั้งกองทัพม้าของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ภายหลังได้รับการเปลี่ยนนามวัดใหม่โดย สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็น “วัดเตลงรมย์” ในปี พ.ศ. ๒๔๘๒ เปลีย่ นนามใหม่เป็น “วัดโพธิท์ อง” ครัน้ ถึง พ.ศ. ๒๔๘๓ ทางราชการ ได้เปลี่ยนนามวัดเสียใหม่เป็น “วัดสร่างโศก” เพื่อให้สอดคล้อง กั บ พระนามของ “พระองค์ ห ญิ ง โศกสว่ า ง” พระราชธิ ด า ในสมเด็จพระปิน่ เกล้า ภายในวัดยังมีสิ่งน่าสนใจอีกมากมาย เช่น อุโบสถหลังเก่า ท�ำด้วยไม้ ที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเคยเสด็จฯ มาประทับ ค้างแรมที่นี่ถึง ๗ วัน ก่อนเสด็จ สู่ทางด้านตะวันออก ปัจจุบัน วัดสร่างโศกตัง้ อยูบ่ นเนือ้ ที่ ๑๑ ไร่ ๓ งาน ๖๐ ตารางวา เลขที่ ๑ บ้านคลองด่าน หมู่ ๙ ต�ำบลคลองด่าน อ�ำเภอบางบ่อ จังหวัด สมุทรปราการ ซึ่งทางวัดได้จัดพื้นที่บางส่วนเพื่อสร้างโรงเรียน ปริยัติธรรมส�ำหรับพระภิกษุ สามเณร และให้ทางราชการสร้าง โรงเรียนระดับประถมศึกษาในทีด่ นิ วัด ผู้ที่ต้องการเดินทางไปชมวัดเก่าแก่แห่งนี้ สามารถขับรถ มาตามถนนเส้นสุขมุ วิทสายเก่า ก่อนขึน้ สะพานข้ามไปยังฝัง่ ตลาดสด คลองด่าน ให้ชดิ ซ้ายเข้าคูข่ นานเพือ่ กลับรถลอดใต้สะพาน ทางซ้าย จะเห็นซุม้ ทางเข้าวัดชัดเจน ซึง่ นอกจากจะได้เต็มอิม่ กับประวัตศิ าสตร์ แล้ว ด้านหลังวัดยังมีบรรยากาศริมน�้ำและเรือหาปลาให้นั่งพักผ่อน หย่อนใจอีกด้วย เรียกว่าเป็นทริปวันหยุดสุดคุม้ เลยก็วา่ ได้ 28
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
Wat Sang Sok was anonymously built around 1757 and renovated in 1817. As evidenced in Map Sheet No. 41 by the Department of Land, the temple was named “Wat Pak Ao”, but locally called “Wat Mon”, close to Khlong Mon where Mon immigrants from Phra Pradaeng settled down. Some referred to it as “Wat Asawararam” where King Taksin’s cavalry troop stationed. Later, the Supreme Patriarch Krom Phraya Pavares Variyalongkong renamed it to “Wat Taleng Rom” and to “Wat Pho Thong” in 1939. Then, in 1940, it was officially entitled “Wat Sang Sok” to honor Princess Sok Sawang of King Pinklao (Rama IV). Among interesting features, the old wooden chapel once accommodated King Taksin for seven days before roaming east. Currently, Wat Sang Sok stands on a 19,040-sqm property at No. 1, Ban Khlong Dan, Moo 9, Khlong Dan Sub-District, Bang Bo District, Samutprakan. The temple provided a section as a Buddhist Scripture School for monks and novices and granted the government to build a primary school on the property. To visit this ancient temple, drive along the Old Sukhumvit Road, cross the bridge to Khlong Dan Fresh Market, keep left to enter the parallel road, and make a U-turn under the bridge. The temple’s arch entrance is on the left. Apart from history, visitors can also enjoy the waterfront atmosphere and fishing boats at the back.
นอกจากจะเป็นวัดที่มีเอกลักษณ์ทางศิลปะอย่างหาชมได้ยากแล้ว ภายในวัดยังเต็มไปด้วยของเก่าของโบราณล้ำ�ค่ามากมายให้ได้ชมกันอีกด้วย Besides unique and rare art, the temple also exhibits numerous precious antiques. December 2020 - January 2021
29
CAN’T MISS
ชิม ช้อป ชม แบบชิลล์ทุกสิ่ง ต้องเช็กอินที่
“ตลาดน้ำ�เรือบิน”
Leisurely Taste, Shop, and Watch at
Ruabin Floating Market “เดินเล่น กินลม ชมเรือบิน” เป็นวลีตดิ ปากของนักช้อป ทีไ่ ด้ แวะเวียนมาสัมผัสกับตลาดนัดยุคใหม่ แต่ตกแต่งด้วยบรรยากาศ ย้อนยุค โดยเฉพาะใครทีช่ นื่ ชอบเรือ่ งอาหารการกิน บอกเลยว่ามาที่ นี่ไม่ผิดหวังแน่นอน “ตลาดน�้ำเรือบิน” ตั้งชื่อได้เข้ากับสถานที่ เพราะอยู่ไม่ไกล จากสนามบินสุวรรณภูมิ คนที่มาเดินเล่นที่นี่เมื่อเงยหน้ามองฟ้า เป็นต้องได้เห็นเครือ่ งบินลอยล�ำอยูจ่ นชินตา แถมความโปร่งโล่งของ พื้นที่ที่ออกแบบไว้เป็นอย่างดี ก็ท�ำให้นักช้อปได้เดินรับลมสบายๆ ไม่ต้องเบียดเสียด ทุกมุมของตลาดน�้ำเรือบินตกแต่งสไตล์ตลาดน�้ำ แบบไทยๆ ใช้วสั ดุธรรมชาติ ไม้ไผ่ หลังคาจาก แขวนตุงประดับ มีคลอง สีเขียวมรกตให้ได้นั่งพักผ่อนหย่อนใจหลังจากช้อป ชม แล้วก็มานั่ง รับลมชิลล์ๆ ได้อีกด้วย
30
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
“A leisure hang-out and plane spotting” is the common phrase of shoppers after visiting the new-era flea market with vintage decor and wonderful food experiences. Since “Ruabin (Thai for Airplane) Floating Market” is not too far off Suvarnabhumi Airport, visitors can commonly see the planes flying in the sky. Its airy and spacious design allows shoppers to comfortably stroll around and enjoy the breeze. Every corner is decorated in Thai floating market style with natural materials like bamboo, Nipa-Palm roof, and Tung (Lanna Flag), and an emerald canal to chill out after exploring the market.
อาหารและขนมพืน้ บ้าน ส�ำหรับคนอยากร�ำลึกบรรยากาศแบบไทยๆ Local food and dessert among traditional Thai atmosphere.
December 2020 - January 2021
31
ใครที่ชอบหากิจกรรมยามว่างในวันหยุดสุดสัปดาห์ ไม่ว่าจะ เป็นคูร่ กั กลุม่ เพือ่ น หรือครอบครัว หากวางปลายทางเป็นทีน่ ี่ ก็จะได้ เพลิดเพลินกันทุกวัย เพราะมีรา้ นอาหารอร่อยๆ ให้เลือกทัง้ ฟิวชันฟูด้ อาหารคลีน เมนูไทย จีน ฝรั่ง หรือปิ้งย่าง ก็ตอบโจทย์ได้ครบทุกคน นอกจากเรื่องอาหารการกินแล้ว ยังมีร้านค้าที่ขายข้าวของเครื่องใช้ เสื้อผ้า สินค้าพื้นบ้าน ผลไม้ในท้องถิ่น ผักปลอดสารพิษ งานจักสาน ของตกแต่งบ้าน เครื่องปั้นดินเผา ร้านไม้ดอกไม้ประดับ ร้านนวด แผนไทย เรียกว่ามาที่เดียวจับจ่ายกันได้ครบครัน แถมยังมีมุมที่ ตกแต่งไว้รอให้คนมาถ่ายรูปเช็กอินเรียกไลก์ในโซเชียลได้อีก และหากมาในเช้าวันอาทิตย์ ช่วงเวลา ๐๗.๓๐-๐๘.๐๐ นาฬิกา ที่นี่จะมีกิจกรรมตักบาตรทางน�้ำเป็นกิจวัตร หรือถ้าเป็น วันหยุดนักขัตฤกษ์ ตลาดน�้ำเรือบินจะมีเสน่ห์เป็นพิเศษ ด้วยเวที ร�ำวงย้อนยุคที่เนรมิตบริเวณลานโพให้เป็นเวทีร�ำวง มีการประกวด ร้องเพลงลูกทุ่ง ร่วมกับบรรยากาศของตลาดน�้ำที่มีแม่ค้าในชุดไทย พายเรือขายของ ชวนให้เราได้ยอ้ นกลับไปอยูใ่ นตลาดน�ำ้ สมัยโบราณ อย่างไรอย่างนั้น
32
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
แหล่งพักผ่อนหย่อนใจ จะเดินเล่น กินลม ชมวิว ช้อปปิง้ หรือหาของอร่อย บอกเลยทีน่ มี่ คี รบจบทุกสิง่ A relaxation place for a leisure walk, enjoy the scenery, shopping, or exploring food.
Lovebirds, friends, and family members of all ages can enjoy various weekend activities here. On top of delightful food alternatives including fusion, clean, Thai, Chinese, western, and barbecue, there are stores of appliances, clothes, local products, organic fruits and vegetables, basketry work, home decors, earthenware, flowering and ornamental plants, and Thai massage. Moreover, there are photogenic corners to enjoy snapping photos for more likes on social media. Every Sunday morning from 07.30 am to 08.00 am, Ruabin Floating Market offers a water alms-giving activity. On public holidays, the Bodhi court is magically transformed into a stage for a retro Thai folk dance performance and a Luk Thung Singing Competition, whereas vendors in Thai costumes paddling boats to sell products make visitors feel as if in a floating market from ancient time. สถานทีก่ ว้างขวาง อากาศดี สินค้าให้เลือกซือ้ หาได้หลากหลาย เดินเพลินกันทัง้ ครอบครัว The place is spacious and airy with plenty of products to enjoy browsing. ตลาดน้ำ�เรือบิน ซอยบางปลา ๔๓ ถนนเทพารักษ์ ตำ�บลบางปลา อำ�เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เปิดบริการ : วันเสาร์-วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา ๐๗.๐๐-๑๗.๐๐ นาฬิกา
Ruabin Floating Market Soi Bang Pla 43, Thepharak Road, Bang Pla Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan Open: Saturday-Sunday and public holidays From 07.00am - 05.00pm December 2020 - January 2021
33
IN CANVAS
เมืองผาสุก
Happiness City 34
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
เทคนิค: สีอะคริลิก Technique: Acrylic on canvas ศิลปิน: วัฒนา พูลเจริญ Artist: Wattana Poolcharoen
December 2020 - January 2021
35
วีถีชีวิตและธรรมชาติอันสงบงาม ริมชายทะเลสุดซอยบางปู 104 The peaceful coastal way of life and nature at the end of Soi Bangpu 104
36
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
Green. Corner GREEN STORY
WALKING IN THE NATURE
December 2020 - January 2021
37
Green Story
ห้อ ขา นวดประคบริมคลอง กิจกรรมเพื่อสุขภาพริมฝั่งน้ำ�บางกอบัว
Dangling legs and herbal compress massage by the canal A healthcare activity at Bang Ko Bua waterfront
38
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
ถ้านีค่ อื บรรยากาศของการนวดประคบธรรมดา เราก็คงไม่ได้ ตื่นเต้นอะไรมากนัก แต่เพราะการนวดครั้งนี้ไม่ใช่การปูเสื่อนอน นวดประคบในห้องสี่เหลี่ยมโดยทั่วไป หากเป็นการเอาตัวเองไป ขลุกอยู่กับธรรมชาติอย่างแท้จริงในรูปแบบของการนวดประคบ และสปาเท้าในชุดผ้านุ่งโสร่งลายดอกไม้ นั่งห้อยขาริมคลองแพ ชมความงามของคลองน�ำ้ ใสในต�ำบลบางกอบัว และเรียนรูพ้ ชื พรรณ ธรรมชาติในป่าขนาดย่อมของชุมชนริมน�้ำ “เจตนาแรกคือผมต้องการสร้างทีพ่ กั พอเหลือเศษไม้กเ็ อามา ต่อเป็นท่าเรือเล็กๆ ริมคลอง ท�ำไปท�ำมา เวลานักท่องเที่ยวมาเห็น เขาก็ชอบกัน เลยเกิดเป็นฐานกิจกรรมต่างๆ ในรูปแบบของชมรม ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนต�ำบลบางกอบัวขึ้น” คุณสิทธิพงษ์ ภู่ถาวร บอกเราถึงที่มาของบ้านพักกลางสวน บางกอบัว ที่ซ่อนตัวอยู่ในหมู่ ๑๐ ของชุมชนบางกอบัว เรียกว่า ใครจะมาที่นี่ต้องตั้งใจจริงๆ นักท่องเที่ยวชาวไทยโดยมากจะใช้วิธี ขับรถกันมา แต่ถ้าเป็นนักท่องเที่ยวต่างชาติ เขาจะปั่นจักรยาน ถามทางชาวบ้านเข้ามา เส้ น ทางเข้ า มายั ง พื้ น ที่ แ ห่ ง นี้ เ ต็ ม ไปด้ ว ยสวนผลไม้ ข อง ชาวบ้านในพื้นถิ่นทั้งนั้น เรียกว่าระหว่างการเดินทาง นอกจาก ได้ ออกก�ำลังกายแล้ว ยังได้เรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้านไปด้วย นักท่องเที่ยวบางคนถ้าขยันแวะหน่อย ก็อาจได้ของติดไม้ติดมือ เป็ น ผลไม้ ป ลอดสารพิ ษ จากสวนของชาวบ้ า นใส่ ม าเต็ ม ตะกร้ า ด้านหน้ารถจักรยาน ส่วนถ้าเป็นนักท่องเที่ยวที่พอรู้จักคนในพื้นที่ ดีอยูแ่ ล้ว ก็จะใช้วธิ พี ายเรือมาตามเส้นทางน�ำ ้ ทีไ่ ฮไลต์คอื จังหวะของ การลอดอุโมงค์ต้นจาก เคยสงสัยบ้างไหมว่าในลูกประคบ ๑ ลูกนั้นประกอบด้วย อะไรบ้าง สัดส่วนสมุนไพรที่ผสมอยู่ในลูกประคบต่างถิ่นต่างพื้นที่ มีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร และการท�ำงานของลูกประคบนัน้ ช่วยรักษาอาการเจ็บป่วยได้จริงไหม หรือเป็นแค่การคิดไปเอง ของผู้เข้ารับการบริการ
Unlike ordinary herbal compress massages on a mat in a four-walled room, our session allowed us to mingle with nature, enjoying an herbal compress massage and foot spa in a flowery sarong, dangling our legs by Khlong Phae, admiring Khlong Nam Sai in Bang Ko Bua Sub-District, and learning about plants and nature in a compact forest of the waterfront community. “My initial plan was to build accommodation. Leftover wood was connected into a small raft by the canal. Since tourists loved it, it became activity bases of Bang Ko Bua Sub-District Community-Based Tourism Promotion Club.” Sitthiphong Phuthawon told us this hidden homestay amidst the plantation, in Moo 10 of Bang Ko Bua Community, was for determined tourists. While Thai tourists usually drive here, most foreigners bike and ask villagers for directions. Since the entrance path is full of local villagers’ fruit orchards, it is a fun opportunity to work out and learn the local way of life along the journey. With more stopovers, tourists may fill up their front bike baskets with chemical-free fruits from local orchards. Alternatively, tourists who are well-acquainted with locals can paddle a boat down the stream and through the charming nipa-palm tree tunnel. Have you ever wondered what an herbal compress ball consists of? Are the ingredients all the same or different in each local? Can herbal compress balls actually relieve pain and sickness? Or is it all in the customers’ heads?
December 2020 - January 2021
39
ระหว่างนั่งห้อยขาริมคลองอยู่บนแคร่ไม้ไผ่ ชมนกชมไม้ ข้าวเหนียวมะม่วงพร้อมชาร้อนที่ถูกจัดไว้ในถาดอย่างสวยงาม ค่อยๆ ถูกยกมาเสิร์ฟให้กับเราเพื่อเป็นอาหารว่าง พี่แดง หรือ คุณกานดา สกุลลิ้ม มือวางอันดับหนึ่งของการนวดประคบสมุนไพร เล่าให้เราฟังว่า โดยทัว่ ไปในลูกประคบ ๑ ลูก จะประกอบด้วยสมุนไพร หลักๆ อย่างไพล ซึ่งมีสรรพคุณแก้ปวดเมื่อย ขมิ้นชัน ลดอาการ อัก เสบของกล้ า มเนื้ อ ตะไคร้ ลดอาการปวดบวม ผิ วมะกรู ด ช่วยคลายความเครียดและฟอกโลหิต รวมไปถึงใบมะขาม การบูร พิมเสน และเกลือ แต่สูตรของพี่แดงได้น�ำสมุนไพรพื้นถิ่นอย่าง เหงือกปลาหมอเข้ามาเสริม โดยคุณสมบัติของพืช ๓ น�้ำชนิดนี้ คนสมัยก่อนจะน�ำไปต้มเพื่อใช้อาบแก้ผื่นแก้คัน เพราะสุดยอดแห่ง พืชสมุนไพรนี้สามารถรักษาโรคผิวหนังได้เกือบทุกชนิด ทุกขณะที่ลูกประคบถูกบรรจงกดนวดลงไปตามจุดต่างๆ ของร่างกาย ความร้อนจากลูกประคบที่ผ่านการนึ่งมาแล้ว จะน�ำพา สรรพคุณของสมุนไพรที่ระเหยให้ลงไปถึงชั้นใต้ผิวหนัง กล้ามเนื้อ ทีเ่ คยหดตัวแข็งก็เกิดปฏิกริ ยิ าคลายตัว การหมุนเวียนของเลือดทีเ่ คย ติดขัดก็ดีขึ้น แต่ต้องบอกว่าการรักษาอาการปวดเมื่อยเรื้อรังด้วย การนวดประคบเพียงครั้งสองครั้งนั้นไม่เพียงพอ ต้องมาท�ำซ�้ำๆ จนกว่าจะรู้สึกดีขึ้น นอกจากการเดินทางมานวดประคบสมุนไพร 40
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
While dangling our legs by the canal and admiring the nature, we were served with mango, sweet sticky rice, and hot tea. Daeng or Kanda Sakunlim, the top herbal compress masseuse, explained that in general, an herbal compress ball would contain Bengal root, known for relieving muscular pains and aches, turmeric, for reducing muscular inflammation, lemongrass, for decreasing pains and swelling, kaffir lime peels, for relieving stress and purifying blood, as well as tamarind leaves, Gum Camphor, Borneol Camphor, and salt. However, her recipe also featured Sea Holly, a local plant with incredible dermatological treatment properties, often boiled with water for bathing to cure rashes in the past. As the steamed herbal ball is carefully pressed on each area, the heat takes herbal properties through the skin, loosening contracted muscles, and improving blood circulation. Nonetheless, to cure chronic muscular pain and aches, a couple of compress massages are not enough, but best repeated until feeling better. Aside from traveling here to receive an herbal compress massage, herbal balls can also
ทีร่ มิ คลองแห่งนีแ้ ล้ว หากใครติดใจก็ยงั สามารถซือ้ ลูกประคบกลับไป ใช้นวดเองทีบ่ า้ นได้ดว้ ย ลูกประคบ ๑ ลูก สามารถใช้ซำ�้ ได้ประมาณ ๔-๕ ครั้ง แต่ต้องเก็บรักษาอย่างมิดชิดไว้ในตู้เย็น ถึงเวลาจะนวด ก็ น� ำ ออกมานึ่ ง เสี ย ก่ อ น หรื อ ถ้ า ไม่ มี ห ม้ อ นึ่ ง ที่ บ ้ า น จะเอาเข้ า ไมโครเวฟสัก ๑ นาทีก็ได้ การดูแลตัวเองให้ดีที่สุดนั้นเป็นเรื่องส�ำคัญนัก ลองหาเวลา พาตัวเองออกไปใช้ชีวิตกับธรรมชาติเพื่อสร้างเสริมสุขภาพจิตของ ตั ว เองให้ ดี เมื่ อ ความสุ ข เกิ ด ขึ้ น จากภายใน ก็ ย ่ อ มส่ ง ผลดี ต ่ อ สุขภาพกายด้วยเช่นกัน และถ้าหาโอกาสดูแลร่างกายด้วยกิจกรรม เบาๆ เหล่านี้บ้าง ก็จะยิ่งดีคูณสอง ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน ตำ�บลบางกอบัว เลขที่ ๑ หมู่ ๓ ตำ�บลบางกะเจ้า อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๙ ๐๙๘๖ ๗๙๘๗, ๐๙ ๘๒๕๓ ๖๘๐๘ สำ�หรับการนวดประคบแบบแพ็กเกจห้อยขาริมคลอง จะรับแบบกรุ๊ปจำ�นวน ๑๐ ท่านขึ้นไป หากมาจำ�นวนน้อยกว่านั้น ค่าใช้จ่ายต่อคนจะสูงขึ้น เนื่องจากต้องจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ รวมทั้งตัวบุคลากรด้วย
be purchased back home. Each herbal ball can be reused 4-5 times, although must be well-kept in the fridge. Before a self-massage time, steam it in a steamer or warm it in the microwave for a minute. It is vital to always take the best care of yourself. Make time, get yourself outside, and reconnect with nature to improve your mental health. When happiness arises from within, it naturally leads to good physical health. Pampering yourself with these light activities doubles the benefits.
Bang Ko Bua Sub-District Community-Based Tourism Promotion Club 1, Moo 3, Bang Kachao Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Tel. 09 0986 7987, 09 8253 6808 For an herbal compress package with legs dangling by the canal, the club welcomes a group of at least 10 persons. If less, additional charges may be applied due to equipment and personnel preparation. December 2020 - January 2021
41
WALKING IN THE NATURE
รับลม ชมนก ทำ�ความรู้จัก
โกงกางเทียม ในวันที่ลมหนาวมาเยือน
Feel the winter breeze, watch the bird, and get familiar with
Artificial Mangroves
42
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
พื้นดินหลังแนวโกงกางเทียมช่วงน้ำ�ลง คือแหล่งอาหารอันโอชะของเหล่านกนานาชนิด The mudflat behind the artificial mangroves during low tides is a great food source for birds.
December 2020 - January 2021
43
ลมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดพาความหนาวจากไซบีเรีย ผ่านจีน เข้ามาประเทศไทย พร้อมกับนกอพยพจ�ำนวนมากทีบ่ นิ เข้ามาหาไออุน่ และแหล่งอาหารตามแนวชายฝัง่ แถบบางปู พืน้ ทีเ่ ชือ่ มต่อของระบบ นิเวศทะเลกับแผ่นดินบริเวณปากแม่น�้ำ ราวเดือนพฤศจิกายนเมษายน เป็นประจ�ำทุกปี สุดซอยบางปู ๑๐๔ ซึง่ เป็นพืน้ ทีใ่ นความดูแลของศูนย์ศกึ ษา ธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) เฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชินี หรือทีน่ ยิ มเรียกกันว่า ศูนย์ศกึ ษาธรรมชาติกองทัพบกบางปู ในเวลา น�ำ้ ลงเต็มที่ จะมีนกฝูงใหญ่เดินหาอาหารบนหาดเลน ทีอ่ ดุ มไปด้วย สัตว์ทะเลหน้าดินอย่างเพลิดเพลิน เพราะรู้สึกปลอดภัยไร้ศัตรูมา รบกวน หลายตัวอิม่ หน�ำแล้วบินไปเกาะยืนสยายปีก ผึง่ พุง อยูบ่ นเสา โกงกางเทียม ทีป่ กั เป็นแนวกันคลืน่ อยูบ่ ริเวณนีจ้ ำ� นวน ๓ แปลง ร้อยตรีนเิ วช ชูปาน เจ้าหน้าทีศ่ นู ย์ศกึ ษาธรรมชาติกองทัพบก บางปู ชี้ให้ดูหาดเลนหลังแนวโกงกางเทียม ที่นกหลายตัวเดิน หากินอยู่ แล้วบอกกับเราว่า 44
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
As the northeast wind carries the cold from Siberia, through China, and into Thailand, a large number of migratory birds seek warmth and food sources along the Bangpu coastline, where marine and land ecosystems meet at the river mouth, from November to April every year. The end of Soi Bangpu 104 is supervised by the Thai Royal Army (Bangpu) Nature Education Center in Commemoration of Her Majesty Queen Sirikit’s 72 Birthday Anniversary. During low tides, birds casually foraging on the mudflat abundant with marine benthos, feeling safe from enemies. When full, they spread their wings and rest their stomach on artificial mangroves, installed as wave barriers covering three land plots. Sub Lieutenant Niwet Chupan, an officer at the Center, pointed at the mudflat behind the artificial mangrove line where birds searched for food.
“แปลงวิจยั โกงกางเทียม หรือ ซีออส (C-Aoss) เป็นแปลง ทดลองต้นแบบทีส่ ำ� นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ น�ำมาติดตัง้ บริเวณพืน้ ทีช่ ายฝัง่ ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบกบางปู เพื่อศึกษาและแก้ปัญหา การกัดเซาะแนวชายฝัง่ ตัง้ แต่เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยได้รบั การสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ หลังจาก ติดตั้งไปแล้วระยะหนึ่ง ภาพที่เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน คือสามารถ ดักตะกอนของดินโคลน ดินเลน ทีถ่ กู พัดพามากับคลืน่ มาตกอยูห่ ลัง แนวโกงกางเทียม เกิดการทับถมท�ำให้เกิดพืน้ ทีด่ นิ มากขึน้ สามารถ ป้องกันการกัดเซาะชายฝัง่ และปลูกป่าชายเลนเพิม่ เติมได้” โกงกางเทียม หรือ ซีออส พัฒนาขึ้นโดยใช้เทคโนโลยี วิศวกรรม ประกอบด้วย “เสาหลัก” ท�ำจากเนือ้ ไม้ผสมพลาสติกชนิด พอลิเอทิลนี ความหนาแน่นสูง และ “รากเทียม” ซึง่ ถูกออกแบบให้มี ลักษณะคล้ายรากต้นโกงกาง ผสมยางพาราธรรมชาติ เป็นนวัตกรรม ใหม่ทไี่ ด้รบั การขึน้ ทะเบียนบัญชีนวัตกรรมไทย ซึง่ ผ่านการวิจยั และ ทดสอบด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทางเลือกในการแก้ไข ปัญหากัดเซาะชายฝัง่ และฟืน้ ฟูระบบนิเวศป่าชายเลน
“This prototype artificial mangrove (C-AOSS) research field was installed by National Science and Technology Development Agency (NSTDA), in collaboration with National Electronics and Computer Technology Center, and Kasetsart University, on the coastal area of Bangpu Army Nature Education Center, aiming to study and solve the coastal erosion problems since September 2015, with support from Samutprakan Provincial Administration Organization. Soon after, the sediment of mud and clay carried by the waves deposited behind the artificial mangrove line and expanded the land area, preventing the coastal erosion and enabling additional reforestation.” Artificial mangroves or C-AOSS was invented with engineering technologies. While the “main pillars”, are made of wood and high-density Polyethylene, the “artificial roots” are designed similarly to mangrove roots, mixed with natural Para rubber. It had been registered on Thailand’s Innovation list, researched and tested by scientific processes, as an alternative solution for coastal erosion and mangrove forest ecosystem restoration.
ช่วงเวลาน้ำ�ลงเต็มที่ จะสามารถมองเห็นแปลงวิจัยต้นแบบ โกงกางเทียม หรือซีออส อย่างชัดเจน At the lowest tides, the artificial mangrove (C-AOSS) research field can clearly be seen.
December 2020 - January 2021
45
ติดกับแนวโกงกางเทียม รัว้ ไม้ไผ่ถกู ปักเป็นแนวกันคลืน่ ให้กบั แปลงปลูกป่าชายเลน เสียงนกร้องและบินไปมาระหว่างชายฝั่งกับ พืน้ ทีป่ า่ ซึง่ มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติให้เดินชม ร้อยตรีนเิ วชบอกว่า ฤดูนจี้ ะมีนกอพยพเข้ามาอาศัยเป็นจ�ำนวนมาก เหมาะแก่การเข้ามา เทีย่ วชม แต่ตอ้ งแจ้งล่วงหน้าเพือ่ จะได้จดั เตรียมเจ้าหน้าทีน่ ำ� ทาง “นกอพยพทีเ่ ข้ามาอยูใ่ หม่อาจจะยังไม่คนุ้ ชินกับคน และบาง สายพันธุก์ ช็ อบอยูอ่ ย่างสงบ อีกทัง้ พืน้ ทีด่ า้ นในเป็นป่าชายเลน ระยะ รวมแล้ว ๓ กิโลเมตร จึงจ�ำเป็นต้องมีเจ้าหน้าทีเ่ ข้าไปด้วย ป้องกัน การพลัดหลงทิศ รวมถึงกรณีเกิดอุบตั เิ หตุ เช่น หกล้ม ฯลฯ และจะ มีประตูเหล็กกั้นระหว่างโซนชั้นในซึ่งเป็นป่าชายเลน กับโซนชายฝั่ง ซึง่ มีแปลงโกงกางเทียม เพือ่ ป้องกันคนลักลอบเข้ามา โดยสามารถ เดินทางเข้ามาทางซอยบางปู ๑๐๔ เมื่อสุดซอยให้เลี้ยวขวาตรง ร้านอาหารระเบียงทะเล เดินมาอีกประมาณ ๕๐ เมตร ถ้าตรงกับ ช่วงน�ำ้ ลง จะมองเห็นแปลงโกงกางเทียมอย่างชัดเจน ตรงนีย้ งั เป็น จุดชมพระอาทิตย์ตกทีส่ วยงามไม่แพ้บริเวณสะพานสุขตา” หากมีความประสงค์เข้าเดินชมเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ติดต่อล่วงหน้าได้ที่ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) เฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชินี เลขที่ ๑๖๔ หมู่ ๒ ถนนสุขุมวิท ตำ�บลบางปูใหม่ อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เปิดบริการทุกวัน : รอบเช้า เวลา ๑๐.๐๐ นาฬิกา รอบบ่าย เวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา โทรศัพท์ ๐ ๒๗๐๙ ๔๐๐๕ If interested to observe the nature study trail, please contact in advance at The Thai Royal Army (Bangpu) Nature Education Center in Commemoration of Her Majesty Queen Sirikit’s 72 Birthday Anniversary 164 Moo2, Sukhumvit Road, Bangpu Mai Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Open daily: Morning round at 10.00 am Afternoon round at 02.00 pm Tel. 0 2709 4005
46
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
Next to the artificial mangrove line, bamboo fences were installed as wave barriers for the mangrove nursery. Sub Lt. Niwet said this season would be the prime time to visit because lots of migratory birds lived in the area and recommended a contact in advance so the Center could prepare a guide. “Some new migratory birds may still not be familiar with humans, and some may prefer tranquility. With the three-kilometer long mangrove forest, it is necessary to be escorted by an officer to avoid getting lost or accidents. A steel gate between the inner zone (the mangrove forest) and the coastal zone with an artificial mangrove field prevents people from smuggling in. Just get to the end of Soi Bangpu 104, and turn right at Rabiang Tha Le Restaurant, and walk 50 meters. During low tides, you should clearly see artificial mangrove field, an equally amazing spot to watch the sunset as at Sukta Bridge.”
แสงละมุนในช่วงเย็น สวยไม่แพ้บริเวณสะพานสุขตา The mellow sunset is equally beautiful as at Sukta Bridge.
December 2020 - January 2021
47
COVER JOURNEY
เยือนแหล่งอาหารดี
ที่ส่งต่อการ “กินดี” ในสมุทรปราการ
Visit the good food sources that pass on “well-eating” in Samutprakan
48
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
เพราะชีวิตที่ดีนั้นเริ่มต้นด้วยอาหารที่ดี กระแสการ “กินดี” จากอาหารปลอดสารจึงได้รบั ความนิยมมากขึน้ ในปัจจุบนั และหาก ว่ากันด้วยเรื่องความอุดมของวัตถุดิบดีๆ แล้วนั้น สมุทรปราการ ก็ มี แ หล่ ง ผลิ ต อาหารที่ ค� ำ นึ ง ถึ ง สุ ข ภาพและชี วิ ต ที่ ดี ข องคนกิ น อยูไ่ ม่นอ้ ย เราขอพาคุณผูอ้ า่ นเดินทางสูเ่ รือ่ งราวของต้นทางอาหารดี ในสมุทรปราการ ทีท่ ำ� ให้เราอุน่ ใจในทีม่ าก่อนปรุงลงจาน
Since a good life starts with good food, “well-eating” with organic food is currently becoming more popular. Samutprakan is abundant with good raw ingredients and food sources that deeply care for the health and well-living of city dwellers. Let’s journey through stories of trusted good food sources in Samutprakan before featuring them in our dishes. December 2020 - January 2021
49
COVER JOURNEY
50
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
บางกะเจ้าฟาร์ม
ความสุขกินได้ ปลอดภัยต่อสุขภาพ
Bang Kachao Farm Edible happiness safe for health
ปลูกบัวสายในร่องสวน การใช้พื้นที่ทุกตารางนิ้ว ให้เกิดประโยชน์สูงสุดของบางกะเจ้าฟาร์ม Growing lotus in ditches maximize every inch of Bang Kachao Farm December 2020 - January 2021
51
เรือพายล�ำเล็กที่มี คุณทวีศักดิ์ อ่องเอี่ยม หรือ คุณปื๊ด ท�ำหน้าที่พาย โดยมีพี่สาวนั่งอยู่หัวเรือ คอยเก็บบัวสายที่ก�ำลังชู ดอกเป็นบัวพ้นน�้ำอยู่ในร่องสวนของบางกะเจ้าฟาร์ม ที่ถูกพลิกฟื้น เป็นฟาร์มเกษตรอินทรีย์บนที่ดินเก่าแก่ของครอบครัว ซึ่งเคยเป็น สวนมะพร้าวและสวนผลไม้ อย่าง ส้มเทพรส ชมพูม่ า่ เหมีย่ ว ฯลฯ แต่เหตุการณ์นำ้� ท่วมครัง้ ใหญ่ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ท�ำให้นำ�้ จากตอนบน หลากเข้ามาขังอยูน่ านนับเดือน เนือ่ งจากบริเวณนีเ้ ป็นพืน้ ทีป่ ลายน�ำ ้ จนท� ำ ให้ เ กิ ด ภาวะ “สวนล่ ม ” พื ช ผลยื น ต้ น ตายกั น เกื อ บหมด คุง้ บางกะเจ้า บัวสายทีเ่ ก็บมา ต้องล้างท�ำความสะอาดอีกครัง้ ก่อนน�ำไป ส่งให้แก่ผู้ซื้อ พร้อมผักสวนครัวอีกหลายชนิด ทั้งพริก ดอกโสน ยอดชะอม กระชาย มะนาว ขมิน้ ขาว มะพร้าวน�ำ้ หอม ฯลฯ ทัง้ หมด ล้วนเป็นผักอินทรีย์ ซึง่ ปลูกโดยไม่ใช้สารเคมีทงั้ สิน้ “เราได้ผักมาจากสวนของสมาชิก ซึ่งเป็นลุง ป้า น้า อา ในคุ้งบางกะเจ้า โดยเราจะเป็นคนไปรับถึงสวน น�ำมารวบรวมไว้ที่ บางกะเจ้าฟาร์ม เตรียมน�ำส่งให้ลกู ค้าต่อไป” บางกะเจ้าฟาร์ม เกิดจากความสนใจในวิถีเกษตรอินทรีย์ ของคุณปื๊ด แต่ยังไม่สบโอกาสลงมือท�ำอย่างจริงจัง จนราวปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึง่ ตัดสินใจลาออกจากงานประจ�ำเพือ่ มาดูแลครอบครัว ปรับปรุงพืน้ ทีส่ วนทีเ่ คยล่มขึน้ มาใหม่ พร้อมศึกษาหาความรูเ้ พิม่ เติม โดยเฉพาะการเลีย้ งไส้เดือน พร้อมกับเริม่ สร้างโรงเรือนเพาะเห็ดโคน ญีป่ นุ่ โดยซือ้ ก้อนเห็ดจากฟาร์มของเพือ่ น ซึง่ ผ่านมาตรฐานการผลิต พืชอินทรีย์ (Organic Thailand)
Thaweesak Ong-iam or Puet was paddling a small boat while with his sister at the bow harvesting water lily flowers above the water in a furrow of Bang Kachao Farm, a revived organic farm on the old family property. Formerly, there were coconut and fruit orchards such as Theppharot tangerine and Malay Rose Apple but the great flash flood from the north in 1995 was trapped in this downstream area over months, drowning most perennial fruit trees in Khung Bang Kachao. The lotus stems must be cleansed before delivering to buyers along with many chemical-free organic vegetables including chili, Hemp Sesbania Flowers, acacia, lesser ginger, lime, white turmeric, and Nam Hom coconuts. “We pick up and gather vegetables from the farms of uncles and aunties in Khung Bang Kachao at Bang Kachao Farm to further deliver to our customers.” 52
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
ยอดมะระหวาน หรือ ซาโยเต้ อุดมด้วยวิตามิน โตไว เก็บ ผลผลิตไปจ�ำหน่ายได้เร็ว Chayote shoot tops, rich with vitamins, fast growing, and harvest December 2020 - January 2021
53
“ก้อนเห็ดทีห่ มดอายุ เราน�ำมาเพาะเลีย้ งไส้เดือนต่อได้ ท�ำให้ ได้ทั้งตัวไส้เดือนและมูลไส้เดือนไปขายสร้างรายได้ เศษที่ได้จาก การร่อนมูลไส้เดือน ก็น�ำมาผสมดินส�ำหรับปลูกผัก โดยวิธีปลูก ในตะกร้าไว้ดา้ นบน เลีย้ งไส้เดือนไว้ดา้ นล่าง เมือ่ ผักเริม่ โตก็ทยอย เก็บขายไปเรื่อยๆ วิธีนี้จะได้ประโยชน์หลายต่อ ใช้พื้นที่ไม่มาก และต้นทุนไม่สงู รอบๆ บริเวณพืน้ ทีข่ องฟาร์ม เราก็จะปลูกผักสวนครัว เลีย้ งไก่พนั ธุโ์ รดไอส์แลนด์ และเป็ดพันธุป์ ากน�ำ ้ ซึง่ ส�ำนักงานปศุสตั ว์ จังหวัดสมุทรปราการแจกจ่ายให้แก่เกษตรกรน�ำไปเลี้ยงเพื่อเก็บไข่ จ�ำหน่ายและบริโภค”
บางกะเจ้าฟาร์ม ใช้เวลาประมาณ ๒ ปี ก็ได้รบั การรับรอง มาตรฐานการผลิตพืชอินทรีย ์ (Organic Thailand) จากกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยพิจารณาจากหลายองค์ประกอบ เช่น เป็นระบบทีค่ ำ� นึงถึงสิง่ แวดล้อม มีการจัดระบบนิเวศทีค่ ล้ายคลึง ธรรมชาติ เน้นการใช้อนิ ทรียวัตถุ อย่าง ปุย๋ หมัก ปุย๋ คอก ปุย๋ ชีวภาพ ไม่ใช้สารเคมีและพันธุพ์ ชื ทีไ่ ด้รบั การตัดแต่งทางพันธุกรรม (GMOs) ฯลฯ พร้อมกันนี้ยังชักชวนชาวสวนที่ปลูกพืชอินทรีย์ในพื้นที่ จัดตั้ง กลุม่ “คุง้ บางกะเจ้า PGS” รวบรวมผลผลิตจากสมาชิกน�ำไปจ�ำหน่าย แก่ผซู้ อื้ “พืชผักเราไม่พอกับออร์เดอร์ทลี่ กู ค้าสัง่ เข้ามา เลยมานัง่ คิด ว่าสวนในละแวกนีส้ ว่ นใหญ่จะท�ำแบบเกษตรอินทรีย์ ตามวิธดี งั้ เดิม ของบรรพบุรษุ เราเลยชักชวนคนทีม่ ใี จรักในการท�ำเกษตรอินทรียจ์ ริงๆ และท�ำอยูแ่ ล้ว มารวมกันเป็นกลุม่ คุง้ บางกะเจ้า PGS ซึง่ ย่อมาจาก ค�ำว่า Participatory Guarantee System เป็นระบบที่มุ่งเน้น การรับประกันคุณภาพผลผลิตของเกษตรกรในท้องถิ่น บนพื้นฐาน ของความไว้วางใจ เราจะมีกิจกรรมร่วมกัน การลงตรวจแปลงผัก บันทึกข้อมูล แลกเปลี่ยนที่มีอยู่ระหว่างกัน และออกไปหาความรู้ เพิม่ เติม อย่าง การท�ำน�ำ้ หมักชีวภาพ การปรุงดิน โดยอิงมาตรฐาน การผลิตพืชอินทรีย์ไทยเข้ามาใช้ มีการประชุมร่วมกันทุกเดือน หมุนเวียนไปตามบ้านสมาชิกแต่ละหลัง โดยแต่ละคนท�ำอาหาร มาคนละอย่าง น�ำมากินร่วมกัน จะได้ไม่ตกเป็นภาระของคนใดคนหนึง่ ” 54 ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
ก้อนเห็ดโคนญี่ปุ่นที่หมดอายุ สามารถน�ำมาเลี้ยงไส้เดือนต่อได้ Expired mushroom spawn can be used as food for the worms
Bang Kachao Farm stemmed from Puet’s long interest in organic farming methods. In 2016, he decided to leave his day job to take care of his family, revive the damaged farm area, acquire more knowledge, particularly on worm farming, and build a greenhouse to cultivate Yanagi Matsutake mushroom with the spawn bought from his friend’s farm certified by Organic Thailand. “Expired mushroom spawns are food for worms, which we can later sell along with their castings. Scraps from sifting the castings are mixed with soil for vegetables. Mushrooms are planted in baskets above while the worms are raised below. When grown, we pick them for sale. These methods yield many benefits despite limited space and low cost. We also grow vegetables, Road Island Chicken, and Paknam Egg Ducks, distributed by Samut Prakan Provincial Livestock Office.”
Bang Kachao Farm took two years to be certified with Organic Thailand by the Department of Agriculture, Ministry of Agriculture and Cooperatives. Considered criteria included an eco-friendly system, ecosystem management similar to nature, the use of organic matters like compost, animal manure, bio-fertilizer, chemical-free, and non-GMOs. The farm also invited local organic farmers to establish the “Khung Bang Kachao PGS” group to gather members’ produces for distribution.
December 2020 - January 2021
55
ชีวิตเรียบง่ายของ ป้าแจ๊ส หรือ คุณพิศมัย พูลเกษ ในสวนยกร่องแบบโบราณ ที่เหลือไม่กี่แห่งในคุ้งบางกะเจ้า The simple life of Aunty Jazz in Khung Bang Kachao’srare traditional raised-furrow plantation
56
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
วันนี้คุณปื๊ดมีนัดเข้าไปรับผักที่สวนของ คุณพิศมัย พูลเกษ หรือ ป้าแจ๊ส ข้าราชการบ�ำนาญ หนึง่ ในสมาชิกกลุม่ บางกะเจ้า PGS ซึง่ ใช้ชวี ติ เรียบง่ายหลังวัยเกษียณ บนทีด่ นิ ของบรรพบุรษุ ซึง่ อยูอ่ าศัย มาตัง้ แต่สมัยรัชกาลที่ ๕ ภายในสวนยกร่อง แบ่งเป็นขนัด มีรอ่ งน�ำ ้ ล�ำประโดง เพื่อกักเก็บ ถ่ายเทน�้ำจืดเข้า-ออก เติมออกซิเจน ช่วยไม่ให้นำ�้ เน่าเสีย วางท่อและคันดินป้องกันน�ำ้ เค็ม ศาสตร์ชาวสวน แบบโบราณ ซึ่งแทบจะไม่หลงเหลือให้พบเห็นบนคุ้งบางกะเจ้า แหนสี เ ขี ย วปกคลุ ม ผิ ว น�้ ำ ในร่ อ งสวน บ่ ง บอกได้ ว ่ า น�้ ำ ยั ง จื ด ไม่มีความเค็มปะปน เพราะพืชชนิดนี้แค่น�้ำกร่อยก็อยู่ไม่ได้แล้ว แต่ละขนัดจะปลูกผักสวนครัว ผลไม้ ผสมผสานกันไป “เริ่มจาก ปลูกกินก่อน เป็นพืชปลอดสารเคมีทงั้ หมด เพือ่ ดูแลตัวเอง ทีเ่ หลือ ค่อยเอาไปขาย เพราะตั้งแต่จ�ำความได้นับแต่สมัยคุณทวด คุณปู่ คุณพ่อ ก็ไม่เคยใช้สารเคมี เพราะเราท�ำสวนมะพร้าว สวนผลไม้ ไม่ไหวแล้ว อีกอย่างคือการเปลีย่ นแปลงของระบบนิเวศ ระยะเวลาที่ น�ำ้ เค็มเข้ามาในพืน้ ที่ บางครัง้ กินเวลานานกว่า ๗ เดือน ต้นไม้เก่าๆ ยืนต้นตายไปเยอะ ตอนนีก้ ย็ งั เหลือมะม่วงน�ำ้ ดอกไม้ พอคุณปืด๊ เข้ามา ชักชวนเข้าร่วมกลุม่ เราเห็นว่าเป็นแนวคิดทีด่ มี าก คือไม่ตอ้ งปลูกพืช ในปริมาณเยอะ แต่ให้มีความหลากหลาย เพื่อหมุนเวียนเก็บกิน เก็บขาย เท่ากับเราได้ดูแลสุขภาพและสร้างรายได้ไปพร้อมกัน ถึงจะไม่มากแต่มีความสุข เป็นความสุขที่เรากินได้และปลอดภัย ต่อสุขภาพ”
“When our vegetables were not enough for incoming orders, we realized most farms in the neighborhood were organically and traditionally grown. Hence, we invited these organic farmers and established Khung Bang Kachao PGS (Participatory Guarantee System) Group, aiming to guarantee the local farm produce quality based on trust. Together, we investigate the farms, record and exchange information, and keep seeking new knowledge like bio-fermented water making or soil improvement, following the Organic Thailand standards. A monthly meeting is rotated among members' houses where everyone prepares one menu from home and share with others, not to burden any particular person.” Phitsamai Phunket or Aunty Jazz, a retired government official and a group member, operated an organic vegetable farm on her ancestor’s land descended from King Rama V’s reign. With the rare ancient farming methods, plots of raised furrows were equipped with irrigation ditches to store and transfer freshwater to boost oxygen and prevent spoilage whereas pipes and earthen dykes helped prevent saltwater. The green duckweeds on the water surface indicated the salinity-free condition due to their sensitivity to brackish water. Each plot was full of mixed vegetables and fruits. “At first, we grew organic plants for healthier household consumption and sold the extras. My forefathers never applied any chemical either. We couldn’t handle another coconut or fruit orchard due to the ecological changes after flooded by saltwater, sometimes up to seven months, killing most ancient and perennial trees. Now, we have Nam Dok Mai mango trees. When Puet invited us to join the group, we thought it was a great idea: a farm with diversity over quantity. We harvest them on a rotation basis to eat healthier and simultaneously earn income. It’s not a lot but it’s the edible happiness that is also safe for the health.” บางกะเจ้าฟาร์ม เลขที่ ๒๐/๑๑ หมู่ ๕ ซอยเพชรหึงษ์ ๒๑ ถนนเพชรหึงษ์ ตำ�บลบางยอ อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๔๖๔๕ ๖๙๓๙ Bang Kachao Farm 20/11 Moo 5, Soi Phetchahueng 21, Phetchahueng Road, Bang Yo Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Tel. 08 4645 6939 December 2020 - January 2021
57
COVER JOURNEY
58
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
โรงเรี ย นนอกกะลา พาออกทะเล สร้างบ้านปลา หาอาหาร
Nok Kala School
Off to the sea, building fish homes and searching for food
หน้าโรงเรียนที่ติดทะเล เชื่อมบ้านถึงทะเลถึงป่าโกงกาง he beachfront area bridges the house, the sea, and the mangrove forest December 2020 - January 2021
59
ขอบทะเลจากฝั่ง Sea horizon from the coast
สุดซอยเทศบาลบางปูที่ ๑๑๘ คือ พืน้ ทีต่ ดิ ทะเล มีบา้ นหลังเล็กๆ สะพานโค้งน้อยๆ เชือ่ มแต่ละจุดไว้ดว้ ยกัน มีตาข่ายหาปลาหลากสี ธงชาติไทย ไม้แกะสลักเป็นรูปสัตว์นำ�้ สีไม่เสมอกัน และปลากุเลาหอม ตากแดด แขวนไว้ในจุดทีร่ บั แสงได้รอ้ ยเปอร์เซ็นต์ ป่าโกงกางทีส่ ยาย เป็นฉากไปสุดสายตานัน้ อยูร่ มิ ขอบด้านซ้ายของสะพานปลาทีท่ อดตัว ยาวจากฝัง่ ลงออกไปไกลในฝัง่ ทะเล โรงเรียนนอกกะลา (บ้านลุงสอนหลาน) ของ คุณมะโหนก หรือ บรรเจิด อุดมสมุทรหิรัญ ตั้งอยู่ที่ขอบแผ่นดินกับทะเลตรงนี้ ไม่ได้มีหน้าตาเป็นโรงเรียนดั่งชื่อ แต่เป็นสถานที่ท�ำกิจกรรมและ แบ่งปันภูมิปัญญาท้องถิ่นในเรื่องของการรักษาสิ่งแวดล้อมชายฝั่ง ทะเลอ่าวไทยตอนบนให้กับผู้สนใจ ไม่ว่าจะเป็นลูกหลานของชุมชน คลองเสาธงซิตี้ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ หรือกับกลุ่มนักศึกษาทั่วประเทศไทยที่เดินทางมาจากทั่วประเทศ ตัง้ แต่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรือ่ ยไปจนถึงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การเดินทางสู่วิถีชาวประมงชายฝั่งสมุทรปราการในคราวนี้ กับคุณมะโหนก จึงไม่เพียงแต่จะได้รับความรู้เรื่องการอนุรักษ์ชีวิต สรรพสิ่งในทะเลของพื้นที่ชายฝั่งของสมุทรปราการ หากยังเป็น การได้ เ ดิ น ทางเข้ า มาท� ำ ความรู ้ จั ก และมี ป ระสบการณ์ ร ่ ว มกั น กับการอยู่ร่วมกันของชุมชนและสิ่งแวดล้อม มีการต่อยอดสร้าง รายได้ให้กับชุมชน โดยการน�ำทรัพยากรทางทะเลที่จับได้โดย 60 ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
เรือประมงพื้นบ้านมาแปรรูปเพื่อสร้างรายได้เพิ่มให้กับคนในชุมชน เป็นผลิตภัณฑ์ตามฤดูกาล เช่น ปลากุเลาหอมเค็ม ปลาหวาน ทอดกรอบ ปลากุเลาทอดกรอบ ปลาทูกรอบ ทีส่ ด สะอาด ปลอดภัย เรานัง่ คุยกันริมสวนผักทีม่ ลี มทะเลพัดเย็นเอือ่ ยๆ อย่างต่อเนือ่ ง คุณมะโหนกพิงตัวกับเสาบ้านชัน้ ล่างของบ้านไม้รมิ น�ำ้ แห่งนี้ แล้วเล่า เรือ่ ยๆ เคล้าเสียงลมว่า “ศูนย์เรียนรูน้ เี้ คยสอนนักเรียนทุกๆ วันศุกร์ ให้ท�ำอวน ท�ำอะไรต่อมิอะไรที่เกี่ยวกับชีวิตชาวประมง แต่แล้ว มันก็ไม่ตอบโจทย์ เพราะเด็กรุ่นใหม่ที่โตมากับเทคโนโลยีไม่ได้ ผูกพันกับวิถชี วี ติ แบบเดิมนี้ บางคนยังไม่เคยเหยียบเรือ และดูเหมือน ไม่รู้จักทะเล ศูนย์เรียนรู้เลยเปิดให้คนที่อยากรู้ได้มีโอกาสเข้ามา เรียนรูจ้ ริง ปฏิบตั จิ ริง ด้วยการใช้ชวี ติ แบบชาวประมงและชาวบ้าน อย่างเช่น การออกไปท�ำบ้านปลาให้เป็นที่หลบภัยส�ำหรับวางไข่ ของปลาในทะเล โดยมีชาวประมงจิตอาสามาช่วยกันให้ความรู้ เรือ่ งเล็กๆ นีส้ ำ� คัญมาก เพราะเป็นการชีช้ ะตาชีวติ ทะเล ทีเ่ ราต้องพึง่ วงจรชี วิ ต ปลาซึ่ ง จะมี การวางไข่จากน�้ำตื้นไปน�้ำลึก การวางไข่ ของปลาจะเริ่มจากป่าชายเลนก่อน แต่เมื่อมีการรุกเมืองมากขึ้น ท�ำให้กระทบกับระบบ ผมจึงท�ำโครงการสร้างบ้านปลา ห่างจากฝัง่ ออกไป ๒ กิโลเมตร จนกลายเป็นกิจกรรมทีใ่ ครๆ ก็สามารถช่วย รักษ์ธรรมชาติไปด้วยกันได้”
คุณมะโหนก ออกทะเลจับปลา Manok heading to the sea to catch some fish
ปลากุเลาหอม ตากแดดเป็นปลาเค็ม Sundried salted threadfin fish
ขยะทะเล คือส่วนหนึ่งของกิจกรรม Ocean waste is a part of activities
At the end of Soi Thetsaban Bangpu 118, a seafront tiny house with a small bridge connects all dots. Besides multicolor fishing nets, a Thai national flag, carved wooden figures of aqua animals, and sundried threadfin fish, there is an endless mangrove forest on the left of a fishing jetty that stretched into the sea. Nok Kala School (Ban Lung Son Lan) by Manok, or Banchoet Udomsamuthirun, is, in fact, a place for carrying out activities and sharing folk wisdom on coastal environment preservation of the Upper Gulf of Thailand to interested persons, whether the young generations of Khlong Sao Thing City Community, Mueang Samutprakan, Samutprakan, or the university students from across Thailand like Maejo University and Chulalongkorn University This time, our journey into Samutprakan coastal fisherman's way of life with Manok, would not only let us discover the Samutprakan coastal marine livings preservation but also learn and experience the co-existence of the community and environment. To generate income for the community, harvested marine resources by the local fishing boats could be processed into fresh, hygienic, safe, and eco-friendly seasonal products. For example, salted sundried threadfin fish, sweet crispy fish, deep-fried threadfin fish, or mackerel. By the vegetable plots amongst the mellow sea breeze, Manok leaned against the pillar on the ground floor of the beachfront wooden house and told us “This learning center used to teach students on every Friday to make a trawl and other fishing matters but it did not work out. New generations grow up with technology, not the traditional way of life. Many have never been on a boat and barely know the sea. So, we welcome interested persons to learn by living the life of a fisherman and the locals. For example, building fish homes as a spawning sanctuary for marine fish in the sea with volunteer fishermen providing knowledge. In the past, fish spawned in the shallow water of the mangrove forest, but due to the city invasion, the system was impacted. Therefore, I started a fish home building project, two kilometers off the shore, which, later, became an environmental preservation activity anyone could join.” December 2020 - January 2021
61
ในช่วง ๓ ปีแรกของการเปิดโรงเรียนนอกกะลา จากการ อนุเคราะห์จากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ นัน้ มีคนเข้ามารับ การอบรมและตอบรับดีมาก ท�ำให้มโี อกาสได้สร้างเครือข่ายเชือ่ มโยง กับจังหวัดต่างๆ ในเรือ่ งการอนุรกั ษ์ธรรมชาติสว่ นอืน่ ด้วย และเพือ่ ให้เกิดการจัดการกับหมู่บ้านที่นี่ได้ด้วยตัวเอง จากเรื่องการอนุรักษ์ ทรัพยากรชายฝัง่ ในการท�ำบ้านปลา บ้านนก บ้านปลาหมึก จึงกลายเป็น การส่งเสริมอาชีพควบคูก่ นั ไป โดยเฉพาะในช่วงวิกฤติโควิดทีผ่ า่ นมา คุ ณ มะโหนกได้ เ ริ่ ม ช่ อ งทางการจ� ำ หน่ า ยอาหารทะเลออนไลน์ ที่ ผ ่ า นมาเป็ น โมเดลในการสนั บ สนุ น ซึ่ ง กั น และกั น ในแบบ “ใครมีปัญหาเราช่วยกันดูแล คนมีก�ำลังซื้อก็มาอุดหนุนชาวบ้าน และหากใครไม่มกี ำ� ลังซือ้ หรือเดือดร้อน ก็จะได้รบั อาหารทะเลไปฟรี” วั น นี้ โ รงเรี ย นนอกกะลาสร้ า งกิ จ กรรมที่ ยึ ด โยงกั บ ชี วิ ต ชาวประมงให้คนได้เดินทางมาเรียนรู้ มีการบรรยายในตอนเช้า แล้วท�ำกิจกรรมตอนบ่าย ด้วยการพาเดินป่าโกงกาง ช่วยกันท�ำ บ้านนก ออกทะเลไปกับชาวประมง ลงเรือไปปักไผ่ลอ้ มเป็นวงกลม ให้เป็นบ้านปลา เพือ่ ประโยชน์ให้ปลาได้มาวางไข่ ท�ำบ้านปลาหมึก ทีจ่ ะมีลกั ษณะเหมือนช่อผ้าป่า เพราะใช้กา้ นกิง่ แสมติดไว้กบั ฐานปูน แล้วใช้เชือกระโยงระยางระหว่างกิง่ เหมือนช่อผ้าป่า เพือ่ ให้ปลาหมึก มาวางไข่ตามแนวเชือก พร้อมลงทะเลไปหาปลาหรือพักเล่นน�ำ้ ทะเลได้ In the first three years after the school launch under the courtesy of the Department of Marine and Coastal Resources, it was well-received and led to networking with other provinces and in other areas of environmental conservation. To establish the village’s self-administration via coastal resources conservation, building homes for fish, birds, and squids have also become a career promotion opportunity. During the COVID crisis, Manok started an online seafood distribution channel. By far, it has been a mutual support model, “Those who can afford, support villagers and those who can't or are in need can come and get free seafood.” Today, there are learning activities related to the fisherman’s life for visitors - a morning lecture and afternoon activities. For example, mangrove forest trekking, building bird houses, sailing with fishermen, building fish houses for spawning by piercing bamboo stalks into a circular shape, building squid homes like Pha Pa Money trees with Avicennia branches at the stucco base, and robes hung between branches, so the squid could spawn on the robes, catching fish or swimming in the sea. 62
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
ปลุกฝังความรู้พร้อมกัน Learning together
ปักบ้านปลากลางทะเล Installing a fish home amidst the sea
โฮมสเตย์ธรรมชาติ Nature-based homestay
ทางเดินป่าโกงกาง Mangrove forest nature trail ลานกิจกรรมของโรงเรียน The school activity area
December 2020 - January 2021
63
ทุกมุม คือห้องเรียนธรรมชาติ Every corner is a natural classroom
ทางเข้าศูนย์เรียนรู้ Entrance of the learning center
64
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
ปลากุเลาหอมเค็มทอด ที่รสชาติแซ่บหาตัวจับยาก Deep-fried salted and sundried threadfin fish
“กิจกรรมเราจะท�ำเป็นกลุม่ กลุม่ ละประมาณ ๑๐-๓๐ คน ซึง่ สามารถท�ำเป็นกลุม่ ไปกลับ หรืออยูโ่ ฮมสเตย์ได้ดว้ ย เราจะซ่อม บ้านปลาด้วยกัน หรือจะสร้างปลาใหม่เลยก็ได้ เพราะเป็นเรื่องที่ พวกเราท�ำกันเรื่อยๆ อยู่แล้ว อุปกรณ์จ�ำเป็นคือไม้ไผ่ ซึ่งบ้านปลา หลังหนึง่ จะใช้ ๑ กอ หรือราวๆ ๑๐๐ ต้น เราจัดตามความต้องการ ของกลุม่ ได้ บางกลุม่ มากันเป็นครอบครัว ผมว่าดี เพราะท�ำให้ทบี่ า้ น ได้ทำ� กิจกรรมร่วมกัน เรียนรู้ และปลูกฝังไปพร้อมกัน” มากไปกว่ากิจกรรมการออกทะเล คือ อาหารกลางวัน ที่พร้อมไปด้วยอาหารที่ปรุงสดๆ จากทะเล ไม่ว่าจะเป็นแกงชักส้ม หรือแกงส้มแบบสมุทรปราการ ที่เป็นแกงส้มรสชาติเฉพาะคล้ายๆ แกงเหลืองแบบใต้ และมีแกงส้มแบบภาคกลางกับปลาประจ�ำวัน ปลากุเลาหอมเค็มที่ทอดกรอบนอกนุ่มใน หอมฉุยตั้งแต่ยังไม่ยก ออกมาจากครัว ส่งกลิ่นไกลไปถึงท่าเรือที่ปลายสะพานปลา และ ปลาทอดราดน�ำ้ ซอสมะม่วง เปรีย้ ว หวาน เผ็ด รสชาติกลมกล่อม เรียกว่าไม่มจี านไหนแพ้กนั จริงๆ “ผมอยากให้คนมาได้รับรสชาติจากที่นี่กลับไปที่บ้านด้วย คืออยากรับกลุ่มใหม่ให้เข้ามาที่ศูนย์เรียนรู้ตอนบ่าย ๒ ส่งกลุ่มเก่า ออกบ่ายโมง ทีจ่ ดั เวลาแบบนีเ้ พราะทุกคนจะได้ใช้ชวี ติ ครบวงจร คือ ออกทะเลท�ำกิจกรรม หาอาหารในทะเล จะกินในเรือ หรือจะออก ทะเลอีกกี่รอบก็ได้ หรือจะเอากลับมาปิ้งย่างกันบนบกต่อ แล้วเรา จะแบ่งอาหารทะเลทีจ่ บั มากัน อย่างเช่น ถ้าได้ปลากลับมาตอนเย็น ตอนเช้าจะมีกลุ่มแม่บ้านท�ำปลาแปรรูป ตากแดดผึ่งไว้ พอถึงเวลา พวกคุณจะกลับบ้าน ทุกคนก็สามารถเอาปลาที่แปรรูปนั้นกลับบ้าน ไปได้ดว้ ย กลุม่ ใหม่กม็ าเรียนรูแ้ ละอิม่ กันไปแบบนี”้ นอกจากคุณมะโหนก และทะเลทีร่ ออยูแ่ ล้ว ยังมีเจ้ากอตจิหมาตัวใหญ่ เจ้าขุน-แมวตาฟ้าตัวขาว เจ้ารานี-แมวสีนำ�้ ตาล และ เจ้าอ้วน-แมวลายเทา รออยูท่ นี่ ดี่ ว้ ย
“Each group activity has about 10-30 persons, either for a one-day or homestay trip. We fix or build new fish houses together because it is what we always do. The essential tool is bamboo. Each fish house requires about 100 trees. We can also customize to the group requests. Some come with their family. I think it’s great that the whole family can collectively join activities, learn and instill at the same time.” Meanwhile, mouthwatering lunch menus fresh from the sea are prepared off the sea. There are both Kaeng Chak Som (Samutprakan Hot and Sour soup) with a similar flavor to Southern Yellow Curry and Central Kaeng Som. Daily fish menus include the aromatic Deep-Fried Salted Threadfin Fish, and the Deep-Fried Fish, served with mellowly sour, sweet, and spicy green mango salad. “I want visitors to bring home the flavors from here. The Learning Center welcomes new groups at 02.00 pm and send off the old groups at 01.00 pm so everyone may fully enjoy all experiences. They can search for food in the sea, eat on the boat, sail out to the sea as many times as they wish, or return to the shore to cook and share. If you return with fish in the evening, the housewife group helps sundry them and everyone can bring home these processed fish. New groups also learn and enjoy a full stomach like this.” Besides Manok and the sea, Kotchi-the large dog, Khun-the white cat with blue eyes, Rani-the brown cat, and Auan-the striped grey cat are waiting here, too. โรงเรียนนอกกะลา (บ้านลุงสอนหลาน) เลขที่ ๑ หมู่ ๕ ต�ำบลบางปูใหม่ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๙ ๘๙๒๙ ๕๗๐๒ Nok Kala School (Ban Lun Son Lan) 1 Moo 5, Bangpu Mai Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Tel. 09 8929 5702
December 2020 - January 2021
65
COVER JOURNEY
เมื่อคนเมืองอยากทำ�เกษตร
ทำ�กิน ทำ�แจก ทำ�ขาย ไม่ง้อข้อจำ�กัดผืนดินปลูก
When urban dwellers wish to farm for eating, sharing, and selling without space limitation
66
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
พืช ผัก ผลไม้ ใครก็รู้ว่าเป็นแหล่งอาหารที่อุดมไปด้วย วิตามิน เกลือแร่ตา่ งๆ ทัง้ วิตามินบี ๒ บี ๖ กรดโฟลิก แมกนีเซียม แคลเซียม ธาตุเหล็ก ทองแดง โพแทสเซียม แถมยังมีคณ ุ สมบัตเิ ป็น สารต้านอนุมลู อิสระ ช่วยชะลอความเสือ่ มของร่างกาย ป้องกันโรคหัวใจ โรคต้อกระจก โรคข้อเสือ่ ม โรคความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะในพืช มีสารที่เรียกว่า สารพฤกษเคมี สามารถป้องกันโรคมะเร็งได้ หลายชนิด จนองค์การอนามัยโลกต้องประกาศอย่างเป็นทางการว่า อาหารที่กินจะต้องมีผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ ๔๐๐ กรัมขึ้นไป (เฉลีย่ เดือนละ ๑๒ กิโลกรัม)
Vegetables and fruits are rich sources of vitamins and minerals including vitamin B2, B6, folic acid, magnesium, calcium, iron, copper, and potassium. Their antioxidant properties help slow down body degeneration, prevent heart disease, cataract, osteoarthritis, and high blood pressure. Since the phytochemicals in plants can also prevent various cancers, the World Health Organization officially recommended a minimum of 400 grams of vegetables and fruits per day (an average of 12 kg per month). December 2020 - January 2021
67
หลายคนที่รักสุขภาพและมีความสนใจอยากปลูกผักกินเอง เพราะมั่นใจในความปลอดภัยและลดรายจ่ายในการซื้อหา หนึ่งใน ความหวั ง ส� ำ คั ญ ก็ คื อ การสร้ า งความมั่ น คงทางอาหารให้ ค น ในเมื อ งได้ นอกจากจะสามารถพึ่ ง ตนเองด้ า นอาหารด้ ว ยการ เป็นผู้ผลิตเองได้แล้ว การสร้างระบบอาหารในเมืองที่มีผู้ผลิต เป็นคนเมือง และสามารถมีผลผลิตจ�ำหน่ายให้กับคนในเมืองได้ โดยไม่ต้องเสียค่าขนส่งระยะไกล ก็ถือเป็นความหวังส�ำคัญในการ ขับเคลือ่ นเรือ่ งเกษตรในเมืองไม่แพ้กนั ปัญหาของผู้ที่อยู่ในพื้นที่เขตเมืองประสบมาแต่เดิม ก็คือ ข้อจ�ำกัดด้านพื้นที่อยู่อาศัยซึ่งไม่เอื้อต่อการปลูกเท่าไรนัก แต่ใน ปัจจุบนั ได้มกี ารทดลองและเผยแพร่องค์ความรูท้ สี่ ามารถตอบโจทย์ ให้แล้วว่า “พื้นที่น้อยไม่ใช่ข้อจ�ำกัด” ดังเช่นสวนผักคนเมืองของ คุณเจริญ ศิรวิ ชั รไพบูลย์ ผูก้ อ่ ตัง้ “ศูนย์การเรียนรูเ้ กษตรและแปรรูป การเคหะฯ ซ. ๖” ซึ่งกว่าจะมาเป็น “กูรู” ด้านนี้ได้ ก็ผ่านการ ลองผิดลองถูกด้วยตนเองมาหลายปี จากอาชีพหลักเป็นผูป้ ระกอบการโรงงานฟอกหนัง แต่มใี จรัก และงานอดิเรกคือการปลูกผักไว้กินเองในครอบครัว คุณเจริญ ได้เริ่มต้นหาความรู้ด้วยการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต และไปสมัคร 68 ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
เข้าอบรมตามแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตร เช่น หลักสูตรการเพาะเห็ด แบบครบวงจรของมูลนิธิพระดาบส หลักสูตรการปลูกพืชไม่ใช้ดิน (Hydroponic) และการเสริมสร้างการเป็นผูป้ ระกอบการ หลักสูตร วิศวกรเห็ด ศูนย์การเรียนรู้การเพาะเห็ดทฤษฎีใหม่ หลักสูตร การขยายเชื้อเห็ดเยื่อไผ่ หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หลักสูตรการท�ำธุรกิจการปลูกผัก แบบปลอดสารเคมี พร้อมระบบ Smart Farming หลักสูตรอบรม เพาะเห็ดเมืองหนาว ฟาร์มเห็ดออร์แกนิก หลักสูตรการเพาะเห็ด เป็นยา จาก Anon Biotec ฯลฯ อีกหนึ่งแรงบันดาลใจในการตระหนักถึงปัญหาของคนเมือง ทั้งเรื่องความปลอดภัยและความมั่นคงทางอาหาร รวมถึงปัญหา ด้านสุขภาพ สังคม และสิง่ แวดล้อมของเมือง คือการเห็นคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องคนในครอบครัวจากคุณอา คือ คุณกาญจนา ศิรวิ ชั รไพบูลย์ ที่ มี อ าหารปลอดสารพิ ษ ไว้ กิ น ทุ ก วั น จากการใช้ พื้ น ที่ เ ล็ ก ๆ ในสวนหลังบ้านมาท�ำแปลงปลูกผักสวนครัว ปลูกไม้ผลหลากหลาย สายพันธุ์ โดยใช้สตู รการปรุงดินแบบชาวบ้าน มีการหมักน�ำ้ จุลนิ ทรีย์ ใช้เองและได้ผลดีมากว่า ๒๐ ปีแล้ว
แค่พื้นที่เล็กๆ รอบบ้าน กับความตั้งใจอยากให้ครอบครัวได้มีอาหารปลอดภัย A small space around the house plus the determination to offer safe food for the fami
Many health enthusiasts wish to grow vegetables themselves for better safety and expenditure reduction. One of the major hopes is the ability to establish food sustainability for urban dwellers. Besides being self-reliant on food by becoming the producers, creating an urban food system with urban dwellers as producers and having farm produce for urban distribution without a long-distant transportation fee are no less vital in driving urban agriculture. People in the city had long been constrained by the living areas that were not favorable for farming. Nevertheless, years of self-experiments have proven “limited space is not a limitation” as evidenced by the urban vegetable farm by Charoen Siriwatphaibun, the founder of “Kan Kheha Soi 6 Agricultural and Processing Learning Center”. Being a tannery manufacturer operator who loves growing vegetables for family consumption as a hobby, Charoen started searching for knowledge on the internet and applied
for courses at agricultural learning centers. For example, Phra Dabos Foundation’s comprehensive mushroom cultivation, hydroponic farming, entrepreneurship development, mushroom engineering program at the New Theory Mushroom Farming Learning Center, bamboo mushroom farming at University Business Incubator, King Mongkut's University of Technology Thonburi, Organic Farming Business Development, smart farming system, the cultivation of temperate, organic and medicinal mushroom from Anon Biotec. Our realization of the problems of city dwellers in terms of food safety and stability, health, society, and the urban environment was inspired by the good life quality of Aunty Kanchana Siriwatphaibun’s family. Every day, they enjoyed chemical-free food by turning a small backyard space into a vegetable plot with mixed fruit trees, featuring local soil recipes and effective homemade fermented bio extract water used for over 20 years. December 2020 - January 2021
69
จากประสบการณ์ที่เป็นเบ้าหลอมนี้เอง ท�ำให้คุณเจริญ เริม่ สนุกและเกิดความท้าทายทีจ่ ะท�ำให้สำ� เร็จ โดยเฉพาะการเล็งเห็น ถึงปัญหาของคนเมืองที่อยากเรียนรู้เรื่องการท�ำเกษตร หรือขยับ ไปถึงขัน้ การแปรรูป ทัง้ เพือ่ กินเองหรือเพือ่ สร้างรายได้เสริม จึงได้ น�ำแรงบันดาลใจนีม้ าสร้างศูนย์เรียนรูเ้ พือ่ ชุมชนขึน้ โดยใช้พนื้ ทีส่ วน ของบ้านพักอาศัย ซอยเทศบาลบางปู ๙๐ (ซอยฟอกหนัง กม. ๓๔) เป็นฐานการเรียนรู้การปลูกพืชผักแบบคนเมืองในพื้นที่รอบๆ บ้าน และอีกแห่งหนึง่ คือทีศ่ นู ย์การเรียนรูเ้ กษตรและแปรรูป การเคหะฯ ซ. ๖ ส�ำหรับการสอนและอบรมด้านการเพาะเห็ดและการแปรรูป ยิง่ เมือ่ ได้ไปเรียนรูเ้ กีย่ วกับเห็ดอย่างจริงจัง ทัง้ การเพาะเลีย้ ง เห็ดเมืองร้อน เห็ดเมืองหนาว ท�ำให้คนเมืองหัวใจเกษตรรายนี้ได้ พบข้อมูลส�ำคัญทีว่ า่ เห็ดนัน้ เป็นได้ทงั้ อาหารและมีสรรพคุณทางยา ที่ล�้ำเลิศ รวมทั้งยังรู้ว่าเห็ดเกือบทุกชนิดที่กินได้ ล้วนแล้วแต่มี “สรรพคุ ณ ในการต้ านมะเร็ ง ” โดยเฉพาะเห็ ดถั่ ง เช่ าที่ ร าคาใน ท้องตลาดขายกันเป็นหลักพันหลักหมื่น เนื่องจากกระบวนการ เพาะเลีย้ งเนือ้ เยือ่ ฟูมฟักต้นอ่อน ต้องใช้อปุ กรณ์และเครือ่ งไม้เครือ่ งมือ ราคาแพง แต่คุณเจริญได้ทดลองด้วยตนเองและค้นพบวิธีการ ลดต้นทุนการผลิต ที่สามารถให้ผลทั้งปริมาณและมีคุณภาพที่ดี จนได้รบั การรับรองอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานด้านนีโ้ ดยตรง เรียกว่านอกจากจะได้เป็นเกษตรกรสมใจ สามารถผลิตอาหาร และสร้างรายได้ให้กับครอบครัวได้แล้ว คุณเจริญและครอบครัว ยังบอกว่าการได้อยูก่ บั สวนผัก ท่ามกลางธรรมชาติ ก็ทำ� ให้สขุ ภาพ แข็งแรงขึน้ แถมยังได้ใช้เรือ่ งสวนผักสร้างการเรียนรูใ้ ห้ลกู กินเหลือ ก็จำ� หน่าย หรือแจกจ่ายแบ่งปันเพือ่ นบ้านได้ดว้ ย
70
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
ท�ำกินก็ได้ ท�ำขายก็ดี หรือจะท�ำแบ่งปันเพื่อนบ้านญาติมิตร ก็สุขใจทั้งผู้ให้และผู้รับ Good for household consumption, sales distribution, and sharing to loved ones
Forged by experiences, Charoen began having fun and challenging himself. Having realized the problems of city dwellers seeking to learn about farming or processing either for consumption or alternative income-earning, he set up a community learning center in Soi Thetsaban Bangpu 90 (Fok Nang KM 34), as a learning base on urban vegetable farming in the area around the house, and Kan Kheha Soi 6 Agricultural and Processing Learning Center to educate and train for mushroom cultivation and processing. After a profound study on tropical and temperate mushroom cultivation, this city dweller with a farmer's heart discovered they were food with exceptional medicinal
properties, and that almost every edible mushroom could “prevent cancer”. Cordyceps could worth several ten-thousands baht in the market because their tissue culture and seedling nursery processes required expensive equipment. However, Charoen self-experimented and found a highly effective method to reduce the cost but with great production quality and quantity, officially certified by direct authority in the field. Fulfilling his farmer dream, producing food and generating income for the family, Charoen and his family revealed that living with vegetable plots amidst nature improved their health. They could also teach their children about vegetable farming, selling the extras, or sharing with neighbors. December 2020 - January 2021 71
ปัจจุบันมีหน่วยงานที่พร้อมจะเผยแพร่องค์ความรู้ในเรื่องนี้อยู่มากมาย แค่ลองเสิร์ชค�ำว่า "สวนผักคนเมือง" Currently, many agencies stand ready to offer this sort of knowledge. Try searching “Urban Vegetable Farming”
72
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
ปัจจุบนั ศูนย์การเรียนรูเ้ กษตรและแปรรูป การเคหะฯ ซ. ๖ มีการจัดกิจกรรมรองรับผู้ที่สนใจในหลายวิชา เช่น สอนการท�ำ เห็ดก้อน (เห็ดนางฟ้าภูฏาน เห็ดนางรม ฯลฯ) สอนการแปรรูปเห็ด (น�ำ้ ยาเห็ด แหนมเห็ด ฯลฯ) สอนการเพาะต้นอ่อน (ต้นอ่อนทานตะวัน ต้นอ่อนผักบุง้ ถัว่ งอก) สอนการเพาะเห็ดถัง่ เช่า (ความรูเ้ บือ้ งต้น) สอนการปรุงดิน การปลูกผักอินทรีย์ (ผักสวนครัว) สอนการท�ำ ปุย๋ หมัก การท�ำน�ำ้ หมักจุลนิ ทรีย์ เมือ่ ถามถึงราคาค่าเรียน คุณเจริญตอบได้ชนื่ ใจคนรักผักว่า “ผมไม่เคยคิดเงินค่าเรียนเลย เหมือนเรารู้อะไรมา เราก็อยาก เผยแพร่ต่อ เรารู้ว่าคนส่วนใหญ่ก็คงเหมือนเรา อยากมีสุขภาพดี อยากมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี อยากให้ ใ นครั ว มี อ าหารปลอดสาร อยากประหยัดค่ากับข้าว แต่ไม่รจู้ ะเริม่ ต้นยังไง ตัวผมเองก็ลองผิด ลองพลาดมาหลายปี กว่าจะมีความรู้ที่อยู่ตัวและเป็นวิธีการที่ใช้ ได้ผล เราก็คิดแค่ว่ามันดีนะ ถ้าคนอื่นไม่ต้องเสียเวลาหลายปี กว่าจะรูว้ า่ ปรุงดินต้องท�ำยังไง เพาะเชือ้ ต้องเริม่ ตรงไหน ต้องระวัง อะไร เคล็ดลับที่ได้ผลคือแบบไหน ฯลฯ แม้แต่เห็ดถั่งเช่าที่คนอื่น เขาหวงความรูก้ นั กลัวคนมาท�ำแข่ง แต่ถา้ มาอบรมทีน่ ี่ ผมเปิดห้อง ให้ดูให้เรียนกันแบบไม่มีกั๊ก ยิ่งคนท�ำเป็นมากเท่าไรยิ่งดี ทุกคน ก็จะได้ซอื้ กินในราคาทีเ่ อือ้ มถึง นีค่ อื สังคมทีผ่ มอยากเห็น” ทุกวันนี้ ศูนย์การเรียนรูเ้ กษตรและแปรรูป การเคหะฯ ซ. ๖ แห่งนี้ เปิดให้การอบรมทั้งในสถานที่และรับเชิญไปบรรยายตาม หน่วยงานต่างๆ โดย คุณเจริญ ศิริวัชรไพบูลย์ เน้นเคล็ดไม่ลับว่า การท�ำเกษตรไม่ใช่เรื่องยาก แต่ต้องเข้าใจและต้องลงมือปฏิบัติ อย่าคิดว่าเป็นเรื่องไกลตัวเพราะทุกคนสามารถท�ำได้ ขอเพียง ทุกอย่างต้องเริ่มต้นที่ใจของคุณเอง ถามตัวเองว่าพร้อมจะเริ่มต้น การมีคุณภาพชีวิตที่ดี กินอาหารปลอดภัย และอยู่แบบเอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือเกือ้ กูลกันแล้วหรือยัง
Currently, Kan Kheha Soi 6 Agricultural and Processing Learning Center offers numerous programs such as how to make mushroom spawn bags (i.e. Bhutanese and oyster mushrooms), grow sprouts (i.e. sunflower, morning glory, bean), cultivate cordyceps mushrooms (basic), organic farming, and prepare healthy soil, fertilizer, and fermented bio-extract water. Regarding the tuition fee, Charoen’s answered, “I never charge. When I learn something, I want to pass it forward. Just like me, everyone wishes for good health and life quality, with organic food in the kitchen while saving cost but has no clue where to start. I, myself, experimented for years before achieving effective methods. How nice would it be if others could save years to truly understand how to prepare soil or culture spawns, what to watch out for, what techniques work, and etc.? Even cordyceps that no one shares because of the competitiveness, here, I give a full demonstration and training. The more people can do it, the more affordable they become and that’s the society I wish to see.” Nowadays, besides offering training at the Learning Center, Charoen is also invited as a special lecturer at many organizations. He emphasized that farming was not difficult but needed understanding and hands-on practices, and never to think it was impossible because everyone could do it. Everything starts with you. Now, ask yourself if you are ready to begin a quality life, eating safe food, living generously, and supportively. ศูนย์การเรียนรู้เกษตรและแปรรูป การเคหะฯ ซ. ๖ เลขที่ ๑๖๑๔/๑๐๕ การเคหะสมุทรปราการ ถนนสุขุมวิท ต�ำบลท้ายบ้าน อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๖ ๔๙๙๘ ๕๕๖๕ Kan Kheha Soi 6 Agricultural and Processing Learning Center 1614/105 Samutprakan National Housing Authority, Sukhumvit Road, Thai Ban Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Tel. 06 4998 5565
December 2020 - January 2021
73
COVER JOURNEY
74
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
วิสาหกิจชุมชนบางโปรงอนุรักษ์ถิ่น วิถีเกษตรอินทรีย์แห่งบ้านปลายคลอง
Bang Prong Local Conservation Community Enterprise An organic farming way of life of Ban Plai Khlong
December 2020 - January 2021
75
พริกกะเหรี่ยงเมล็ดอวบที่บ้านปลายคลอง Chubby Karen chilis at Ban Plai Khlong
76
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
แทบไม่นา่ เชือ่ ว่า เลีย้ วจากถนนสายหลัก ซึง่ มีทงั้ อาคารพาณิชย์ ร้านสะดวกซือ้ พลุกพล่านด้วยรถรา เข้ามาในซอยบางโปรง ๒ พืน้ ที่ หมู่ ๔ บ้านปลายคลอง ต�ำบลบางโปรง อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ จะพบกับความร่มรืน่ ชืน่ ใจ ต้นไม้ใบเขียวเข้ม ทัง้ มะม่วง มะยม ทีม่ อบร่มเงา ออกดอกออกผลให้เก็บกินเก็บขาย กระถางต้นไม้ใบใหญ่ ใบย่อม กะละมัง ถังตักน�้ำ ภาชนะที่ช�ำรุด เป็นทีอ่ ยูข่ องพืชผักสวนครัวอย่าง กะเพรา โหระพา ฯลฯ เป็นชุมชน ที่หน้าบ้านน่ามอง แล้วยังกินได้ให้ประโยชน์ โดยไม่ต้องห่วงกังวล เรือ่ งสารเคมี เพราะปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์
Diverging from the main road packed with buildings, convenient stores, bustling traffic, and into Soi Bang Prong 2 in Moo 4, Ban Plai Khlong, Bang Prong Sub-District, Mueang Samutprakan, Samutprakan, there is surprising greenery. Mango and star gooseberry trees offer shade and fruits to eat and to sell while a range of tree pots, basins, buckets, and broken containers house vegetables like holy basils and sweet basils. Besides the pleasant view, these plants are edible, beneficial, and 100-percent organic.
จุดเริ่มต้นในการใช้พื้นที่ว่างเพียงเล็กน้อย เพื่อท�ำเกษตร อินทรีย์ เพียงต้องการดูแลสุขภาพ การกินอยู่อย่างปลอดภัยของ เพื่อนบ้านละแวกใกล้เคียง ที่พูดคุยในบริบทเดียวกัน ภายในบ้าน คุณสุนทรี นาคจู ซึ่งเป็นศูนย์เรียนรู้และขับเคลื่อนปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง บ้านบางโปรง หมู่ ๔ จนเกิดการรวมกลุ่ม จดทะเบียน “วิสาหกิจชุมชนบางโปรงอนุรักษ์ถิ่น” โดยได้รับการ สนับสนุนจากกองทุนพัฒนาไฟฟ้าโรงไฟฟ้าพระนครใต้ ช่วยขับเคลือ่ น ประกายความคิดที่ถูกจุดขึ้นมา หากนั่งรถไฟฟ้าขาเข้าเมืองปากน�้ำ เลยสถานีปู่เจ้าผ่าน ถนนกาญจนาภิเษก มองไปด้านขวามือ จะพบพืน้ ทีส่ เี ขียวติดกับแม่นำ�้ เจ้าพระยาของต�ำบลบางโปรง ล้อมรอบโครงสร้างของสังคมเมือง บางโปรงมีประวัติความเป็นมาเล่าย้อนไปถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา ว่าเดิมบริเวณนี้เคยใช้เป็นสถานที่ปลงศพ เพราะมีผู้คนล้มตาย จากโรคระบาด จึงพากันเรียกว่า “บางปลง” ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ เพื่อลดความเศร้าหมองหดหู่เป็น “บางโปรง” มาจนถึงปัจจุบัน
The utilization of a small space for organic farming inside Suntharee Nakchu’s house, a sufficiency economy philosophy learning and mobilizing center of Ban Bang Prong Moo 4, initially aimed for a healthier meal and living among neighbors that speak the same context. Gradually, they registered as “Bang Prong Local Conservation Community Enterprise”, supported by Power Development Fund, South Bangkok Power Plant. Catching a BTS ride towards Paknam, past Pu Chao Saming Phrai Station and Kanchanaphisek Road, a green area connected to the Chao Phraya River of Bang Prong Sub-District is surrounded by urban structure. Back in the Ayutthaya period, it was where the deceased from the plague were cremated (Plong in Thai), thus, called “Bang Plong” and later changed to “Bang Prong” to reduce the gloominess. December 2020 - January 2021
77
เดิมละแวกนี้เป็นสวนมะพร้าว สวนกล้วย ฯลฯ รากแก้ว ของคนท้องถิ่นดั้งเดิมคือสังคมเกษตรกรรม การปลูกพืชปลูกผัก จึงไม่ถือว่าเป็นเรื่องใหม่ ส�ำหรับสมาชิกในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน บางโปรงอนุรักษ์ถิ่นทั้งยังได้หน่วยราชการอย่าง ส�ำนักงานเกษตร อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ และส�ำนักงานเกษตรจังหวัด เข้ามา เพิ่มเติมความรู้ใหม่ๆ ให้อยู่เสมอ ริมล�ำประโดงและพื้นที่ว่างในสวนมะพร้าวน�้ำหอม หลังบ้าน คุณสุนทรี นาคจู ประธานกลุ่มฯ หนึ่งในสวนมะพร้าวไม่กี่แห่ง ซึง่ ยังหลงเหลืออยูใ่ นพืน้ ที่ เป็นหมุดหมายของต้นยอ พริกกะเหรีย่ ง ฯลฯ ที่ เ จ้ า ของบ้ า นปั ก ช� ำ ลงดิ น ภายในรั้ ว บ้ า นเขี ย วชอุ ่ ม ไปด้ ว ย พืชนานาพรรณ ทั้งไม้ผลที่มีเรือนยอดสูงตระหง่าน มุ่งหาแสงแดด ช่วยในการเจริญเติบโตอย่าง มะม่วงน�้ำดอกไม้ ขนุน ลดหลั่น ลงมาหน่อยเป็น มะยม ตะลิงปลิง มะม่วงหาวมะนาวโห่ พื้นซึ่งเคย แข็งเป็นดินดานถูกปรับสภาพความเป็นกรด-ด่างด้วยน�ำ้ หมักชีวภาพ จนดินร่วนซุย อากาศผ่านได้อย่างเหมาะสม อุม้ น�ำ้ ได้ดี ชะพลูใบอวบ จึงเติบโตอย่างมีความสุข “การไม่ใช้สารเคมี นอกจากท�ำให้เราบริโภคผัก ผลไม้ อย่างปลอดภัยแล้ว สมุนไพรที่ขึ้นอยู่ในบ้านอย่างฟ้าทะลายโจร ยังถูกน�ำมาใช้บ�ำบัดรักษาอาหารปวดหัวตัวร้อนตามต�ำรับโบราณ โดยถอนทั้งต้นทั้งรากมาล้างท�ำความสะอาด ตัดเป็นท่อนใส่หม้อต้ม เติมน�้ำพอประมาณ ต้มไปเรื่อยๆ ให้น�้ำงวดเหลือประมาณ ๑ แก้ว ดื่มแล้วอาการดีขึ้น จะเรียกว่าหายเลยก็ได้ ชาวบ้านในชุมชน บ้ า นปลายคลองใช้ วิ ธี นี้ โ ดยไม่ ต ้ อ งพึ่ ง พายาปฏิ ชี ว นะ การท� ำ เกษตรอินทรีย์ไม่ได้ปลอดภัยเฉพาะคนเท่านั้น แม้แต่ค้างคาวแม่ไก่ ที่ มี อ ยู ่ ม ากแถวบางด้ ว นยั ง บิ น เข้ า มากิ น ผลไม้ ใ นสวนของเรา โดยจะมาเกือบทุกคืน ผลไม้โปรด คือ มะม่วง เราเคยฉายไฟเห็น เขาอุ้มมะม่วงไปทั้งลูกเลย”
78
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
The neighborhood has long been rooted in an agricultural society. Therefore, farming is not an unfamiliar matter to members of Bang Prong Local Conservation Community Enterprise, who are also constantly visited by agricultural offices of Mueang Samutprakan District and Samutprakan to introduce new knowledge. The space in Nam Hom Coconut Plantation by the ditch behind Suntharee’s house is covered with plants of noni, Karen chili among others grown from stem-cuts. The lush canopy along the fence consists of towering fruit trees like Nam Dok Mai mango and jackfruit, and smaller species like star gooseberry, bilimbi, and Carissa carandas. After an acid-alkaline treatment with fermented bio-extract water, the previously hard and compact soil has become friable, allowing air to pass through, retaining more water, and chubby betel leaves to grow happily. “By omitting chemicals, not only we can enjoy safe vegetables and fruits but also use Kariyat as an herbal remedy to relieve headache and fever. Pluck the entire plant with roots. Cleanse well, cut into pieces and let simmer with some water until about a cup is left. Drink it up and you will soon get better. Villagers in Ban Plai Khlong Community use this method instead of antibiotics. Organic farming is harm-free to both humans and Lyle's flying foxes, abundant in Bang Duan, who swoop by our fruit farms almost every night. Their favorite is mango. I've seen them carrying the whole mango.”
ผัก ผลไม้ ผลผลิตจากเกษตรอินทรีย์ ปลอดภัยต่อสุขภาพของชุมชนบ้านปลายคลอง Ban Plai Khlong Community’s chemical-free organic vegetables and fruits
December 2020 - January 2021
79
เราเดิ น ตามเส้ น ทางที่ น� ำ ไปยั ง บ้ า นของ คุ ณ ปราโมทย์ ทองนาโพธิ์ และ คุณนงนุช วงศ์เขียว สองสามี-ภรรยาหน้าตาเปือ้ นยิม้ ที่ นั่ น มี ว อเตอร์ เ ครสหรื อ สลั ด น�้ ำ ขึ้ น งามเต็ ม กระถางหน้ า บ้ า น วอเตอร์เครสเป็นผักที่ก�ำลังได้รับความนิยม เพราะอุดมไปด้วย สรรพคุ ณ หลายอย่ า ง เช่ น ลดระดั บ ไขมั น ในเลื อ ด ต่ อ ต้ า น อนุมูลอิสระ ฯลฯ ปลูกง่าย โตวัย กินสดหรือใช้ประกอบอาหารได้ หลายเมนู มะนาวขนาดต้ นไซส์ มิ นิ แต่ ลู ก ดกจนกิ่ ง โน้ ม แทบระพื้ น พริกขี้หนูสวน พริกกะเหรี่ยง ให้ผลผลิตจนเก็บขายไม่ทัน จนต้อง น�ำมาตากแดดจ�ำหน่ายเป็นพริกแห้ง คุณปราโมทย์บอกว่า พยายาม ใช้พื้นที่เล็กๆ ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด รดด้วยน�้ำหมักชีวภาพ จากเปลือกไข่ เก็บใบไม้แห้งตามที่ต่างๆ มาห่มดิน หมักเป็นปุ๋ย ถัดไปไม่ไกล คุณบุญยืน เชื้อชาติ หรือ พี่แดง ก�ำลังรดน�้ำผักและ เห็ดนางฟ้าภูฏานในโรงเห็ดเล็กๆ พี่แดงบอกว่า เก็บเห็ดขายได้ ทุกวัน ก้อนเชื้อเห็ดที่หมดอายุยังน�ำมาท�ำเป็นปุ๋ย ใช้ประโยชน์ ได้อีกต่อ ทุกวันที่ ๒๘ ของเดือน พืช ผักต่างๆ จะถูกน�ำไปขายที่ ตลาดนัดชุมชน บริเวณโรงไฟฟ้าพระนครใต้ ต่อยอดจากปลูก เพื่ อ บริ โ ภคในครั ว เรื อ น จนเป็ น ที่ รู ้ จั ก ของกลุ ่ ม คนรั ก สุ ข ภาพ ที่ โ ทรศั พ ท์ ม าสั่ง เดิ นทางเข้ ามาซื้ อ พู ดคุ ย แลกเปลี่ ย นความรู ้ การรวมกลุ่มเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร ปลอดภัยต่อร่างกาย เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันและกันระหว่างเพื่อนบ้าน จนผลผลิตจากวิสาหกิจ ชุมชนบางโปรงอนุรักษ์ถิ่นได้รับความไว้วางใจให้น�ำไปจ�ำหน่ายใน สถานที่และงานต่างๆ ที่หน่วยงานในจังหวัดสมุทรปราการจัดขึ้น ได้ทั้งบริโภคและจ�ำหน่าย ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ น�ำมาซึ่งความสุข อย่างยั่งยืนให้กับชุมชนบ้านปลายคลอง
80
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
Proceeding to the house of Pramot Thongna and Nongnut Wongkhiao, the couple grows watercress in plant pots in front. Rich with nutritious properties, this recently popular vegetable helps lower the fat level in the blood and fight free radicals. It grows fast and can be eaten fresh or featured on various menus. Besides miniature lime trees, bird’s eyes and Karen chilis are wonderfully productive and sundried for sale. Pramot maximizes his small space, watering the plants with egg-shell-fermented bio-extracts, gathering dry leaves to make soil blankets or fertilizers. Nearby, Bunyuen Chueachat or Daeng, waters the vegetables and Bhutanese mushrooms that can be collected for daily sale. Even expired spawns become fertilizers. On the 28th of every month, plants and vegetables are distributed at the community flea market, South Bangkok Power Plant. Health enthusiasts call or walk in to
order or exchange knowledge. Dedicated to food stability, safety, and sharing among neighbors, Bang Prong Local Conservation Community Enterprise products are trusted to distribute at various events by Samutprakan provincial agencies. Together with household consumption and distribution, organic farming helps reduce expenditure, increase income, and bring sustainable happiness to the community. วิสาหกิจชุมชนบางโปรงอนุรักษ์ถิ่น เลขที่ ๗๓ หมู่ ๔ ตำ�บลบางโปรง อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๙๒๒๓ ๒๘๔๒ Bang Prong Local Conservation Community Enterprise 73 Moo 4, Bang Prong Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Tel. 08 9223 2842 December 2020 - January 2021
81
COVER JOURNEY
ศูนย์เกษตรกลางเมืองบางพลี แหล่งอาหารไร้เคมี และแบ่งปันการเรียนรู้
An agricultural center amidst Bang Phli and a source of chemical-free food and knowledge sharing
82
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
December 2020 - January 2021
83
สุดซอยร่มประดู่ ๒ ของบางพลี เป็นพื้นที่ว่างกว้างใหญ่ ถึง ๑๑ ไร่ เจ้าของทีผ่ นื นีม้ อบหมายให้ ผูใ้ หญ่ศกั ดิพ์ ฒ ั รักษาชล ได้ใช้เป็นพื้นที่เกษตรกลางสังคมเมือง เพื่อแบ่งปันความรู้จาก ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านคลองบางพลี ซึ่งตั้งขึ้นตามรอย วิถเี กษตรของในหลวงรัชกาลที่ ๙ บ้านคลองบางพลีในวันนี้ จึงสะพรัง่ ด้วยพืชพรรณกินได้ มีปลามีกบในน�้ำ มีเป็ดส�ำหรับเลี้ยงไว้กินไข่ และมีภมู ปิ ญ ั ญาทีถ่ า่ ยทอดให้ผสู้ นใจได้เสมอ โครงการนี้ผู้ใหญ่ศักดิ์พัฒและชาวบ้านร่วมกันพัฒนาให้ พื้ น ที่ ว ่ า งเป็ น ปอดของชุ ม ชน โดยมี ง บประมาณจากหน่ ว ยงาน การปกครองที่ ผู ้ ใ หญ่ จั ด สรรมาใช้ พั ฒ นาเพื่ อ ส่ ว นรวม ให้ เ ป็ น ศูนย์การเรียนรู้ที่ทุกคนจะได้รับประโยชน์ถ้วนหน้า ไม่ว่าผู้เฒ่าผู้แก่ ปราชญ์ชาวบ้านที่ต้องการถ่ายทอดความรู้ คนภายนอกที่ต้องการ เรียนรู้ นักเรียน นักศึกษา หรือแม้แต่เด็กๆ ที่ผ่านค่ายบ�ำบัด ยาเสพติดแล้ว ผู้ใหญ่ของชุมชนก็โอบกอดและให้โอกาสโดยรับมา ฝึกงาน สร้างความรู้ สร้างอาชีพ ไม่ปล่อยให้เดินออกไปอย่างเคว้งคว้าง
At the end of Soi Rom Pradu 2, Bang Phli is a 17,600-sqm land area, offered to Village Chief Sakphat Raksachon as an agricultural learning space among the city. Ban Khlong Bang Phli Sufficiency Economy Learning Center was founded following King Rama IX’s royal guideline, making the local plentiful with edible plants, fishes, frogs, egg-ducks, and folk wisdom to offer to interested persons. Sakphat and villagers developed the space into the community’s lungs, with the budget allocation by the governing agency. This Center benefits every party, including the elder local sages wishing to transmit knowledge, non-locals, and students seeking to learn. Community elders also embrace children who have completed drug abuse treatment, presenting them with an intern opportunity to build knowledge, skills, and career, not letting them wander purposelessly.
เป็ดพันธุ์ปากน้ำ�เลี้ยงธรรมชาติ Naturally raised Paknam egg-ducks
คุณตาสมหมาย กำ�ลังใช้มือสาธิตการฟันต้นกล้วย เพื่อทำ�น้ำ�หมัก Sommai's hand-demonstrating how to cut a banana tree to make fermented bio-extract water
84
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
December 2020 - January 2021
85
ความสมบูรณ์รอบสวนบนดิน และในบ่อบัวมีการเลี้ยงกบเป็นอาหารด้วย The abundance around the farm and frog-raising in the lotus pond for food
86
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
คุณตาสมหมาย สมิตตสุวรรณ ปราชญ์ชาวบ้านในวัย ๗๔ ปี เป็นจิตอาสามาดูแลต้นไม้ บ่อปลา และงานจิปาถะ รวมถึงคอย เตรียมดินและท�ำน�้ำหมักเพื่อใช้เองในงานเกษตรของศูนย์เรียนรู้ฯ และยังเตรียมไว้แบ่งปันพร้อมท�ำการสอนให้แก่ผสู้ นใจเรือ่ งเกษตรเมือง ทัง้ การท�ำเกษตรพืน้ ฐาน เรือ่ งดิน ปุย๋ และการปลูกต้นไม้ เรือ่ งดินนี้ เป็นพื้นฐานของการท�ำเกษตรที่ดี การให้ความรู้จึงเริ่มต้นที่ดิน ว่าดินที่ดีนั้นเป็นแบบไหน ต้องผสมปุ๋ยมูลไส้เดือนอย่างไรเพื่อปรุง ให้ดนิ ดี อีกปัจจัยส�ำคัญในการท�ำเกษตร คือ การท�ำน�ำ้ หมัก น�ำ้ หมัก จากหยวกกล้วยทีส่ วนอินทรียบ์ างพลีใช้วตั ถุดบิ รอบๆ สวน ทีน่ สี่ อนให้ ทุกคนลงมือท�ำได้เอง และยังถ่ายทอดความรูเ้ รือ่ งการเลีย้ งเป็ดเทศ พั น ธุ ์ ป ากน�้ ำ ที่ ใ ห้ ไ ข่ คุ ณ ภาพดี แ ละให้ ไ ข่ ไ ด้ น าน การเลี้ ย งกบ การเลีย้ งปลา ซึง่ มีทงั้ ปลาสลิด ปลาสวาย และปลายีส่ ก ทีไ่ ด้พนั ธุ์ มาจากกรมประมง ผู้ใหญ่ศักดิ์พัฒพาเราเดินสวนรอบๆ บึง ชี้ให้เราดูต้นไม้ และพืชผักแต่ละต้น พร้อมเล่าเรื่องราวของเกือบทุกสายพันธุ์ว่า มีที่มาที่ไปอย่างไร ผักขึ้นชื่อของสวนอย่างวอเตอร์เครส ที่นี่เขา ปลูกผักได้งามนัก ด้วยเคล็ดลับคือปลูกบนกระเบื้องซึ่งรื้อมาจาก สิ่งก่อสร้าง ผู้ใหญ่และทีมน�ำมาท�ำเป็นแปลงผักโดยใช้ฟางจาก คอกม้าของชาวบ้านหมู่ที่ ๗ ซึ่งที่นั่นมีคอกม้าแข่งอยู่ และได้ขี้ม้า มาเป็นปุ๋ยธรรมชาติ รากของผักวอเตอร์เครสนั้นไม่ลึก จึงปลูกได้ โดยไม่ตอ้ งใช้ดนิ เลย แถมยังงอกงามดีเสียด้วย Grandfather Sommai Samittasuwan, a 74-year old local sage, volunteers to take care of the plants, fish ponds, and miscellaneous tasks, including preparing soil and fermented bio-extract water for internal use at the Learning Center and for sharing while teaching students interested in urban farming and the farming foundation. The lesson begins with what makes the soil good and how earthworm casting fertilizer should be blended. Then, how to make fermented bio-extract water from banana trunks and raw ingredients around this organic farm. There are also techniques of Paknam egg-duck raising to supply quality eggs for a long time, frog farming and fish farming including snakeskin gourami, striped catfish, and seven-stripped carp, from the Department of Fisheries. Chief Sakphat showed us around the farm, explaining the background of various plant species. The famous vegetable here is the watercress. The secret is to grow on wall tiles, removed during construction. They are built into vegetable plots and covered with straw from local staples in Moo 7 with a horse racing track. With horse manure as a natural fertilizer and because their roots do not grow deep, the watercress grows amazingly without soil. December 2020 - January 2021
87
ต้นคะน้าเม็กซิกนั ขึน้ อยูร่ อบๆ บึง และยังมีมะนาว มะละกอ ต้นกล้วย มะรุม มะม่วงน�ำ้ ดอกไม้เบอร์ ๔ อันเป็นสายพันธุท์ ดี่ ที สี่ ดุ ทุกอย่างปลูกจากเมล็ด จึงท�ำให้ต้นไม้แข็งแรงไม่มีโรค และดูแล อย่างไร้สารเคมีทั้งหมด จากการเดินเท้ารอบบึง เรายังสามารถ ลงเรือพายเก็บฝักบัวและผักกระเฉด แล้วยังจับปลาในบึงได้อีก ไม่น่าเชื่อว่าแค่ส�ำรวจบึงเพียง ๑ รอบ เราสามารถเก็บอาหาร มาท�ำกินได้อมิ่ ครบทัง้ ๓ มือ้ เลยทีเดียว ทั้งผู้ใหญ่ศักดิ์พัฒและปราชญ์ชาวบ้านที่นี่ยินดีถ่ายทอด ความรูแ้ ละความอร่อยให้ผทู้ มี่ าเยีย่ มเยือน ด้วยการสอนผ่านกิจกรรม ที่ น ่ า สนใจ และกิ น อาหารจากฝี มื อ พ่ อ ครั ว มื อ หนึ่ ง ของชุ ม ชน ซึ่งปรุงจากวัตถุดิบในแปลงเกษตรไร้สารนี้ เพียงแค่เลือกกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นการท�ำปุ๋ย น�้ำหมัก การเพาะต้นไม้ พายเรือเก็บฝักบัว เหวีย่ งแหจับปลา เพือ่ เอามาท�ำอาหารกินด้วยกัน จึงเป็นการเรียนรู้ ที่ ไ ด้ ค วามอร่ อ ยไปในตั ว และเราจะไม่ ไ ด้ ก ลั บ บ้ า นมื อ เปล่ า อย่างแน่นอน เพราะเราสามารถน�ำความรู้ท่ีได้กลับไปต่อยอด หรื อ ง่ า ยกว่ า นั้ น คื อ ซื้ อ กิ่ ง พั น ธุ ์ พื ช สวนกลั บ ไปปลู ก เองที่ บ ้ า นได้ และในอนาคตคงได้ ร ่ ว มใช้ ปุ ๋ ย ฟางขี้ ม ้ า อั ด เม็ ด เหมื อ นที่ นี่ ด ้ ว ย เพราะทางศูนย์เรียนรู้ฯ มีโครงการจะผลิตปุ๋ยอัดเม็ดจ�ำหน่าย ให้คนน�ำกลับไปใช้ เพื่อที่คนเมืองจะได้กินดีอยู่ดีที่บ้านได้อย่างที่ ผูใ้ หญ่ศกั ดิพ์ ฒ ั ตัง้ ใจ
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านคลองบางพลี ซอยร่มประดู่ ๒ หมู่ ๑๒ ตำ�บลบางพลีใหญ่ อำ�เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๙๗๖๘ ๘๙๕๑
88
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
Surrounding the pond are plants of Chaya, lime, papaya, banana, drumstick, Nam Dok Mai Mango No.4, all grown from seeds to ensure they grow healthily, and completely free of chemicals. Aside from strolling, we also paddled a boat to collect lotus pods, water mimosa, and fish in the pond. Amazingly, with a round of the survey, we had enough ingredients for three full meals. Chief Sakphat and local sages are more than happy to share the knowledge via interesting activities and deliciousness by the community’s top chef, prepared with all chemical-free farm ingredients. Here, it is optional to study how to make fertilizer, fermented bio-extract water, tree propagation, paddle a boat to grab lotus pods, or fish to cook and enjoy together. We knew we would never go home empty-handed. Besides knowledge, we could buy scions to grow at home. The Learning Center also plans to produce horse manure with straw pellets for sales in the future so the urban dwellers can eat and live well as Chief Sakphat had hoped.
Ban Khlong Bang Phli Sufficiency Economy Learning Center Soi Rom Pradu 2, Moo 12, Bang Phli Yai Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan Tel. 08 9768 8951
December 2020 - January 2021
89
Lifestyle . .
BE OUR GUEST
90
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
OPEN KITCHEN
LOCAL BEST
December 2020 - January 2021
91
BE OUR GUEST
ความใฝ่รู้ที่ไม่มีวันหมดของ
ชิษณุพงศ์ สินชัยวราธรณ์ ผู้ใหญ่บ้านเจ้าของรางวัลแหนบทองค�ำ คนแรกของต�ำบลบางปลา
The Endless Thirst for Knowledge of
Chitsanuphong Sinchaiwarathon Bang Pla District’s first village headman with Naep Thong Kham Award
92
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
“แหนบทองค�ำ” คือชือ่ รางวัลทีม่ อบให้กบั ก�ำนันหรือผูใ้ หญ่บา้ น ที่ได้รับคัดเลือกว่าเป็นผู้สร้างผลงานอันโดดเด่นและประพฤติตัว เป็น ต้ น แบบที่ ดี ง ามอย่างเสมอต้น เสมอปลายทั้ง เบื้ อ งหน้ า และ เบื้องหลังให้กับชุมชนของตน เรามีโอกาสได้คุยกับ ผู้ใหญ่เดียร์ หรือ คุณชิษณุพงศ์ สินชัยวราธรณ์ ซึง่ เป็นเจ้าของรางวัลแหนบทอง คนแรกของต�ำบลบางปลา ที่ไม่รู้ว่าผู้ชายคนนี้เอาเรี่ยวแรงมากมาย มาจากไหน ถึงได้สร้างสรรค์โครงการใหม่ๆ เพือ่ พัฒนาการท่องเทีย่ ว ให้กับชุมชนบางปลาอยู่ตลอดเวลาไม่มีวันหยุด เช่น โครงการบวร ออนทัวร์ ชุมชนคุณธรรมต้นแบบ กิจกรรมท่องเที่ยวกินอาหาร ในเรือ ภายใต้โครงการคลองสวยน�ำ้ ใส ผูใ้ หญ่เดียร์เป็นคนจากหมู่ ๑ ต�ำบลบางปลา ซึง่ เป็นศูนย์กลาง ของการพัฒนาชุมชนทัง้ หมดในต�ำบลบางปลา ในอดีต ผูใ้ หญ่เดียร์ ก็เหมือนเด็กๆ ทัว่ ไปในชุมชน ทีว่ งิ่ เล่นตามท้องไร่ทอ้ งนา เติบโตมา กับสภาพแวดล้อมและความเจริญของบางปลาที่ค่อยๆ เปลี่ยนไป จากดินลูกรังสีแดงฝุน่ คลุง้ สูเ่ ส้นทางคมนาคมพืน้ ลาดยางมะตอย “จ�ำภาพตอนเด็กๆ ได้แม่นเลยครับ ผมอยูก่ บั ยาย สมัยนักเรียน จะถือไก่ย่างเสียบไม้เดินลัดคันคลองจากโรงเรียนวัดราษฎร์บูรณะ กลับมาทีบ่ า้ น เย็นวันศุกร์ถงึ วันอาทิตย์ตอ้ งไปช่วยพ่อแม่ทำ� งาน สมัยนัน้ พ่อเราเป็นคนซ่อมเรือหางยาว” คุณทวดของผู้ใหญ่เดียร์เคยเป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ ๑ ต�ำบล บางปลา คุโณปการต่างๆ ทีค่ ณ ุ ทวดเคยสร้างไว้ให้กบั ชุมชนบางปลา ไม่ว่าจะการสร้างเมรุเผาศพให้กับวัดบางปลา การสร้างกุฏิอดีต ท่านเจ้าอาวาส ดูจะเป็นเหตุผลหนึ่งที่ท�ำให้ผู้ใหญ่เดียร์เองได้รับ ต้นแบบในการด�ำเนินชีวติ กับความหมายของการมีชวี ติ อยูเ่ พือ่ ผูอ้ นื่ มาใช้โดยไม่รู้ตัว รวมไปถึงคุณพ่อของผู้ใหญ่เดียร์ก็เคยเป็นสมาชิก สภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลบางปลา ส่วนคุณปู่เป็นแพทย์ประจ�ำ ต�ำบล การคลุกคลีกบั หน้าทีก่ ารงานของผูห้ ลักผูใ้ หญ่ซงึ่ เป็นสมาชิก ครอบครัว ท�ำให้เด็กชายเดียร์ในเวลานัน้ เติบโตมาพร้อมกับความสนใจ ในเรือ่ งราวของการพัฒนาชุมชน รวมถึงผูช้ ายคนนีย้ งั สร้างตัวด้วยการ เปิดอูซ่ อ่ มรถ เป็นเถ้าแก่นอ้ ยตัง้ แต่อายุยงั ไม่ทนั จะ ๒๐ ดี
“Naep Thong Kham” (Gold Insignia) is an award granted to selected sub-district or village headmen with outstanding performances and consistent practices as an exquisite role model for the community. We had a chance to talk to Village Headman Dear or Chitsanuphong Sinchaiwarathon, the first winner of the Naep Thong Kham Award of Bang Pla Sub-District, who always enthusiastically initiating new projects to improve Bang Pla Community Tourism. Village Headman Dear came from Moo 1, Bang Pla Sub-District, the center of all Bang Pla Sub-District’s community development. Just like other kids, he grew up
สิ่งที่ผมตั้งใจคือเราอยากมีชีวิตอยู่ด้วยการสร้างคุณค่าในการทำ� เพื่อส่วนรวมให้มากที่สุด อยากให้แผ่นดินนี้ได้จารึกไว้ว่าเราคือ คนหนึ่งที่ทำ�ให้การท่องเที่ยวของชุมชนบางปลามันเกิดขึ้นได้จริง โดยเฉพาะบางกะอี่ที่สมัยก่อนไม่มีนักท่องเที่ยวเหลียวแลเลย หนึ่งในความโชคดีของผม คือเรามีครูบาอาจารย์หลายท่านที่คอย เข้ามาช่วยกันคนละไม้คนละมือ เรามีทฤษฎีและหลักปฏิบัติของ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ เป็นแบบอย่างและเป็นแรงบันดาลใจสูงสุด ผมจะมีประโยคหนึ่งที่บอกตัวเองและพึงระลึกอยู่เสมอคือประโยค ที่ว่า คุณค่าอันเป็นที่สุดของตัวเจ้า December 2020 - January 2021
93
“ผมใช้เวลาไม่เหมือนเด็กวัยรุน่ ทัว่ ไป ท�ำแต่งาน จนวันหนึง่ แม่ปว่ ยเป็นโรคไตเรือ้ รัง ต้องใช้เงินในการรักษาเยอะมาก เวลานัน้ ผมเป็นหัวเรือหลักทีต่ อ้ งรับผิดชอบ ในยามทีท่ กุ คนนอน ผมยังต้อง ขันนอตอยู่ใต้รถขยะ น�้ำไหลหยดติ๋งๆ เหม็นไปหมด กลิ่นขยะโชย ตอนนั้นคือท�ำทุกอย่าง หาเงินทุกทางที่จะน�ำไปประคองชีวิตแม่ ให้ยาวนานที่สุด ๘ ปีใช้เงินรักษาแม่ไปทั้งหมด ๒ ล้านกว่าบาท รวมกู้ ดอกเบี้ยเท่าไหร่ผมยอมจ่ายหมด เป็นช่วงชีวิตที่ล�ำบาก แต่ยอมแพ้ไม่ได้ ทักษะการช่างทัง้ หมดของผมมีพอ่ เป็นผูถ้ า่ ยทอดให้ จนวันหนึ่งเรามีโอกาสได้ไปท�ำงานในสังคมรถแข่ง ได้เดินทางไป ต่างประเทศ น�ำไปสู่จุดของการได้เป็นคนเข้าไปดูแลรถแข่งทั่วทั้ง เอเชีย เราได้ประสบการณ์ชวี ติ จากตรงนัน้ มาเยอะมาก”
My determination is to live by creatingas much value for the public as possible. I want to be marked as a person who made Bang Pla Community Tourism happen, especially Bang Ka-Ee that no tourist took interest in. I was fortunate to receive help from various teachers with His Majesty King Rama IX’s theories and practices as my greatest role model and inspiration. I keep reminding myself to bring out the greatest value of myself.
running in the field as Bang Pla’s environment and civilization gradually evolved from red dirt roads into asphalt roads. “I clearly remember myself as a student walking home from Wat Ratburana School always with some grilled chicken. Every Friday to Sunday, I helped out my father, a long-tailed boat repairman, at work.” Naturally, he absorbed the meaningful living for others from his family members. His great grandfather was also a village headman of Moo 1, Bang Pla Sub-District, who contributed dearly to the community, such as building a crematorium and a monk’s dwelling for the former abbot at Wat Bang Pla. Moreover, his grandfather was a Sub-District doctor and his father was a member of Bang Pla Sub-District Administrative Organization. Long mingled and bonded with their professions, young Dear grew an interest in community development, started a garage, and became an entrepreneur before turning 20 years old. “Unlike other teenagers, I was always working. When my mom had chronic kidney disease, the treatment required a lot of money. Being family chief at the time, when everyone slept, I still screwed the bolts under the garbage truck with smelly water dripping all over. I did everything I could to prolong her life. Over 8 years, it cost over two million. I was willing to pay for all the interests. It was a tough time but I couldn’t give up. All my mechanic skills were inherited from my dad. One day, I had a chance to work in the car racing industry, travel abroad, and eventually supervise car racing across Asia. I gained a lot of experience there.” 94
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
ด้วยความเป็นคนใฝ่รู้ วันหนึ่งผู้ใหญ่เดียร์จึงมีโอกาสได้เข้า มารับต�ำแหน่งเป็นผูใ้ หญ่บา้ นต�ำบลบางปลา ถูกเชิญไปเป็นวิทยากร ตามงานส�ำคัญต่างๆ รวมไปถึงเป็นประธานเครือข่ายกองทุนแม่ ของแผ่นดิน จังหวัดสมุทรปราการ ยาวนานติดต่อกันถึง ๘ ปี ผูใ้ หญ่เดียร์ใช้โอกาสเหล่านีใ้ นการฝึกปรือศักยภาพการเป็นวิทยากร ของตัวเอง “สิ่งที่ผมตั้งใจคือเราอยากมีชีวิตอยู่ด้วยการสร้างคุณค่า ในการท�ำเพือ่ ส่วนรวมให้มากทีส่ ดุ อยากให้แผ่นดินนีไ้ ด้จารึกไว้วา่ เรา คือคนหนึ่งที่ท�ำให้การท่องเที่ยวของชุมชนบางปลามันเกิดขึ้นได้จริง โดยเฉพาะบางกะอีท่ สี่ มัยก่อนไม่มนี กั ท่องเทีย่ วเหลียวแลเลย หนึง่ ใน ความโชคดีของผม คือเรามีครูบาอาจารย์หลายท่านที่คอยเข้ามา ช่วยกันคนละไม้คนละมือ เรามีทฤษฎีและหลักปฏิบัติของในหลวง รัชกาลที่ ๙ เป็นแบบอย่างและเป็นแรงบันดาลใจสูงสุด ผมจะมี ประโยคหนึ่งที่บอกตัวเองและพึงระลึกอยู่เสมอคือประโยคที่ว่า คุณค่าอันเป็นทีส่ ดุ ของตัวเจ้า” ในวันที่เราสนทนากันนั้น ผู้ใหญ่เดียร์ก�ำลังสนุกอยู่กับการ ตามหาอาหาร วัฒนธรรม ประเพณีทอ้ งถิน่ ซึง่ เป็นอัตลักษณ์ดงั้ เดิม ที่ซ่อนอยู่ในชุมชนบางปลา เพื่อหยิบมาชูโรงน�ำเสนอในรูปแบบของ การท่องเที่ยวชุมชน และรวบรวมภาคีเครือข่ายมาช่วยกันพัฒนา ชุมชนบางปลาอันเป็นทีร่ กั ของพวกเขา ให้กลายเป็นแหล่งท่องเทีย่ ว ส�ำคัญของจังหวัดสมุทรปราการ
Being a keen learner has led him to be appointed as the Village Headman of Bang Pla Sub-District, invited as lecturers at major events, and trusted as the president of the Mother of the Land Fund Network of Samutprakan for eight consecutive years. He also uses these opportunities to enhance his lecturing potential. “My determination is to live by creating as much value for the public as possible. I want to be marked as a person who made Bang Pla Community Tourism happen, especially Bang Ka-Ee that no tourist took interest in. I was fortunate to receive help from various teachers with His Majesty King Rama IX’s theories and practices as my greatest role model and inspiration. I keep reminding myself to bring out the greatest value of myself.” That day, Headman Dear was having fun searching for folk recipes and culture of traditional identity hidden in Bang Pla Community, to be highlighted in Community Tourism format presentation, and was assembling network members to collectively develop their beloved community into a significant tourist destination of Samutprakan. December 2020 - January 2021
95
Open Kitchen
แกงกระเจี๊ยบ อาหารคู่ครัวชาวรามัญ
Okra Curry A common Mon recipe
เสียงโขลกเครื่องแกงจากในครัว ดังแว่วมาถึงหน้าบ้าน คุณทวี รุง่ รัศมี ภายในชุมชนมอญทรงคนอง ท�ำให้นกึ ถึงค�ำบอกเล่า ของคนเฒ่าคนแก่ที่ว่า ผู้หญิงในสมัยก่อนจะถูกสอนให้รับผิดชอบ งานบ้านงานเรือนตั้งแต่อายุยังน้อย เพราะงานนอกบ้านเป็นหน้าที่ ของผู้ชาย เสียงต�ำน�้ำพริกเป็นเครื่องชี้วัดความเป็นแม่ศรีเรือน ในเบื้องต้น บ้านไหนดังถี่เป็นจังหวะสม�่ำเสมอ ลูกสาวบ้านนั้น มักถูกหมายปองจับจองเป็นสะใภ้ ส่วนบ้านที่เสียงเบา เนิบช้า มักถูกมองข้ามแม้จะมีรปู โฉมงามเพียงใด โหง่ ย วิ น สาวมอญจากเมื อ งเมี ย วดี ที่ ข ้ า มฝั ่ ง จากพม่ า อย่างถูกต้อง เข้ามาท�ำงานเป็นแม่บ้านอยู่ในหมู่บ้านทรงคนอง มานานหลายปี โขลกกระเทียม หอมแดง พริกแห้ง ส�ำหรับท�ำ เครือ่ งแกงกระเจีย๊ บจนแหลกเป็นเนือ้ เดียวกัน ตักขึน้ มาพักไว้ในถ้วย หยิบใบกระเจี๊ยบแดงที่เด็ดเตรียมไว้ใส่หม้อใบย่อม ยกขึ้นเตา โดยไม่ต้องเติมน�้ำ เมื่อโดนความร้อนใช้เวลาไม่นานก็เริ่มสลด และค่อยๆ คลายน�้ำออกมาจนสุกนิ่ม หันไปหยิบฝักกระเจี๊ยบเขียว หรือกระเจี๊ยบมอญที่ล้างแล้วน�ำไปผึ่งจนสะเด็ดน�้ำ มาหั่นเฉียง เป็นท่อนๆ เสร็จแล้วจึงวางมือหันไปเด็ดผักชีสด วัตถุดิบอีกอย่าง เตรี ย มพร้ อ มปรุ ง เป็ น แกงกระเจี๊ ย บต� ำ รั บ มอญ ซึ่ ง เธอบอกว่ า สูตรของมอญทรงคนองเหมือนกับเมืองเมียวดีบา้ นของเธอ 96 ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
The curry-paste smashing sound at Thawee Rungratsamee’s house in Song Khanong Mon Community reminded us of an old story. Young ladies in the past were taught to take charge of the chores, and their curry-paste smashing sound was a primary indicator of a good homemaker. With a loud, frequent, and consistent rhythm, the more preferable they become as a daughter-in-law while mild and slow smashers were often overlooked despite their beauty. Ngoiwin, a young Mon lady from Myawaddy, who legally crossed the Burmese border to work as a housekeeper in Song Khanong Mon Village for years, nicely smashed garlic, shallot, and dried chili to prepare the paste for Okra Curry. She added red okra leaves into a small pot over the stove without any water. Soon, it released the water, was cooked and softened. Then, she diagonally sliced the green okra (Mon okra) pods and picked fresh coriander leaves, another raw ingredient for the traditional Mon Okra Curry recipe of Song Khanong Mon, which she insisted was identical with her hometown.
แกงกระเจีย๊ บหน้าตาชวนชิม เมนูคคู่ รัวของชาวมอญทรงคนอง Okra Curry, an appetizing common dish of Song Khanong Mon people December 2020 - January 2021
97
98
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
ตัง้ หม้อ ใส่นำ �้ ตัง้ ไฟรอจนเดือด น�ำเครือ่ งแกงลงไปละลาย คนให้ เ ข้ า กั น เติ ม กะปิ ใ นปริ ม าณพอเหมาะ คนปรุ ง บอกว่ า แกงกระเจี๊ยบรสจะออกเปรี้ยว เค็ม เผ็ดนิดๆ ปกติจะต�ำกะปิ ไปพร้อมกับเครือ่ งแกงอืน่ ๆ แต่บางบ้านอาจใส่ตามหลัง แล้วแต่ครัวนัน้ ชอบสูตรไหน กะปิจะช่วยตัดรสเปรีย้ วของใบกระเจีย๊ บแดง และเพิม่ กลิ่นหอมชวนหิวให้กับน�้ำแกง หลังจากน�้ำเดือดอีกรอบจึงใส่ฝัก กระเจี๊ยบเขียว รอจนเริ่มสุกจึงหยิบใบกระเจี๊ยบตามลงไป ปรุงรส ด้วยเกลือ ปิดท้ายด้วยกุง้ ขาว ผักชี แล้วปิดเตา แกงกระเจี๊ยบเป็นเมนูคู่ครัวชาวมอญมาแต่โบร�่ำโบราณ โดยเรียกตามวัตถุดบิ หลัก คือ ใบกระเจีย๊ บแดง หรือ กระเจีย๊ บเปรีย้ ว ทีค่ นไทยนิยมน�ำผลมาต้มเป็นน�ำ้ กระเจีย๊ บดืม่ ภาษามอญออกเสียงว่า “แกะเจ่ บ ” หรื อ “ฮะเจ่ บ ” มั ก น� ำ มาแกงรวมกั บ “กระต๊ า ด” หรือ กระเจี๊ยบเขียว ซึ่งมีชื่อเรียกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น เช่น กระเจี๊ยบมอญ มะเขือทวาย ฯลฯ บางบ้านอาจจะเพิ่มผักชนิดอื่น เข้าไปด้วย อย่าง ดอกแค ถัว่ ฝักยาว ฯลฯ เช่นเดียวกับแกงส้มของ คนไทย “แกงชนิดนีไ้ ม่นยิ มใส่กงุ้ เยอะ เพราะกลิน่ กุง้ จะไปกลบกลิน่ ผัก และน�ำ้ แกง เราจะใส่กงุ้ ตามด้วยผักชี แล้วปิดแก๊สหรือยกลงจากเตา ทันที เหมือนลวกให้สะดุง้ ไฟ เพือ่ ให้เนือ้ กุง้ ยังคงความกรอบ ถ้าต้มต่อ และโดนความร้อนนานเกินไปจะท�ำให้เนือ้ กุง้ แข็ง แกงกระเจีย๊ บเป็น อาหารประเภทแกงส้ม จึงนิยมกินคูก่ บั ปลาทอด โดยเฉพาะปลาวง ซึง่ น�ำปลากระดีห่ ลายๆ ตัวมาตากรวมกันเป็นแผ่นกลมๆ แต่เดีย๋ วนี้ ปลากระดี่ค่อนข้างหายากมาก จึงเปลี่ยนมาเป็นปลาสลิดหรือปลา ชนิดอืน่ แทน”
After boiling the water, blend in some curry paste, and shrimp paste. Okra Curry usually tastes a bit sour, salty, and slightly spicy. Either smashing shrimp paste with curry paste or adding it later, the shrimp paste cuts red okra leaves' sourness and enhances the aroma. After another boil, add green okra pods, follow with okra leaves, season with some salt, add white shrimps, then, coriander leaves, and turn off the heat. Okra Curry is an ancient Mon recipe. The name derived from the main raw ingredient, red okra leaves or the sour okra that Thais love boiling their fruits with water for drinking. In Mon, “Kae Jep” or “Ha Jep” is often cooked with “Kra tat” (green okras) in curry. The name varies in each local, including Mon Okra and Tavoy Eggplant. Some may also add vegetables like Katuri flowers and long beans. “This curry does not require many shrimps, or it will overwhelm the vegetable and curry aroma. Add shrimps, then, coriander, and immediately turn off the heat to preserve the meat crispiness. Similar to Thai Hot and Sour Soup, the curry was originally paired with crispy gourami in a circular shape, but, due to its current rareness, it is enjoyed with crispy snakeskin gourami or other fish instead.” กระเจีย๊ บเขียว ภาษามอญเรียกว่า "กระต๊าด Green Okra is called “Kra Tat” in Mon language.
หมู่บ้านมอญทรงคนอง ซอยเพชรหึงษ์ ๒ ถนนเพชรหึงษ์ ตำ�บลทรงคนอง อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๖๕๕๗ ๒๒๙๕ (คุณทวี รุ่งรัศมี) Song Khanong Mon Village Soi Phetchahueng 2, Phetchahueng Road, Song Khanong Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Tel. 08 6557 2295 (Thawee Rungratsamee) December 2020 - January 2021
99
LOCAL BEST
100
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
ฬ จุฬา ว่าวไทยโบราณ งานหัตถกรรมฝีมือของชาวบางเสาธง
Traditional Thai Chula Kite Handicrafts of Bang Saothong’s locals
กีฬาว่าวไทยก�ำเนิดขึน้ มาตัง้ แต่สมัยกรุงสุโขทัย โดยในสมัยก่อน การเล่นว่าวจะเป็นทีน่ ยิ มกันมากในทุกกลุม่ ชน ตัง้ แต่พระมหากษัตริย์ ในวังไปจนถึงกลุ่มชาวบ้านทั่วไป แต่ก็ต้องยอมรับว่าด้วยความ เปลี่ยนแปลงของโลกอย่างรวดเร็ว ทั้งนวัตกรรม เทคโนโลยีที่ ก้าวไกล และระบบทุนนิยมที่ให้คุณค่ากับเรื่องของวัตถุมากกว่า ความละเอียดอ่อนของงานท�ำมือ กีฬาว่าวไทยในปัจจุบันจึงมีแต่จะ ค่อยๆ หายไป ไม่คอ่ ยถูกยกขึน้ มาพูดถึงสักเท่าไหร่นกั ทีว่ ดั จรเข้ใหญ่ เรามีโอกาสได้คยุ กับ คุณชาติชาย กลิน่ โสภณ ประธานชมรมว่าวจุฬาบางเสาธง คุณชาติชายเล่าว่าก่อนหน้านี้ ว่าวจุฬาได้สูญหายไปจากอ�ำเภอบางเสาธงมานานแล้ว แต่ด้วย ความรักในการเล่นกีฬาประเภทนีแ้ ละตัง้ ใจทีจ่ ะอนุรกั ษ์ศลิ ปะพืน้ บ้าน ส�ำคัญต่างๆ ของบางเสาธงไว้ไม่ให้สญ ู หาย คุณชาติชายจึงได้ทำ� เรือ่ ง จดทะเบี ย นรวบรวมประเพณี แ ละวั ฒ นธรรมส� ำ คั ญ ของอ� ำ เภอ บางเสาธงทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นเรือมาดโบราณ ตะกร้อลอดบ่วง ระนาด และว่าวจุฬา โดยขึน้ ตรงกับกระทรวงวัฒนธรรม “ตอนเด็กๆ ผมเคยเห็นคุณปูค่ ณุ ตาเขาเล่นว่าวจุฬากัน แต่สมัยนัน้ คนแก่เขาจะไม่ยอมให้พวกเด็กๆ อย่างเราเข้าไปใกล้เพราะว่าวจุฬา มันอันตรายมาก ถ้าท�ำมาผิดเหลีย่ มนิดเดียวมันจะควงจะเหวีย่ ง สามารถ จิกลูกตาคนได้เลย ไอ้เราตอนนั้นก็ได้แต่ยืนดูไกลๆ จนพอโตขึ้น ความทรงจ�ำที่เคยเห็นผู้เฒ่าผู้แก่เหล่านั้นนั่งท�ำกันหลังขดหลังแข็ง มันก็ยังอยู่ เราขับเรือตระเวนออกหาว่ายังมีคนแก่ที่ท�ำว่าวจุฬาใน บางเสาธงเหลืออยูบ่ า้ งไหม อยากจะขอให้ชว่ ยสอนท�ำ แต่พอไปถึง บ้านคนเหล่านัน้ ปรากฏว่าเขาเสียชีวิตกันหมดแล้ว แต่สิ่งที่ลกู หลาน ตามบ้านยังคงเก็บไว้คอื ส่วนโครงว่าวจุฬาทีถ่ กู พิงแอบไว้ตามยุง้ ข้าว” หลังจากที่คุณชาติชายได้โครงว่าวจุฬาที่เก็บมาจากตามบ้าน ของชาวบ้านริมคลองแล้ว คุณชาติชายก็จดั การวัดโครงว่าวเพือ่ ค้นหา สัดส่วนที่ถูกต้องและเริ่มทดลองท�ำว่าวจุฬาขึ้นใหม่โดยใช้ไม้ไผ่รวก ธรรมดา จากนัน้ ทดลองน�ำไปเล่นจริงและแก้ไขขนาดของแบบไปเรือ่ ยๆ เพื่อให้เป็นขนาดที่สามารถลอยขึ้นฟ้าได้ลู่ลมสวยที่สุด โดยว่าวจุฬา มีทงั้ สิน้ ๓ ทรง คือ ทรงยักษ์ ทรงหนุมาน และทรงมนุษย์
Since the Sukhothai period, the Thai kite-flying sport had been widely popular across all groups of people from the King to common villagers. However, with rapid changes, advanced innovation, technology, and capitalism that places greater value on material matters rather than the handcraft delicacy, Thai kite-flying sport is gradually fading away and rarely spoken of. At Wat Chorakhe Yai, Chatchai Klinsophon, President of Bang Saothong Chula Kite Club, admitted that, previously, Chula kite had long disappeared from the area. With his love for the sport and strong determination to preserve all significant folk arts and cultures of Bang Saothong District, Chatchai gathered the list and directly registered with the Ministry of Culture, including ancient lumber dug-out boat, Hoop Takraw, xylophone, and Chula kite. “I saw grandfathers flying Chula kites since I was a kid but they did not let us near because it could be extremely dangerous. A mistakenly crafted angle could injure one’s eyes.
December 2020 - January 2021
101
“ผมชอบทรงมนุษย์ ทรงมนุษย์เปรียบได้กับรูปร่างของ พระลักษมณ์ พระราม เวลาขึน้ ฟ้าจังหวะการส่ายของเขาทัง้ ส่วนหัว ส่วนเอวมันจะส่ายเหมือนมีชีวิต เหมือนเป็นคนก�ำลังเดินส่ายสวยๆ ขึน้ ฟ้าเป็นเลข ๘ เลยล่ะ เวลาเรายืนมองขึน้ ไป รูปลักษณ์ของเขา จะมีลกั ษณะคล้ายเป็นดาว มันน่าหลงใหลมาก” จากความหลงใหลในว่าวจุฬานี้เอง คุณชาติชายจึงเป็นผู้น�ำ ในการจัดการแข่งขันว่าวจุฬาในอ�ำเภอบางเสาธงขึน้ โดยลึกๆ แล้ว คุณชาติชายก็อยากรูว้ า่ นอกจากคนในบางเสาธงแล้ว ยังมีคนนอกเขต พืน้ ทีอ่ กี ไหมทีน่ ยิ มเล่นว่าวจุฬาเหมือนกัน “ผมประกาศบอกไปทัว่ เลยนะว่าใครมีวา่ วจุฬาขอให้มาเจอกัน มาลองแข่งกันทีท่ งุ่ นาบ้านผมตรงคลองขวางนีแ่ หละ” หลังประกาศออกไปในช่วงปีแรก มีชาวบ้านอ�ำเภอบางเสาธง จ�ำนวนหนึง่ ให้ความสนใจในการเข้าร่วม กระทัง่ จนปีที่ ๒ ก็เริม่ มีคน ทีอ่ ยูน่ อกเขตพืน้ ทีม่ าสมทบ คุณชาติชายใช้วธิ หี างบประมาณในการ จัดงานโดยระดมทุนลงขันกันเองในหมู่สมาชิกผู้รักการเล่นว่าวจุฬา ใครมีเยอะก็ให้เยอะ ใครมีนอ้ ยก็ให้นอ้ ย เพือ่ น�ำเงินทีไ่ ด้ทงั้ หมดมาใช้ ในส่วนของการจัดเลี้ยงอาหารและเป็นเงินรางวัลส�ำหรับผู้ชนะ โดยรางวัลของการแข่งขันว่าวจุฬาแบ่งเป็น ๔ ประเภท ตามขนาดว่าว คือ ขนาด ๗๕ ซม., ๑๐๐ ซม., ๑๕๐ ซม. และ ๒๐๐ ซม. 102 ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
I had to watch it from afar. I grew up remembering the elders relentlessly handcrafting Chula kites, so I sailed the boat around to see if any master Chula kite makers were still in Bang Saothong because I wanted to learn from them. Arriving at their houses, it turned out they had all passed away while their Chula kite frames tucked away in the rice barns.” After collecting Chula kite frames from villagers’ houses by the canal, Chatchai measured them up for the precise ratio and tried recrafting a new one with Ruak bamboo, flying it in the field, and fixing it. He kept working on it to achieve the size that could fly most beautifully in the sky. Chula kite has three shapes: demon, Hanuman, and human. “I like the human shape, which is comparable to Phra Lak and Phra Ram. When flown in the sky, the head and the waist sway as if it were alive, like a person gracefully gliding up the sky. When looking up, it appears like a fascinating star.” Fascinated by Chula kite, Chatchai led the organization of the Chula kite competition in Bang Saothong District. He was deeply curious if anyone outside Bang Saothong also enjoyed flying Chula kites. “I spread the word all over for anyone with a Chula kite to join at my rice paddies in Khlong Kwang.” In the first year, a number of Bang Saothong villagers joined the competition, and non-locals followed in the second year. Chatchai raises the fund among Chula-kite fans for food catering and offering as prizes for the winners. Chula kite flying competition consists of four categories according to the kite sizes: 75 cm, 100 cm, 150 cm, and 200 cm.
สิง่ ทีไ่ ด้จากการจัดกิจกรรมกีฬาแข่งขันว่าวจุฬานี้ นอกจากเพือ่ การอนุรกั ษ์และเพือ่ ความสนุกสนานแล้ว ยังถือเป็นการสานสัมพันธ์ ของผูค้ นในหมูบ่ า้ นผ่านการถามไถ่สารทุกข์สกุ ดิบเพือ่ สร้างความเป็น อันหนึง่ อันเดียวกันของสมาชิกในชุมชนอีกด้วย โดยการจัดการแข่งขัน จะมีขนึ้ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี “หลังจากผมเข้าไปศึกษาเรื่องว่าวจุฬาโบราณจริงๆ แล้ว มันไม่ได้ทำ� กันง่ายๆ นะ ไม้ไผ่ทใี่ ช้ตอ้ งเป็นไม้ไผ่สสี กุ แก่ เสีย้ นด�ำ อายุไม้ตอ้ ง ๓-๕ ปี เท่านัน้ ถ้าเป็นพวกไม้ไผ่รวกธรรมดา ไม้มนั จะ ไม่มีความเป็นสปริงในตัวเอง ไม้ไผ่จะต้องเป็นไม้ไผ่ ๓ น�้ำ น�้ำจืด น�ำ้ เค็ม น�ำ้ กร่อย ซึง่ สมุทรปราการบ้านเรามีนำ�้ แบบนีอ้ ยูแ่ ล้ว เลยท�ำให้ ไม้ไผ่เนือ้ ดี ไม่เปราะง่าย” ถึงบรรทัดนี้ ต้องบอกว่าการท�ำว่าวจุฬานัน้ อาศัยทัง้ ทักษะและ ความช�ำนาญ ความใจเย็น กีฬาชนิดนี้ไม่ใช่เล่นแค่เพื่อความสนุก This Chula kite flying competition is not only held to แต่ยงั ฝึกสติได้อกี ด้วย preserve and entertain, but also to strengthen the bond among villagers through catch-up conversation and to forge the ว่าวจุฬามีหลายขนาด ความยากในการท�ำอยูท่ สี่ ดั ส่วนทีต่ อ้ งได้มาตรฐาน harmony of community members. The competition is held เพือ่ ให้ลอยขึน้ ฟ้าฉวัดเฉวียนเป็นเลข ๘ ได้อย่างสวยงาม The challenge of crafting different sizes of Chula kite is the precise annually during the Songkran Festival. ratio to ensure they gracefully glide up the sky. “After studying, I’ve found that traditional Chula kites aren’t easy to make. Instead of the commonly found non-springy Ruak bamboo, only mature, black fibrous, 3-5-year-old Si Suk bamboo (Thorny bamboo), grown in a three-watered area (freshwater, saltwater, and brackish water) like Samutprakan can be used for better durability.” Evidently, handcrafting Chula kites require skills, expertise, and patience. The sports, itself, is not only fun but can also improve mindfulness.
สำ�หรับผู้ท่ีสนใจว่าวจุฬา ติดต่อได้ที่ คุณชาติชาย กลิ่นโสภณ เลขที่ ๒๙/๓ หมู่ ๑๑ ตำ�บลบางเสาธง อำ�เภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๙๒๑๑ ๙๙๒๖ If interested in Chula kites, please contact Chatchai Klinsophon 29/3 Moo 11, Bang Saothong Sub-District, Bang Saothong District, Samutprakan Tel. 08 9211 9926
December 2020 - January 2021
103
104
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
Rest Day . . . . .
Cuisine CAFe HOPPING DAY OFF HAVE A NICE STAY PHOTOSCAPE MAP
December 2020 - January 2021
105
CUISINE
เทสต์บัด
รสชาติอาหารที่ออกแบบมาเพื่ออนาคต
Tastebud
Tasty food designed for the future
106
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
เหมือนไม่ได้ไปถึงร้านอาหารอย่างเดียว แต่การได้มาเยือน Tastebud คือการเปิดโลกให้เราได้เดินทางไปรู้จักเรื่องราวของ อาหารได้ไกลกว่าที่เคย ด้วยประสบการณ์ของการลิ้มลองรสชาติ อาหารแห่งอนาคตจากเมนูที่วางตรงหน้า และที่มากกว่ารสชาติ ของอาหาร คือทีร่ า้ นยังได้พาเราไปท�ำความรูจ้ กั เส้นทางของวัตถุดบิ ห่วงโซ่อาหาร นวัตกรรม กรรมวิธีการปรุงต่างๆ ก่อนจะน�ำเราไปสู่ ประสบการณ์ที่แปลกใหม่ การท�ำความรู้จักกับอาหารที่เรียกตัวเองว่า Food for Future ของเทสต์บัด ไม่ได้เป็นเรื่องยุ่งยากที่ท�ำให้เรานึกถึงอาหารในโลก อวกาศ อาหารกระป๋อง หรือหลอดทดลองวิทยาศาสตร์เลย ในทาง ตรงกันข้าม อาหารแห่งอนาคตทีเ่ ราจะได้สมั ผัสนอกจากด้วยสายตา กลิ่น รสชาติ และผิวสัมผัสแล้ว เรายังได้ใช้ความคิดในการท�ำความ รู้จักและเข้าใจเรื่องราวของวัตถุดิบในมุมที่ไม่คุ้นเคย อาหารแห่ ง อนาคตของเทสต์ บั ด คื อ อาหารที่ แ บ่ ง ตาม ความต้องการของผู้บริโภคอย่างแท้จริงมากขึ้น เพราะในปัจจุบันนี้ ผู้บริโภคมีทางเลือกให้ตัวเองในการกินที่ต่างกันไป เช่น ไม่ต้องการ กินแป้ง ต้องการกินแบบคีโต หรือกินเพื่อเน้นให้ร่างกายแข็งแรง มีภูมิป้องกันให้ร่างกายมากขึ้น อาหารแห่งอนาคตจึงเป็นทางเลือก ใหม่ที่ตอบโจทย์ได้ตรง และคงความอร่อยไว้เหมือนรสชาติอาหาร จานอื่นๆ ความโปร่งโล่งของร้าน ประกอบกับการตกแต่งร้านด้วยแสง และความเรียบง่ายของเฟอร์นิเจอร์น้อยชิ้น ท�ำให้เราเลือกนั่งที่โต๊ะ เคาน์เตอร์ ใกล้แสงทีส่ อ่ งเบาๆ เข้ามาจากด้านหน้ากระจก ก่อนทีจ่ ะได้ สนุกกับการอ่านเมนูพร้อมท�ำความรูจ้ กั กับทีม่ าของอาหารแต่ละจาน แล้วตัดสินใจเลือกกินอย่างชวนลุ้น เพราะความตื่นเต้นคือการที่ จะได้ถอดรหัสอาหารที่ก�ำลังเตรียมมาเสิร์ฟในเวลาหลังจากนี้
Rather than just another restaurant, visiting Tastebud has opened our world and taken us much farther on a food journey. Together with an innovative and flavorful food tasting experience, the restaurant introduced us to the journey of raw ingredients, food chain, innovation, and cooking processes. Getting to know Future Food at Tastebud was nothing overcomplicated like space food, canned food, or scientific test tubes. On the contrary, they simply need to be experienced via sight, scent, taste, and texture and simultaneously allow us to exercise our thought, get to know and understand raw ingredients from an unfamiliar perspective. Future Food of Tastebud means food that caters more to the genuine needs of consumers. At present, consumers choose different food alternatives for themselves, for example, carb-free, Keto, or food that helps boost their health and immune system. Therefore, Future Food is a new solution that best suits such needs while preserving the tastiness. The restaurant is spacious and airy, decorated with natural lighting and the simplicity of minimal furniture. At the counter where gentle sunlight shone through the glass window, we enjoyed exploring the menu and getting to know the origin of each dish before deciding with excitement, trying to decipher the food about to be served. December 2020 - January 2021 107
เทสต์บัดไม่ได้เพียงแค่วางคอนเซปต์ของอาหารให้เป็นสากล และกินง่าย แต่เป็นการจูงมือผูบ้ ริโภคเข้าไปท�ำความรูจ้ กั กับ Circular Bioeconomy หรือความยั่งยืนในห่วงโซ่อาหาร ที่ท�ำให้เกิดการ เสียวัตถุดิบน้อยที่สุดหรือไม่เสียของเลย ด้วยการใช้ทุกสิ่งทุกอย่าง ให้คุ้มค่า ด้วยการน�ำนวัตกรรมต่างๆ มาพัฒนา แปรรูป และสกัด สารอาหารจากผลผลิตทางการเกษตรทัง้ หลายให้นา่ กินและเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเทสต์บัดเป็นเหมือนสะพานในห่วงโซ่ที่จะช่วย เกษตรกรหรือผู้ประกอบการ SME ให้ได้ท�ำงานกับผู้รู้เรื่องอาหาร การแปรรูปใหม่ๆ ด้วยการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ที่แตกต่าง แล้ว สร้างสรรค์ออกมาเป็นอาหารที่ผ่านการทดลองและพัฒนาจาก Kitchen Lab หรือครัวที่เป็นดั่งห้องปฏิบัติการ ว่าจะสามารถ เพิ่มมูลค่าของวัตถุดิบแต่ละอย่างซึ่งกันและกันอย่างยั่งยืน และมี ประโยชน์ต่อสุขภาพได้อย่างไร กลิ่นหอมของเครื่องเทศอย่างออริกาโน่ และกลิ่นกาแฟ ลอยอวลในร้าน เราอ่านเมนูอย่างตั้งใจด้วยชื่อเมนูและวัตถุดิบนั้น ท�ำให้เราต้องค่อยๆ นึกเดารสชาติ เราได้รับการแนะน�ำเพิ่มเติมจาก คุณสันติ อาภากาศ หนึง่ ในหุน้ ส่วนของเทสต์บดั ทีไ่ ด้อธิบายเสริมถึง เมนูที่เป็น Plant Based หรือเมนูไร้เนื้อสัตว์ ความน่าตื่นเต้นเพิ่ม ระดับขึ้นไปอีก เพราะอาหารคาวของมื้อนี้จะมาจากผลไม้ที่คุ้นชิน แต่ไม่เคยรูจ้ กั รสชาติทแี่ ปลงร่างผ่านครัวนี้ โดยเราจะเน้นกันที่ “ขนุน” 108 ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
Tastebud’s menus are not only international and friendly but also inviting consumers to find out about Circular Bioeconomy, or the sustainability in the food chain. It focuses on wasting the least or no raw ingredients. To make the most of everything, technologies are embraced to develop, process, and extract nutrients from agricultural produces into appetizing and eco-friendly menus. Tastebud serves as a bridge in the chain, helping farmers or SME entrepreneurs to work with food processing gurus, exchange diverse knowledge, and craft menus that have been tested and developed by Kitchen Lab on how to increase the value of raw ingredients mutually and sustainably as well as the health benefits. The aroma of herbs like oregano and coffee filled the air as we carefully studied the menus whose name and raw ingredients kept us wondered about the taste. The kind recommendation of Santi Aphakat, one of Tastebud’s partner, about Plant-Based or Meatless menus raised our excitement. Our main dishes come from familiar “jackfruit” with an exotic flavor transformation by the kitchen.
เชฟโอ หรือ คุณตนัย พจน์อารี คือผูท้ อี่ ยูเ่ บือ้ งหลังความอร่อย ของทุกจานในวันนี้ จานแรก คือ สลัดขนุนมีตบอลกับน�ำ้ มัน MCT Oil ซึ่งก็คือน�้ำมันมะพร้าวหรือน�้ำมันปาล์ม ที่น�ำไปสกัดต่อเพื่อให้ได้ โมเลกุลที่ร่างกายสามารถดึงมาใช้ได้เร็วขึ้น เหมาะกับการกินเพื่อ จุดประสงค์ของการลดน�้ำหนักแบบ IF (Intermittent Fasting) หรือ การลดน�้ำหนักแบบจ�ำกัดช่วงเวลาการกิน ซึ่งน�้ำมันนี้สามารถน�ำไป ใช้ในเมนูกาแฟได้ด้วย รักแรกของเราที่มีต่อจานนี้ คือ ขนุนมีตบอล ขนุนอ่อนที่ปรุงรสคลุกเคล้าให้มีรสชาติกลมกล่อมเหมือนมีตบอล แต่หอมฉุยมากกว่าด้วยกลิน่ ออริกาโน่ เมนูนคี้ ณ ุ สันติบอกว่า ลองใช้ MCT Oil มาใส่เป็นน�้ำสลัด ซึ่งหากผลตอบรับออกมาดี และถูกปาก คนกิน เทสต์บดั ก็จะได้เข้าไปสนับสนุนเกษตรกรทีเ่ พาะปลูกปาล์มแดง เพื่อน�ำมาต่อยอดการผลิตน�้ำมันต่อไป แซนด์วิชขนุน หรือ Pulled Pork Panini เป็นขนมปังแบบ แซนด์วิชที่มีขนุนอ่อนเป็นไส้นุ่มเนื้อยุ่ยเหมือนหมูตุ๋นเปื่อย เสิร์ฟมา กับขนุนสุกชีสบอล แค่เพียงค�ำแรกที่กัดลงบนขนมปังกรอบอุ่นนั้น ก็ติดใจในรสมาก เพราะความนุ่มของเนื้อขนุนอ่อนที่ให้เนื้อสัมผัส
Chef O or Tanai Phot-ari is the person behind today’s tasty dishes. Let’s start with Jackfruit Balls Salad Topped with MCT (Medium Chained Triglyceride) Oil. Basically, it is extracted coconut or palm oil with molecules that the body can quickly process, suitable for Intermittent Fasting (IF) for weight loss. It can also be blended into coffee menus. Our love at first bite was the jackfruit balls. The mellowly seasoned young jackfruit tasted similar to common meatballs although more aromatic with oregano. Santi admitted it was his experimentation featuring MCT Oil as salad dressing, and if the menu is well-received by the customers, Tastebud would, then, be able to support Red Palm Farmers to continue with oil production. Jackfruit Sandwich or Vegan Pulled Pork Panini is a sandwich with incredibly tender young jackfruit similar to slow-braised pork, served with Fried Jackfruit Balls Stuffed
December 2020 - January 2021
109
เต็มปากเต็มค�ำและกลมกล่อมอย่างไม่รู้สึกแปลกลิ้น ส่วนขนุนสุก ชีสบอลทีเ่ สิรฟ์ มาด้วยกัน เมือ่ บิแบ่งลูกบอลเล็กๆ ออกจะมีชสี ยืดเส้น เล็กๆ กลิ่นหอมและอร่อยหวานแบบขนุนสุกธรรมชาติ เพราะเชฟ เอาขนุนสุกมาท�ำเป็นบาร์บีคิวซอสก่อนแล้วจึงเอามารมควัน จากนั้น น�ำมาปั้นเป็นขนุนชีสบอลที่มีชีสยืดอยู่ข้างใน จานสุดท้าย คือ พิซซ่าคีโต พิซซ่าหอมกรุ่นลอยจากเตาอบ จานนี้สามารถตอบโจทย์เรื่องกลูเตนฟรี เพราะแป้งพิซซ่าท�ำจาก ดอกกะหล�่ำ และมีแป้งผสมเพียงแค่ ๑๐ เปอร์เซ็นต์ คนที่แพ้แป้ง หรือแพ้กลูเตนสามารถกินได้ ส่วนหน้าพิซซ่าเป็นผักต่างๆ ทีม่ รี สชาติ และเนือ้ สัมผัสเสริมส่งกัน ไม่วา่ จะเป็นคนกินมังสวิรตั หิ รือกินเนือ้ สัตว์ ก็สามารถกินได้อร่อย เพราะมีเห็ดหอม มะเขือเทศ แครอท และ มี ต บอลขนุ น อ่ อ น ที่ ร สชาติ แ ละกลิ่ น กลมกลื น จนเหมื อ นพิ ซ ซ่ า มาร์การิต้าคลาสสิกแบบไม่ผิดเพี้ยนเลย ส�ำคัญที่สุดคือพิซซ่าถาดนี้ ให้แคลอรีน้อย เพราะแป้งพิซซ่านั้นใช้ดอกกะหล�่ำปูมาบนแป้งบางๆ เมื่อกัดจึงให้เนื้อสัมผัสที่กรอบก�ำลังดี นอกจากเมนูจากขนุนที่น่าประทับใจแล้ว เครื่องดื่มของ เทสต์บัดก็สร้างความตื่นตาตื่นใจให้เราอีกไม่น้อยหน้ากัน ผลไม้ พื้นบ้านอย่างมะม่วงหาวมะนาวโห่ถูกสกัดออกมาเป็นไซรัป น�ำไป ผสมกับน�้ำองุ่นจนได้เครื่องดื่มรสหวานอมเปรี้ยว เติมความซ่าด้วย โซดา และจัดลูกมะม่วงหาวมะนาวโห่มาให้เราได้สัมผัสรสชาติแบบ เนือ้ แท้อกี ขัน้ หนึง่ หรือกาแฟแฟลตไวต์รมควันอบเชย กาแฟรสคุน้ เคย 110
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
with Cheese. We immediately fell for the tender young jackfruit meat, its fulfilling texture and familiarly mellow taste. When breaking small balls, the cheese stretched, smelling amazing and sweet with naturally ripe jackfruits. The chef made barbecue sauce with ripe jackfruit before smoking and shaping it into jackfruit balls stuffed with cheese inside. The last dish was Keto Pizza. This appetizing pizza would be a perfect answer for gluten-free enthusiasts because the dough was made of cauliflower and only 10 percent flour. The toppings were mixed vegetables with complementing flavors and textures, ranging from mushrooms, tomatoes, carrots, and young jackfruit meatballs. It tasted and smelled subtly like classic Margarita pizza. Most importantly, with cauliflowers layered on the thin dough, the pizza was not only perfectly crispy but also low on calories. Other than impressive jackfruit menus, Tastebud beverages are no less enticing. Local fruits like carissa carandas are extracted into syrup. When infused with grape juice and soda, it becomes a sweet and sour refreshment. Smoked Cinnamon Flat White is the signature coffee menu where the barista glazes brown sugar on the cup rim with
ที่ให้ความแปลกใหม่ เพราะบาริสต้าจะใช้น�้ำตาลทรายแดงเคลือบที่ ปากแก้วด้วยความร้อนจนได้กลิ่นหอมไหม้อ่อนๆ แล้วน�ำไปอบควัน อบเชย จึงได้ความหอมที่มีชั้นเชิงขึ้น และถ้าอยากได้ประสบการณ์นอกเมนู เทสต์บัดมีการจัด Chef’s Table หรือ Future Food Table ส�ำหรับกลุ่มกินอาหารพิเศษ ทีเ่ หมาะส�ำหรับการมาร่วมประสบการณ์ความอร่อยจากอาหารทีเ่ รา อาจคาดไม่ถึง หรือจะมาท�ำการแลกเปลี่ยน และเรียนรู้วัตถุดิบ การท�ำอาหารที่ห่วงใยสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างวงจรให้ผู้ผลิตพบกับ คนท�ำธุรกิจอาหารได้จุดประกายให้กัน เช่นที่ผ่านมาก็ได้มีการ สร้างสรรค์โปรตีนสกัดจากแมลง น�ำขนุนมาใช้แทนเนื้อสัตว์ หรือน�ำ น�ำ้ ตาลจากอ้อยสดมาหมักคอมบูชา เพือ่ ให้การแลกเปลีย่ นนีไ้ ด้นำ� มา ซึ่งอาหารแห่งอนาคตที่ดีกับสุขภาพ ดีต่อห่วงโซ่อาหาร และดีต่อ สิ่งแวดล้อม Tastebud เลขที่ ๔๕๙/๖ หมู่บ้านลดาวัลย์ ซอยศรีด่าน ๑๔ ต�ำบลบางแก้ว อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เปิดบริการ : วันจันทร์-วันพฤหัสบดี เวลา ๐๗.๓๐-๒๐.๓๐ นาฬิกา และวันศุกร์-วันอาทิตย์ เวลา ๐๗.๐๐-๒๐.๐๐ นาฬิกา สามารถจอง Future Food Table ได้ตั้งแต่ ๒-๑๐ คน โทรศัพท์ ๐๙ ๑๘๘๖ ๙๔๐๔
a blowtorch until achieving the lightly burned fragrance, before smoking with cinnamon smoke for a more sophisticated aroma layering. For off-menu experiences, Tastebud also offers Chef’s Table or Future Food Table for special food enthusiasts to join the tasty journey of unexpected food, share knowledge, and learn about raw ingredients for eco-friendly cooking. It creates a cycle where food producers and entrepreneurs gather to inspire each other to bring forth Future Food brilliant for health, the food chain, and the environment. By far, it has led to the creation of bug-extracted protein, the replacement of meat with jackfruit, or the application of fresh sugarcane juice to brew Kombucha. Tastebud 459/6 Ladawan Village, Soi Sidan 14, Bang Kaeo Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan Open from Monday-Thursday from 07.30 am – 08.30 pm, and from Friday-Sunday from 07.00 am – 08.00 pm Future Food Table can be reserved for 2-10 persons. Tel. 09 1886 9404 December 2020 - January 2021
111
CAFE HOPPING
Roastery at Home ร้านกาแฟสไตล์โฮมมี่ ที่เปลี่ยนบ้านพ่อมาเป็นโรงคั่วกาแฟ
Roastery at Home
A Homey Cafe that transformed father’s house into a roastery เทรนด์โลกเปลีย่ นไปแล้ว ใครๆ ก็อยากเป็นอิสระ คนท�ำงาน จ�ำนวนมากทีเ่ คยมีรายได้ประจ�ำเป็นมนุษย์เงินเดือน พอถึงจุดหนึง่ ก็ เริม่ มองหาการใช้ชวี ติ ทีเ่ หลืออยู่ กับค�ำว่า “ความสุข” ทีต่ วั เองจะเป็น ผูก้ ำ� หนดทางเดินเอง ถามว่าเงินจ�ำเป็นไหม แน่นอนว่าจ�ำเป็น แต่เวลา ที่ใช้ไปในแต่ละวันก็เป็นสิ่งที่มีค่าด้วยเช่นกัน หลายคนจึงหันหลังให้ งานประจ�ำ ก้าวเท้าออกมาจากประตูบานเดิม และเลือกทางเดิน ชีวติ ใหม่ทตี่ อบโจทย์กบั ความฝัน คุณตั้ม หรือ ธเนศ อาจจินดา ตัดสินใจลาออกจากงาน ประจ�ำเมือ่ หลายปีกอ่ นเพือ่ มาท�ำธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับกาแฟ รวมไปถึง การเป็นที่ปรึกษาให้กับร้านกาแฟหลายแห่ง ส�ำหรับคุณตั้มแล้ว
112
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
The world has changed. People are craving more freedom. At one point, monthly-paid employees begin searching for a meaningful life and the “happiness” designed by them. Of course, money is necessary but the time spent each day is no less valuable. As a result, many turn their back on their permanent job, stepping out of the same old door, and choosing a new life path that fulfills their dreams. Tam or Thanet Atchinda decided to resign from his day job many years ago to start a coffee business and provide consultancy to numerous cafes. To Tam, coffee is not a beverage
December 2020 - January 2021
113
กาแฟไม่ได้เป็นแค่เครื่องดื่ม แต่มันคือเพื่อนสนิทที่มีชีวิตจิตใจ กระทั่งความฝันของเขาเดินทางมาถึงธุรกิจโรงคั่วกาแฟ ที่มีเพียง เครื่องคั่วกาแฟ ๑ เครื่อง ตั้งวางไว้กลางโรงคั่วขนาดมินิ แล้วท�ำ การคั่วเมล็ดกาแฟส่งให้กับร้านกาแฟอื่นๆ และเปิดหน้าร้านให้คน เข้ามาละเลียดกาแฟหอมกรุน่ ในชือ่ Roastery at Home ร้านกาแฟทีเ่ ห็นอยูน่ ี้ แต่เดิมนัน้ ด้านหน้าร้านทัง้ หมดเคยเป็นร้าน ขายข้าวสารของพ่อคุณตัม้ ทีเ่ ขาขอจับจองมาเริม่ ต้นธุรกิจกาแฟในช่วง สถานการณ์โควิด-๑๙ ทีผ่ คู้ นต่างติดมาตรการล็อกดาวน์ คุณตัม้ หันมา ใช้วธิ กี ารขายสินค้าผ่านระบบออนไลน์มากขึน้ กว่าเดิม โดยเฉพาะการ ขายเมล็ดกาแฟส�ำหรับ Cold Brew หรือการสกัดเย็น ซึง่ ได้ผลตอบรับ เป็นอย่างดี จนน�ำมาสูก่ ารเปลีย่ นโรงคัว่ กาแฟให้กลายเป็นร้านกาแฟ ขนาดเล็ก ที่มีเครื่องคั่วกาแฟตั้งไว้กลางร้าน และยังเป็นร้านกาแฟ แห่งเดียวในจังหวัดสมุทรปราการทีม่ โี รงคัว่ กาแฟเป็นของตัวเอง ความโดดเด่นของร้านกาแฟแห่งนี้ ที่นอกเหนือไปจากการ เป็นธุรกิจขนาดเล็กของครอบครัว ซึง่ ท�ำกันเองโดยสองสามี-ภรรยา คือบรรยากาศของการดื่มกาแฟที่ให้ความรู้สึกอบอุ่นใกล้ชิดระหว่าง เจ้าของร้านกับลูกค้า จนลูกค้าหลายคนเรียกที่นี่ว่า “เป็นที่พักใจ” โดยสิง่ ทีท่ างร้านภูมใิ จเสนอ คือเมล็ดกาแฟประเภท Single Origin “ด้วยความทีเ่ ราท�ำกาแฟมาเยอะ มีรนุ่ พีใ่ นวงการกาแฟทีเ่ ป็น คิวเกรดเดอร์ (นักชิมรสชาติกาแฟ) ไปมาหาสูก่ นั อยูบ่ อ่ ยๆ เมล็ดกาแฟ ทุกตัวของเราจึงได้รบั การทดสอบรสชาติจากคิวเกรดเดอร์มาหมดแล้ว ว่าเป็นกาแฟทีอ่ ยูใ่ นระดับ Specialty หรือกาแฟพิเศษ” นอกเหนือจากเรื่องเมล็ดกาแฟแล้ว สิ่งที่จะไม่พูดถึงเลยคง ไม่ได้ คือแพ็กเกจจิง้ ซึง่ ดึงดูดสายตาลูกค้าให้เกิดค�ำถามตามมามากมาย ในเรือ่ งของตัวผลิตภัณฑ์ 114
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
but rather a bestie with a heart and soul. Gradually, he began a roastery business with a roasting machine in the middle of a mini roastery, delivered roasted coffee beans to other cafes, and welcomed visitors to savor aromatic coffee at Roastery at Home. Originally, the front of the cafe was his father’s rice shop that Tam asked for the space to start a coffee business during the COVID-19 situation. When everyone was struck by the lockdown regulations, Tam switched to an online ordering system, especially coffee beans for Cold Brew. Subsequently, the roastery was transformed Into a compact cafe with a roasting machine right in the middle. It is also the only cafe in Samutprakan to have its own roastery. What’s remarkable about this cafe beyond being a small family business run by the married couple is the heartwarming coffee drinking atmosphere. The comfort between the owner and the customers made the place known as “the sanctuary of the mind”. The product they proudly present is the “Single Origin” beans. “With years of experiences with coffee, and getting frequented by many senior Q-graders (coffee sommeliers), our coffee beans have all been evaluated by Q-graders and certified as Specialty Coffee.” Besides the coffee beans, we couldn't possibly leave their attractive packaging unmentioned.
“มันเป็นสิง่ ทีช่ ว่ ยเพิม่ มูลค่าสินค้าและเล่าความเป็นเราไว้ในนัน้ ทุกอย่างมันมีความหมายในเชิงสือ่ สาร เอาเรือ่ งง่ายๆ อย่างแก้วทีม่ ี สติกเกอร์ตดิ อยู่ ทีผ่ มเลือกติดสติกเกอร์แทนทีจ่ ะสกรีนลงไปเลย ก็เพือ่ สนับสนุนพาร์ตเนอร์ของเราทีเ่ ขาช่วยพิมพ์กระดาษเหล่านีม้ าให้ หรือ การที่เราใช้กราฟิกรูปวงกลมติดลงไปที่ขวดก็เพื่อที่จะบอกประเภท รสชาติของกาแฟนัน้ ๆ” ขนมโฮมเมดร้านนี้ คุณเจน หรือ จีรนันท์ สังสินชัย ภรรยา คุณตั้ม แสดงฝีมือท�ำเองหมด โดยเมนูในแต่ละวันไม่ซ�้ำกันเลย ทุกวันศุกร์ วันเสาร์ และวันอาทิตย์ มีเบคอนโรลซึง่ ท�ำเพียงวันละเตา เท่านัน้ และเป็นทีต่ อ้ งการของลูกค้าจนถึงกับต้องไปนัง่ เฝ้าหน้าเตาเพือ่ จับจองกันเลยทีเดียว หากมาช้าเกินไปก็จะพลาดไม่ได้กนิ เพราะทันที ทีเ่ บคอนโรลท�ำเสร็จ มักจะขายหมดภายใน ๑๐ นาที “It helps boost the product value and speak our identity. Every element conveys a message. For example, I deliberately choose to put a sticker on the glass instead of screening to help support our partner who printed these papers for us. We also put a circular graphic sticker on each bottle to tell the different flavors.” Homemade bakeries are all prepared by Jane or Jiranan Sangsinchai, Tam’s wife. The menus are different every day. Every Friday, Saturday, and Sunday, only a tray of highly demanded Bacon Rolls is baked. Therefore, some customers hang nearby so they could grab some in time because they are usually sold out within 10 minutes.
Roastery at Home เลขที่ ๘๖/๑๔ หมู่ ๒ ซอยแบริ่ง ๔๘/๘ ตำ�บลสำ�โรงเหนือ อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เปิดบริการ : วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา ๐๗.๐๐-๑๕.๐๐ นาฬิก และวันเสาร์-วันอาทิตย์ เวลา ๐๗.๐๐-๑๖.๐๐ นาฬิกา โทรศัพท์ ๐๘ ๔๔๒๖ ๖๔๕๑ Roastery at Home 86/14 Moo 2, Soi Bearing 48/8, North Samrong Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Open: Monday-Friday from 07.00 am – 03.00 pm and Saturday-Sunday from 07.00 am – 04.00 pm Tel. 08 4426 6451 December 2020 - January 2021
115
DAY OFF
เมื่อโรงเรียน เป็นลานจินตนาการ ของเด็กทุกคน จุดนี้คือ ในอาคารด้านในอาคารหลังแรก When the school is every child’s imagination zone, this is an interior wall of the first building
116
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
Street Art
ปลูกศิลปะบนกำ�แพงโรงเรียน Growing art on the school walls
ภาพแห่งจินตนาการเมื่อเราพูดถึงโรงเรียน คงไม่พ้นภาพ ของการที่ ต ้ อ งมี นั ก เรี ย นแต่ ง ตั ว ในชุ ด เครื่ อ งแบบ เสาธงชาติ สนามเล่น โรงอาหาร ห้องเรียนเรียงบนตึกมีระเบียบเรียบร้อย แต่ความแปลกใหม่จากความเป็นโรงเรียน ทีต่ อ้ งเรียกว่าตืน่ ตาตืน่ ใจ ทั้งผู้พบเห็น และต่อครูและนักเรียน หรือคนที่ท�ำงานในโรงเรียน เทศบาล ๑ (เยี่ยมเกษสุวรรณ) นี้ คือการเป็นโรงเรียนเทศบาล แห่งแรกในจังหวัดสมุทรปราการ ทีม่ กี ารใช้ศลิ ปะอันเต็มไปด้วยสีสนั ของเนื้อเรื่องแสนสดใสน่าจูงใจ มาจัดจังหวะให้อยู่บนผนังก�ำแพง และส่วนต่างๆ ของโรงเรียน จนเป็น Street Art ประจ�ำท้องถิน่ When speaking of a school, it is natural to think of students in uniforms, a national flag pole, a playground, a cafeteria, and orderly classrooms on the building. However, the new excitement to the passerby, teachers, students, and staff at Thetsaban 1 (Yiamketsuwan) School is how it is the first municipality school in Samutprakan to artistically illustrate vibrant and inspiring stories on the walls and various parts of the school, becoming the local street art.
รายละเอียด บนเสาศาลานั่งเล่น ระหว่างทางเดิน ข้างสนามฟุตบอล Details on a pavilion pillar along the walkway next to the football court December 2020 - January 2021
117
โครงการสร้างศิลปะให้โรงเรียน เป็นหนึง่ ในผลงานทีเ่ ทศบาล นครสมุทรปราการได้รว่ มมือกับโครงการสร้างศิลปะให้โรงเรียน เป็น หนึ่งในผลงานที่เทศบาลนครสมุทรปราการได้ร่วมมือกับศิลปินมีชื่อ เสียงระดับประเทศและศิลปินชาวสมุทรปราการ มาร่วมใช้ศิลปะ สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมและบรรยากาศของโรงเรียนให้น่าอยู่ขึ้น การท�ำงานร่วมกันครั้งนี้ได้น�ำความคิดในการสร้างภูมิทัศน์ใหม่ บนก�ำแพงโรงเรียน โดยน�ำเอาสถานที่ท่องเที่ยวประจ�ำจังหวัด ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของสมุทรปราการมาวาดขึน้ บนก�ำแพงของโรงเรียน เพือ่ ให้เป็นทัง้ ทีด่ งึ ดูดความสนใจของผูผ้ า่ นไปมา เป็นจุดถ่ายรูปของ นักท่องเที่ยวได้ เป็นความภาคภูมิใจของเด็กๆ ที่มีโรงเรียนน่าอยู่ และมีคนพูดถึง อันจะสามารถท�ำให้เด็กเกิดความรักในสถาบัน ของตัวเอง หวงแหน และเกิดความสามัคคีในการร่วมมือกันดูแล และท�ำสิง่ ดีๆ ร่วมกันได้
The Art for School Project is an achievement that Samutprakan Town Municipality cooperated with a The Art for School Project is an achievement that Samutprakan Town Municipality cooperated with national and Samutprakan-born artists utilizing art to create a better environment and atmosphere. To introduce a new landscape on the school walls, it featured Samutprakan’s iconic tourist destinations to capture the interest of passerby, become a new check-in photo spot for tourists, as well as to make the students proud to have a livable school that people talk about, and develop a sense of cherishing and unity to collectively maintain the institute and do good deeds.
เด็กๆ ร่วมระบายสีบนกำ�แพงด้านหน้าของโรงเรียนเทศบาล 1 (เยี่ยมเกษสุวรรณ) ด้วยกัน Kids were painting the front wall of Thetsaban 1 (Yiamketsuwan) School together
118
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
“ผมคิ ด ว่ า การสร้ า งศิ ล ปะในโรงเรี ย น เป็ น การกระตุ ้ น จินตนาการในเด็กให้มีความรู้สึกแปลกใหม่ อยากมาในโรงเรียน ที่มีสภาพแวดล้อมน่าอยู่ แตกต่าง รักในสถานที่ที่เป็นโรงเรียน เพราะผมเชือ่ ว่าศิลปะสามารถยกระดับจิตใจและท�ำให้เกิดสิง่ แวดล้อม ทีน่ า่ อภิรมย์ได้ การทีโ่ รงเรียนมีศลิ ปะรอบตัว เป็นหนึง่ ในการปลูกฝัง เรือ่ งราวทีด่ ี ท�ำให้เกิดความน่าอยูไ่ ด้” จะด้วยทั้งวิญญาณของความเป็นศิลปิน หรือความเป็นครู ของคุณชลิตก็ตาม การออกแบบภาพวาดฝาผนังบนก�ำแพงและ ผนังต่างๆ ของโรงเรียนนี้ ถือเป็นการเพาะบ่มจินตนาการ ทีเ่ พิม่ มูลค่า มากมายให้กับเด็ก “เด็กทุกคนควรมีสิทธิ์ในการเสพสุนทรียศาสตร์ ทางศิลปะบ้าง มีการพิสูจน์มาแล้วว่า การที่โลกของเด็กมีสีสัน มีสว่ นช่วยท�ำให้จติ ใจคิดไปในทางบวกและสร้างสรรค์ได้” “I think art creation in the school helps stimulate the children's imagination to feel refreshed and inspired to come to the school with a wonderful and unique environment and love where they study. I believe a school surrounded by art is a way to instill goodness and create a pleasant living condition.” Whether it was Chalit’s spirit as an artist or a teacher, the school wall illustration design grows value-added imagination in children. “Every child should have the right to appreciate art aesthetics. It has been proven that a colorful world of children helps promote a positive and creative mind.”
December 2020 - January 2021
119
สถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัด Samutprakan tourist attractions
ไม่ว่าจะเป็นส่วนไหน ของโรงเรียน สามารถ สร้างสีสันได้ Every school corner is full of vibrant creativity
120
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
The Town Municipality had an initial thought that a public school for students with medium-income families could also develop a more pleasant and enjoyable atmosphere via art. These days, schools have become social centers for children, second to their home, where they meet friends, play sports, get together for certain activities, read, do homework, form a bond between friends or teachers. Consequently, the space at school plays an important role, and incorporating art in the school can invigorate children both during and out of class. Additionally, the project allows community locals to become tourists in their own hometown. Various ancient architectures and remarkable attractions of the province, for example, the Chedi Amidst the Water, Phra Samut Chedi, and Samutprakan Learning Park and City Tower, were illustrated in a brief scale on the walls. The street art on the walls from this local municipality project did not only encourage students with wonderful art skills, to participate in creation and imagination but also gave rise to young artists, who could further earn extra income from drawing and bring pleasure to the passerby who witnesses their arts.
ทางเทศบาลนครฯ มีความคิดริเริม่ ว่า ในความเป็นเครือของ โรงเรียนรัฐบาล ส�ำหรับนักเรียนที่มีครอบครัวฐานะปานกลางนั้น ก็สามารถที่จะสร้างบรรยากาศให้โรงเรียนน่าอยู่ขึ้นได้ ด้วยการ ใช้ศิลปะมาปรุงแต่งเพื่อสร้างความรื่นรมย์ให้เกิดสังคมที่น่าอยู่ เพราะสถานภาพของโรงเรียนในวันนี้ เป็นเสมือนศูนย์กลางของ สังคมส�ำหรับเด็กรองจากบ้านไปแล้ว ไม่วา่ จะเป็นการพบปะเจอเพือ่ น การเล่นกีฬา นัดท�ำกิจกรรม อ่านหนังสือ ท�ำการบ้าน สร้างความ สัมพันธ์ระหว่างเพือ่ นหรือครู พืน้ ทีใ่ นโรงเรียนจึงนับว่ามีบทบาทมาก และการมีงานศิลปะในโรงเรียนนั้นก็ช่วยท�ำให้มิติชีวิตของทั้งเด็ก ในรั้วโรงเรียน ทั้งในขณะเรียนและการใช้ชีวิตนอกห้องเรียนได้มี ชีวติ ชีวามากขึน้ มากไปกว่านัน้ ยังท�ำให้คนในชุมชนได้ทำ� ตัวเป็นนักท่องเทีย่ ว ในบ้านตัวเอง ด้วยการได้ทำ� ความรูจ้ กั กับสถานทีต่ า่ งๆ ของจังหวัด เพิ่มขึ้นอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นองค์พระสมุทรเจดีย์ ที่อยู่ใกล้ชิด เรามากขึ้น การดึงสถาปัตยกรรมโบราณต่างๆ มาวาดย่อส่วนไว้ บนแนวผนั ง ก� ำ แพง หรื อ อุ ท ยานการเรี ย นรู ้ แ ละหอชมเมื อ ง สมุทรปราการ สัญลักษณ์โดดเด่นทีน่ า่ จดจ�ำของสมุทรปราการ ศิลปะรอบก�ำแพงจากโครงการเทศบาลท้องถิ่นนี้ นอกจาก จะให้เด็กนักเรียนที่มีฝีมือในศิลปะได้มีส่วนร่วมในการสร้างงาน และจินตนาการแล้ว ยังเป็นพื้นที่แจ้งเกิดของเด็กๆ ที่เป็นศิลปิน หน้าใหม่ ทีส่ ามารถหารายได้พเิ ศษในการท�ำงานศิลปะประเภทวาดรูป มาเป็นรายได้เสริม และท�ำให้คนทีพ่ บเห็นชิน้ งานได้เกิดความรืน่ รมย์ เมือ่ ผ่านเข้ามาสัมผัส สามารถเดินเล่นถ่ายรูป และชื่นชมงานในโครงการ Street Art บนกำ�แพงโรงเรียนได้ที่ โรงเรียนเทศบาล ๑ (เยี่ยมเกษสุวรรณ) เลขที่ ๓๖ ซอยวัดชัยมงคล ถนนสุขุมวิท ตำ�บลปากน้ำ� อำ�เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ Feel free to take photos and admire street art on the school walls at Thetsaban 1 (Yiamketsuwan) School 36 Soi Wat Chai Mongkhon, Sukhumvit Road, Paknam Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan December 2020 - January 2021
121
HAVE A NICE STAY
สามพี่น้องโฮมสเตย์ อยู่กับชาวบ้านแบบบ้านๆ ที่บ้านขุนสมุทรจีน
Sam Phi Nong Homestay Live like a local at Ban Khun Samut Chin
วิถกี ารพักโฮมสเตย์ คือโอกาสของการได้พาตัวเองเข้าไปอาศัย อยูก่ บั ชุมชน ซึง่ มีชาวบ้านในพืน้ ทีค่ อยดูแลแขกผูม้ าเข้าพักอย่างเป็น กันเอง หลายครัง้ การนอนทีพ่ กั รูปแบบนีม้ กั นำ�มาซึง่ การค้นพบสถานที่ ท่องเที่ยวใหม่ๆ แบบอันซีน ที่คนในพื้นถิ่นเท่านั้นที่จะเป็นผู้กระซิบ บอกเราได้ รวมทัง้ โฮมสเตย์หลายๆ แห่งในปัจจุบนั ก็มกั จะหยิบจุดเด่น ของตัวเองขึ้น มานำ�เสนอ ไม่ว่าจะเป็นสถานที่ต้ังที่แวดล้อมด้วย ธรรมชาติ อาหารจากชาวบ้านทีน่ �ำ วัตถุดบิ มาจากไร่นาหรือร่องสวน มาปรุงสะอาดและยกเสิรฟ์ ถึงชายคาบ้านพัก รวมไปถึงเรือ่ งของสปา ธรรมชาติท่ีในยุคนีด้ จู ะมาแรงไม่นอ้ ย ส่วนสามพีน่ อ้ งโฮมสเตย์แห่งนี้ ต้องบอกว่าเหมาะเหลือเกินสำ�หรับผู้ท่กี ำ�ลังมองหาที่พักซึ่งแวดล้อม ด้วยธรรมชาติอย่างแท้จริง พร้อมสถานทีเ่ พือ่ ทำ�กิจกรรมการท่องเทีย่ ว ในระยะ ๑ กิโลเมตร ทีอ่ ยู่ในอาณาบริเวณ เช่น การสักการะศาลเจ้าพ่อ หนุม่ น้อยลอยชาย หรือแวะเทีย่ วพิพธิ ภัณฑ์บา้ นขุนสมุทรจีน ซึง่ เป็น พิพิธภัณฑ์ท่ีรวบรวมไว้ด้วยข้าวของโบราณที่ถูกค้น พบในบริเวณ ป่าชายเลน Homestay travel is a chance to blend yourself with the local community and enjoy the warm and friendly hospitality of the homeowners. Often, travelers discover new unseen destinations known exclusively among locals. At present, many homestays showcase their local distinctiveness whether the natural surroundings or the local recipes prepared with fresh raw ingredients from the farm, and served right at the doorsteps or the trending natural spa. Sam Phi Nong Homestay is a brilliant accommodation surrounded by nature and plenty of activities to explore within a kilometer range. For instance, paying respect to Chao Pho Num Noi Loi Chai Shrine, and dropping by Ban Khun Samut Chin Museum where the ancient artifacts, discovered in the mangrove forest, are exhibited. 122 ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
December 2020 - January 2021
123
“ไปบ้านป้าอรค่ะ” เราเรียกเรือหางยาวจากท่าเรือป้าลี่เพื่อ ไปยังสามพีน่ อ้ งโฮมสเตย์ โดยทีเ่ ราเองก็ไม่รเู้ ส้นทางทีแ่ น่ชดั มาก่อน ซึง่ ข้อดีของการมาพักในชุมชนทีช่ าวบ้านในชุมชนรูจ้ กั กันหมด คือแม้ ไม่มแี ผนที่ คนทีน่ น่ั ก็จะพาเราไปส่งยังทีห่ มายได้ “ขึ้นมาเลยจ้า” คนเรือส่งยิ้มน้อยๆ ในวันฝนพรำ�ให้กับเรา ก่อนจะพาเราลงเรือมุ่งหน้าไปยังสามพี่น้องโฮมสเตย์ ซึ่งจากท่าเรือ ป้าลีเ่ ราจะต้องไปลงทีท่ า่ เรือของบ้านผูใ้ หญ่สมร จากนัน้ จึงค่อยเดิน ลัดเลาะไปตามคันนา ผ่านศาลเจ้าพ่อหนุ่มน้อยลอยชาย เดินต่อไป จนถึงโรงเรียนบ้านขุนสมุทร ตัวโฮมสเตย์จะอยู่ทางด้านหลังของ โรงเรียน ตลอดทางของการเดิ น ด้ ว ยเท้ า เพื่ อ เข้ าไปยั ง ที่ พั ก แห่ ง นี้ เป็นโอกาสอันดี ในการทำ�ความรู้จักกับชาวบ้านที่อาศัยอยู่ ในพื้นที่ บางบ้านที่เราแวะถามทาง ถึงกับเอ่ยปากชวนให้เราเข้าไปนั่งพัก กินน้ำ�กินท่าในบ้านก่อน แต่ด้วยเมฆหมอกดำ�ครึ้มที่ ไล่หลังเรามา ทำ�ให้เราต้องปฏิเสธ “งัน้ ขากลับ ถ้าไม่ดกึ ดืน่ ก็แวะมากินข้าวด้วยกันได้นะ” คุณป้า คนเดิมตะโกนลงมาจากชั้น ๒ ของบ้านหลังคามุงจาก เราส่งเสียง ตะโกนรับคำ�กลับไป
124
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
“To Aunty On’s house, please.” We grabbed a longtailed boat taxi from Pa Li Pier to Sam Phi Nong Homestay. The advantage of staying over at a community homestay was, even without a map, the locals could deliver us to the right place. “Hop on,” smiled the boatman on a rainy day before heading us toward Sam Phi Nong Homestay. We skipped off at the pier by the Village Chief Samon’s House, strolled along the dykes of the rice paddies, past Chao Pho Num Noi Loi Chai Shrine, and the homestay was at the back of Ban Khun Samut School. While walking to the homestay, some houses that we stopped by to ask for the direction even invited us for a brief rest and a sip of water inside. With the dark rain cloud approaching, we had to turn down the kind offer. “On the way back, if not too late, let’s have a meal together,” shouted the same aunty from the second floor of a Nipa-Palm roofed house. We said yes.
ไม่นานนัก เรามาถึงสามพีน่ อ้ งโฮมสเตย์ ทีพ่ กั เรือนไม้จ�ำ นวน ๔ หลัง ตั้งเรียงติดกัน แบ่งเป็นบ้านพัดลม ๒ หลัง บ้านติดแอร์ ๒ หลัง ชุมชนในบริเวณนี้ทำ�อาชีพประมง แต่ทางด้านหน้าของ ตัวโฮมสเตย์จะเป็นวังปู หอย และกุง้ แต่เดิมบ้านหลังนี้เป็นบ้านของครอบครัวชาวขุนสมุทรจีนที่ ทำ�อาชีพประมง จนวันหนึ่งมีการขยับขยายเพื่อย้ายถิ่นฐานเข้าไป อยู่ด้านในของคันนาซึ่งอยู่ลึกกว่า บ้านหลังนี้จึงถูกปล่อยว่าง คนใน ครอบครัวเลยลงความเห็นกันว่าน่าจะลองปรับรูปแบบบ้านทีว่ า่ งเปล่า และไม่ได้ใช้ประโยชน์ให้เป็นทีพ่ กั โฮมสเตย์ เพือ่ รองรับนักท่องเทีย่ ว ที่มองหาสถานที่พักผ่อนในวันหยุดท่ามกลางวิถีชาวประมงที่เลี้ยงปู หอย กุง้ ด้วยวิถธี รรมชาติ โดยปัจจุบนั โฮมสเตย์ในบ้านขุนสมุทรจีน มีทง้ั สิน้ ๑๗ หลังคาเรือน ทีผ่ า่ นมา ป้าอรเล่าให้ฟงั ว่าลูกค้าส่วนใหญ่ของทีน่ เ่ี ป็นคนไทย ลองใครได้มาพักทีน่ แ่ี ล้วก็มกั จะติดใจ มาหนเดียวไม่พอต้องกลับมาอีก บางรายพาเพื่ อ นพาญาติ ก ลั บ มาพั ก ประมาณ ๓-๔ ครั้ ง ต่ อ ปี เวลามาก็ ไม่ได้มาแค่กระเป๋าเสื้อผ้า แต่จะหอบหิ้วของกินเล่นและ น้�ำ ดืม่ กันเข้ามา ทัง้ ๆ ที่ในชุมชนเองก็มรี า้ นค้าเล็กๆ ไว้บริการอยูแ่ ล้ว
Soon, we arrived at Sam Phi Nong Homestay. There were four wooden houses next to each other: two fanned and two air-conditioned. Although the community made a living by fisheries, there were crab, shell, and shrimp farms at the front. Formerly, the house belonged to a Khun Samut Chin fisherman family. After they moved further inside the dykes of rice paddies dykes, the house was left empty. The family decided to try readjusting it into a homestay to accommodate tourists seeking a weekend getaway among fisherman’s way of life raising crabs, shells, and shrimps with natural methods. Nowadays, there is a total of 17 homestays in Ban Khun Samut Chin. Aunty On told us most customers were Thais, and anyone who had been here loved it and always revisited. Some revisited with their friends or family about 3-4 times a year, fully loaded with snacks, and beverages even though there were mini shops available in the community.
December 2020 - January 2021
125
แหล่งท่องเที่ยวมากมายใกล้ที่พักในระยะ ๑ กิโลเมตร Plenty of tourist attractions within a kilometer range
126
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
“เขาบอกมานอนที่น่ีแล้วไม่อยากออกไปไหน อากาศมันดี เลยต้องเตรียมขนมขบเคีย้ วมาตุนไว้ให้พร้อม” ป้าอรบอกเราขณะพา เดินชมบ้านพักทีส่ ะอาดสะอ้าน ความพิเศษของโฮมสเตย์แห่งนี้คือเรื่องของราคา ส�ำหรับ วันเสาร์ วันอาทิตย์ ห้องแอร์ คิดราคาคนละ ๙๐๐ บาท ห้องพัดลม คนละ ๗๐๐ บาท ถ้าเป็นวันธรรมดา ห้องแอร์ คนละ ๘๐๐ บาท ห้องพัดลม คนละ ๖๐๐ บาท ซึง่ ราคาทีว่ า่ นีร้ วมอาหาร ๓ มือ้ ด้วย และอาหารแต่ละมื้อไม่ได้เสิร์ฟมาจ�ำนวนน้อยๆ เห็นรายการอาหาร แล้วถึงกับตกใจว่าชาวบ้านจะได้ก�ำไรสักเท่าไรกันเชียว มือ้ เช้าป้าอร จะเสิรฟ์ ข้าวต้มกุง้ ส่วนมือ้ กลางวันมีกบั ข้าว ๗ อย่าง เช่น น�ำ้ พริกปลาทู ต้มจืด กุ้งทอดชะคราม หอยแมลงภู่ผัดเผ็ด ฯลฯ ตกเย็นเป็นเมนู แกงส้มชะคราม ปูเลนึง่ กุง้ ทอดกระเทียม ทอดมัน พร้อมของหวาน เป็นแตงโม โอ้โฮ ! คุม้ กว่านีม้ อี กี ไหม และมือ้ ไหนทีม่ รี ายการปูกจ็ ะ ไม่ใช่มาแบบชิน้ เล็กชิน้ น้อย แต่ปา้ อรจะนึง่ มาให้กนิ กันคนละตัวเลย และสิง่ ทีผ่ เู้ ข้าพักมักจะซือ้ ติดไม้ตดิ มือกลับบ้านหลังเช็กเอาต์ คือ กะปิของป้าอรทีท่ �ำขายเอง อร่อยเด็ด สะอาด ปลอดภัย และกะปิ ของป้าอรผสมด้วยกุง้ ล้วนๆ ไม่มปี ลาปนเลย
“They said they never wanted to leave. The weather was so nice they’d better be prepared with snacks,” said aunty while showing us around the homestay. On weekends, the price for an air-conditioned room is 900 baht per person and, for a fanned room, 700 baht per person, and on weekdays, only 800 baht and 600 baht per person respectively. These incredible prices include three full meals. Looking at the menu made us even more surprised if villagers gained any profit. Aunty On serves Porridge with Prawns for breakfast and seven dishes to pair with rice for lunch, for example, Chili Paste with Mackerel, a clear soup, Deep-Fried Prawns with Seablite, and Spicy Stir-Fried Mussels. The dinner includes Hot and Sour Soup with Seablite, Steamed Sea Crabs, Fried Prawns and Garlic, Spicy Fishcakes, and chilled watermelon. As souvenirs after check-out, guests often buy Aunty On’s homemade shrimp paste that does not only taste amazing, hygienic, and safe but made of pure shrimps.
อาหารทำ�สดใหม่ทุกมื้อ ฝีมือป้าอร Every meal is freshly prepared by Aunty On.
สามพี่น้องโฮมสเตย์ บ้านขุนสมุทรจีน เลขที่ ๘๔ หมู่ ๙ ตำ�บลแหลมฟ้าผ่า อำ�เภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๗๖๙๖ ๕๒๐๔ Sam Phi Nong Homestay, Ban Khun Samut Chin 84 Moo 9, Laem Fa Pha Sub-District, Phra Samut Chedi District, Samutprakan Tel. 08 7696 5204 December 2020 - January 2021
127
PhotoScape
คืนแห่งสีสัน
Colorful Night
งานนมัสการองค์พระสมุทรเจดีย์ / เสริมสุข
Phra Samut Chedi Worshipping Festival / Soemsuk
128
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
งานลอยกระทง ณ บริเวณศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ / อลิษา Loi Krathong Festival at Samutprakan City Hall / Alisa
December 2020 - January 2021
129
MAP
ชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยชุมชน ต�ำบลบางกอบัว Bang Ko Bua Sub-District Community-Based Tourism Promotion Club
1 2 บางกะเจ้าฟาร์ม Bang Kachao Farm
3
4
Roastery at home
Tastebud
5 โรงเรียนเทศบาล ๑ (เยี่ยมเกษสุวรรณ) Thetsaban 1 (Yiamketsuwan) School
สามพี่น้องโฮมสเตย์ Sam Phi Nong Homestay
130
ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔
6
Tourist Map Of Samutprakan แผนที่ท่องเที่ยวสมุทรปราการ
10 ตลาดน�้ำเรือบิน Ruabin Floating Market
9 ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านคลองบางพลี Ban Khlong Bang Phli Sufficiency Economy Learning Center
7
8 วัดสร่างโศก Wat Sang Sok
โรงเรียนนอกกะลา (บ้านลุงสอนหลาน) Nok Kala School (Ban Lun Son Lan)
December 2020 - January 2021
131